You are on page 1of 13

มคอ.

4 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปัตตานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาวิทยาศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
712-402 สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
2. จานวนหน่วยกิต หรือจานวนชั่วโมง
 .. หน่วยกิต 6(0-36-0)
 ...ไม่น้อยกว่า……....ชัว่ โมง
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ
หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชา  เฉพาะด้าน  บังคับ  เลือก
 อื่นๆ (ระบุ) ……สาหรับแผนสหกิจศึกษา………
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบ / อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อ. เนตรนภิส อ๋องสุวรรณ
อาจารย์ผู้สอน 1. อ, เนตรนภิส อ๋องสุวรรณ
2. ผศ. เทวี ทองแดง คาร์ลิลา
3. ผศ, พัชรินทร์ ภักดีฉนวน
4. ผศ จารุวรรณ มณีศรี
5. อ. ชุมพร หนูเมือง
6. ผศ, ธรรมรัตน์ แก้วมณี
7. อ. ใบศรี สร้อยสน
8. อ. ภควรรษ ทองนวลจันทร์
5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่กาหนดให้มีการฝึกประสบการณ์ภาคสนามตามแผนการศึกษาของหลักสูตร
ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ชั้นปีที่ 4
2
6. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาประสบการณ์ภาคสนามครั้งล่าสุด
 วันที่จัดทารายวิชา 26 เดือน ..ธันวาคม ..พ.ศ....2562...
 วันที่ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด วันที่ .....เดือน ......................พ.ศ... ............
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม
1) เพื่อเพิ่มประสบการณ์ให้แก่นักศึกษาสาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรมในด้านวิชาชีพ ให้มีความพร้อมและสามารถ
ประกอบอาชีพได้ทันทีเมื่อสาเร็จการศึกษา ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ
2) เพื่อให้นักศึกษาได้นาความรู้ความเข้าใจทั้งทางทฤษฎีและทักษะที่ได้เรียนมาด้านเคมีอุตสาหกรรมไปปฏิบัติงาน
จริงในสถานประกอบการ
3) เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองในด้านบุคลิกภาพ ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร มนุษย
สัมพันธ์ และการทางานเป็นทีม ให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ
4) เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการทาวิจัยในสถานประกอบการ สามารถเขียนโครงร่างวิจัย การแก้ปัญหา การทา
รายงานวิจัย และทักษะการนาเสนอผลงานทางวิชาการ
5) เพื่อการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาและบัณฑิตให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานด้านเคมีอุตสาหกรรม
6) เพื่อการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนในสาขาเคมีอุตสาหกรรมให้มีความทันสมัยและตอบสนองต่อ
ตลาดแรงงาน
2. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาหรือปรับปรุงประสบการณ์ภาคสนาม
เป็นการจัดทารายวิชาสาหรับหลักสูตรวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการปรับปรุงปี พ.ศ. 2554 เพื่อให้
นักศึกษานาความรู้และทักษะจากประสบการณ์ในห้องเรียนและห้องปฏิบัติการในมหาวิทยาลัยไปใช้ ในสถานประกอบการ
จริงภายใต้การดูแลของพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ อาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์นิเทศ รวมถึงการสร้างงานวิจัยกับสถาน
ประกอบการ เป็นการสร้างให้นักศึกษามีความพร้อมในการประกอบอาชีพด้านวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการใน
อนาคตเมื่อสาเร็จการศึกษา และเพื่อการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป

หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้
1. คุณธรรม จริยธรรม
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา กระบวนการหรือกิจกรรม วิธีการประเมินผล
ที่จะต้องพัฒนา
1) มีวินัย ตรงต่อเวลา และซื่อสัตย์สุจริต 1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ 1) ประเมินจากการตรงต่อเวลาของ
2) มีสัมมาคารวะ ให้เกียรติ และยอมรับฟังความ เน้นการเรียนรู้จากบุคลากรจาก นักศึกษาในการเข้าเรียนการส่งงาน
3
คิดเห็นของผู้อื่น สถานประกอบการจริง ที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วม
3) เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของ 2) การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็น กิจกรรม
องค์กรและสังคม รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อ ศูนย์กลาง 2) ความมีวินัยและความพร้อม
สังคม เพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วม
4) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และมีส่วนร่วมใน กิจกรรม
กิจกรรมเพื่อการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 3) การรับผิดชอบในหน้าทีท่ ี่ได้รบั
5) มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพและแสดงออกถึง มอบหมาย
คุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน

2. ความรู้
กระบวนการหรือกิจกรรม
ความรู้ที่ต้องได้รับ วิธีการประเมินผล
ที่จะต้องพัฒนา
1) มีความรู้ในวิทยาศาสตร์การอาหารและ 1) เน้นการเรียนการสอนที่เป็น 1) การรายงาน/แผนงาน/โครงการ
โภชนาการ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทั้งภาคทฤษฎี active learning และ/หรือการ 2) การนาเสนองาน
และภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวางเป็นระบบ เป็น สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 3) ประเมินจากผลงานการปฏิบตั ิ/
สากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2) จัดกระบวนการเรียนการสอน การมีส่วนร่วมในกิจกรรม
2) ทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการในสาขา ให้มีการเรียนรู้จากบุคลากรจาก
วิชา รวมถึงงานวิจยั ที่เกี่ยวของกับการแก้ไข สถานประกอบการจริง
ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ 3) จัดบรรยายพิเศษโดยวิทยากร
3) ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบตั ิ กฎ ระเบียบ ภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญ หรือมี
ข้อกาหนดทางวิชาการ รวมถึงการปรับเปลีย่ น ประสบการณ์ตรงสาขาเคมี และ
ตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่ สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
เปลี่ยนแปลงไป
4) มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ใน
ศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
5) มีความรู้ในกระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์
การอาหารและโภชนาการเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อ
ยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ
6) สามารถใช้ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา
4
กระบวนการหรือกิจกรรม
ความรู้ที่ต้องได้รับ วิธีการประเมินผล
ที่จะต้องพัฒนา
สาขาวิชาไปประยุกต์ใช้และแก้ไขปัญหางานได้

3. ทักษะทางปัญญา
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา กระบวนการหรือกิจกรรม วิธีการประเมินผล
ที่จะต้องพัฒนา
1) มีทักษะในการประมวลความคิดอย่างเป็น 1) จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ 1) การเขียนรายงานของนักศึกษา
ระบบ ฝึกทักษะการคิด ทั้งในระดับบุคคล 2) การนาเสนอผลงาน
2) มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง และกลุ่ม เช่น สะท้อนความคิด 3) การให้โจทย์ปัญหาเพื่อให้
ทาความเข้าใจ และประเมินข้อมูลสารสนเทศ อภิปรายกลุ่ม การทากรณีศึกษา นักศึกษาคิดแก้ปัญหา
แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่ การจัดทาโครงการ 4) การใช้แบบทดสอบ/สัมภาษณ์
หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไข 2) จัดกิจกรรมให้นักศึกษามี ที่ให้นักศึกษาได้ฝึกคิดแก้ปัญหา
ปัญหาหรืองานอื่น ๆ โอกาสปฏิบตั ิงานจริง
3) สามารถศึกษา วิเคราะห์ปัญหา และเสนอ
แนวทางการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์โดยคานึง
ถึงความรู้ทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ประสบการณ์
ในภาคปฏิบัติ และผลกระทบทีต่ ามมาจากการ
ตัดสินใจนัน้
4) มีความสามารถในการวิเคราะห์
สถานการณ์และประยุกต์ความรู้ความเข้าใจใน
แนวคิดหลักการทฤษฎีและกระบวนการต่าง ๆ
ไปใช้แก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ โดยเฉพาะ
สามารถแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์การอาหารและ
โภชนาการ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้อย่าง
เหมาะสม
5) มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาค
ทฤษฎีและภาคปฏิบัติไปสู่การฝึกประสบการณ์
ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริง ตาม
5
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา กระบวนการหรือกิจกรรม วิธีการประเมินผล
ที่จะต้องพัฒนา
สถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ กระบวนการหรือกิจกรรม
วิธีการประเมินผล
รับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ที่จะต้องพัฒนา
1) ตระหนักในหน้าที่รับผิดชอบของตน และ 1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ 1) สังเกตพฤติกรรมและการ
รับผิดชอบในการกระทาของตน เน้นการทางานเป็นกลุ่ม และงาน แสดงออกของนักศึกษาขณะทา
2) มีความรับผิดชอบต่องานทีไ่ ด้รับมอบ ที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กิจกรรมกลุ่ม
หมายทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม 2) จัดประสบการณ์การเรียนรู้ 2) การนาเสนอผลงานเป็นกลุ่ม
3) สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทั้ง ในภาคปฏิบัติ 3) ประเมินความสม่าเสมอการ
ในฐานะผูน้ าและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานใน การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจ 4) ประเมินความรับผิดชอบใน
องค์กรและกับบุคคลทั่วไป วัฒนธรรมขององค์กร หน้าที่ทไี่ ด้รับมอบหมาย
5) ประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้น

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการ กระบวนการหรือกิจกรรม
วิธีการประเมินผล
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา ที่จะต้องพัฒนา
1) สามารถระบุและนาเทคนิคทางสถิติหรือ 1) จัดการเรียนการสอนที่เน้นการ 1) ทักษะการพูดในการนาเสนอ
คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์แปล ฝึกทักษะการสื่อสาร ทั้งการพูด ผลงาน
ความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา การฟัง การเขียนในระหว่างผู้เรียน 2) ทักษะการเขียนรายงาน
ได้อย่างสร้างสรรค์ ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ 3) ทักษะการนาเสนอโดยใช้
2) สามารถสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน 2) จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยี 4) ความสามารถในการใช้ทักษะ
3) รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนาเสนอ สารสนเทศและการสื่อสารที่หลาก ทางคณิตศาสตร์ และสถิติ เพื่อ
ที่เหมาะสมสาหรับเรื่องและผู้ฟงั ที่แตกต่างกัน หลาย และเหมาะสม อธิบาย/อภิปรายผลงานได้อย่าง
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เหมาะสม
6
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการ กระบวนการหรือกิจกรรม
วิธีการประเมินผล
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา ที่จะต้องพัฒนา
4) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่าเสมอ นาเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยี 5) เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และ สารสนเทศ สารสนเทศทาง สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ใน
สื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด คณิตศาสตร์และสถิติ การกัปัญหาเชิงตัวเลข
5) สามารถติดตามความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก
โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

หมวดที่ 4 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายโดยทั่วไปของประสบการณ์ภาคสนามหรือคาอธิบายรายวิชา
การปฏิบัติงานจริงทางด้านวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการหรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ไม่น้อยกว่า 200
ชั่วโมง และผ่านกระประเมินตามเกณฑ์ที่กาหนด
Field work in food science and nutrition or related filed for a minimum of 200 hours
and pass requirement
2. กิจกรรมของนักศึกษา
2.1 ก่อนไปปฏิบัติสหกิจ
1) ผ่านการเรียนรายวิชา 712-301 การเตรียมสหกิจศึกษา และการปฐมนิเทศก่อนไปปฏิบัติสหกิจ
2) เลือกสถานประกอบการ และติดต่อประสานงานกับสถานประกอบการ
2.2 ระหว่างการปฏิบัติสหกิจ
1) นักศึกษาปฏิบัติสหกิจตามที่สถานประกอบจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับนักศึกษา ได้แก่ ตาแหน่งงานของ
นักศึกษา อาจรวมถึงหัวข้อโครงงาน และกิจกรรมอื่นๆ ตลอด 20 สัปดาห์ ที่สอดคล้องและมีคุณภาพตาม
สาขาวิชาชีพ
2) ส่งแผนงาน 20 สัปดาห์และโครงร่างวิจัยแก่ผู้รับผิดชอบรายวิชา เพื่อให้หลักสูตรฯ จัดเตรียมอาจารย์นิเทศ
และ/อาจารย์ที่ปรึกษาที่มีประสบการณ์ทางวิชาชีพเช่นเดียวกับนักศึกษา เพื่อดูแลนักศึกษาตลอดการ
ปฏิบัติงาน
3) นาเสนอเสนอความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน/การทาโครงงานวิจัยต่อสถานประกอบการและอาจารย์ที่
เกี่ยวข้องเป็นระยะๆ
2.3 หลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติสหกิจ
7
1) นาเสนอผลการปฏิบัติงาน/การทาโครงงานวิจัยต่อสถานประกอบการ
2) ส่งรายงานผลการปฏิบัติสหกิจ/โครงงานวิจัยแก่สถานประกอบการและอาจารย์ที่ปรึกษา
3) แลกเปลี่ยนประสบการณ์หรือนาเสนอผลการปฏิบัติงาน/การทาโครงงานวิจัยแก่คณาจารย์และนักศึกษาใน
สาขาวิชา
แผนการดาเนินงานสหกิจ ประจาปีการศึกษา 2562
สัปดาห์ที่ กิจกรรม เอกสารที่เกี่ยวข้อง กาหนดส่งงานมอบหมาย
1 -นักศึกษารายงานตัวที่ฝ่ายบุคคล -หนังสือส่งตัวปฏิบัติสหกิจ -
-นักศึกษารับการปฐมนิเทศโดยสถาน -กรมธรรม์ประกันชีวิต
ประกอบการ -แบบประเมินผลนักศึกษา
-นักศึกษารายงานตัวต่อผู้นิเทศ ณ แผนกที่ โดยพนักงานนิเทศ (coop-
ปฏิบัติงาน 04)
-นักศึกษาวางแผนการปฏิบัติงานร่วมกับผู้
นิเทศ
2-3 -นักศึกษาและสถานประกอบการจัดทาแบบ -เอกสาร coop-01 นักศึกษาส่งแบบแจ้ง
รายงานตัวเข้าปฏิบัติงาน รายงานตัวเข้าปฏิบัติงาน
-สถานประกอบการมอบหมายงาน (Job สหกิจศึกษา (coop-01)
position) ให้กับนักศึกษา ถึงอาจารย์ผู้ประสานงาน
-สถานประกอบการชี้แจงและทาความเข้าใจ รายวิชา
ถึงตาแหน่งงานและลักษณะงาน (Job ภายในช่วงระหว่างวันที่
description) ที่นักศึกษาต้องปฏิบัติ 23-27 ธค 2562
-นักศึกษาจัดส่งส่งแบบแจ้งรายงานตัวเข้า
ปฏิบัติสหกิจศึกษา
4-5 -นักศึกษาและสถานประกอบการจัดทา -เอกสาร coop-02 นักศึกษาส่งแบบแจ้ง
แผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงานสหกิจ
-นักศึกษาส่งแบบแจ้งแผนปฏิบัติงานสหกิจ (coop-02) แก่อาจารย์ผู้
-นักศึกษาและพนักงานนิเทศร่วมกันกาหนด ประสานงานรายวิชา
โจทย์วิจัยในสถานประกอบการ ภายในช่วงระหว่างวันที่
1-17 ม.ค. 2563
6-8 -นักศึกษาปฏิบัติสหกิจ -เอกสาร coop-03 -อาจารย์นิเทศจัดส่งแบบ
-คณาจารย์ไปนิเทศครั้งที่ 1 -แบบประเมินรายงาน บันทึกการนิเทศงานสหกิจ
-นักศึกษานาเสนอโครงร่างวิจัย โครงงานของนักศึกษาสหกิจ ศึกษา (โดยอาจารย์นิเทศ)
-อาจารย์นิเทศบันทึกผลการนิเทศงานสหกิจ ศึกษา (อาจารย์ที่ปรึกษา) coop-03
8
ศึกษาในแบบฟอร์ม coop-03 -อาจารย์ส่งแบบประเมิน
รายงานโครงงานวิจัยของ
นักศึกษาสหกิจศึกษา แก่
อาจารย์ผู้ประสานงาน
รายวิชา
ภายในช่วงระหว่างวันที่
20 ม.ค-7 ก.พ 2563
9-13 -นักศึกษาปฏิบัติสหกิจศึกษา - -
-อาจารย์นิเทศติดตามความก้าวหน้าของ
โครงงานวิจัยของนักศึกษา
16-17 -คณาจารย์ไปนิเทศครั้งที่ 2 - เกณฑ์การประเมินทักษะ -นักศึกษานาเสนอผลงาน
-นักศึกษานาเสนอผลการปฏิบัติงานและ การนาเสนอการปฏิบัติสหกิจ ภายในช่วงระหว่างวันที่
โครงงาน ณ สถานประกอบการ ศึกษา (rubric) 30 ม.ค-10 เม.ย 2563
-นักศึกษาแจ้งเตือนพนักงานนิเทศส่งผล - เอกสาร coop-02 - อาจารย์นิเทศจัดส่งแบบ
ประเมิน coop-04 กลับมายังคณะฯ บันทึกการนิเทศงานสหกิจ
ศึกษาครั้งที่ 2 (coop-03)
แก่อาจารย์ผู้ประสานงาน
รายวิชา
- พนักงานนิเทศส่งผล
ประเมิน coop-04
กลับมายังคณะฯ
18-19 -นักศึกษาส่งเล่มรายงานปฏิบัติสหกิจ พร้อม -เล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ นักศึกษาจัดส่งเล่มรายงาน
นาหนังสือขออนุญาตเผยแพร่เล่มรายงานให้ผู้ -หนังสือขออนุญาตเผยแพร่ ฉบับสมบูรณ์ พร้อม
ควบคุมปฏิบัติสหกิจลงนาม เล่มรายงาน หนังสือขออนุญาตเผยแพร่
เล่มรายงานจากสถาน
ประกอบการให้อาจารย์
นิเทศ
ภายในช่วงระหว่างวันที่
13-24 เม.ย. 2563
20 -นักศึกษาส่งรายงานปฏิบัติสหกิจฉบับ -แบบประเมิน coop-05 -อาจารย์ส่งแบบประเมิน
สมบูรณ์ให้อาจารย์ที่ปรึกษา -แบบประเมิน coop-06 รายงานโครงงานของ
-ส่งแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ นักศึกษาสหกิจศึกษา
9
-สัมมนาหลังปฏิบัติสหกิจ ณ ภาควิชาฯ (coop-05) แก่อาจารย์ผู้
ประสานงานรายวิชา
- นักศึกษาส่งแบบประเมิน
ผลสัมฤทธิ์การฝึก
ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
(coop-06)
ภายในวันที่ 8 พ.ค. 2563
**** นาเสนอผลการปฏิบัติงาน/การทาโครงงานวิจัยแก่คณาจารย์และนักศึกษาในสาขาวิชา ภายในวันที่ 15 พ.ค. 2563

3. รายงานหรืองานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย
รายงานหรืองานที่มอบหมายนักศึกษา กาหนดส่ง
1. แผนการปฏิบัตสิ หกิจ 20 สัปดาห์ ภายในสัปดาห์ที่ 4-5 ของการปฏิบัติสหกิจ
2. โครงร่างวิจัยในสถานประกอบการจริง ภายในสัปดาห์ที่ 6-8 ของการปฏิบัติสหกิจ
3. การนาเสนอผลการปฏิบัตสิ หกิจ/โครงงาน ภายในสัปดาห์ที่ 16-17 ของการปฏิบัติสหกิจ
4. รูปเล่มรายงานผลการปฏิบัตสิ หกิจ ภายในสัปดาห์ที่ 18-19 ของการปฏิบัติสหกิจ
5. นาเสนอผลการปฏิบัติงาน/การทาโครงงานวิจัยแก่ ภายในภาคเรียนที่ 2/2562
คณาจารย์และนักศึกษาในสาขาวิชา

4. การติดตามผลการเรียนรู้การฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษา
4.1 กิจกรรมติดตามผลการเรียนรู้ระหว่างการไปสหกิจ
1) การรายงานตัวของนักศึกษาเมื่อเดินทางไปรายงานตัวเข้าปฏิบัติสหกิจยังสถานประกอบการ
2) อาจารย์ติดตามดูแลด้านการตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ การพัฒนาตนเอง การทางานเป็นทีม ตลอดการ
ไปปฏิบัติสหกิจ
3) อาจารย์ติดตามและประสานงานกับสถานประกอบการที่นักศึกษาไปปฏิบัติสหกิจ เกี่ยวกับตาราง/ผลงาน/
โปรแกรมต่างๆ/โครงการวิจัย ที่ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ
4) ได้โครงร่างวิจัยที่นักศึกษาจะทาในการปฏิบัติสหกิจในสถานประกอบการ
5) การจัดเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัยในการปฏิบัติสหกิจในสถานประกอบการและอาจารย์นิเทศสห
กิจศึกษาตามความเหมาะสม
6) อาจารย์ให้คาปรึกษาแก่นักศึกษาตลอดระยะการไปปฏิบัติสหกิจ
4.2 กิจกรรมติดตามผลการเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการไปปฏิบัติสหกิจ
10
1) จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องในรายวิชาสหกิจศึกษา ให้นักศึกษานาเสนอผลการเรียนรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจาก
การไปปฏิบัติสหกิจ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษาที่จะไปปฏิบัติสหกิจต่อไป
2) ประเมินผลการไปนิเทศนักศึกษา ณ สถานประกอบการ
3) ได้ผลงานวิจัยรวมถึงรายงานวิจัยที่นักศึกษาทาในการปฏิบัติสหกิจร่วมกับสถานประกอบการ
4) อาจารย์และสถานประกอบการประเมินผลนักศึกษาที่ไปปฏิบัติสหกิจ
5. หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงในสถานประกอบการที่ดูแลกิจกรรมในภาคสนาม
1) จัดตาราง/ผลงาน/โปรแกรมต่างๆ ที่จะให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ
3) ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ กฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติ ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติสหกิจ
4) ให้คาแนะนาในการไปปฏิบัติสหกิจ การปฏิบัติตน/ความรับผิดชอบในระหว่างการปฏิบัติสหกิจ
5) ติดตามความก้าวหน้า ประเมินผลการไปปฏิบัติสหกิจของนักศึกษาและรายงานผลต่ออาจารย์ผู้สอน
6) ประสานงานร่วมกับอาจารย์ผู้สอน
6. หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์
1) ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับสถานประกอบการหรือองค์กรต่าง ๆ ที่นักศึกษาไปปฏิบัติสหกิจ
2) ให้คาแนะนานักศึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติสหกิจทั้งในด้านวิชาการ และการปฏิบัติตน การตรงต่อเวลา การ
แต่งกาย/มารยาทต่าง ๆ การมีคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ
3) ประเมินผลนักศึกษา
4) ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับโครงร่างวิจัยที่ทาในสถานประกอบการ
7. การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนักศึกษา
ปฐมนิเทศให้แก่นักศึกษาเกี่ยวกับขั้นตอน กฏระเบียบต่างๆ ในการปฏิบัติสหกิจ
8. สิ่งอานวยความสะดวกและการสนับสนุนที่ต้องการจากสถานที่ที่จัดประสบการณ์ภาคสนาม/สถานประกอบการ
1) จัดพี่เลี้ยงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพดูแลและให้คาแนะนานักศึกษาในทุกด้าน
2) ประเมินประสิทธิภาพและคุณลักษณะของนักศึกษาในการปฏิบัติงาน

หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ
1. การกาหนดสถานที่ปฏิบัติสหกิจ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาสหกิจ คัดเลือกสถานประกอบการที่ยินดีรับนักศึกษาไปปฏิบัติสหกิจ ในภาคเรียนที่
1/2562 โดยมีระยะเวลาไม่ต่ากว่า 16 สัปดาห์ติดต่อกัน โดยพิจารณาลักษณะงานที่เหมาะสมและมีความพร้อมดังนี้
1) เข้าใจ และสนับสนุนการปฏิบัติสหกิจตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
11
2) มีความปลอดภัยของสถานที่ตั้ง มีความสะดวกในการเดินทาง และสภาพแวดล้อมการทางานที่ดี
3) มีอุปกรณ์ เทคโนโลยี พร้อมในการปฏิบัติสหกิจเพื่อแก้ปัญหาตามโจทย์ที่กาหนดได้
4) สามารถจัดพนักงานพี่เลี้ยงดูแลการปฏิบัติสหกิจของนักศึกษาได้
5) มีโจทย์ปัญหาที่มีความยากง่ายซึ่งเหมาะสมกับศักยภาพของนักศึกษาในระยะเวลาที่กาหนด
6) ยินดี เต็มใจรับนักศึกษาปฏิบัติสหกิจ มีการติดต่อประสานงาน กาหนดล่วงหน้าก่อนการปฏิบัติสหกิจ จัดนักศึกษา
ลงปฏิบัติสหกิจตามความสมัครใจ หรือนักศึกษาอาจหาสถานที่ปฏิบัติสหกิจด้วยตนเอง แต่ต้องได้รับความ
เห็นชอบจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา/อาจารย์ที่ปรึกษา
2. การเตรียมนักศึกษา
1) นักศึกษาต้องผ่านการเรียนวิชา 712-301 การเตรียมสหกิจศึกษา ในภาคเรียนที่ 1/2562 และเข้าร่วมกิจกรรมสห
กิจศึกษาที่คณะกาหนด
2) ชี้แจงวัตถุประสงค์ การไปปฏิบัติสหกิจ การปฏิบัติตนของนักศึกษาในระหว่างการปฏิบัติสหกิจ สิ่งที่คาดหวังจาก
การปฏิบัติสหกิจ วิธีการประเมินผล ช่องทางการติดต่อประสานงาน
3) นักศึกษาต้องเข้าร่วมปฐมนิเทศก่อนการไปปฏิบัติสหกิจในภาคเรียนที่ 2
3. การเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์
1) ต้องปฏิบัติงานหรือสอนในสาขาที่เกี่ยวข้องมาแล้วไม่ต่ากว่า 1 ภาคการศึกษา
2) มีความรู้ในสาขาที่เป็นที่ปรึกษา/นิเทศ
3) จัดประชุมชี้แจงเพื่อรับทราบข้อมูลและทาความเข้าใจในสถานประกอบการ/หน่วยงานแต่ละแห่งที่นักศึกษาไป
ปฏิบัติสหกิจ
4) เข้าอบรมเชิงปฏิบัติการคณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษา หรือมีประสบการณ์การนิเทศนักศึกษาหรือให้คาปรึกษาใน
สถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการอย่างน้อย 1 ปี หรืออยู่ในดุลยพินิจของ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ
4. การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงในสถานที่ปฏิบัติสหกิจ
หารือร่วมกับสถานประกอบการ เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์ บทบาทหน้าที่ สิ่งที่คาดหวัง การประเมิน การดูแล
และการติดตามการปฏิบัติสหกิจตลอด 20 สัปดาห์
5. การจัดการความเสี่ยง
1) ประสานงานกับพนักงานพี่เลี้ยงอย่างต่อเนื่อง
2) ติดต่อนักศึกษาเพื่อประสานงานกับอาจารย์ที่ปรึกษา/นิเทศก์อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
3) มีช่องทางหลากหลายในการติดต่อกับนักศึกษาและพี่เลี้ยง
12
หมวดที่ 6 การประเมินนักศึกษา
1. หลักเกณฑ์การประเมิน
1) การไปปฏิบัติสหกิจ โดยการสังเกตของอาจารย์ในประเด็นต่อไปนี้
- การติดต่อประสานงานกับพี่เลี้ยงและสถานประกอบการ
- การเขียนแผนปฏิบัติงาน 20 สัปดาห์
- การเขียนโครงร่างโครงงาน
- การแก้ปัญหาในระหว่างปฏิบัติสหกิจ
2) ผลการปฏิบัติสหกิจ โดยพิจารณาจากรายงาน ความรับผิดชอบ และการนาเสนอโครงงาน
2. กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
1) ประเมินจากการสังเกตความเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักศึกษาในด้านต่างๆ ตามเกณฑ์ที่กาหนด
2) ประเมินการบรรลุผลการเรียนรู้ของนักศึกษาทั้ง 5 ด้าน ตามเกณฑ์การประเมินผลการศึกษาของมหาวิทยาลัย
3) ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
4) ประเมินจากการนาเสนอโครงงานที่ได้รับมอบหมาย ณ สถานประกอบการ
5) ประเมินจากการนาเสนอโครงงานต่อคณาจารย์ เพื่อนนักศึกษา และรุ่นน้อง ณ มหาวิทยาลัย หลังเสร็จสิ้นการ
ไปปฏิบัติสหกิจ
3. ความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงต่อการประเมินนักศึกษา
ประเมินผลจากการติดตามการไปปฏิบัติสหกิจของนักศึกษาตลอด 20 สัปดาห์
4. ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบการเตรียมสหกิจต่อการประเมินนักศึกษา
ประเมินผลนักศึกษาหลังจากเสร็จสิ้นการไปปฏิบัติสหกิจ ตามแบบประเมิน โดยพิจารณาจากรายงานผลการ
ประเมินตนเองของนักศึกษา ผลงานต่างๆ ที่ได้รับมอบหมาย เช่น โครงงาน การนาเสนอโครงงาน และผลการประเมินจาก
สถานประกอบการ
5. การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง
ประธานหลักสูตรประสานงานกับอาจารย์ผู้ดูแลและสถานประกอบการ เพื่อทาความเข้าใจในการประเมิน หาก
เกิดความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ มีการประชุมร่วมกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาหาข้อสรุป

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
1. กระบวนการประเมินการเตรียมสหกิจจากผู้เกี่ยวข้องต่อไปนี้
1.1 นักศึกษา
13
1) ประเมินผลการไปสหกิจ
2) ประเมินตนเอง
1.2 พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ
1) ประเมินการปฏิบัติสหกิจ เช่นการติดต่อประสานงานสหกิจ การปฏิบัติสหกิจ การนิเทศ
2) ประเมินสมรรถนะของนักศึกษาตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด
3) ประเมินเกณฑ์การประเมินผล แบบประเมิน วิธีการประเมิน
1.3 อาจารย์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม
1) ประเมินสมรรถนะของนักศึกษาว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดของหลักสูตรหรือไม่
2) ประเมินการจัดการฝึกปฏิบัติงาน ความพร้อม ความร่วมมือ ฯลฯ
3) ประเมินเกณฑ์การประเมินผล แบบประเมิน ตามวัตถุประสงค์
1.4 อื่น ๆ เช่น บัณฑิตจบใหม่
ประเมินประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึกปฏิบัติสหกิจ ที่มีผลต่อการประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษา
2. กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง
1) นาผลจากการประเมิน ไปปฏิบัติสหกิจมาเป็นข้อมูลในการวางแผน ปรับปรุงการไปปฏิบัติสหกิจของนักศึกษารุ่น
ต่อไป
2) นาผลการประเมินมาประชุม หารือร่วมกันเพื่อปรับปรุงรายวิชา การดาเนินการประชุมหลักสูตร หรือภาควิชา ร่วม
พิจารณานาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงสาหรับการใช้รอบปีการศึกษาถัดไป นาแสดงไว้ในรายงานผลการดาเนินการ
หลักสูตร

You might also like