You are on page 1of 3

น้ำหนักเด็กตามเกณฑ์ในแต่ละเดือน ทีค

่ ณ ั สิคะว่า ลูกน้อยตัง้ แต่แรกเกิด จนถึงวัย 1 ขวบ ควรมีน้ำหนักตัวเท่าไร จึงจะถือว่า


ุ พ่อคุณแม่ควรรู ้ มาดูกน
สมบูรณ์ ตามเกณฑ์พฒ
ั นาการเจริญเติบโต

          คุณพ่อคุณแม่ทราบหรือไม่วา่ น้ำหนักตัวของลูกมีผลต่อพัฒนาการเจริญเติบโตของพวกเขา เพราะเป็ นสิง่ ทีส่ ามารถใช้ประเมินผลการเจริญ


เติบโตของเด็ก ๆ ได้ ดังนัน
้ จึงจำเป็ นอย่างยิง่ ทีค
่ ณ
ุ พ่อคุณแม่ควรให้ความสำคญ
ั ในการติดตาม ดูแล และสังเกตอย่างต่อเนื่อง เพือ
่ จะได้ทราบว่าลูกมีการ
เจริญเติบโตทีป
่ กติหรือไม่ โดยเฉพาะในช่วงวัยทีล่ ูกเริม
่ กินอาหารอืน
่ ๆ ได้นอกจากนม จะเป็ นช่วงทีน
่ ้ำหนักตัวของเด็กเริม ้ ทำให้เด็ก
่ เปลีย่ นแปลงมากขึน
บางคนอาจมีน้ำหนักเกินหรือต่ำกว่ามาตรฐานได้คะ่

          และเพือ่ ให้งา่ ยต่อการสังเกตการเจริญเติบโตของลูกน้อย วันนี้กระปุกดอทคอมเลยได้นำข้อมูลดี ๆ เกีย่ วกับ น้ำหนักเด็กตามเกณฑ์ในแต่ละเดือน


ตัง้ แต่ชว่ งแรกเกิด จนถึงวัย 1 ขวบ มาให้คณ
ุ พ่อคุณแม่ได้ทราบกัน ยังไงแล้วลองเช็กดูสค
ิ ะว่า ลูกของคุณมีน้ำหนักทีอ
่ ยูต
่ ามเกณฑ์หรือเปล่า

          โดยปกติทารกแรกเกิดจะมีน้ำหนักตัวเฉลีย่ อยูท่ ี่ 2.8 - 3.2 กิโลกรัม หากน้ำหนักตัวแรกเกิดน้อยกว่า 2.5 กิโลกรัม ให้ถือว่าต่ำกว่าเกณฑ์
มาตรฐาน ซึง่ อาจเกิดขึน
้ ได้กบั ทารกทีค
่ ลอดก่อนกำหนดและทารกทีค
่ ลอดตามกำหนด แต่คณ
ุ พ่อคุณแม่ไม่ตอ
้ งกังวลค่ะ เพราะหลังจากนัน
้ น้ำหนักของ
ทารกจะค่อย ๆ เพิม ้ เรือ
่ ขึน ่ ย ๆ ทัง้ นี้ในช่วงตัง้ แต่แรกเกิดจนถึงอายุ 1 ขวบ ผูป
้ กครองควรชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของเด็กเป็ นประจำอย่างสม่ำเสมอ
ดังนี้

          -  อายุ 2 สัปดาห์ - 6 เดือน เดือนละ 1 ครัง้

          -  6 เดือน - 1 ขวบ 1 ครัง้ ต่อ ทุก ๆ 2 เดือน

้ ไป 1 ครัง้ ต่อ ทุก ๆ 3 เดือน


          - 1 ขวบขึน

การเปลีย่ นแปลงของน้ำหนักลูกในแต่ละช่วงเดือน

แรกเกิด - 3 เดือน

          ทารกหลังจากแรกคลอดจะมีน้ำหนักตัวเพิม่ ขึน้ 700 - 800 กรัมต่อเดือน ดังนัน้ เมือ่ ครบ 3 เดือน น้ำหนักตัวของลูกควรเพิม่ ขึน้ ประมาณ 2 -
ึ้ อยูก
2.5 กิโลกรัม ทัง้ นี้การเปลีย่ นแปลงของน้ำหนักก็ขน ่ บั ปัจจัยอย่างอืน
่ ร่วมด้วย

อายุ 4 - 6 เดือน

          ทารกในวัยนี้จะดืม่ นมมากขึน้ และน้ำหนักจะค่อย ๆ เพิม่ ขึน้ ประมาณ 500 - 600 กรัมต่อเดือน จนเมือ่ อายุประมาณ 6 เดือน ลูกอาจมีน้ำ
หนักเป็ น 2 เท่าของน้ำหนักตอนแรกเกิด ทัง้ นี้หลังจากอายุ 6 เดือนเป็ นต้นไป ลูกสามารถกินอาหารเสริมได้แล้ว คุณพ่อคุณแม่จงึ สามารถจัดเตรียม
อาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการให้แก่ลูกน้อยได้ตามต้องการ
อายุ 7 - 9 เดือน
          สำหรับลูกน้อยวัย 7 - 9 เดือน จะมีน้ำหนักเพิม่ ขึน้ ประมาณ 400 กรัมต่อเดือน อาจมากหรือน้อยกว่านี้นิดหน่ อยค่ะ

อายุ 9 เดือน - 1 ขวบ

          น้ำหนักตัวในเด็กวัย 9 เดือน - 1 ขวบ จะเพิม่ ขึน้ ประมาณ 300 กรัมต่อเดือน ทีล่ ดลงนัน้ เนื่องจากเด็กมีการเผาผลาญมากกว่าเดิม ฟันเริม่ ขึน้
อาจเกิดอาการปวดฟัน ทำให้บางคนดืม
่ นมหรือกินอาหารได้น้อยลงค่ะ

อายุ 1 ขวบขึน
้ ไป

          ในช่วงวัย 1 ขวบ เด็กจะน้ำหนักตัวเพิม่ ขึน้ ประมาณเดือนละ 200 กรัม โดยน้ำหนักตัวของลูกอาจเพิม่ หรือลดกว่าเดิมได้จากหลากหลายปัจจัย
้ หรือมีสว่ นสูงทีเ่ พิม
เช่น ฟันขึน ้ เป็ นต้น
่ ขึน

          ทัง้ นี้ผปู้ กครองควรหมั่นสังเกตน้ำหนักของลูกน้อยอยูเ่ สมอว่าอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานหรือไม่ ซึง่ น้ำหนักของเด็กผูช้ ายและเด็กผูห้ ญิงจะมีคา่ เฉลีย่ ที่
แตกต่างกันไปเล็กน้อย โดยน้ำหนักเด็กตามเกณฑ์ตง้ ั แต่แรกเกิด ถึง 1 ขวบ คุณพ่อคุณแม่สามารถตรวจสอบได้จากตารางดังต่อไปนี้คะ่

น้ำหนักตัวโดยเฉลีย่ ตามเกณฑ์มาตรฐานของเด็กตามช่วงอายุ 1 - 12 เดือน


ข้อมูลจาก : สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

ปัจจัยทีท
่ ำให้น้ำหนักเด็กเพิม ้ หรือลดลง
่ ขึน

          ไม่เพียงแต่อาหารและโภชนาการจะสำค ัญต่อน้ำหนักตัวของลูกแล้ว ปัจจัยต่าง ๆ ก็ยงั ส่งผลต่อการเพิม่ ขึน้ และลดลงของน้ำหนักได้ เช่น สภาพ
แวดล้อมเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตหรือไม่ มีพืน
้ ทีใ่ ห้ลูกได้เคลือ
่ นไหวออกกำลังกายมากน้อยแค่ไหน รวมถึงเรือ
่ งพันธุกรรมของพ่อแม่ก็มีสว่ น ถ้า
คนในครอบครัวทีม
่ ีรูปร่างอวบอ้วน เด็กก็มีแนวโน้มทีจ่ ะอ้วนตามได้เช่นกัน อีกทัง้ เรือ
่ งของสุขภาพ โรคภัยไข้เจ็บ และการใช้ยาต่าง ๆ ก็สง่ ผลต่อน้ำหนัก
ตัวของเด็กได้คะ่

          แม้วา่ เรือ่ งน้ำหนักตัวของลูกน้อยเป็ นสิง่ ทีค่ ณ


ุ พ่อคุณแม่ควรสังเกตอยูส
่ ม่ำเสมอ แต่ก็อย่าวิตกกังวลจนเครียดเกินไปนะคะ เพราะร่างกายของเด็ก
มีระบบการย่อย การเผาผลาญ และการดูดซึมทีแ ึ้ ๆ ลง ๆ ในบางเดือน ทีส
่ ตกต่างกัน อาจมีขน ่ ำคญ
ั ไม่ควรเอาน้ำหนักตัวของลูกไปเปรียบเทียบกับเด็กคน
อืน
่ เพียงแต่ให้ดูวา่ อยูต
่ ามเกณฑ์มาตรฐานหรือไม่ แต่หากสังเกตว่าลูกผอมหรืออ้วนมากไป อาจเกิดจากอาหารการกิน หรือความผิดปกติบางอย่างร่วม
ด้วย อย่างไรแล้วแนะนำให้ปรึกษากุมารแพทย์จะดีทส
ี่ ุดค่ะ

You might also like