You are on page 1of 104

สมุนไพรใกล้ตัว

108 ชนิด ยารักษาโรค

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 1


สมุนไพรยารักษาโรค
ศูนย์การเรียนรูด
้ า้ นสมุนไพรบ้านนางกลิน
่ บรรจง สุทธิธญ
ั กิจ
712/1 หมู่ที่ 12 ตาบลวังทรายพูน อาเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร
*********************************************

การรั ก ษาโรคโดยการใช้ ส มุ น ไพร เป็ น ภู มิปั ญ ญาท้อ งถิ่ น ที่


บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์จากประสบการณ์เพื่อแก้ปัญหาการดารงชีวิตโดย
พัฒนาเป็นองค์ความรู้ภูมิปัญญาตามศักยภาพและสภาพแวดล้อมที่เป้นอยู่
ของตนผ่านการสังเกต ทดลองและถ่ายทอดเป็นความรู้มาสู่รุ่นต่อรุ่น มีการ
ประยุ ก ต์ ปรั บ เปลี่ ย นไปตามสภาพการณ์ ท างสั ง คม วั ฒ นธรรม และ
สิ่ง แวดล้ อม แนวคิ ด พื้ น ฐานของภูมิปัญญาชาวบ้านในการใช้สมุน ไทย
เพื่อรักษาโรคอยู่บนหลักการที่ว่าคนมีสุขภาพดีเมื่อธาตุทั้งสี่ คือ ดิน น้า
ลม ไฟ ในร่างกายมีความสมดุล ดังนั้น เมื่อคนเจ็บไข้ได้ป่วยเป็นเพราะ
ขาดความสมดลจึงจะทาการปรับธาตุให้เกิดภาวะสมดุลโดยใช้ยาสมุนไพร

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 2


นางกลิน
่ บรรจง สุทธิธญ
ั กิจ

สังคมไทยใช้สมุนไพรมาเพื่อรักษาโรคตั้งแต่บรรพบุรุษ ซึ่ง
มี วิวัฒ นาการในด้านการค้ น คว้าวิ จัย เพื่ อน าพืชสมุน ไพรมาใช้เ กิด จา
การ ลองผิ ด ลองถู ก จนค้ น พบวิ ธี ก ารใช้ ส มุ น ไพรเพื่ อ ก ารรั ก ษาที่
หลากหลายแตกต่ างกัน ไปในแต่ล ะท้ องถิ่น ทั้ ง นี้ ประสิท ธิภ าพในการ
รักษาโรคด้วยสมุนไพรนั้นจะขึ้นอยู่กับโรคและอาการของผู้ป่วยด้วยด้วย
กา ร ใ ช้ สมุ น ไ พ ร เพื่ อ ก า ร รั ก ษ า โ ร ค มี ทั้ ง กา ร รั บ ป ร ะ ท า น สด แ ห้ ง
บดละเอียดผสมกับน้าผึ้ง (ยาลูกกลอน) ต้มน้าดื่ม เป็นต้น และวิ ธีการใช้
เหล่ า นี้ จ ะถู ก บั น ทึ ก และถ่ า ยทอดไปสู่ ลู ก หลานเป็ น ภู มิ ปั ญ ญาในแต่ ล ะ
ท้องถิ่น ต่อ ไป ดัง องค์ ค วามรู้ ของศู น ย์การเรี ยนรู้ ด้า นสมุน ไพรบ้านนาง
กลิ่นบรรจง สุทธิธัญกิจ หมู่ที่ 12 ตาบลวังทรายพูน อาเภอวังทรายพูน
จังหวัดพิจิตร ที่ได้ถ่ายทอดการใช้สมุนไพรรักษาโรคไว้ ดังนี้

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 3


กล้วยน้าว้า

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 หัวปลี เนื้อกล้วยน้าว้าดิบ หรือห่าม กล้วยน้าว้าสุกงอม ราก ต้น
ใบ ยางจากใบ

สรรพคุณ :
 ราก แก้ขัดเบา
 ต้น ห้ามเลือด แก้โรคไส้เลื่อน
 ใบ รักษาแผลสุนัขกัด ห้ามเลือด
 หัวปลี เป็นยาแก้ร้อนใน กระหายน้า โรคโลหิตจาง บารุง
น้านม แก้โรคเกี่ยวกับลาไส้ ลดน้าตาลในเส้นเลือด
 ยางจากผลดิบ ใช้ห้ามเลือดหรือใส่แผลสด
 ผล รักษาโรคกระเพาะ แก้ท้องเสีย ยาอายุวัฒนะ แก้โรคบิด
รักษาแผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก แก้ริดสีดวง
 กล้วยน้าว้าดิบ มีฤทธิ์ฝาดสมาน ใช้แก้อาการท้องเดิน แก้โรค
กระเพาะและอาหารไม่ย่อย
 กล้วยน้าว้าสุกงอม เป็นอาหาร ยาระบาย สาหรับผู้ที่อุจาระแข็ง
หรือริดสีดวงทวารหนักขั้นแรกจนกระทั่งถ่ายเป็นเลือด

วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 ขับน้านม ใช้หัวปลีแกงเลียงรับประทานบ่อย ๆ หลังคลอดใหม่

 แก้ ท้อ งเดิน ท้อ งเสีย ใช้ กล้ วยน้ าว้ าดิ บหรือ ห่า มมาปอกเปลือ ก
หั่นเป็นชิ้นบาง ๆ ใส่น้าพอท่วมยาต้มนานครึ่งชั่วโมง ดื่มครั้งละ ½ -
1 ถ้ ว ยแก้ ว ให้ ดื่ ม ทุ ก ครั้ ง ที่ ถ่ า ยหรื อ ทุ ก ๆ 1-2 ชั่ ว โมง ใน 4-5

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 4


ชั่วโมงแรก หลั ง จากนั้ น ให้ดื่มทุก ๆ 3-4 ชั่วโมง หรื อวัน ละ 3-4
ครั้ง
 แก้โรคกระเพาะ นากล้วยน้าว้าดิบ (ถ้าเป็นกล้วยกักมุกดิบจะ
ดีกว่า) มาปอกเปลือกแล้วนาเนื้อมาฝานเป็นแผ่นบาง ๆ ตากแดด 2
วัน ให้ แ ห้ ง กรอบ บดเป็น ผงให้ ล ะเอีย ด ใช้ รั บ ประทานครั้ ง ละ 1-2
ช้อนโต๊ะ ละลายน้าข้าว น้าผึ้ง (น้าธรรมดาก็ได้) รับประทานก่อน
อาหารครึ่งชั่วโมง และก่อนนอนทุกวัน
 แก้ทองผูก ให้รับประทานกล้วยน้าว้าสุกงอม ครั้งละ 2 ผล วัน
ละ 3 ครั้ ง ก่ อ นอาหาร ½ ชั่ ว โมง เวลารั บ ประทานควรเคี้ ย วให้
ละเอียดที่สุด
 แก้ท้อ งเดิน ใช้เนื้อกล้วยน้าว้าห่ามรับประทาน หรือใช้กล้วย

น้าว้าดิบ ฝานเป็นแว่นตากแดดแห้งรับประทาน

ตะไคร้

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ทั้งต้น ราก ใบสด ต้น
สรรพคุณ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 5


 ทัง้ ต้น : รสฉุน สุมขุม แก้หวัด ปวดศีรษะ ไอ แก้ท้องอืด
ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด ขับลมในลาไส้ บารุงไฟธาตุ ทาให้เจริญ
อาหาร แก้ปวดกระเพาะอาหาร แก้ท้องเสีย แก้ปวดข้อ ปวดเมื่อย
ฟกช้าจากหกล้ม ขาบวมน้า แก้โรคทางเดินปัสสาวะ นิ่ว ขับ
ปัสสาวะ ประจาเดือนมาผิดปกติ แก้ปัสสาวะเป็นเลือด แก้โรคหืด
 ราก แก้เสียดแน่น แสบบริเวณหน้าอก ปวดกระเพาะอาหาร
และขับ บารุงไฟธาตุ ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว แก้ปัสสาวะพิการ รักษา
เกลื้อน แก้อาการขัดเบา
 ใบสด มีสรรพคุณช่วยลดความดันโลหิต แก้ไข
 ต้น มีสรรพคุณเป็นยาขับลม แก้ผมแตกปลาย เป็นยาช่วยให้
ลมเบ่งขณะคลอดลูก ใช้ดับกลิ่นคาว แก้เบื่ออาหาร บารุงไฟธาตุ
ให้เจริญ แก้โรคทางเดินปัสสาวะ นิ่วปัสสาวะพิการ แก้หนองใน

วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 แก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด ปวดท้อง
- ใช้ลาต้นแก่ ๆ ทุบพอแหลก ประมาณ 1 กามือ (ประมาณ
40-60 กรัม) ต้มเอาน้าดื่มหรือประกอบเป็นอาหาร
- นาตะไคร้ทั้งต้นรวมทั้งรากจานวน 5 ต้น สับเป็นท่อน ต้ม
กับเกลือ ต้ม 3 ส่วน ให้เหลือ 1 ส่วน รับประทานครั้งละ 1 ถ้วย
แก้ว รับประทาน 3 วัน จะหายปวดท้อง

 แก้อาการขัดเบา ผู้ทป
ี่ ัสสาวะขัดไม่คล่อง (แต่ต้องไม่มีอาการ
บวม)
- ใช้ต้นแก่สด วันละ 1 กามือ (ประมาณ 40-60 กรัม) , แห้ง
หนัก 20-30 กรัม) ต้มกับน้าดื่มครั้งละ 1 ถ้วยชา (75 มิลลิลิตร) วัน
ละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
- ใช้เหง้าแก่ที่อยู่ใต้ดิน ฝานเป็นแว่นบาง ๆ คั่วไฟอ่อน ๆ พอ
เหลือง ชงเป็นชาดื่ม ครั้งละ 1 ถ้วยชา วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 6


กระชาย

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 เหง้าใต้ดิน ราก ใบ

สรรพคุณ :
 เหง้าใต้ดน
ิ มีรสเผ็ดร้อนขม แก้ปวดท้อง มวนในท้อง ท้องอืด
ท้องเฟ้อ บารุงกาลัง บารุงกาหนัด แก้กามตายด้าน เป็นยารักษา
ริดสีดวงทวาร
 เหง้ า และราก แก้ บิด มูก เลื อ ด เป็น ยาขั บปั สสาวะ แก้ ปัส สาวะ
พิการ ใช้เป็นนาภายนอกรักษา ขี้กลาก
 ใบ บารุงธาตุ แก้โรคในปาก คอ แก้โลหิตเป็นพิษ ถอนพิษ
ต่าง ๆ

วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 แก้ท้องร่วงท้องเดิน
- ใช้เหง้าสด 1-2 เหง้า ตาหรือฝนเหง้าที่ปิ้งไฟแล้วกับน้าปูน
ใส หรือคั้นให้ข้น ๆ รับประทานครั้งละ 1-2 ช้อนแกง

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 7


 แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด ปวดมวนในท้อง
- ใช้เหง้าและราก ประมาณครึ่งกามือ (สดหนัก 5-10 กรัม,
แห้ง 3-5 กรัม) ต้มเอาน้าดื่มหรือใช้ปรุงเป็นอาหารรับประทาน
 แก้บด

- .ใช้เหง้าสด 2 เหง้า บดให้ละเอียด เติมน้าปูนใส คั้นเอาแต่
น้าดื่ม
 เป็นยาบารุงหัวใจ ใช้เหง้าและรากกระชายปอกเปลือก ล้างน้า
ให้สะอาด หั่นตากแห้ง บดเป็นผง ใช้ผงแห้ง 1 ช้อนชา ชงน้า
ร้อน ½ ถ้วยชา รับประทานครั้งเดียว
 ยารักษาริดสีดวงทวาร
- ใช้เหง้าสด 60 กรัม ประมาณ 6-8 เหง้า ผสมกับเนื้อ
มะขามเปียก 60 กรัม เกลือแกง 3 ช้อนแกง ตาแล้วต้มกับน้า 6
แก้ว เคี่ยวให้เหลือ 2 แก้ว รับประทานครั้งละ ½ แก้ว ก่อนนอน
รับประทานติดต่อกัน 1 เดือน ริดสีดวงทวารควรจะหาย

รางจืด

ส่วนที่ใช้:

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 8


 ใบ ราก และเถาสด
สรรพคุณ :
รางจืดที่มีประสิทธิภาพ คือ รางจืดชนิดเถาดอกม่วง
 รากและเถา รับประทานแก้ร้อนใน กระหายน้า
 ใบและราก ใช้ปรุงเป็นยาถอนพิษไข้ เป็นยาพอกบาดแผล น้า
ร้ อ นลวก ไฟไหม้ ท าลายพิ ษ ยา่่ า แมลง พิ ษ จากสตริ ก นิ น ให้ เ ป็ น
กลาง พิ ษ จากดื่ ม เหล้ า มากเกิ น ไป หรื อ ยาเบื่ อ ชนิ ด ต่ า งๆ เข้ า สู่
ร่ า งกายโดยตั้ ง ใจหรื อ ไม่ ตั้ ง ใจก็ ต าม เช่ น ติ ด อยู่ ใ นฝั ก ผลไม้ ที่
รับประทาน เมื่ออยู่ในสถานที่ห่างไกล การนาส่งแพทย์ต้องใช้เวลา
อาจทาให้คนไข้ถึงแก่ชีวิตได้ ถ้ามีต้นรางจืดปลูกอยู่ในบ้าน ใช้ใ บ
รางจืดไม่แก่ไม่อ่อนเกินไปนัก หรือรากที่มีอายุเกิน 1 ปีขึ้นไป และมี
ขนาดเท่ า นิ้ ว ชี้ มาใช้ เ ป็ น ยาบรรเทาพิ ษ เฉพาะหน้ า ก่ อ นน าส่ ง
โรงพยาบาล (รากรางจื ด จะมี ตั ว ยามากกว่ า ใบ 4-7 เท่ า ) ดิ น ที่ ใ ช้
ปลูก ถ้าผสมขี้เถ้าแกลบหรือผงถ่านป่น จะช่วยให้ต้นรางจืดมี ตัวยา
มากขึ้น
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 ใบสด สาหรับคน 10-12 ใบ สาหรับวัวควาย 20-30 ใบ
นาใบสดมาตาให้ละเอียดผสมกับน้าซาวข้าวครึ่งแก้ว คั้นเอาแต่น้า
ดื่มให้หมดทันทีที่มีอาการ อาจให้ดื่มซ้าได้อีกใน 1/2 - 1 ชั่วโมง
ต่อมา
 รากสด สาหรับคน 1-2 องคุลี สาหรับวัวควาย 2-4 องคุลี
นารากมาฝนหรือตากับน้าซาวข้าว แล้วดื่มให้หมดทันทีที่มีอาการ
อาจใช้ซ้าได้อีกใน 1/2 - 1 ชั่วโมงต่อมา

อัญชัน

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 9


ส่วนทีใ
่ ช้ :
 กลีบดอกสดสีน้าเงิน จากต้นอัญชัน
ดอกสีน้าเงิน
 รากของต้นอัญชันดอกขาว
สรรพคุณ :
 ดอกสีน้าเงิน ใช้เป็นสีแต่งอาหาร
 รากต้นอัญชันดอกสีขาว ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ยาระบาย
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้
 ขนมใช้กลีบดอกสด ตาเติมน้าเล็กน้อย กรองด้วยผ้าขาวบาง คั้น
เอาน้าออก จะได้น้าสีน้าเงิน (Anthocyanin) ใช้เป็น indicator แทน

lithmus ถ้าเติมน้ามะนาวลงไปเล็กน้อย จะกลายเป็นสีม่วง ใช้แต่ งสี


อาหารตามต้ อ งการ มั ก นิ ย มใช้ แ ต่ ง สี น้ าเงิ น ของขนมเรไร ขนม
น้าดอกไม้ ขนมขี้หนู
ขนุน

ส่วนที่ใช้ :
 ยวง เมล็ด แก่นของขนุน ส่าแห้งของ
ขนุน ใบ

สรรพคุณ :
 ยวงและเมล็ด รับประทานเป็นอาหาร
 แก่นของขนุน ต้มย้อมผ้าให้สีน้าตาลแก่
 ส่าแห้งของขนุน ใช้ทาชุดจุดไฟได้
 แก่นขนุนหนังหรือขนุนละมุด มีรสหวานชุ่มขม บารุงกาลัง และโลหิต
ทาให้เลือดเย็นสมาน

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 10


 ไส้ในของขนุนละมุด รับประทานแก้ตกเลือดทางทวารเบาของสตรีที่
มากไปให้หยุดได้
 แก่นและเนื้อไม้ รับประทานแก้กามโรค

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ใบขนุนละมุด เผาให้เป็นถ่านผสมกับน้าปูนใสหยอดหู แก้ปวดหู
และหูเป็นน้าหนวก

ตะไคร้หอม

ส่วนที่ใช้ :
 ต้น ใบสด น้ามันของต้นตะไคร้หอม

สรรพคุณ :
 น้ ามั น สกั ด ตะไคร้ ห อม ปรุ ง กั บ
น้าหอมทาตัวป้องกันยุงกัด
ใส่กระบอกสูบผสมกับน้ามันอื่นฉีดไล่ยุงได้ดีมาก
 ทั้งต้น ใช้ตะไคร้หอม 4-5 ต้น นามาทั้งต้น ทุบๆ วางทิ้งไว้ในห้อง
มืดๆ กลิ่นน้ามันหอมระเหยออกมา ยุง แมลงจะหนีหมด

วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 นาน้ามันหอมระเหยตะไคร้หอมทาตามตัว ไล่แมลง ยุง

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 11


ไพล

ส่วนที่ใช้ :
 เหง้าแก่จัด เก็บหลังจากต้นไพลลงหัวแล้ว
สรรพคุณ :
 เหง้า เป็นยาแก้ท้องขึ้น ท้องอืดเฟ้อ ขับลม
แก้บิด ท้องเดิน ขับประจาเดือนสตรี ทาแก้ฟก
บวม แก้ผื่นคัน เป็นยารักษาหืด เป็นยากันเล็บ ถอด ใช้ต้มน้าอาบ
หลังคลอด
 น้าคัน
้ จากเหง้า รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกบวม แพลงช้าเมื่อย
 หัว ช่วยขับระดู ประจาเดือนสตรี เลือดร้าย แก้มุตกิตระดูขาว แก้
อาเจียน แก้ปวดฟัน
 ดอก ขับโลหิตกระจายเลือดเสีย
 ต้น แก้ธาตุพิการ แก้อุจาระพิการ
 ใบ แก้ไข้ ปวดเมื่อย แก้ครั่นเนื้อครั่นตัว แก้เมื่อย
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 แก้ท้องขึน
้ ท้องอืดท้องเฟ้อ ขับลม ใช้เหง้าแห้งบดเป็นผง

รับประทานครั้งละ ½ ถึง 1 ช้อนชา ชงน้าร้อน ผสมเกลือเล็กน้อย


ดื่ม
 รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกช้าบวม ข้อเท้าแพลง ใช้หัวไพลฝน
ท า แ ก้ ฟ ก บ ว ม เ ค ล็ ด ขั ด ย อ ก

ใช้เหง้าไพล ประมาณ 1 เหง้า ตาแล้วคั้นเอาน้าทาถูนวดบริเวณที่มี


อาการ หรือตาให้ล ะเอียด ผสมเกลือเล็กน้อย คลุกเคล้า แล้วนามา
ห่อเป็นลูกประคบ อังไอน้าให้ความร้อน ประคบบริเวณปวดเมื่อยและ
บวมฟกช้า เช้า-เย็น จนกว่าจะหาย หรือทาเป็นน้ามันไพลไว้ใช้ก็ได้

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 12


โดยเอาไพล หนัก 2 กิโลกรัม ทอดในน้ามันพืชร้อนๆ 1 กิโลกรัม

ทอดจนเหลืองแล้วเอาไพลออก ใส่กานพลูผงประมาณ 4 ช้อนชา

ทอดต่อไปด้วยไฟอ่อนๆ ประมาณ 10 นาที กรองแล้วรอจนน้ามัน

อุ่นๆ ใส่การบูรลงไป 4 ช้อนชา ใส่ภาชนะปิดฝามิดชิด รอจนเย็น จึง

เขย่าการบูรให้ละลาย น้ามันไพลนี้ใช้ทาถูนวดวันละ 2 ครั้ง เช้า-


เย็น หรือเวลาปวด

 แก้บด
ิ ท้องเสีย ใช้เหง้าไพลสด 4-5 แว่น ตาให้ละเอียด คั้นเอาแต่
น้าเติมเกลือครึ่งช้อนชา ใช้รับประทาน หรือฝนกับน้าปูนใส
รับประทาน

 เป็นยารักษาหืด ใช้เหง้าไพลแห้ง 5 ส่วน พริกไทย ดีปลี อย่างละ

2 ส่วน กานพลู พิมเสน อย่างละ ½ ส่วน บดผสมรวมกัน ใช้ผงยา 1


ช้อนชา ชงน้าร้อนรับประทาน หรือปั้นเป็นลูกกลอนด้วยน้าผึ้ง ขนาด

เท่าเม็ดพุทรา รับประทานครั้งละ 2 ลูก ต้องรับประทานติดต่อกัน


เวลานาน จนกว่าอาการจะดีขึ้น

 เป็นยาแก้เล็บถอด ใช้เหง้าไพลสด 1 แง่ง ขนาดเท่าหัวแม่มือ ตา


ให้ละเอียดผสมเกลือและการบูร อย่างละประมาณครึ่งช้อนชา แล้ว
นามาพอกบริเวณที่เป็นหนอง ควรเปลี่ยนยาวันละครั้ง
 ช่วยทาให้ผว
ิ หนังชุ่มชืน
่ และเป็นยาช่วยสมานแผลด้วย ใช้เหง้า

สด 1 แง่ง ฝานเป็นชิ้นบางๆ ใช้ต้มรวมกับสมุนไพรอื่นๆ เนื่องจาก


ไพลมี่น้ามันหอมระเหย

สะเดา

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 13


ส่วนที่ใช้ :
 ดอกช่อดอก ขนอ่อน ยอด เปลือก
ก้านใบ กระพี้ ยาง
แก่น ราก ใบผล ต้น เปลือกราก น้ามัน
จากเมล็ด

สรรพคุณ :
 ดอก ยอดอ่อน - แก้พิษโลหิต
กาเดา แก้ริดสีดวงใน
ลาคอ คันดุจมีตัวไต่อยู่ บารุงธาตุ ขับลม ใช้เป็นอาหารผัก
ได้ดี
 ขนอ่อน ถ่ายพยาธิ แก้ริดสีดวง แก้ปัสสาวะพิการ
 เปลือกต้น แก้ไข้ เจริญอาหาร แก้ท้องเดิน บิดมูกเลือด
 ก้านใบ แก้ไข้ ทายารักษาไข้มาลาเรีย
 กระพี้ แก้ถุงน้าดีอักเสบ
 ยาง ดับพิษร้อน
 แก่น แก้อาเจียน ขับเสมหะ
 ราก แก้โรคผิวหนัง แก้เสมหะ ซึ่งเกาะแน่นอยู่ในทรวงอก
 ใบ,ผล ใช้เป็นยา่่าแมลง บารุงธาตุ
ผล มีสารรสขม ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ และยาระบาย แก้โรคหัวใจ
เดินผิดปกติ
 เปลือกราก เป็นยาฝาดสมาน แก้ไข้ ทาให้อาเจียน แก้โรค
ผิวหนัง
 น้ามันจากเมล็ด ใช้รักษาโรคผิวหนัง และยา่่าแมลง

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 14


วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 เป็นยาขมเจริญอาหาร ช่อดอกไม่จากัด ลวกน้าร้อน จิ้มน้าปลา
หวาน หรือน้าพริก หรือใช้เปลือกสด ประมาณ 1 ฝ่ามือ ต้มน้า 2

ถ้วยแก้ว รับประทานครั้งละ 1/2 ถ้วยแก้ว

 ใช้เป็นยา่่าแมลง สะเดาให้สารสกัดชื่อ Azadirachin ใช้่่า

แมลงโดยสูตร สะเดาสด 4 กิโลกรัม ข่าแก่ 4 กิโลกรัม ตะไคร้หอม 4

กิโลกรัม นาแต่ละอย่างมาบดหรือตาให้ละเอียด หมักกับน้า 20 ลิตร

1 คืน น้าน้ายาที่กรองได้มา 1 ลิตร ผสมน้า 200 ลิตร ใช้ฉีด่่าแมลง


ในสวนผลไม้ และสวนผักได้ดี โดยไม่มีพิษและอันตราย

เสลดพังพอนตัวเมีย

ส่วนทีใ
่ ช้ :

 ส่วนทั้ง 5 ใบสด ราก

สรรพคุณ :

 ส่วนทั้ง 5 ใช้ถอนพิษ โดย


เฉพาะพิษแมลงสัตว์กัดต่อย ตะขาบ แมลงป่อง รักษาอาการอักเสบ
งูสวัด ลมพิษ แผลน้าร้อนลวก

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 15


 ใบ นามาสกัดทาทิงเจอร์และกรีเซอรีน ใช้รักษาแผลผิวหนัง
ชนิดเริ่ม Herpes และรักษาแผลร้อนในในปาก Apthous ตับพิษ
ร้อน แก้แผลน้าร้อนลวก
 ราก ปรุงเป็นยาขับปัสสาวะ ขับประจาเดือน แก้ปวดเมื่อยบั้นเอว

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 รักษาอาการอักเสบ ถอนพิษ รักษาแผลร้อนในในปาก เริม งูสวัด
- ใช้ใบเสลดพังพอนตัวเมียสด 10-20 ใบ (เลือกใบสีเขียวเข้มสดเป็น
มันไม่อ่อนไม่แก่จนเกินไป)นามาตาผสมกับเหล้าหรือน้ามะนาว คั้น
เอาน้าดื่มหรือเอาน้าทาแผลและเอากากพอกแผล
- ใช้ใบเสลดพังพอน 1,000 กรัม หมักใน alcohol 70 % 1,000 ซี
ซี. หมักไว้ 7 วัน นามากรองแล้วเอาไประเหยให้เหลือ 500 ซีซี. เติม
glycerine pure ลงไปเท่ากับจานวนที่ระเหยไป (500 ซีซี.) นาน้ายา
เสลดพังพอนกรีเซอรีนที่ได้ทาแผลเริม งูสวัด แผลร้อนในปาก ถอน
พิษต่างๆ
 ทาบริเวณที่แมลงสัตว์กด
ั ต่อยเป็นผืน
่ คัน
- ใช้ใบสด 5-10 ใบ ตาขยี้ทาบริเวณที่เป็นแผลที่แพ้ จะยุบหาย
ได้ผลดี

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 16


 แก้แผลน้าร้อนลวก
- ใช้ใบตาเคี่ยวกับน้ามะพร้าวหรือน้ามันงา เอากากพอกแผลที่ถูกน้า
ร้อนลวกหรือไฟไหม้ แผลจะแห้ง
- นาใบมาตาให้ละเอียดผสมกับสุราใช้พอกบริเวณที่ถูกไฟไหม้หรือ
น้าร้อนลวก มีสรรพคุณดับพิษร้อนได้ดี

แก้ว

ส่วนที่ใช้ :
 ราก ใบ

สรรพคุณ :
 เป็นยาขับประจาเดือน

วิธีและปริมาณที่ใช้ :

 ใช้รากแห้ง 10-15 กรัม (สด 30-60 กรัม) ต้มกับน้า 2 ถ้วยแก้ว

เคี่ยวให้เหลือ 1 ถ้วยแก้ว

รับประทานวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า-เย็น

เสลดพังพอนตัวผู้

ส่วนที่ใช้ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 17


 ราก ใบ ส่วนทั้ง 5

สรรพคุณ :
 ราก แก้ตาเหลื อง หน้าเหลือง เมื่อย
ตั ว กิ น ข้ า วไ ม่ ไ ด้ แ ก้ เจ็ บท้ อ ง แก้ ผิ ด
อาหาร ถอนพิ ษ งู พิ ษ แมลงสั ต ว์ กั ด ต่ อ ย
แก้ปวดฟัน
 ใบ ถอนพิ ษ แมลงสั ต ว์ กั ด ต่ อ ย แก้
ลมพิษ รั กษาเม็ด ผื่ น คั น ตามผิ วหนั ง แก้โ รคเบาหวาน แก้ ปวดแผล
แผลจากของมีค มบาด แก้โ รคฝี ต่างๆ รั กษาโรคคางทูม แก้โ รคไฟ
ลามทุ่ง แก้ขยุ้มตีนหมา แก้โรคงูสวัด รักษาโรคเริม ถอนพิษจากเม็ด
ตุ่มฝีดาษ รักษาโรคฝีดาษ แก้ฟกช้า แก้ช้าบวมเนื่องจากถูกของแข็ง
ถอนพิษไข้ พิษไข้ทรพิษ แก้ปวดฟัน เหงือกบวม แก้ริด สีด วงทวาร
แก้ยุงกัด แก้พิษไฟลวกน้าร้อนลวก แก้ปวดจากปลาดุกแทง
 ส่ ว นทั้ ง 5 ใช้ เ หมื อ นเสลดพั ง พอนตั ว เมี ย และใช้ แ ทน
เสลดพั ง พอนตั ว เมี ย ได้ แต่ ใ บเสลดพั ง พอนตั ว เมี ย มี ร สจื ด ใบ
เสลดพังพอนตัวผู้มีรสขมมาก และเสลดพังพอนตัวผู้มีฤทธิ์อ่อนกว่า
เสลดพังพอนตัวเมีย

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ใช้เหมือนเสลดพังพอนตัวเมียทุกอย่าง

น้อยหน่า

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ใบสด หรือ เนื้อในเมล็ดสด
สรรพคุณ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 18


 รักษาเหา รักษาหิด รักษาจี๊ด

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 ยารักษาเหา ใช้ใบสด 8-12 ใบ หรือเมล็ดที่กะเทาะเปลือกแล้ว

ตาให้ละเอียด 4-5 ช้อนแกง นามา


ผสมกับน้ามันพืช เช่น น้ามันมะพร้าว หรือน้ามันถั่วพอเปียกเล็กน้อย
(แฉะๆ) ชะโลมบนเส้นผมที่เป็นเหา ทิ้งไว้ประมาณ 1-2 ชั่วโมง สระ

ออกให้หมด ทาเช่นนี้ติดต่อกัน 2-3 วัน ตัวเหา และไข่จะฝ่อหมด


หรืออาจจะใช้ความแรงของใบสด หรือเมล็ดน้อยหน่ากับน้ามัน
มะพร้าว ความแรง 1:2
 ยารักษาหิด ใช้ใบสดหรือเมล็ดในสด จานวนไม่จากัด ตาให้
ละเอียด เติมน้ามันพืชลงไปพอแฉะ ใช้ทา บริเวณที่เป็นหิดวันละ 2-

3 ครั้ง จนกว่าจะหาย

 ยารักษาจีด
๊ ใช้เนื้อเมล็ดสด 20 เมล็ด ตาให้ละเอียด ใช้สารส้ม
เท่ากับหัวแม่มือ ใส่ในฝาละมี ตั้งไฟอ่อนๆ เมื่อสารส้มละลาย ค่อยๆ
โรยผงของเมล็ดน้อยหน่าลงไปทีละน้อย คนจนเข้ากันดี จากนั้นใช้
ไม้ป้ายยาที่กาลังร้อนแต่พอให้ผิวหนังทนได้ ป้ายลงตรงตาแหน่งที่
บวม ทาเช่นนี้วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ทาหลายๆ วัน จนกว่าจะหาย
ยาที่เหลือจะแข็งพอจะใช้ตั้งไฟอ่อนๆ

มะปราง
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 19
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ราก ใบ น้าจากต้น
สรรพคุณ :
 ราก แก้ไข้กลับ ถอนพิษสาแดง
 ใบ ยาพอกแก้ปวดศีรษะ
น้าจากต้น ยาอมกลั้วคอ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 แก้ปวดศีรษะ ใช้ใบสด จานวนไม่จากัด ตาให้ละเอียดพอกแก้
ปวดศีรษะ
 ยาอมกลัว
้ คอ ใช้น้าจากต้นอมกลั้วคอ
ข่า
ส่วนทีใ
่ ช้:
 เหง้าแก่สด

สรรพคุณ :
 เป็นยาแก้ท้องขึ้น ท้องอืดเฟ้อ ขับลม
 แก้อาหารเป็นพิษ
 เป็นยาแก้ลมพิษ
 เป็นยารักษากลากเกลื้อน โรคผิวหนัง ติดเชือ
้ แบคทีเรีย เชื้อรา

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 รักษาท้องขึน้ ท้องอืด ท้องเฟ้อ ขับลม แก้ทอ
้ งเดิน (ที่เรียกโรค
ป่วง) แก้บด
ิ อาเจียน ปวดท้อง
ใช้เหง้าข่าแก่สด ยาวประมาณ 1-1 ½ นิ้วฟุต (หรือประมาณ 2
องคุลี) ตาให้ละเอียด เติมน้าปูนใส ใช้น้ายาดื่ม ครั้งละ ½ ถ้วย
แก้ว วันละ 3 เวลา หลังอาหาร

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 20


 รักษาลมพิษ ใช้เหง้าข่าแก่ๆ ที่สด 1 แง่ง ตาให้ละเอียด เติมเหล้า
โรงพอให้แฉะๆใช้ทั้งเนื้อและน้า ทาบริเวณที่เป็นลมพิษบ่อยๆ
จนกว่าจะดีขึ้น
 รักษากลากเกลือ้ น โรคผิวหนัง ใช้เหง้าข่าแก่ เท่าหัวแม่มือ ตาให้
ละเอียดผสมเหล้าโรง ทาที่เป็นโรคผิวหนัง หลายๆ ครั้งจนกว่าจะ
หาย

ฟักทอง

ส่วนทีใ่ ช้:
 เมล็ดฟักทองจากผลที่แก่ รสมัน หวาน
เล็กน้อย

สรรพคุณ :
 ใ ช้ ส า ห รั บ ขั บ พ ย า ธิ ตั ว ตื ด พ ย า ธิ
ไส้เดือน การที่เมล็ด
ฟั ก ทองจากผลแก่ สามารถขั บ พยาธิ ล าไส้ ได้ เ พราะมี ส ารชื่ อ
"CUCURBITIN" เป็นสารออกฤทธิ์่่าพยาธิลาไส้

วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 ใช้เมล็ดฟักทอง 60 กรัม แกะเนื้อใน
บด ผสมนม และน้าให้ได้ปริมาตร 2 ถ้วย
แก้ว แบ่งรับประทาน 3 ครั้ง ห่างกันทุก 2
ชั่ ว โ ม ง ห ลั ง จ า ก ใ ห้ ย า ค รั้ ง สุ ด ท้ า ย 2
ชัว่ โมง รับประทาน
น้ามันละหุ่งตามเพื่อให้ระบาย

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 21


ขีเ้ หล็ก

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใบอ่อน ยอดอ่อน ดอก ดอกตูมแห้ง และ
แก่น
สรรพคุณ :
 แก้อาการท้องผูก การที่ส่วนต่าง ๆ ของ
ขี้เหล็ก ช่วยแก้อาการท้องผูกได้ เพราะมี
สาระสาคัญพวก แอนทราควิโนนหลายชนิด ออกฤทธิ์เป็นยาระบาย
ข้อควรระวังการใช้สมุนไพรแก้อาการท้องผูก :
1.) สมุนไพรพวกนี้ ให้ใช้ในขณะที่มีอาการท้องผูก ห้ามใช้
ประจา เพื่อจุดประสงค์ต้องการ ให้มีรูปร่างระหง และควรรับประทาน
ยาสมุนไพรก่อนนอน
2.) ขนาดที่ใช้อาจเพิ่มหรือลดลงได้เล็กน้อยขึ้นอยู่กับ "อายุ"
เด็ก หรือผู้ที่ธาตุเบา ควรใช้ขนาดลดลง ถ้าผู้ที่อยู่ในวัยหนุ่มสาว
หรือ ธาตุหนัก ควรเพิ่มสมุนไพรเล็กน้อย
3.) ห้ามใช้ในบุคคลที่กาลังตั้งครรภ์แก่
 ช่วยเจริญอาหาร การที่ใบและดอกขี้เหล็ก ช่วยเจริญอาหารได้
เพราะมีสารที่มีรสขม จึงช่วยกระตุ้นทาให้อยากอาหาร
 ช่วยให้นอนหลับ การที่สารสกัดด้วยเหล้าโรงของใบอ่อน และ
ดอกตูมแห้งของขี้เหล็ก สามารถช่วยให้นอนหลับได้ เพราะมีสาร
พวกอัลคาลอยด์ ออกฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางช่วยทาให้นอนหลับ
แต่ไม่ใช่ยานอนหลับโดยตรง
วิธีและปริมาณที่ใช้ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 22


 อาการท้องผูก ใช้ ใบอ่อน ดอกและแก่นแห้ง ประมาณ 4 - 5 กา
มือ น้าหนัก 20 - 25 กรัม ใส่น้าให้ท่วมเติมเกลือเล็กน้อย ต้ม 10 -
25 นาที ดื่มก่อนอาหารเช้า หรือก่อนนอน ให้หมดในครั้งเดียว
 อาการเบื่ออาหาร ใช้ใบ ยอดอ่อน และดอก ต้มเดือด เคี่ยว 5 -
10 นาที เทน้ าทิ้ ง และต้ ม ใหม่ เ อาเนื้ อ ส าหรั บ จิ้ ม น้ าพริ ก หรื อ แกง
รับประทาน
 อาการนอนไม่หลับ ใบอ่อนและดอกตูมแห้ง 150 กรัม เติมเหล้า
โรงพอท่วมแช่ทิ้งไว้ 5 -7 วัน คนบ่อย ๆ กรองเอากากออก ดื่มครั้งละ
1 - 2 ช้อนชาก่อนนอน

โด่ไม่รล
ู้ ม

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ทั้งต้น
สรรพคุณ :
 มี ร สขื่ น แก้ ปั ส สาวะ และบ ารุ ง ความ
ก า ห นั ด มี ร ส ก ร่ อ ย จื ด ขื่ น เ ล็ ก น้ อ ย
รับประทานทาให้เกิ ด กษัยแต่มีกาลัง สาหรั บสตรีที่คลอดบุตรใหม่ๆ
บางต ารากล่ า วว่ า แก้ ก ษั ย บ ารุ ง ก าลั ง ขั บ ปั ส สาวะ แก้ ไ ข้ ขั บ
ไส้เดือน แก้กามโรค แก้อักเสบ ห้ามเลื อดกาเดา แก้ดีซ่าน นิ่ ว บิ ด
เหน็บชา ท้องมาน ฝีฝักบัว
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 ทั้งต้นต้มรับประทานต่างน้า แก้ไข้จับสั่นหรือไข้มาเลเรียดี ใช้ต้ม
รับประทานแก้ไอ
ลูกยอ

ส่วนทีใ
่ ช้:

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 23


 ผลโตเต็มที่ มีรสขมเล็กน้อย เอียน

สรรพคุณ :
 ใช้บรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน การที่ผลโตเต็มที่แต่ยังไม่สุก
ของยอ ช่ ว ยบรรเทาอาการ คลื่ น ไส้ อ าเจี ย นได้ เพราะมี ส าร
ASPERULOSIDE ซึ่งออก ฤทธิ์ลดอาการคลื่นไส้อาเจียน

วิธีและปริมาณที่ใช้ :
 ใช้ผลดิบ หรือห่ามฝานเป็นชิ้นบาง ๆ ย่าง หรือคั่วไฟอ่อน ๆ ให้
เหลือง ใช้ครั้งละ 2 กามือ น้าหนั กประมาณ 10 - 15 กรั ม ต้มหรื อ
ชงน้าดื่มจิบ แต่น้าบ่อย ๆ ขณะที่มีอาการ ถ้าดื่มครั้งละมาก ๆ จะทา
ให้อาเจียน

ขมิน
้ ชัน
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 เหง้าแก่สด และแห้ง

สรรพคุณ :
 เป็นยาภายใน
- แก้ท้องอืด
- แก้ท้องร่วง
- แก้โรคกระเพาะ
 เป็นยาภายนอก
- ทาแก้ผื่นคัน โรคผิวหนัง พุพอง
- ยารักษาชันนะตุและหนังศีรษะเป็นเม็ดผื่นคัน

วิธีและปริมาณทีใ่ ช้ :
 เป็นยาภายใน
เหง้าแก่สดยาวประมาณ 2 นิ้ว เอามาขูดเปลือก ล้างน้าให้

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 24


สะอาด ตาให้ละเอียด เติมน้า คั้นเอาแต่น้า รับประทานครั้งละ 2
ช้อนโต๊ะ วันละ 3-4 ครั้ง
 เป็นยาภายนอก
เหง้าแก่แห้งไม่จากัดจานวน ป่นให้เป็นผงละเอียด ใช้ทาตาม
บริเวณที่เป็นเม็ดผื่นคัน โดยเฉพาะในเด็กนิยมใช้มาก

มะยม

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ใบตัวผู้ ผลตัวเมีย รากตัวผู้

สรรพคุณ :
 ใบตัวผู้ แก้พิษคัน แก้พิษไข้หัว
เหือด หัด สุกใส ดาแดง ปรุงในยาเขียว
และใช้เป็นอาหารได้
 ผลตัวเมีย - ใช้เป็นอาหาร
รับประทาน
 รากตัวผู้ - แก้ไข้ แก้โรคผิวหนัง แก้ประดง แก้เม็ดผื่นคัน ขับ
น้าเหลืองให้แห้ง

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ใช้ใบตัวผู้ หรือรากตัวผู้ ต้มน้าดื่ม

ทองพันชัง่

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 25


ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ใบสด รากสด หรือตากแห้งเก็บเอาไว้
ใช้

สรรพคุณ :
 ใช้รักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้อน
ผื่นคันเรื้อรัง

วิธีและปริมาณทีใ ่ ช้ :
1. ใช้ใบสด หรือราก ตาแช่เหล้า หรือแอลกอฮอล์ ทาบ่อย
2. ใช้ใบสด ตาให้ละเอียด ผสมน้ามันก๊าด ทาบริเวณที่เป็นกลาก วัน
ละ 1 ครั้ง เพียง 3 วัน โรคกลากหายขาด
3. ใช้รากทองพันชั่ง 6-7 รากและหัวไม้ขีดไฟครึ่งกล่อง นามาตา
เข้ากันให้ละเอียด ผสมน้ามันใส่ผมหรือวาสลิน (กันไม่ให้ยา แห้ง)
ทาบริเวณที่เป็นกลาก หรือโรคผิวหนังบ่อยๆ
4. ใช้รากของทองพันชั่ง บดละเอียดผสมน้ามะขามและน้ามะนาว
ชโลมทาบริเวณที่เป็น

มะม่วง
ส่วนทีใ
่ ช้ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 26


 เมล็ดดิบจากผลอ่อน เมล็ดผลดิบ ยาง
จากผล ผลดิบ เปลือกผลดิบ

สรรพคุณ :
 รักษาอาการบิด แก้ท้องเสีย
 ขับพยาธิตัวกลม
 รักษาหิด กลาก เกลื้อน
 รักษาส้นเท้าแตก
 รักษาอาการตกขาว

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 รักษาอาการบิด แก้ท้องเสีย นาเมล็ด
ดิบจากผลอ่อนไปหั่นบาง ๆ ตากแดด
ให้แห้งกรอบแล้วนาไปบดให้ละเอียด
ผสมกับน้าผึ้ง ปั้นเป็นลูกกลอนตาก
แดด รับประทานครั้งละ 5-7 เม็ด ทุก
4 ชั่วโมง จนกว่าอาการจะดีขึ้น
 ขับพยาธิตว
ั กลม นาเมล็ดดิบ 2-3 เมล็ด ไปต้มกับน้ารับประทาน
 รักษาหิด กลาก เกลือ ้ น นายางจากผลผสมน้ามะพร้าวหรือน้า
มะนาว ใช้ทาผิวหนังบริเวณที่เป็นวันละ 2-3 ครั้ง จนกว่าแผลจะ
หายแล้วทาต่อไปอีก 7 วัน
* ยางมะม่วงฤทธิ์กัดเนื้อเยื่ออ่อนบาง เช่น ปากและตา ทาให้
ระคายเคือง ปวดแสบ ปวดร้อน และอาจทาให้ตาบอดได้
 รักษาส้นเท้าแตก ใช้น้าคั้นจากผลดิบทาส้นเท้าบริเวณที่แตก
ก่อนนอน สวมถุงเท้าคลุมไว้ ทาเป็นประจาทุกคืน
 รักษาอาการตกขาว หั่นเปลือกผลดิบเป็นชิ้นเล็ก ๆ 1 ถ้วย ต้มกับ
น้า 3 แก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 แก้ว ทิ้งไว้ให้อุ่น นาไปล้าง
บริเวณช่องคลอดวันละ 1 ครั้ง จนกว่าอาการจะหายไป

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 27


กุย
๋ ช่าย

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 เมล็ด ต้น และใบสด
สรรพคุณ :
 เมล็ด
- เป็นยา่่าสัตว์ต่างๆ ให้ตายได้
- รับประทานขับพยาธิเส้นด้ายหรือ
แซ่ม้า
- รับประทานกับสุราเป็นยาขับโลหิตประจาเดือนที่
เป็นลิ่มเป็นก้อนได้ดี
 ต้นและใบสด
- เป็นยาเพิ่ม และขับน้านมในสตรีหลังคลอด
- ใช้รับปะทานเป็นอาหาร
- ใช้่่าเชื้อ (Antiseptic)
- แก้โรคนิ่ว และหนองในได้ดี
วิธีและปริมาณทีใ่ ช้ :
 เมล็ด
- เผาไฟเอาควันรมเข้าในรูหู เป็นยา่่าสัตว์ต่างๆ ให้ตายได้

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 28


- ใช้เมล็ดคั่วให้เกรียม บดให้ละเอียด ผสมกับน้ามันยางชุบ
สาลีอุดฟันที่เป็นรูทิ้งไว้ 1-2 วัน เป็น ยา่่าแมลงที่กินอยู่ในรูฟันให้
ตายได้
 ต้นและใบสด
- ใช้จานวนไม่จากัดแกงเลียงรับประทานบ่อย ขับน้านมหลัง
คลอด
- ใช้ต้นและใบสด ตาให้ละเอียดผสมกับสุราใส่สารส้ม
เล็กน้อย กรองเอาน้ารับประทาน 1 ถ้วยชา แก้โรคนิ่ว
และหนองใน

มะนาว

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 น้ามันจากผิวของผลสด น้าคั้นจาก
ผลมะนาว
สรรพคุณ :
 น้ามันจากผิวมะนาว ใช้เป็นยาขับ
ลม แก้ท้องอืดเฟ้อ แน่นจุกเสียด แต่ง
กลิ่น น้าคั้นจากผลมะนาว รักษาอาการเจ็บคอ แก้ไอ ขับเสมหะ และ
รักษาโรคลักปิดลักเปิดซึ่งเกิดจากการขาดวิตามินซี
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

1. ใช้ผิวมะนาวแห้ง 10-15 กรัม ต้มน้ารับประทาน

2. ใช้น้ามะนาว 1 ถ้วยชา ผสมน้าตาลทราย 1 ช้อนโต๊ะ และเกลือ


เล็กน้อย ชงน้าอุ่น
มะกรูด

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 29


ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ราก ใบ ผล ผิวจากผล
สรรพคุณ :
 ราก - กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็นพิษ
 ใบ - มีน้ามันหอมระเหย
 ผล, น้าคัน
้ จากผล - ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค ทา
ให้ผมสะอาด
 ผิวจากผล
- ปรุงเป็นยาขับลมในลาไส้ แก้แน่น
- เป็นยาบารุงหัวใจ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ใช้เป็นยาบารุงหัวใจ ขับลมในลาไส้ แก้แน่น แก้เสมหะ
ฝานผิ ว มะกรู ด สดเป็ น ชิ้ น เล็ ก ๆ 1 ช้ อ นแกง เติ ม การบู ร หรื อ
พิมเสน 1 หยิบมือ ชงด้วยน้าเดือด แช่ทิ้งไว้ ดื่มแต่น้ารับประทาน 1
ถึง 2 ครั้ง แต่ถ้ายังไม่ค่อยทุเลา จะรับประทานติดต่อกัน 2-3 ครั้งก็
ได้
 ใช้สระผมทาให้ผมสะอาดชุม
่ ชืน
้ เป็นเงางาม ดกดา ผมลืน

โดยผ่ามะกรูด เป็น 2 ชิ้น เมื่อสระผมเสร็ จแล้ว เอามะกรูดสระ
ซ้า ใช้มะกรูดยีไปบนผม น้ามะกรูดเป็นกรด จะทาให้ผมสะอาดแล้ว
ล้างผมให้สมุนไพรออกไปให้หมด หรือใช้มะกรูดเผาไฟ นามาผ่าซีก
ใช้สระผม จะรักษาชันนะตุ ทาให้ผมสะอาดเป็นมัน

แมงลัก
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 เมล็ด และใบ
สรรพคุณ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 30


 เมล็ด ออกฤทธิ์เป็นยาระบาย โดยการเพิ่มปริมาตรของกาก
อาหารกระตุ้นการบีบตัวของลาไส้
 ใบ ใช้ขับลม
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 รับประทานครั้งละ 1-2 ช้อนชา แช่น้าให้พอง แล้วดื่มก่อนนอน
จะช่วยทาให้ระบาย เป็นยาถ่าย

มะระขีน
้ ก
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ราก เถา ใบ ดอก ผลและเมล็ด ใช้สดหรือ
ตากแห้งเก็บไว้ใช้ ผลอาจเก็บมาหั่นเป็นท่อนๆ
ตากแห้งเก็บไว้ใช้
สรรพคุณ :
 ผลแห้ง รักษาโรคหิด
 ผล รสขม เย็นจัด ใช้แก้ร้อน ร้อนในกระหายน้าทาให้ตาสว่าง
แก้บิด ตาบวมแดง แผลบวมเป็นหนอง ฝีอักเสบ
 เมล็ด รสขม ชุ่ม ไม่มีพิษ แก้วัวถูกพิษใช้คั้นเอาน้าให้กิน เป็นยา
กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ เพิ่มพูนลมปราณ บารุงธาตุ บารุงกาลัง
 ใบ - แก้โรคกระเพาะ บิด แผลฝีบวมอักเสบ ขับพยาธิ
 ดอก รสขม เย็นจัด ใช้แก้บิด
 ราก รสขม เย็นจัด ใช้แก้ร้อน แก้พิษ บิดถ่ายเป็นเลือด แผลฝี
บวมอักเสบ และปวดฟัน
 เถา รสขม เย็นจัด ใช้แก้ร้อน แก้พิษ บิดฝีอักเสบ ปวดฟัน
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 31


 ผลสด - ต้มรับประทาน ครั้งละ 6-15 กรัม หรือผิงไฟให้แห้ง บด
เป็นผงรับประทาน ใช้ภายนอก ตาคั้นเอาน้าทาหรือพอก
 เมล็ดแห้ง 3 กรัม ต้มน้าดื่ม
 ใบสด 30-60 กรัม ต้มน้าดื่ม หรือใบแห้งบดเป็นผงรับประทาน
ใช้ภายนอกต้มเอาน้าชะล้าง กอก หรือคั้นเอาน้าทา
 รากสด - 30-60 กรัม ต้มน้าดื่ม ใช้ภายนอก ต้มเอาน้าชะล้าง
 เถาแห้ง - 3-12 กรัม ต้มน้าดื่ม ใช้ภายนอก ต้มเอาน้าชะล้าง หรือ
ตาพอก

ยีห
่ ร่า
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ผลสุก ใบ
สรรพคุณ :
 ผลสุก ภายในผลที่สุกจะมีน้ามัน ซึ่งกลั่น
ออกมาเป็นน้ามันยี่หร่า ส่วนทางยาใช้เป็นยา
ขับลม แต่งกลิ่นอาหารให้หอม เช่น ขนมปัง
ขนมเค้ก และอาหารอื่น ๆ ใช้เป็นเครื่องเทศ
 ใบ อุดมไปด้วยวิตามินซีและแคลเซียม มีสรรพคุณช่วยในการ
ขับเหงื่อ ซึ่งเป็นของเสียออกจากร่างกาย ช่วยในการบารุงธาตุ ขับ
ลม แก้โรคเบื่ออาหาร แก้ปวดท้องเนื่องจากอาหารไม่ย่อย แก้ท้องอืด
คลื่นไส้ โดยนามาชงดื่มจนกว่าจะหาย นอกจากนี้น้ามันหอมระเหย
มีฤทธิ์ระงับอาการเกร็งของลาไส้ ่่าเชื้อจุลินทรีย์
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 ใช้ผลแห้ง 3-5 กรัม ชงกับน้าเดือดปริมาณ 1 ลิตร ทิ้งไว้สักระยะ


หนึ่งจึงนามาดื่มวันละ 3-4 ถ้วยตวง
เล็บมือนาง

ส่วนทีใ
่ ช้ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 32


 ใบ ต้น ราก เมล็ดในของผลเล็บมือนางที่แก่แห้ง
สรรพคุณ :
 ใบ
- ตาชโลม หรือทาแผล ทาฝี
- แก้ปวดศีรษะ แก้ไข้
 ต้น ใช้เป็นยาแก้
 ราก ใช้ถ่ายพยาธิ รักษาตานซาง
 เมล็ด ใช้เป็นยาขับพยาธิตัวกลม, พยาธิเส้นด้ายในเด็ก

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ใช้เมล็ดในของผลเล็บมือนางที่แก่และแห้ง 4-5 เมล็ด (4-6 กรัม)
หั่นทอดกับไข่ให้เด็กอายุประมาณ 5-6 ขวบรับประทานขับถ่าย
พยาธิไส้เดือนตัวกลม
ผูใ
้ หญ่ : ใช้ 5-7 เมล็ด (หนัก 10-15 กรัม) ทุบพอแตก ต้มเอาน้าดื่ม
หรือหั่นทอดกับไข่รับประทาน
ข้อควรระวัง : ถ้าใช้มากเกินขนาด จะทาให้อาเจียน มึนงง
อ่อนเพลีย

ฝรัง่

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ใบที่โตเต็มที่หรือผลดิบฝรั่งที่มีรส
ฝาดมันหอมเล็กน้อย
สรรพคุณ :
 ช่วยบรรเทาอาการท้องเสีย การที่ใบ
ฝรั่ งและผลดิ บ ช่ ว ยบร รเทาอาการ
ท้ อ งเสี ย ได้ เพราะทั้ ง ใบ และผลดิ บ มี
สาร แทนนิ น ซึ่ ง มี ร สฝาดแก้

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 33


ท้องเสียได้
ข้อเสนอแนะ :
 ถ้าใช้มากเกินไปจะทาให้ท้องผูก
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ใช้ใบ 10-15 ใบ คั่วพอเหลือง ต้มกับน้า 2 ถ้วยแก้ว ให้เดือด
นาน10-15 นาที ดื่มครั้งละ หนึ่ง
ส่ ว นสองแก้ ว จาก นั้ น ให้ ดื่ ม อี ก 1-2 ครั้ ง ห่ า งกั น ครั้ ง ละ 3 ชั่ ว โมง
หรือจะใช้ผลหั่นตากแดด เอาเมล็ดออกบดเป็นผง ใช้ครั้งละ 1 ถึง
หนึ่ง เศษหนึ่งส่วนสอง ช้อนชา ชง น้าเดือดดื่ม

โสมไทย

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 เหง้า ใบ ราก
สรรพคุณ:
 เหง้า รสหวานร้อน บารุงร่างกาย บารุง
กาลัง บารุงธาตุ แก้
อ่อนเพลีย หรือทาภายนอกแก้อักเสบ ลด
อาการบวม
 ใบ แก้บวมอักเสบมีหนอง ขับน้านม
 ราก บารุงปอด แก้อาการอ่อนเพลีย หรือหลังฟื้นไข้ ปัสสาวะขัด
เหงื่อออกมาก ศีรษะมีไข้ ไอเป็นเลือด แก้ไอ บารุงปอด ประจาเดือน
ผิดปกติ ท้องเสีย

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 34


วิธีและปริมาณทีใ่ ช้ :
 เหง้านามาดองกับเหล้าแล้วนาน้าที่ได้มาดื่มใช้บารุงร่างกายและ
บารุงกาลัง

กะเพรา
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ทั้งต้น ราก ต้น ใบ เมล็ด
สรรพคุณ :
 ใช้ ทั้ ง ต้ น เป็ น ยาขั บ ลม แก้ ป วดท้ อ ง
และคลื่นไส้อาเจียน
 รากและต้ น มี ร สเผ็ ด ร้ อ น แก้ พิ ษ ตา
ซาง แก้ ไ ข้ สั น นิ บ าต แก้ ท้ อ งขึ้ น ท้ อ งอื ด
ท้องเฟ้อ บารุงธาตุ
 ใบ มีรสเผ็ดร้อน บารุงไฟธาตุ แก้ปวดท้อง ขับผายลม ทาให้
เรอ แก้จุกเสียด แก้คลื่นไส้อาเจียน น้าคั้นจากใบกินขับเหงื่อ แก้
ไข้ ขับเสมหะ ทาผิวหนัง แก้กลากเกลื้อน ใบสดหรือแห้ง ชงกับ
น้าร้อน ดื่มบารุงธาตุ ขับลมในเด็กอ่อน
 เมล็ด มีรสเผ็ด กินบารุงเนื้อหนังให้ชุ่ม
ชื้น
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ใช้ใบสดของกระเพรา ถ้าเป็นกระเพรา
แดงจะมีฤทธิ์แรงยิ่งขึ้น ขยี้ทาตรงหัวหูด
เช้า –เย็น จนกว่าหัวหูดจะหลุด

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 35


ข่อย

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 กิ่งสด เปลือก เปลือกต้น เมล็ด ราก ใบ
สรรพคุณ :
 กิง่ สด ทาให้ฟันทน ไม่ปวดฟัน ฟัน
แข็งแรง ไม่ผุ
 เปลือก แก้บิด แก้ท้องเสีย แก้ไข้ ่่า
เชื้อจุลินทรีย์
 เปลือกต้น แก้ริดสีดวงจมูก
 เมล็ด - ่่าเชื้อในช่องปาก และทางเดินอาหาร
- เป็นยาอายุวัฒนะ บารุงธาตุ
ขับลมในลาไส้
 รากเปลือก เป็นยาบารุงหัวใจ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ทาให้ฟน ั ทนไม่ปวดฟัน ใช้กิ่งสด 5-6
นิ้วฟุต หั่นต้มใส่เกลือเคี่ยวให้งวดเหลือ
น้าครึ่งเดียวอมเช้า-เย็น
 แก้บด ิ แก้ทอ้ งเสีย แก้ไข้ ใช้เปลือกต้มกับน้ารับประทาน
 แก้รด ิ สีดวงจมูก ใช้เปลือกต้นมวนสูบ
 ่่าเชือ ้ โรคในช่องปาก และทางเดินอาหาร เป็นยาอายุวฒ ั นะ
โดยใช้เมล็ด รับประทาน และต้มน้าอมบ้วนปาก
 บรรเทาอาการปวดของมดลูกระหว่างมีประจาเดือน นาใบมาคั่ว
ให้แห้ง ชงน้ารับประทาน

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 36


ดาวเรือง
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใบ และช่อดอกเก็บตอนฤดูร้อน และฤดูหนาว ตาก
แห้งเก็บไว้ใช้ หรืออาจใช้สด
สรรพคุณ :
 ใบ รสชุ่มเย็น มีกลิ่นฉุน ใช้แก้ฝีฝักบัว ฝีพุพอง เด็กเป็น
ตานขโมย ตุ่มมีหนอง บวมอักเสบโดยไม่รู้สาเหตุ
 ช่อดอก รสขม ฉุนเล็กน้อย ใช้กล่อมตับ ขับร้อน ละลายเสมหะ
แก้เวียนศีรษะ ตาเจ็บ ไอหวัด ไอกรน หลอดลมอักเสบ
เต้านมอักเสบ คามทูม เรียกเนื้อ ทาให้แผลหายเร็วขึ้น
และแก้ปวดฟัน
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

1. ช่อดอก

 ใช้ภายใน ใช้ช่อดอก 3- 10 กรัม ต้มน้าดื่ม


 ใช้ภายนอก ช่อดอกต้มเอาน้าชะล้างบริเวณที่เป็น
2.ใบ
 ใช้ภายใน ใช้ใบแห้ง 5- 10 กรัม ต้มน้าดื่ม
 ใช้ภายนอก ใช้ใบตาพอก หรือต้มเอาน้าชะล้างบริเวณที่
เป็น
ลาไย
ส่วนทีใ
่ ช้:
 เนื้อผลแก่
สรรพคุณ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 37


 เนื้อผลแก่ ช่วยบารุงหัวใจ , แก้อาการท้องเสีย ลดบวม
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ช่วยบารุงหัวใจ นาเนื้อผลแก่แช่เหล้า 3 เดือน ทานวันละ 1
แก้ว
 แก้อาการท้องเสีย ลดบวม นาเนือ
้ ผลแก่ต้มกับน้าขิงใช้ดื่ม

คูน

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ใบ ดอก เปลือก แก่น ราก ฝักแก่ เปลือกเป็นสีน้าตาลเข้ม กระพี้
เมล็ด
สรรพคุณ :
 ใบ ขับพยาธิ
 ดอก แก้บาดแผลเรื้อรัง
 เปลือก บารุงโลหิต
 กระพี้ แก้โรครามะนาด
 แก่น ขับไส้เดือนในท้อง
 ราก - แก้ไข้ แก้โรคคุดทะราด

 เมล็ด – รักษาโรคบิด
 ฝักแก่ - รสหวานเอียนเล็กน้อย เป็นยาระบายถ่ายสะดวกไม่มวน
ไม่ไซ้ท้อง มีสารแอนทราควิโนน (Anthraquinone glycoside) เป็น
ตัวยาระบาย
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 เอาเนื้อในฝักแก่ก้อนเท่าหัวแม่มือ(ประมาณ 4 กรัม)น้า 1 ถ้วย
แก้วต้มกับน้าใส่เกลือเล็กน้อย ดื่มก่อนนอนหรือตอนก่อนอาหารเช้า

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 38


ครั้งเดียวเหมาะเป็นยาระบายสาหรับคนที่ท้องผูกประจาและสตรีมี
ครรภ์

ทับทิม

ส่วนทีใ
่ ช้:
 เปลือกผลแก่ ราก น้าทับทิม

สรรพคุณ :
 เปลือกผลแก่ รักษาอาการท้องร่วง แก้
น้ากัดเท้า
- ราก ใช้่่าพยาธิตัวตืด
- น้าทับทิม (จากเนื้อหุ้มเมล็ด) ใช้ลดความดันโลหิต ใช้ร่วมกับบัวบก
ลดภาวะโรคเหงือก
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
รักษาอาการท้องร่วง เปลือกผลแก่ตากแห้งฝนกับน้าข้นๆ กินวัน
ละ 1-2 ครั้ง กินมากเป็นอันตรายได้
รักษาน้ากัดเท้า เปลือกผลแก่ฝนกับน้าทาแก้น้ากัดเท้า

ตะลิงปลิง

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 39


ส่วนทีใ
่ ช้:
 ราก ใบ ดอก ผล
สรรพคุณ:
 ราก แก้พิษร้อนใน กระหายน้า ฝาด
สมาน บารุงกระเพาะอาหาร แก้โลหิต
ออกตามกระเพาะอาหาร ลาไส้ ดับพิษร้อนของไข้ แก้ริดสีดวงทวาร
แก้คัน แก้คางทูม แก้ไขข้ออักเสบ รักษา
สิว รักษาซิฟิลิส บรรเทาโรคเก๊าท์
บรรเทาการอักเสบของลาไส้ใหญ่
 ใบ แก้อาการคัน รักษาอาการอักเสบ
ของลาไส้ใหญ่ รักษาซิฟิลิส แก้ไขข้อ
อักเสบ รักษาคางทูม รักษาสิว
 ดอก สรรพคุณแก้อาการไอ
 ผล เจริญอาหาร บารุงกระเพาะอาหาร ฝาดสมานและลดไข้ แก้
เสมหะเหนียว ฟอกโลหิต ยาบารุงแก้ปวดมดลูก แก้ไอ บรรเทาโรค
ริดสีดวงทวาร แก้ลักปิดลักเปิด
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 รักษาอาการแก้คน
ั โดยนาใบมาตาแล้วพอกแก้อาการแก้คัน
 รักษาอาการอักเสบของลาไส้ใหญ่ รักษาซิฟล
ิ ิส แก้ไขข้ออักเสบ
รักษาคางทูม รักษาสิว โดยนาใบมาต้มดื่ม
 แก้อาการไอ โดยนาดอกมาชงเป็นชาสรรพคุณแก้อาการไอ
เทียนบ้าน

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใบทั้งสดและแห้ง ยอดสด ต้นและราก
สด เมล็ดแห้ง
สรรพคุณ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 40


 ใบสด แก้ปวดข้อ ยารักษากลากเกลื้อน แก้ฝีและแผลพุพอง ยา
กันเล็บถอด
 ใบแห้ง แก้แผลอักเสบ ฝีหนอง แผลเน่าเปื่อย รักษาแผลเรื้อรัง
 ยอดสด แก้จมูกอักเสบ บวมแดง
 ต้นสด แก้แผลงูสวัด
รากสด แก้บวมน้า ตาพอกแผลที่ถูกเสี้ยนหรือแก้วตา
เมล็ดแห้ง แก้ประจาเดือนไม่มา ขับประจาเดือน
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 แก้ปวดข้อ ใช้ใบสดต้มกับน้าผสมเหล้าดื่ม
 ยารักษากลากเกลื้อน ใช้ใบสด 1 กามือ ตาให้ละเอียด ตาทั้งน้า
และเนื้อบริเวณที่เป็น ทาบ่อยๆ จนกว่าจะหาย
 แก้ฝีและแผลพุพอง ใช้ใบสด 5-10 ใบ ล้างให้สะอาด ตาให้

ละเอียด นามาพอกที่เป็นแผล วันละ 3 ครั้ง จนกว่าจะหาย

 ยากันเล็บถอด ใช้ใบ ยอดสด 1 กามือ ล้างให้สะอาด ตาให้

ละเอียด เติมน้าตาลทรายแดง 1/2 ช้อนชา พอกตรงเล็บ เปลี่ยนยา


เช้า-เย็น
 แก้แผลอักเสบ ฝีหนอง แผลเน่าเปื่อย ใช้ใบแห้ง 10- 15 กรัม ต้ม
กับน้าดื่ม เช้า-เย็น
 รักษาแผลเรือ
้ รัง ใช้ใบแห้งบดเป็นผงผสมพิมเสนใส่แผล
 แก้จมูกอักเสบ บวมแดง ใช้ยอดสดตากับน้าตาลแดง พอก
บริเวณที่เป็น เปลี่ยนเช้า-เย็น
 แก้แผลงูสวัด ใช้ต้นสดตา คั้นเอาน้าดื่ม เอากากพอกแผล
 แก้บวมน้า ใช้รากสด 4-5 ราก ต้มกับเนื้อรับประทาน 3-4 ครั้ง
 แก้ประจาเดือนไม่มา ขับประจาเดือน ใช้เมล็ดแห้งของต้น
เทียนบ้านชนิดดอกสีขาว 60 กรัม บดเป็นผงรวมกับตังกุย 10 กรัม

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 41


ผสมกับน้าผึ้ง ปั้นเป็นยาเม็ด รับประทานครั้งละ 3 กรัม วันละ 3 เวลา
หลังอาหาร

ผกากรอง

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใบ ดอก ราก เก็บได้ตลอดปี ใช้สด หรือตากแห้งเก็บไว้ใช้
สรรพคุณ :
 ใบ รสขม เย็น ใช้แก้บวม ขับลม แก้แผลผื่นคันเกิดจากชื้น หิด
 ดอก รสชุ่ม จืด เย็น ใช้แก้อักเสบ ห้ามเลือด แก้วัณโรค อาเจียน
เป็นเลือด แก้ปวดท้องอาเจียน แก้ผื่นคันที่เกิดจากชื้น และรอยฟกช้า
ที่เกิดจากการกระทบกระแทก
ราก แก้หวัด ปวดศีรษะ ไข้สูง ปวดฟัน คางทูม ฟกช้าที่เกิดจาก
การกระทบกระแทก
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:

 ใบสด 15-30 กรัม ต้มน้าดื่ม ใช้ภายนอก ตาพอกหรือคั้นเอาน้า


ผสมเหล้าทา หรือต้มน้าชะล้าง
บริเวณที่เป็น
 ดอกแห้ง 6-10 กรัม ต้มน้าดื่ม

 รากสด 15-30 กรัม ต้มน้าดื่ม ใช้ภายนอก ต้มน้าอมบ้วนปาก แก้


ปวดฟัน

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 42


ลูกใต้ใบ

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ทั้งต้นสด
สรรพคุณ :
เป็นยาแก้ไข้ ลดความร้อน ขับปัสสาวะ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:

 นาต้นสด 1 กามือ ต้มกับน้า 2 ถ้วยแก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 ½ ถ้วย


แก้ว รับประทาน ครั้งละครึ่งถ้วยแก้ว

มะกอกน้า
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ผล เมล็ด

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 43


สรรพคุณ :
 ผล ช่วยให้ชุ่มคอ แก้กระหายน้าได้ดี
 เมล็ด อาจกลั่นได้น้ามัน คล้ายน้ามันโอลีฟ ( Olive Oil ) ของ
ฝรั่ง
 ดอก แก้พิษโลหิต กาเดา แก้ริดสีดวงในลาคอ คันดุจมีตัวไต่อยู่
บารุงธาตุ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ช่วยให้ชม
ุ่ คอ แก้กระหายน้า ใช้ผลดองน้าเกลือ รับประทานเป็น
อาหารแทนมะกอกฝรั่ง จะมีรส
เปรี้ยวฝาดเล็กน้อย น้าช่วยให้ชุ่มคอ แก้กระหายน้าได้ดี

ยูคาลิป

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใบสด น้ามันที่กลั่นได้จากใบสด
สรรพคุณ:
 เป็นยาแก้ไอ ขับเสมหะ บรรเทาอาการ
ข้ออักเสบ ไล่ หรือ ่่ายุง แมลง
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 เป็นยาแก้ไอ ขับเสมหะใช้น้ามันที่กลั่น
ได้จากใบสด 0.5 มิลลิลิตร (8 หยด)รับประทานหรือทายาอม

 ไล่หรือ่่ายุง แมลง ใช้ใบสด 1 กามือ ขยี้ กลิ่นน้ามันจะออกมา


ช่วยไล่ยุงและแมลง

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 44


มะกอก

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ผล เปลือก ใบ ยาง เมล็ด
สรรพคุณ:
 เนื้อผลมะกอก มีรสเปรี้ยวฝาด หวาน
ชุ่มคอ บาบัดโรคธาตุพิการ โดย
น้าดีไม่ปกติ และมีประโยชน์
แก้โรคบิดได้ด้วย
 น้าคัน
้ ใบมะกอก ใช้หยอดหู แก้ปวดหูดี
 ผลมะกอกสุก รสเปรี้ยว อมหวาน รับประทานทาให้ชุ่มคอ แก้
กระหายน้าได้ดี เช่น ผลมะขามป้อม
 เปลือก ฝาด เย็นเปรี้ยว ดับพิษกาฬ แก้ร้อนในอย่างแรง แก้ลง
ท้องปวดมวน แก้สะอึก
 เมล็ดมะกอก สุมไปให้เป็นถ่าน แช่น้า เอาน้ารับประทานแก้ร้อน
ใน แก้หอบ แก้สะอึกดีมาก ใช้ผสมยามหานิล
 ใบอ่อน รับประทานเป็นอาหาร
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 ใช้ผลรับประทานเป็นผลไม้ และปรุงอาหาร

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 45


มะอึก

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ผล ใบ ราก เมล็ด
สรรพคุณ:
 ผล เป็นอาหาร กัดฟอกเสมหะ แก้
ไอ
 ใบ แก้อาการคัน
 ราก - แก้ปวด แก้ไข้ พอกแก้คัน
 เมล็ด - แก้ปวดฟัน (โดยเผาสูดดมควันเข้าไป)
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 แก้อาการคัน โดยนาใบหรือรากมาพอก
 แก้ปวดฟัน โดยเมล็ดมาเผาสูดดมควันเข้าไป

สัก
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใบ เนื้อไม้
เปลือก ดอก
สรรพคุณ :
ใบ
- รสเผ็ดเล็กน้อย

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 46


- รับประทานเป็นยาลดน้าตาลในเลือด

- บารุงโลหิต รักษาประจาเดือนไม่ปกติ แก้พิษโลหิต

- ขับลม ขับปัสสาวะ แก้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ

- ทายาอม แก้เจ็บคอ
 เนื้อไม้
- รสเผ็ดเล็กน้อย

- รับประทานเป็นยา ขับลม ขับปัสสาวะ ได้ดีมาก ใช้แก้บวม

- บารุงโลหิต แก้ลมในกระดูก แก้อ่อนเพลีย

- แก้ไข้ คุมธาตุ

- ขับพยาธิ รักษาโรคผิวหนัง
เปลือก ฝาดสมาน
ดอก ขับปัสสาวะ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 ใช้ใบ ต้มกับน้า รับประทานเป็นยาลดน้าตาลในเลือด

ตาลึง

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ราก หัว ใบ
สรรพคุณ :
 ราก มีรสเย็น แก้ตาขึ้นฝ้า ดับพิษทั้ง
ปวง แก้ไข้ แก้อาเจียน เป็นยาระบาย
 หัว มีรสเย็น ดับพิษทั้งปวง
 ใบ มีรสเย็น เป็นยาดับพิษร้อน

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 47


วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 ใช้ราก กินเป็นยาระบาย
 ใช้ใบ ปรุงเป็นยาดับพิษร้อน เช่น ยาเขียว ใบสดตาให้ละเอียด
ขิง
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ราก เหง้า เหง้าสด ต้น ใบ
สรรพคุณ :
 ราก มีรสหวาน เผ็ดร้อน ขม แก้ลม บารุง
เสียง แก้พรรดึก แก้คอมีเสมหะ เจริญอาหาร
 เหง้า มีรสเผ็ดร้อน แก้คลื่นไส้อาเจียน แก้
จุกเสียดแน่นเฟ้อ
 เหง้าสด แก้ท้องอืด จุกเสียดแน่นเฟ้อ คลื่นไส้อาเจียน แก้หอบไอ
ขับเสมหะ แก้บิด และเจริญธาตุ
 ต้ น มี ร สเผ็ ด ร้ อ น ขั บ ลมในล าไส้ แก้
ท้องร่วง จุกเสียด
 ใบ มี ร สเผ็ ด ร้ อน แก้ ฟกช้ า แก้ นิ่ ว แก้
ขัดปัสสาวะ แก้โรคตา ่่าพยาธิ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 แก้ ค ลื่ น ไส้อ าเจี ย น แก้ จุก เสี ย ดแน่น เฟ้ อ
ใช้เหง้ าแก่ทุบ หรือบด เป็น ผง ชงน้ า
ดื่ม
 แก้ ไ อ ขั บ เสมหะ ขั บ ลม แก้ ท้ อ งอื ด จุ ก เสี ย ดแน่ น เฟ้ อ คลื่ น ไส้
อาเจียน แก้หอบไอ ขับเสมหะ แก้บิด และเจริญธาตุ ตาเหง้าสดคั้น
น้าผสมน้ามะนาวและเกลือเล็กน้อยจิบ

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 48


กระเจีย
๊ บเขียว

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ผลแห้ง ผลอ่อน ดอก
สรรพคุณ :
 ผลแห้ง มีเพคตินและสารเมือกช่วย
เคลือบกระเพาะอาหาร บาบัดโรค
กระเพาะอาหาร แก้ไอ บารุงกาลัง
 ผลอ่อน เป็นยาหล่อลื่น ใช้ในโรคหนอง
ใน
 ดอก ลดไขมันในเลือด ลดอุณหภูมิในร่างกาย แก้กระหายน้า
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 บาบัดโรคกระเพาะอาหาร ช่วยเคลือบกระเพาะอาหาร แก้ไอ
บารุงกาลัง โดยการนาผลแห้งป่นมาชงกับน้ากิน

บัวบก
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ทั้งต้น ใบ เมล็ด
สรรพคุณ :
 ทัง้ ต้น มีรสหอมเย็น แก้ช้าใน แก้
อ่อนเพลีย ขับปัสสาวะ รักษาบาดแผล
แก้ร้อนในกระหายน้า แก้โรคปวดศีรษะ
ข้างเดียว (ไมเกรน) แก้โรคเรื้อน แก้กามโรค แก้ตับอักเสบ บารุง
หัวใจ บารุงกาลัง

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 49


 ใบ มีรสขม เป็นยาดับร้อน ลดอาการอักเสบบวม แก้ปวดท้อง
แก้บิด แก้ดีซ่าน แก้นิ่วในทางเดินปัสสาวะ แก้ฝีหนอง แก้หัด แก้ไอ
กรน
 เมล็ด มีรสขมเย็น แก้บิด แก้ไข้ แก้ปวดศีรษะ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 ใบ ต้มกับน้าซาวข้าวกินแก้นิ่วในทางเดินปัสสาวะ ตาพอกหรือ
ต้มน้ากินแก้ฝีหนอง แก้หัด ต้มกับหมูเนื้อแดงกินแก้ไอกรน

ชุมเห็ดเทศ
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ฝัก ใบ ดอก เมล็ด
สรรพคุณ :
 ฝัก มีรสเอียน แก้พยาธิ เป็นยาระบาย
ขับพยาธิตัวตืด พยาธิไส้เดือน
 ใบ เป็นยาถ่าย รักษาขี้กลากและโรค
ผิวหนังอื่นๆ
 ใบและดอก ขับเสมหะในรายที่หลอดลม
อักเสบ และแก้หืด
 เมล็ด มีกลิ่นเหม็น รสเอียนเล็กน้อย ใช้ขับพยาธิ แก้ตาซาง แก้ท้อง
ขึ้น แก้นอนไม่หลับ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 ใบและดอก ทายาต้มรับประทาน ขับเสมหะในรายที่หลอดลมอักเสบ
และแก้หืด

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 50


กระทือ

ส่วนทีใ
่ ช้:
 เหง้าสด
สรรพคุณ:
 บารุงและขับน้านม ขับปัสสาวะ แก้
ท้องอืด บิด ปวดมวนในท้อง
วิธีและปริมาณทีใ่ ช้:
ราก แก้ไข้ตัวเย็น แก้ไข้ต่างๆ แก้
ไข้ตัวร้อน แก้เคล็ดขัดยอก
เหง้า
- บารุงน้านม แก้ปวดมวนในท้อง แก้บิด บิดป่วงเบ่ง
- แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง ขับผายลม ขับปัสสาวะ
- แก้จุกเสียด แก้เสมหะเป็นพิษ
- ขับน้าย่อย เจริญอาหาร
- เป็นยาบารุงกาลัง
- แก้ฝี
ต้น
- แก้เบื่ออาหาร ช่วยเจริญอาหาร ทาให้รับประทานอาหารมีรส
- แก้ไข้
ใบ
- ขับเลือดเน่าร้ายในเรือนไฟ
- แก้เบาเป็นโลหิต

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 51


ดอก
- แก้ไข้เรื้อรัง
- ผอมแห้ง ผอมเหลือง
- บารุงธาตุ แก้ลม
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 รักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด และปวดท้องบิด
โดยใช้หัวหรือเหง้ากระทือสด ขนาดเท่าหัวแม่มือ 2 หัว (ประมาณ
20 กรัม) ย่างไฟพอสุก ตากับน้าปูนใสครึ่งแก้วคั้นเอาน้าดื่มเวลามี
อาการบางท้องถิ่นใช้หัวกระทือประกอบอาหารเนื้อในมีรสขมและ
ขืน
่ เล็กน้อย ต้องหั่นแล้วขยากับน้าเกลือนาน ๆ กระทือเป็นพืชที่มี
สารอาหารน้อย

สะระแหน่

ส่วนทีใ
่ ช้:
ทั้งต้นสด
สรรพคุณ :
- ทั้งต้นสด เป็นยาขับลม แก้ปวดหัว แก้
ปวดท้อง จุกเสียดแน่นเฟ้อ ดมแก้ลม แก้
ฟกช้า บวม
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 - ทัง้ ต้นสด กินเป็นยาขับลม ขยี้ทาขมับแก้ปวดหัว แก้ปวดท้อง
จุกเสียด แน่นเฟ้อ ดมแก้ลม ทาแก้ฟกช้า บวม

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 52


บุก

ส่วนทีใ
่ ช้:
 เนื้อจากลาต้นใต้ดิน หัว
สรรพคุณ :
หัวบุกมีสารสาคัญ คือกลูโคแมนแนน
เป็นสารประเภท คาร์โบไฮเดรท ซึ่ง
ประกอบด้วย กลูโคลส แมนโนส และ
ฟลุคโตส กลูโคแมนแนน สามารถลด
ปริมาณน้าตาลในเลือดได้ ก็เนื่องจากความเหนี่ยว ซึ่งยับยั้งการดูด
ซึมของกลูโคลสจากทางเดินอาหาร ยิ่งหนืดมาก็ยิ่งมีผลลดการดูด
ซึมกลูโคลส ดังนั้น กลูโคแมนแนน ซึ่งเหนียวกว่า gua gum จึงลด
น้าตาลได้ดีกว่า จึงใช้แป้งเป็นวุ้นเป็นอาหารสาหรับผู้ป่าย
โรคเบาหวาน สาหรับผู้ป่วยเป็นโรคมีไขมันในเลือดสูง
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 แยกเป็นแป้งส่วนทีเ่ ป็นเนื้อทราย แล้งชงน้าดืม
่ ใช้แป้ง 1 ช้อน
ชา ต่อน้า 1 แก้ว ชงดื่มวันละ 2-3 มื้อ ก่อนอาหารครึ่งชั่วโมง
 ใช้หัวหุงเป็นน้ามัน ใส่บาดแผล กัด ฝ้าหนอง

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 53


กระเจีย
๊ บแดง
ส่วนทีใ
่ ช้:
 เมล็ด ทั้งต้น กลีบเลี้ยง
สรรพคุณ :
เมล็ ด เป็ น ยาแก้ อ่ อ นเพลี ย บ ารุ ง ก าลั ง บ ารุ ง ธาตุ แก้ ดี พิ ก าร
ขับปัสสาวะ
 ทั้งต้น เป็นยา่่าตัวจี๊ด
 กลีบเลี้ยง ชงกับน้ารับประทานเพื่อลดความดัน ลดไขมันในเส้น
เลือด ทาแยม อาการขัดเบา
วิธีและปริมาณที่ใช้:
 โดยนาเอากลีบเลี้ยง หรือกลีบรองดอกสีม่วงแดง ตากแห้งและบด
เป็ น ผง ใช้ค รั้ ง ละ 1 ช้อ นชา (หนั ก 3 กรั ม ) ชงกับ น้ าเดือ ด 1 ถ้ว ย
(250 มิลลิลิตร) ดื่มเฉพาะน้าสีแดงใส ดื่มวันละ 3 ครั้ง ติดต่อกันทุก
วันจนกว่าอาการขัดเบาและอาการอื่นๆ จะหายไป
 โดยน าเอาทั้งต้นมาใส่หม้อต้ม น้า 3 ส่วน เคี่ยวไฟให้งวดเหลื อ 1
ส่ ว น ผสมกั บ น้ าผึ้ ง ครึ่ ง หนึ่ ง รั บ ประทานวั น ละ 3 เวลา หรื อ
รับประทานน้ายาเปล่าๆ จนหมด จะสามารถ่่าตัวจี๊ดได้

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 54


ลาโพงดอกขาว

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใบแห้ง ดอกแห้ง ยอดอ่อน ช่อดอก
สรรพคุณ:
 ใบ รักษาแผลฝี แผลไหม้ รักษาไขข้อ
อักเสบ แก้กลากเกลื้อน
น้าจากใบสด แก้ปวดหู
เมล็ด แก้โรคผิวหนัง แก้ปวดฟัน
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 ใบ พอกแผลฝี แผลไหม้ รักษาไขข้ออักเสบ แก้กลากเกลื้อน
น้าจากใบสด หยอดหู แก้ปวดหู

พริกขีห
้ นูสวน
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ทั้งเมล็ด
สรรพคุณ :
 ทัง้ เมล็ด ใช้ปรุงรสอาหาร ช่วยเจริญ
อาหาร และรักษาอาการอาเจียน รักษาโรค
หิด กลาก รักษาโรคบิด
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:

 ทัง้ เมล็ด ใช้บุบพอแตก ใส่ในต้มยา ต้มข่า ใส่เมื่อทุกอย่างสุก


แล้วจึงใส่จะได้รสชาติ ชูรสอาหาร ทา ให้อาหารมีรสชาติ มีกลิ่น
หอม ใช้ปรุงรสอาหาร ช่วยเจริญอาหาร และรักษาอาการอาเจียน
รักษาโรคหิด กลาก รักษาโรคบิด

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 55


ผักชีใบ
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ทั้งต้นสด
สรรพคุณ :
 ทัง้ ต้นสด ทาให้อาหารมีกลิ่นหอม
สวยงามน่ากินและยังเป็นยาละลายเสมหะ
แก้หัดหรือผื่น ขับเหงื่อขับลม ท้องอืด
ท้องเฟ้อ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 ทัง้ ต้นสด ใส่ในต้มยา ต้มข่า แกงจืด ใส่เมื่อทุกอย่างสุกแล้ว ทา
ให้อาหารมีกลิ่นหอม สวยงามน่ากินและยังเป็นยาละลายเสมหะ แก้
หัดหรือผื่น ขับเหงื่อขับลม ท้องอืดท้องเฟ้อ

กระถิน
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ราก ยาง ใบอ่อน ดอก
สรรพคุณ :
 ราก มีรสเฝื่อนฝาด เป็นยาอายุวัฒนะ แก้
พิษแมลงสัตว์กัดต่อย แก้ปวดฟัน แก้อักเสบ
 ยาง เข้ายาแก้ไอ บรรเทาอาการระคาย
คอ
 ใบอ่อน แก้แผลเรื้อรัง
 ดอก แก้อาหารไม่ย่อย แก้ปวดท้อง
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 ราก ทาแก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย ต้มน้าอมแก้ปวดฟัน แก้อักเสบ
 ใบอ่อน ตาพอกแก้แผลเรื้อรัง
 ดอก ชงดื่ม ดองเหล้าดื่มแก้ปวดท้อง

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 56


มะลิลา
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใบ ราก ดอกแก่
สรรพคุณ :

 ใบ,ราก ทายาหยอดตา
ดอกแก่ เข้ายาหอม แก้หืด บารุงหัวใจ
ราก ฝนรับประทาน แก้ร้อนใน, เสียด
ท้อง รักษาหลอดลมอักเสบ ขับประจาเดือน
 ใบ ตาให้ละเอียด ผสมกับน้ามะพร้าวใหม่ๆ นาไปลนไฟ ทา
รักษาแผล ฝีพุพอง แก้ไข้ ขับน้านม
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:

 ใช้ดอกแห้ง 1.5 - 3 กรัม ต้มน้าหรือชงน้าร้อนดื่ม

กุม
่ บก
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใบ เปลือก กระพี้ แก่น ราก
สรรพคุณ :
 ใบ ขับลม ่่าแม่พยาธิ เช่น พวกตะมอย แก้เกลื้อนกลาก
 เปลือก ร้อน ขับลม แก้นิ่ง แก้ปวดท้อง ลงท้อง คุมธาตุ แก้โรค
ผิวหนัง
 กระพี้ ทาให้ขี้หูแห้งออกมา
 แก่น แก้ริดสีดวง ผอม เหลือง
 ราก แก้มานกษัย อันเกิดแต่กองลม
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 57


 ใช้ใบทาแก้เกลื้อนกลาก
 ใช้เปลือกทาภายนอก แก้โรคผิวหนัง

เตยหอม
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ต้นและราก, ใบสด

สรรพคุณ :
 ต้นและราก
- ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ แก้กระษัย
 ใบสด
- ตาพอกโรคผิวหนัง
- รักษาโรคหืด
- น้าใบเตย ใช้เป็นยาบารุงหัวใจให้ชุ่มชื่น
- ใช้ผสมอาหาร แต่งกลิ่น ให้สีเขียวแต่งสีขนม
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
1. ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ
ใช้ต้น 1 ต้น หรือราก ครึ่งกามือ ต้มกับน้าดื่ม

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 58


2. ใช้เป็นยาบารุงหัวใจ
ใช้ใบสดไม่จากัดผสมในอาหาร ทาให้อาหารมีรสเย็นหอม
รับประทานแล้วทาให้หัวใจชุ่มชื่น หรือเอาใบสดมาคั้นน้า
รับประทานครั้งละ 2-4 ช้อนแกง
3. ใช้เป็นยาแก้เบาหวาน
4. ใช้ราก 1 กามือ ต้มน้าดื่ม เข้าเย็น

ว่านกาบหอย
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใช้ใบสด หรือตากแห้งเก็บไว้ใช้ และ
ดอก เมื่อเก็บดอกที่โตเต็มที่ แล้วตากแห้ง
หรืออบด้วยไอน้า 10 นาที แล้วจึงนาไป
ตากแห้ง เก็บเอาไว้ใช้
สรรพคุณ :

 ใบ - แก้ร้อนใน กระหายน้า แก้ไอ


อาเจียนเป็นโลหิต แก้ฟกช้าภายใน เนื่องจากพลัดตกจากที่สูงหรือ
หกล้มฟาดถูกของแข็ง แก้บิด ถ่ายเป็นเลือด แก้ปัสสาวะเป็นเลือด
 ดอก รสชุ่มเย็น ต้มกับเนื้อหมูรับประทาน ใช้ขับเสมหะ แก้ไอ
แห้งๆ แก้อาเจียนเป็นโลหิต เลือดกาเดาออก ห้ามเลือด แก้ปัสสาวะ
เป็นเลือด แก้ไอเป็นเลือด แก้บิดถ่ายเป็นเลือด
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 ใบ ใช้ต้มน้าดื่ม ครั้งละ 15- 30 กรัม ใช้ภายนอก โดยการตา


พอก
 ดอก ใช้ดอกแห้งหนัก 10- 15 กรัม หรือ ดอกสด หนัก 30- 60

กรัม ต้มน้าดื่ม

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 59


กระท้อน

ส่วนทีใ
่ ช้:
 เปลือกต้น เปลือกลูก ใบ
สรรพคุณ :
 เปลือกต้น รสเปรี้ยวฝาดเย็น รักษาโรค
ผิวหนัง
 เปลือกลูก รสเปรี้ยวฝาดเย็น เป็นยา
สมานแผล
 ใบ รสเปรี้ยวฝาดเย็น แก้ท้องร่วง แก้บิดมูกเลือด ดับพิษร้อน
ถอนพิษไข้ แก้ไข้รากสาด เป็นยาขับเหงื่อ ต้มเอาน้าอาบแก้ไข้

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 แก้ท้องร่วง แก้บิดมูกเลือด ดับพิษร้อนถอนพิษไข้ โดยใช้รากสด
50 กรัม ล้างน้าให้สะอาด สับเป็นชิ้นต้มในน้าสะอาด 500 ซีซี แล้ว
กรองเอาน้าดื่ม
 แก้ไข้ และขับเหงื่อ โดยใช้ใบสด 15 – 25 ใบ ต้มในน้าสะอาด

แล้วเอาน้าอาบเป็นประจา

พิกล

ส่วนทีใ
่ ช้: ดอก เปลือก เมล็ด แก่นที่ราก ใบ

สรรพคุณ :

 ผลสุก รับประทานแก้ปวดศีรษะและแก้
โรคในลาคอและปาก

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 60


 ดอกสด เข้ายาหอม ทาเครื่องสาอาง แก้ท้องเสีย
ดอกแห้ง เป็นยาบารุงหัวใจ ปวดหัว เจ็บคอ ขับเสมหะ
 เปลือก กลั้วคอ ล้างปาก แก้เหงือกบวม รามะนาด
 เมล็ด ตาแล้วใส่ทวารเด็ก แก้โรคท้องผูก
 ใบ ่่าพยาธิ
 แก่นทีร่ าก เป็นยาบารุงหัวใจ บารุงโลหิต ขับลม
 กระพี้ แก้เกลื้อน
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 เปลือก อมกลั้วคอ ล้างปาก แก้เหงือกบวม รามะนาด

มะรุม

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ราก เปลือก กระพี้ ใบ ดอก ฝัก
เมล็ด เนื้อในเมล็ด
สรรพคุณ :
ราก ที่จะช่วยบารุงไฟธาตุ แก้อาการ
บวม
กระพี้ ใช้แก้ไขสันนิบาด
ใบ มีแคลเซียม วิตามินซี และสารต้านอนุมูลอิสระสูงมาก ใช้แก้
เลือดออกตามไรฟัน แก้อักเสบ มีฤทธิ์เป็นยาระบายอ่อน ๆ

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 61


 ดอก ช่วยบารุงร่างกาย ขับปัสสาวะ ขับน้าตา ใช้ต้มทาน้าชาดื่ม
ช่วยให้นอนหลับสบาย
 ฝัก ใช้แก้ไข้หัวลม
 เนื้อในเมล็ดมะรุม ใช้แก้ไอได้ดี รวมทั้งยังเพิ่มภูมิต้านทานให้
ร่างกายได้ด้วย หากรับประทานเป็นประจา แต่ สาหรับคนที่เป็นโรค
เลือด G6PD ไม่ควรรับประทานมะรุม
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
เปลือก ใช้ประคบแก้โรคปวดหลัง ปวดข้อ รับประทานเป็นยาขับ
ลมในลาไส้
 เมล็ด นามาสกัดเป็นน้ามันใช้รักษาโรคปวดข้อ โรคเกาท์ รักษา
โรคผิวหนังจากเชื้อรา

แคบ้าน

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ราก เปลือกต้น ใบ ยอดอ่อน ดอก
สรรพคุณ :
เปลือกต้น มีรสฝาด ใช้รักษาท้องเดิน แก้บิด มูกเลือด คุมธาตุ
ถ้ า กิ น มากท าให้ อ าเจี ย น ใช้ เ ป็ น ยาฝาดสมานทั้ ง ภายนอกและ
ภายใน ชะล้างบาดแผล
ใบ มีร สจืด มัน แก้ไ ข้เปลี่ ยนฤดู ไข้หวัด ถอนพิษ ไข้ ดับพิษ และ
ถอนพิษอื่นๆ
 ยอดอ่อน ใช้รักษาไข้หัวลม
 ดอก มีรสหวานเย็น แก้ไข้เปลี่ยนฤดู
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
ราก น้าคั้นจากรากผสมกับน้าผึ้ง เป็นยาขับเสมหะ

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 62


ย่านาง
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใบ
สรรพคุณ :
 ย่านางเป็นสมุนไพรรสจืด เป็นยาเย็น มี
ฤทธิ์ดับพิษร้อน คนจึงนาใบย่านางไปคั้น
เป็นน้าคลอโรฟิลล์ เพื่อเพิ่มความสดชื่น
ปรับอุณหภูมิในร่างกาย และยังนาใบ
ย่านางไปช่วยดับพิษไข้ ดับพิษของอาหาร แก้อาการผิดสาแดง แก้
พิษเมา แก้เลือดตก แก้กาเดา ลดความร้อนได้ด้วย นอกจากใบแล้ว
ส่วนอื่น ๆ ของย่านางก็มีประโยชน์เช่นกัน ทั้ง "ราก" ที่ใช้แก้ไข้พิษ
ไข้หัด ไข้ฝีดาษ ไข้กาฬ ไข้ทับระดู"เถาย่านาง" ใช้แก้ไข ลดความ
ร้อนในร่างกาย
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
ใบย่านางตั้งแต่ 3-10 ใบ โดยพิจารณาจากลักษณะของผู้ป่วย
นามาโขลกให้ละเอียด ผสมน้า 1-3 แก้ว ดื่ม วันละ 2-3 เวลา

มะขาม
ส่วนทีใ
่ ช้:
 เนื้อมะขามสุก
สรรพคุณ :
 เนื้อมะขามสุก แก้ท้องผูก เป็นยาระบาย
แก้ไอ ขับเสมหะ

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 63


วิธีและปริมาณทีใ่ ช้ :
 เนื้อมะขามสุก นาเนื้อมะขามคั้นเติมเกลือน้าตาลจิบแก้ไอ ขับ
เสมหะ

มะขามป้อม
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ราก ผลแห้ง เมล็ด
สรรพคุณ :
 ราก ยังแก้พิษตะขาบกัด แก้ร้อนใน ลด
ความดันโลหิต แก้โรคเรื้อน ส่วนเปลือก แก้
โรคบิด และฟกช้า ส่วนปมก้าน ใช้เป็นน้ายา
บ้วนปาก แก้ปวดฟัน
ผลแห้ง ใช้รักษาอาการท้องเสีย หนองใน เยื่อบุตาอักเสบ แก้ตก
เลือด
เมล็ด แก้คัน แก้หืด แก้โรคเบาหวาน หอบหืด หลอดลมอักเสบ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
เมล็ด ก็สามารถนาไปเผาไฟผสมกับน้ามันพืช ทาแก้คัน แก้หืด
หรือจะตาเมล็ดให้เป็นผง ชงกับน้าร้อนดื่มแก้โรคเบาหวาน หอบหืด
หลอดลมอักเสบก็ได้

บอระเพ็ด
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ราก ต้น ใบ ดอก ผล
สรรพคุณ :
ราก สามารถนาไปดับพิษร้อน แก้ไข้พิษ
ไข้จับสัน
่ ช่วยให้เจริญอาหาร
ต้น ก็ช่วยแก้ไข้ได้เช่นกัน และยังช่วย
บารุงกาลัง บารุงธาตุ แก้ร้อนใน แก้สะอึก แก้เลือด
พิการ

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 64


 ใบ นอกจากจะช่วยแก้ไข้ได้เหมือนส่วนอื่น ๆ แล้ว ยังช่วยแก้
โลหิตคั่งในสมอง ขับพยาธิ แก้ปวดฝี ช่วยลด ความร้อน ทาให้
ผิวพรรณผ่องใส รักษาโรคผิวหนัง ผดผื่นคันตามร่างกาย
 ดอก ช่วย่่าพยาธิในท้อง ในฟัน ในหู
ผล ใช้แก้เสมหะเป็นพิษ แก้สะอึกได้ดี
แต่ถ้านาทั้ง 5 ส่วน คือ ราก ต้น ใบ ดอก ผล มารวมกัน "บอระเพ็ด"
จะกลายเป็นยาอายุวัฒนะเลยทีเดียว เพราะแก้อาการได้สารพัดโรค
รวมทั้งโรคริดสีดวงทวาร ฝีในมดลูก เบาหวาน ฯลฯ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
อาการไข้ ลดความร้อน
- ใช้เถาแก่สด หรือต้นสด ครั้งละ 2 คืบครึ่ง (30-40 กรัม) ตา
คั้นเอาน้าดื่ม หรือต้มกับน้าโดยใช้น้า 3 ส่วน ต้มเคี่ยวให้เหลือ 1
ส่วน ดื่มวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า –เย็น หรือเวลามีอาการ

- หรือใช้เถาสด ดองเหล้า ควรแรง 1 ใน 10 รับประทานครั้ง


ละ 1 ช้อนชา ของยาที่เตรียมแล้ว
 เป็นยาขมช่วยเจริญอาหาร เมื่อมีอาการเบื่ออาหาร โดยใช้
ขนาดและวิธีการเช่นเดียวกับใช้แก้ไข้

มะละกอ
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ผลสุก ผลดิบ
สรรพคุณ :
 ขับน้าดี (ช่วยในการย่อยไขมัน) ขับ
น้าเหลือง บารุงน้านม ขับพยาธิ รักษาโรค
ริดสีดวง
 แก้ท้องผูกที่ดีมากๆ เป็นยาระบายชั้นดี
 เพิ่มความชุ่มชื้นบนใบหน้า
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 65


 นาผลดิบและผลสุกมาต้มกินเป็นยา ขับน้าดี(ช่วยในการย่อย
ไขมัน) ขับน้าเหลือง บารุงน้านม ขับพยาธิ รักษาโรคริดสีดวง
 นาเนื้อสุกมาปั่นพอกหน้าเพิ่มความชุ่มชื้น

ว่านหางจระเข้

ส่วนทีใ
่ ช้:
 วุ้นในใบสด ยางในใบ
สรรพคุณ :
 วุ้ น ในใบสด รั ก ษาแผลน้ าร้ อ นลวก ไฟ
ไหม้ แก้ปวดแสบปวดร้อน แผลเรื้อรัง รักษาผิว
ที่ถูกแดดเผา แผลในกระเพาะอาหาร และช่วย
ถอนพิษ
ยางในใบ เป็นยาระบาย
เหง้า แก้โรคหนองใน
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 วุ้นในใบสด นามาพอกแผลน้าร้อนลวก ไฟไหม้ แก้ปวดแสบปวด
ร้อน แผลเรื้อรัง รักษาผิวที่ถูกแดดเผา แผลในกระเพาะอาหาร และ
ช่วยถอนพิษได้ เพราะว่านหางจระเข้มีสรรพคุณช่วยสมานแผล แต่
มีข้อแนะนาว่า ก่อนใช้ควรทดสอบดูก่อนว่าแพ้หรือไม่ โดยเอาวุ้นทา
บริเวณท้องแขนด้านใน ถ้าผิวไม่คันหรือแดงก็ใช้ได้ นอกจากส่วน
วุ้นในใบสดแล้ว
เหง้า ก็นาไปต้มน้ารับประทาน แก้โรคหนองในได้ด้วย

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 66


หอมแดง
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ส่วนหัว
สรรพคุณ :
 ช่วยขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

1. หอมหัวใหญ่ ใช้ครึ่งหัว

2. หอมแดง ใช้ 5-6 หัว


รับประทานทุกวัน อย่างน้อย 2 เดือน จะรับประทานร่วมกับ
อาหารอื่นก็ได้ และที่สาคัญถ้าจะให้ผลดีต้องรับประทานสด เช่น
เมี่ยงคา ยา น้าพริก ผักแกล้ม เป็นต้น หลังจากที่ได้ทราบคุณค่าทาง
ยาของหัวหอมแล้ว หวังว่าท่านคงจะไม่เขี่ยหอมออกนอกจานต่อไป

สับประรด

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ราก หนาม ใบสด ผลดิบ ผลสุก ไส้กลาง
เปลือก แขนง ยอดอ่อน

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 67


สรรพคุณ :
รากใช้บรรเทานิ่วขับปัสสาวะ แก้กระษัย ทาให้ไตมีสุขภาพดี แก้
หนองใน แก้มุตกิดระดูขาว แก้ขัดข้อ
หนาม - แก้พิษฝีต่างๆ แก้ไข้ ลดความร้อน ไข้พา ไข้กาฬ
ใบสด - เป็นยาระบาย ่่าและถ่ายพยาธิในท้อง ยาขับปัสสาวะ แก้
กระษัย
ผลดิบ - ใช้ห้ามโลหิต แก้โรคทางเดินปัสสาวะ ่่าพยาธิ และขับ
ระดู
ผลสุก - ขับปัสสาวะ ขับเหงื่อ และบารุงกาลัง ช่วยย่อยอาหาร แก้
หนองใน มุตกิด กัดเสมหะในลาคอ
ไส้กลางสับปะรด - แก้ขัดเบา (ฉะนั้นทางสับปะรดก็อย่าทิ้ง
แกนกลางมันนะครับ)
เปลือก - ขับปัสสาวะ แก้กระษัย ทาให้ไตมีสุขภาพดี
จุก - ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว แก้หนองใน มุตกิดระดูขาว
แขนง - แก้โรคนิ่ว
ยอดอ่อนสับปะรด – แก้นิ่ว
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
แก้อาการขัดเบา ช่วยขับปัสสาวะ ใช้เหง้าสดหรือแห้งวันละ 1
กอบมือ (สดหนัก 200-250 กรัม แห้งหนัก 90-100 กรัม) ต้มกับน้าดื่ม ครั้ง
ละ 1 ถ้วยชา (75 มิลลิลิตร) วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร

ฟ้าทะลายโจร
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ทั้งต้น (สด- แห้ง) และใบ
สรรพคุณ:
 ใบ รั กษาแผลน้าร้ อนลวก แก้ไ ฟไหม้ แก้
บิดชนิดติดเชื้อ แก้ทางเดิน อาหารอักเสบ แก้

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 68


หวัด แก้ทอนซิล แก้ปอด อักเสบ แก้อาการท้องเดิน
วิธีและปริมาณทีใ ่ ช้ :
 ใบ รักษาแผลน้าร้อนลวก แก้ไฟไหม้ โดยการนามาบดผสมกับ
น้ามันพืชใช้ทาตรง บริเวณที่เป็นแผลใบและทั้งต้น แก้บิดชนิดติด
เชื้อ แก้ทางเดิน อาหารอักเสบ แก้หวัด แก้ทอนซิล แก้ปอด อักเสบ
เรียกได้ว่าเรื่องของหวัดไข้ แก้ได้อย่างครบวงจรเลยทีเดียว แก้
อาการท้องเดิน โดยใช้ต้น แห้งประมาณ 1 – 3 กามือเอามาหั่น แล้ว
ต้ม กับน้าดื่ม ส่วนเป็นยาแก้ไข้นั้นให้ใช้ครั้งละ 1 กามือ ต้มกับน้าดื่ม
เวลามีอาการ หรือก่อน อาหารเช้าเย็น

มะระจีน

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ผล ราก เถา เมล็ด
สรรพคุณ:
ผล มีฤทธิ์ในการลดระดับน้าตาลในเลือด
ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว และนอกจากนั้น ยัง
สามารถใช้ทาภายนอก แก้ผิวหนังแห้ง ลดอาการระคายเคือง
ผิวหนังอักเสบ
ราก ตามตารากล่าวว่ามีฤทธิ์ ฝาดสมาน ใช้รักษาโรคริดสีดวง
ทวารหนัก แก้บิด แก้ไข
เถา มีสรรพคุณช่วยดับพิษร้อน แก้บิด
เมล็ด มีรสขมใช้ขับพยาธิตัวกลม
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
ราก ต้มดื่มแก้ไข้

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 69


มังคุด
ส่วนทีใ
่ ช้:
 เปลือก
สรรพคุณ:
 รักษาโรค
ท้องเสียเรื้อรัง
และโรคลาไส้
 รักษาอาการท้องเดิน ท้องร่วง
 รักษาแผลน้ากัดเท้า แผลพุพอง
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 รักษาโรคท้องเสียเรือ
้ รัง และโรคลาไส้ ใช้เปลือกมังคุดครึ่งผล
(ประมาณ 4-5 กรัม) ต้มกับน้ารับประทานครั้งละ 1 แก้ว
รัก ษาอาการท้อ งเดิน ท้อ งร่ว ง ใช้เปลื อกมัง คุ ด ต้มกับ น้ าปูน ใส
หรื อ ฝนกั บ น้ ารั บ ประทาน โดยมี ข นาดรั บ ประทานอยู่ ที่ เด็ ก ให้
รับประทานครั้งละ 1-2 ช้อนชาทุก 4 ชั่วโมง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้ง
ละ 1 ช้อนโต๊ะทุก 4 ชั่วโมง
รักษาแผลน้ากัดเท้า แผลพุพอง ใช้เปลือกผลสดหรือแห้ง ฝนกับ
น้าปูนใสให้ข้นๆ พอสมควร ทาแผลน้ากัดเท้า แผลพุพอง วันละ 2-3
ครั้งจนกว่าจะหาย (ก่อนที่จะทา ควรล้างเท้าฟอกสบู่ให้สะอาด ถ้ามี
แอลกลอฮอร์ เ ช็ ด แผลควรเช็ ด ก่ อ น) สาเหตุ ที่ เ ปลื อ กของมั ง คุ ด
ส า ม า ร ถ รั ก ษ า แ ผ ล ไ ด้ เ พ ร า ะ ใ น เ ป ลื อ ก มี ส า ร คื อ แ ท น
นิน (tannin) ทาให้แผลหายเร็ว ช่วยลดอาการอักเสบและมีฤทธิ์ต้าน
เชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดหนองได้ดี

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 70


กระเทียม

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ส่วนหัว
สรรพคุณ:
 ช่วยขับลม แก้ท้องอืดเฟ้อ บารุงธาตุ
 ช่วยรักษาโรคกลากเกลื้อน
 รักษาทอนซิลอักเสบ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ใช้น้าคั้นหัวกระเทียมผสมน้าอุ่นและเกลือ ใช้กลั้วคอเพื่อรักษา
ทอนซิลอักเสบ นอกจากนี้กระเทียมยังช่วยรักษาโรคกลากเกลื้อน
ได้ โดยนากระเทียมมาตาให้ละเอียดคั้นเอาน้าทาบริเวณที่เป็นวันละ
2-3 ครั้ง 5-10 วัน อาการจะดีขึ้นและทาต่อจนกว่าจะหาย

พริกไทย
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ดอก เมล็ด ใบ เถา ราก น้ามันหอมระเหย
สรรพคุณ:
 ดอก มีการระบุในตาราสมุนไพรไทยว่ามี
สรรพคุณ แก้ตาแดงเนื่องจากความดันโลหิต
สูง
 เมล็ด มีสรรพคุณในการใช้เป็นยาช่วยย่อยอาหาร ขับสารพิษ
ตกค้าง ขับเสมหะ บารุงธาตุ แก้ท้องอืด ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ แก้ระดู
ขาว

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 71


 ใบ ในใบพริกไทยมีสรรพคุณ แก้จุกเสียด แก้ปวดมวนท้อง
 เถา ใช้ขับเสมหะ แก้ท้องร่วงอย่างรุนแรง และท้องเดินหลายๆ
ครั้ง
 ราก ใช้ขับลมในลาไส้ แก้ปวดท้อง วิงเวียน ช่วยย่อยอาหาร และ
เป็นยาอายุวัฒนะอีกด้วย
 น้ามันหอมระเหย สามารถช่วยแก้หวัด ทาให้จมูกโล่ง ใช้ลด
น้าหนัก
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 น้ามันหอมระเหย ในน้ามันหอมระเหยจากพริกไทยนั้น สามารถ
ช่ ว ยแก้ ห วั ด ท าให้ จ มู ก โล่ ง นอกจากนี้ ยั ง ใช้ ล ดน้ าหนั ก น ามาทา
นวดตามร่างกายในส่วนที่ต้องการลดได้ และนอกจากนี้พริกไทย ยัง
มีคุณสมบัติในการกาจัดเชื้อจุลินทรีย์หลายชนิด จึงนิยมนามาถนอม
อาหารจ าพวกเนื้ อ สั ต ว์ เช่ น ไส้ ก รอก กุ น เชี ย ง หมอยอ ซึ่ ง จะมี
พริกไทยเป็นส่วนผสม

บัวหลวง

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ดีบัว ดอก เกษรตัวผู้ เมล็ด ไส้ของเมล็ด
ยางจากก้านใบและก้านดอก เง่า ราก
สรรพคุณ :
 ดีบว ั มี Methylcorypalline ซึ่งเป็นตัวทา
ให้เส้นเลือดขยาย

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 72


 ดอก, เกษรตัวผู้ ขับปัสสาวะ ฝากสมาน ขับเสมหะ บารุงหัวใจ
เกษรปรุงเป็นยาหอม ชูกาลัง ทาให้ชื่นใจ ยาสงบประสาท ขับเสมหะ
 เหง้าและเมล็ด รสหวาน เย็น มันเล็กน้อย บารุงกาลัง แก้ร้อนใน
กระหายน้า แก้เสมหะ แก้พุพอง
 เมล็ดอ่อนและแก่ เมล็ดใช้รับประทานเป็นอาหาร และใช้ทาเป็น
แป้งได้ดี
 เหง้าบัวหลวง ใช้ปรุงเป็นอาหารได้ทั้งคาวหวาน
 ไส้ของของเมล็ด แก้เส้นโลหิตตีบในหัวใจ
 ยางจากก้านใบและก้านดอก แก้ท้องเดิน
 ราก แก้เสมหะ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 เหง้าและเมล็ด ต้มรับประทานเป็นยาบารุงกาลัง แก้ร้อนใน
กระหายน้า แก้เสมหะ แก้พุพอง

กระดังงาไทย
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ดอกแก่จัด ใบ เนื้อไม้
สรรพคุณ :
 ดอกแก่จด ั - ใช้เป็นยาหอมบารุงหัวใจ บารุงโลหิต บารุงธาตุ แก้
ลมวิงเวียน ชูกาลังทาให้ชุ่มชื่น ให้ น้ามันหอมระเหย ใช้แต่งกลิ่น
เครื่องสาอาง น้าอบ ทาน้าหอม ใช้ปรุงยาหอม บารุงหัวใจ
 ใบ, เนื้อไม้ เป็นยาขับปัสสาวะพิการ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ใบ, เนื้อไม้ - ต้มรับประทาน เป็นยาขับปัสสาวะพิการ

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 73


ว่านมหากาฬ

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 หัว ใบสด
สรรพคุณ :
 หัว
- รับประทานแก้พิษอักเสบ
ดับพิษกาฬ พิษร้อน
- แก้ไข้พิษเซื่องซึม แก้เริม
 ใบสด
- ขับระดู
- ตาพอกฝี หรือหัวละมะลอก งูสวัด เริม ทาให้เย็น ถอนพิษ แก้
ปวดแสบปวดร้อน
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
ใช้ใบสด 5-6 ใบ ล้างน้าให้สะอาด ตาในภาชนะทีสะอาด ใส่
พิมเสนเล็กน้อย
ใช้ใบสด 5-6 ใบ โขลกผสมกับสุรา ใช้น้าทา และพอกบริเวณที่เป็น
ด้วยก็ได้
ข้อสังเกต - ในการใช้ว่านมหากาฬรักษาเริม และงูสวัด เมื่อหายแล้ว
มีการกลับเป็นใหม่น้อยกว่าเมื่อใช้

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 74


เหล้าขาว

ทองกวาว

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ดอก ยาง ใบ เมล็ด
สรรพคุณ:
 ดอก
- รับประทานเป็นยาถอนพิษไข้ แก้กระหายน้า
- ผสมเป็นยาหยอดตา แก้เจ็บตา ฝ้าฟาง
- เป็นยาขับปัสสาวะ สมานแผลปากเปื่อย แก้พิษฝี
 ยาง ใช้แก้ท้องร่วง
 ใบ
- รักษาฝี และสิว แก้ปวด ถอนพิษ
- แก้ท้องขึ้น ขับพยาธิ แก้ริดสีดวง
 เมล็ด
- ขับไส้เดือน แก้ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดงและแสบร้อน
ข้อควรระวัง : เนื่องจากหลักฐานทางด้านความเป็นพิษมีน้อย จึงควร
ที่จะได้ระมัดระวังในการใช้ และไม่ควรใช้ติดต่อกันนานๆ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 เมล็ด บดผสมน้ามะนาว ทาแก้ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดงและแสบ
ร้อน
 ใบ ตาพอกฝี และสิว แก้ปวด ถอนพิษ
ทานตะวัน

ส่วนทีใ
่ ช้:
 แกนต้น ใบ ดอก ฐานรองดอก เมล็ด
เปลือกเมล็ด ราก

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 75


สรรพคุณ :

 แกนต้น ขับปัสสาวะ แก้นิ่วในทางเดินปัสสาวะ นิ่วในไต

ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะขุ่นขาว ไอกรน แผลมีเลือดออก

 ดอก ขับลม ทาให้ตาสว่าง แก้วิงเวียน หน้าบวม บีบมดลูก

 ใบ, ดอก - แก้หลอดลมอักเสบ

 ฐานรองดอก แก้อาการปวดหัว ตาลาย ปวดฟัน ปวดท้อง โรค

กระเพาะ ปวดประจาเดือน ฝีบวม

 เมล็ด แก้บิด มูกเลือด ขับหนองใน ฝีฝักบัว ขับปัสสาวะ เสมหะ

แก้ไอ แก้ไข้หวัด

 เปลือกเมล็ด แก้อาการหูอื้อ

 ราก - แก้อาการปวดท้อง แน่นหน้าอก ฟกช้า เป็นยาระบาย ขับ

ปัสสาวะ

 ข้อห้ามใช้ : ห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 แก้อาการปวดหัว ตาลาย ใช้ฐานรองดอกที่แห้งแล้ว ประมาณ
25- 30 กรัม นามาตุ๋น กับไข่ 1 ฟอง รับประทานหลังอาหารวันละ 2
ครั้ง
 แก้อาการช่วยขับปัสสาวะขุน ่ ขาว และขับปัสสาวะ ให้ใช้
แกนกลางลาต้น ยาวประมาณ 60 ซม. (หรือประมาณ 15 กรัม ) และ
รากต้นจุ้ยขึ้งฉ่ายราว 60 กรัม ใช้ต้มคั้นเอาน้า หรือใช้ผสมกับน้าผึ้ง
รับประทาน
 แก้อาการปวดท้องโรคกระเพาะ และปวดท้องน้อยก่อนหรือระยะ
ที่เป็นรอบเดือน ให้ใช้ฐานรองดอก 1 อัน หรือประมาณ 30- 60 กรัม

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 76


และกระเพาะหมู 1 อัน แล้วใส่น้าตาลทรายแดง ประมาณ 30 กรัม
ต้มกรองเอาน้ารับประทาน
แก้อาการมูกโลหิต ให้ใช้เม็ดประมาณ 30 กรัม ใส่น้าตาลเล็กน้อย
ต้มน้านานราว 60 นาที แล้วใช้ดื่ม
 ช่วยลดความดันโลหิต ให้ใช้ใบสด 60 กรัม (แห้ง 30 กรัม) และ
โถวงู่ฉิกสด 60 กรัม (แห้ง 30 กรัม ) นามาต้มเอาน้ารับประทาน
แก้อาการปวดฟัน ให้ใช้ดอกที่แห้งแล้ว ประมาณ 25 กรัม นามา
สูบเหมือนยาสูบ หรือใช้ฐานรองดอก 1 อัน พร้อมรากเกากี้ นามาตุ๋น
กับไข่รับประทาน
โรคไอกรน ให้ใช้แกนกลางลาต้นโขลกให้ละเอียด แล้วนามา
ผสมกับน้าตาล ทรายขาว ชงด้วยน้าร้อนรับประทาน
แก้อาการไอ ให้ใช้เมล็ดคั่วให้เหลือง ชงน้าดื่มกิน
แก้อาการหูอื้อ ให้ใช้เปลือกเมล็ดประมาณ 10- 15 กรัม ต้มน้า
รับประทาน
 ขับพยาธิไส้เดือน ให้ใช้รากสดประมาณ 30 กรัม เติมน้าตาล
ทรายแดงเล็กน้อย ต้มน้ารับประทาน
แผลทีม
่ เี ลือดไหล ให้ใช้แกนกลางลาต้นโขลกให้ละเอียดแล้ว
นามาพอก บริเวณแผล
หญ้าหนวดแมว
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ราก ทั้งต้น ใบและต้นขนาดกลางไม่แก่ไม่
อ่อนจนเกินไป
สรรพคุณ :

 ราก ขับปัสสาวะ

 ทัง้ ต้น แก้โรคไต ขับปัสสาวะ รักษาโรคกระษัย รักษาโรคปวด

ตามสันหลัง และบั้นเอว รักษาโรคนิ่ว รักษาโรคเยื่อจมูกอักเสบ

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 77


 ใบ - รักษาโรคไต รักษาโรคปวดข้อ ปวดหลัง ไขข้ออักเสบ ลด

ความดันโลหิต รักษาโรคเบาหวาน ลดน้าขับกรดยูริคแอซิดจากไต

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 ขับปัสสาวะ

1. ใช้กิ่งกับใบหญ้าหนวดแมว ขนาดกลาง ไม่แก่หรืออ่อน

จนเกินไป ล้างสะอาด นามาผึ่งในที่ร่มให้แห้ง นามา 4 กรัม หรือ 4

หยิบมือ ชงกับน้าเดือด 1 ขวดน้าปลา (750 ซีซี.) เหมือนกันชงชา

ดื่มต่างน้าตลอดวัน รับประทานนาน 1-6 เดือน

2. ใช้ต้นกับใบวันละ 1 กอบมือ (สด 90- 120 กรัม แห้ง 40-

50 กรัม ) ต้มกับน้ารับประทาน ครั้งละ 1 ถ้วยชา (75 ซีซี.) วันละ 3

ครั้ง ก่อนอาหาร

บานเย็น
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ราก ใบ หัว
สรรพคุณ :

 ราก เป็นยาถ่าย

 ใบ แก้คัน แก้ฝี

 หัว ยาขับเหงื่อ แก้ไข้ ระงับความร้อน

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 78


 ใบ ตาทาแก้คันและพอกฝี

มะพร้าว
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 เปลือกผล กะลา ถ่านจากกะลา น้ามันที่ได้

จากการเผากะลา เนื้อมะพร้าว น้ามันจากเนื้อ

มะพร้าว ราก เปลือกต้น สารสีน้าตาล

สรรพคุณ :

 เปลือกผล รสฝาดขม สุขุม ใช้ห้ามเลือด แก้ปวด เลือดกาเดาออก

โรคกระเพาะ และแก้อาเจียน

 กะลา แก้ปวดเอ็น ปวดกระดูก

 ถ่านจากกะลา รับประทานแก้ท้องเสีย และดูดสารพิษต่างๆ

 น้ามันทีไ
่ ด้จากการเผากะลา ใช้ทา บาดแผล และโรคผิวหนัง แก้

กลาก อุดฟัน แก้ปวดฟัน

 เนื้อมะพร้าว รสชุ่ม สุขุม ไม่มีพิษ รับประทานบารุงกาลัง ขับ

พยาธิ

 น้ามันจากเนือ
้ มะพร้าว ใช้ทาแก้กลาก และบาดแผลที่เกิดจาก

ความเย็นจัด หรือถูกความร้อน และใช้ผสมทาแก้โรคผิวหนังต่างๆ

นอกจากที่ยังใช้เป็นอาหาร ทาแก้ผิวหนัง แห้ง แตกเป็นขุย และ

ชนิดที่บริสุทธิ์มากๆ ใช้เป็นตัวทาลายในยาฉีดได้

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 79


 น้ามะพร้าว รสชุ่ม หวานสุขุม ไม่มีพิษ แก้กระหาย ทาให้จิตใจ

ชุ่มชื่น แก้พิษ อาเจียนเป็นเลือด ท้องเสีย บวมน้า ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว

ในยามจาเป็น น้ามะพร้าวอ่อนอายุประมาณ 7 เดือน อาจใช้ฉีดเข้า

เส้นเลือดแก้ภาวะการเสียน้าได้

 ราก รสฝาด หวาน ใช้ขับปัสสาวะ และแก้ท้องเสีย ต้มน้าอมแก้

ปากเจ็บ

 เปลือกต้น เผาเป็นเถ้า ใช้ทาแก้หิด และสีฟันแก้ปวดฟัน

 สารสีนาตาล
้ ไหลออกมาแข็งตัวที่ใต้ใบ ใช้ห้ามเลือดได้ดี

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 มะพร้าวเก็บในช่วงผลแก่ และนามาเคี่ยวเป็นน้ามัน ทาแก้ปวด


เมื่อย และขัดตามเส้นเอ็น เจือกับยา ที่มีรสฝาด รักษาบาดแผลได้
ใช้น้ามะพร้าว มาปรุงเป็นยารักษาแผลไฟไหม้ น้าร้อนลวกมานาน
วิธีใช้ทาได้โดย การนาเอาน้ามันมะพร้าว 1 ส่วน ในภาชนะคน
พร้อมๆ กับเติมน้าปูนใส 1 ส่วน โดยเติมทีละส่วนพร้อมกับคนไปด้วย
คนจนเข้ากันดี แล้วทาที่แผลบ่อยๆ

มะตูม
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ผลโตเต็มที่ ผล
แก่จัดแต่ยังไม่สุก
ผลสุก ใบ ราก

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 80


สรรพคุณ :

 ผลโตเต็มที่ ฝานเป็นชิ้นบางๆ ตากแห้งคั่วให้เหลือง ชง

รับประทาน แก้ท้องเดิน ท้องเสีย ท้องร่วง โรคลาไส้เรื้อรังในเด็ก

 ผลแก่จด
ั แต่ยงั ไม่สุก น้ามาเชื่อมรับประทานต่างขนมหวาน จะมี

กลิ่นหอม และรสชวนรับประทาน บารุงกาลัง รักษาธาตุ ขับลม

 ผลสุก รับประทานต่างผลไม้ เป็นยาระบายท้อง และยาประจา

ธาตุของผู้สูงอายุ ที่ท้องผูกเป็นประจา

 ใบ ใส่แกงบวช เพื่อแต่งกลิ่น

 ราก แก้หืด หอบ แก้ไอ แก้ไข้ ขับลม แก้มุตกิต

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 ใช้ผลโตเต็มที่ ฝานตากแห้ง คั่วให้เหลือง ชงน้าดื่ม ใช้ 2-3 ชิ้น

ชงน้าเดือดความแรง 1 ใน 10 ดื่ม

แทนน้าชา หรือชงด้วยน้าเดือด 2 ถ้วยแก้ว ดื่มครั้งละครึ่งถ้วยแก้ว

จันทน์ลก
ู หอม
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 เนื้อไม้ ผล
สรรพคุณ :
 เนื้อไม้ มีรสขม หวาน ทาให้เกิดปัญญา

บารุงประสาท บารุงเนื้อหนังให้สดชื่น แก้ไข้

แก้ปอดตับพิการ แก้ดีพิการ แก้ร้อนในกระหายน้า แก้เหงื่อตกหน้า

ขับพยาธิ

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 81


 ผล ผลสุกสีเหลืองนวล มีกลิ่นหอม มีรสหวานและฝาดเล็กน้อย
รับประทานกับน้ากะทิสดเป็นอาหาร
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 เนื้อไม้ ต้มรับประทานช่วย บารุงประสาท บารุงเนื้อหนังให้สด

ชื่น แก้ไข้ แก้ปอดตับพิการ แก้ดี

พิการ แก้ร้อนในกระหายน้า แก้เหงื่อตกหน้า ขับพยาธิ

บานไม่รโู้ รยดอกขาว

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ดอก ทั้งต้น และราก ดอก เก็บเมื่อดอกแก่
เอามาตากแห้ง เอาก้านดอกออกเก็บไว้ใช้ ดอก
แห้งมีลักษณะกลมหรือยาวรี ส่วนมากออกเป็น
ช่อเดี่ยว แต่มีบางครั้งอาจติดกัน 2-3 ช่อ ดอกที่
ดีคือดอกที่มีขนาดโตๆ
สรรพคุณ :

 ดอก รสจืด ชุ่มสุขุมใช้บารุงตับ แก้ตาเจ็บ แก้ไอระงับหอบหืด

ขับปัสสาวะ แก้ปวดศีรษะ บิด ไอกรน แผลผื่นคัน ฝีประคาร้อย

 ราก ขับปัสสาวะ แก้พิษต่างๆ

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 ดอกแห้ง ใช้หนัก 3-10 กรัม ต้มน้าดื่ม

 ทัง้ ต้น ใช้หนัก 15-30 กรัม ต้มน้าดื่ม

 ใช้ภายนอก ใช้ตาพอก หรือต้มเอาน้าชะล้าง

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 82


เพกา

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ราก เปลือกต้น ฝักอ่อน เมล็ด
สรรพคุณ :

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 83


 ราก มีรสฝาดเย็น ขมเล็กน้อย ใช้บารุงธาตุ ทาให้เกอดน้าย่อย

อาหาร เจริญอาหาร แก้ท้องร่วง แก้บิด แก้ไข้สันนิบาต ใช้ภายนอก

รากฝนกับน้าปูนใส ทาแก้อาการอักเสบ ฟกบวม

เพกาทัง้ 5 คือ การใช้ส่วนราก ใบ ดอก ผล ต้น รวมกันจะมีรส

ฝาดเย็น มีสรรพคุณสมานแผล แก้อักเสบบวม แก้ท้องร่วง บารุงธาตุ

แก้น้าเหลืองเสีย แก้ไข้เพื่อลม เพื่อเลือด

 ฝักอ่อน รับประทานเป็นผัก ช่วยในการขับผายลม บารุงธาตุ

 เมล็ด ใช้เป็นยาถ่าย เมล็ดแก่ใช้เป็นยาระบาย แก้ไอ ขับเสมหะ

 เปลือกต้น รสฝาดเย็น และขมเล็กน้อย เป็นยาสมานแผล ทา

น้าเหลืองให้เป็นปกติ ขับน้าเหลืองเสีย ขับเลือดดับพิษโลหิต บารุง

โลหิต แก้เสมหะจุกคอ ขับเสมหะ แก้บิด แก้อาการจุกเสียด

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 เปลือกต้นตาผสมกับสุรา

- ใช้เป็นยากวาดประซะพิษซางเด็กชนิดเม็ดเหลือง

- แก้ละองขึ้นในปาก คอลิ้น แก้ละอองไข้

- ใช้ฉีดพ่นตามตัวคนคลอดบุตรที่ทนการอยู่ไฟไม่ได้ ทาให้

ผิวหนังชา

- ทารอบ ๆ ฝี แก้ปวดฝีทาแก้อาการฟกบวมอักเสบ

 เปลือกต้นสดตาผสมกับน้าส้ม ซึ่งได้จากรังมดแดงหรือเกลือ

สินเธาว์

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 84


- รับประทานขับลมในลาไส้ แก้จุกเสียด แก้บิด แก้อาเจียนไม่

หยุด

- รับประทานแก้เสมหะจุกคอ (ขับเสมหะ) ขับเลือดเน่าในเรือน

ไฟ บารุงโลหิต

นอกจากนี้เปลือกเพกา ใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่น แก้เบาหวาน แก้

โรคมานน้า เปลือกต้มรวมกับ

สมุนไพรหลายชนิด แยกเอาน้ามันมาทาแก้

- แก้องคสูตร

- แก้ริดสีดวงทวารหนัก ทวารเบา

- แก้ฟกบวม แก้คัน

มะดัน

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ใบ ราก ผล
สรรพคุณ :

 ใบและราก

- เป็นยาแก้กระษัย แก้ระดูเสีย ขับฟอกโลหิต

- เป็นยาระบายอ่อนๆ

- เป็นยาสกัดเสมหะในลาคอดี

 ผล
- เป็นยาสกัดเสมหะในลาคอดี
- เป็นอาหาร

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 85


วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 ใบและราก ปรุงเป็นยาต้ม รับประทานแก้กระษัย แก้ระดูเสีย ขับ

ฟอกโลหิต

มะเฟือง

ส่วนทีใ
่ ช้ :
ดอก ใบ ผล ราก
สรรพคุณ :

ดอก ขับพยาธิ

 ใบ, ผล ทายาต้ม ทาให้หยุดอาเจียน

 ผล มี oxalic ทาให้เลือดจับเป็นก้อน เป็นยาระบาย แก้

เลือดออกตามไรฟัน แก้บิด ขับน้าลาย ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว ลด

อาการอักเสบ

 ใบและราก - เป็นยาเย็น เป็นยาดับพิษร้อน แก้ไข้ ถอนพิษไข้


 ใบ, ผล ทายาต้ม ทาให้หยุดอาเจียน

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 ใบ, ผล ปรุงเป็นยาต้ม รับประทานทาให้หยุดอาเจียน

จาปา
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 86
ส่วนทีใ
่ ช้ :

 ดอก เปลือกต้น เปลือกราก ใบ กระพี้ เนื้อไม้ เมล็ด ราก น้ามัน

กลั่นจากดอก

สรรพคุณ :

 ใบ แก้โรคเส้นประสาทพิการ แก้ป่วงของทารก

 ดอก แก้วิงเวียนอ่อนเพลีย หน้ามืดตาลาย บารุงหัวใจ กระจาย

โลหิต

 เปลือกต้น ฝาดสมาน แก้ไข้ ทาให้เสมหะในลาคอเกิด

 เปลือกราก เป็นยาถ่าย ทาให้ประจาเดือนมาปกติ รักษาโรคปวด

ตามข้อ

 กระพี้ ถอนพิษผิดสาแดง

 เนื้อไม้ บารุงโลหิต

 ราก ขับโลหิตสตรีที่อยู่ในเรือนไฟให้ตก

น้ามันกลัน
่ จากดอก แก้ปวดศีรษะ แก้ตาบวม

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 ราก
ปรุงเป็น ยาต้ม

รับประทานขับโลหิตสตรีที่อยู่ในเรือนไฟให้ตก

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 87


ผักกาดขาว
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ราก ต้น
สรรพคุณ :

 แก้หวัด แก้ท้องผูก แก้ผิวหนังอักเสบจาก

การแพ้

วิธใ
ี ช้และปริมาณการใช้ :

 ราก แก้หวัด แก้ท้องผูก ใช้รากผักกาดขาว 1 กามือ ต้มน้าดื่ม

 ต้น แก้พิษจากรับประทานมันสาปะหลังดิบ ใช้ต้น ต้มน้าดื่ม

 ผิวหนังอักเสบ จากการแพ้ ใช้ผักกาดขาวสด ตาพอก

กุม
่ น้า

ส่วนทีใ
่ ช้:
 ใบ เปลือก กระพี้ แก่น ราก ดอก ผล
สรรพคุณ :

 ใบ ขับเหงื่อ

 เปลือก แก้สะอึก

 กระพี้ แก้ริดสีดวงทวาร

 แก่น แก้นิ่ว

 ราก ขับหนอง

 ดอก แก้เจ็บตา และในลาคอ แก้ไข้

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 88


วิธใ
ี ช้และปริมาณการใช้ :

 แก่น แก้นิ่ว ใช้แก่น ต้มน้าดื่ม

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 89


ดีปลี
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ราก เถา ใบ ดอก ผลแก่จัด แต่ยังไม่สุก หรือตากแดดให้แห้ง
สรรพคุณ :

 ราก แก้พิษอัมพฤกษ์ อัมพาต พิษปัตคาด แก้ตัวร้อน แก้พิษ

คุดทะราดให้ปิดธาตุ แก้ท้องร่วง ขับลมในลาไส้ แก้คุดทะราด

 เถา - แก้พิษงู ขับเสมหะ แก้ปวดฟัน ปวดท้อง จุกเสียด แก้เสมหะ

พิการ แก้ลมอัมพฤกษ์ แก้มุต่าต

 ใบ แก้ปวดเมื่อย แก้เส้นเอ็น

 ดอก แก้อาการคลื่นไส้อาเจียน แก้จุกเสียดแน่นท้อง ขับลมใน

ลาไส้ให้ผายและเรอ แก้หืด ไอ แก้ริดสีดวง คุดทะราด แก้ลมวิงเวียน

แก้เสมหะ น้าลายเหนียว แก้ไอ บารุงธาตุ แก้ท้องเสีย แก้ปถวีธาตุ

20 ประการ แก้อัมพาต และเส้นปัตคาด

 ผลแก่จด
ั - รสเผ็ดร้อน แก้ลม บารุงธาตุไฟ แก้หืดไอ แก้เสมหะ

(หลังเป็นหวัด) แก้หลอดลมอักเสบ ยาขับระดู ยาธาตุ ทาแก้ปวด

เมื่อยและอักเสบของกล้ามเนื้อ แก้อาการท้องขึ้น ท้องอืดเฟ้อแน่นจุก

เสียด ขับลม บารุงธาตุ ใช้ประกอบตารายาที่ใช้รักษาโรคเกี่ยวกับ

ระบบย่อยอาหาร ธาตุไม่ปกติ (ใช้เป็นยาขับลม แต่ไม่นิยมใช้

โดยมากนามาเป็นเครื่องเทศ)

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:

 อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และปวดท้อง และแก้อาการคลืน


่ ไส้

อาเจียนที่เกิดจากธาตุไม่ปกติ

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 90


โดยใช้ผลดีปลีแก่แห้ง 1 กามือ (ประมาณ 10-15 ผล) ต้มเอาน้าดื่ม

ถ้าไม่มีผลใช้เถาต้มแทนได้

 อาการไอ และขับเสมหะ

ใช้ผลแห้งแก่ ประมาณครึ่งผล ฝนกับน้ามะนาวแทรกเกลือเล็กน้อย

กวาดคอ หรือจิบบ่อยๆ

 ผลดีปลีแห้งใช้เป็นเครือ
่ งเทศ ประกอบอาหาร มีรสเผ็ดร้อน ขม

มะแว้งต้น

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ราก ทั้งต้น ใบ ผล
สรรพคุณ :

 ราก แก้เสมหะ น้าลายเหนียว แก้ไอ แก้ไข้สันนิบาต แก้โลหิต

ออกทางทวารหนัก ทวารเบา

 ทัง้ ต้น แก้โลหิตออกทางทวารหนัก ทวารเบา

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 91


 ใบ บารุงธาตุ แก้วัณโรค แก้ไอ

ผล บารุงน้าดี รักษาโรคเบาหวาน แก้ไอ แก้เสมหะ แก้น้าลาย

เหนียว แก้คอแห้ง ขับปัสสาวะ รักษาโรคทางไต และกระเพาะ

ปัสสาวะ แก้โลหิตออกทางทวารหนัก ทวารเบา

วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :

 ใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร แก้ไอ และแก้โรคหอบหืด ใช้มะแว้ง

ต้น ผลแก่ในเด็ก ใช้ 2-3 ผล ใช้เป็นน้ากระสายยา กวาดแก้ไอ ขับ

เสมหะผู้ใหญ่ ใช้ 10-20 ผล รับประทาน เคี้ยว แล้วกลืนทั้งน้าและ

เนื้อ รับประทานบ่อยๆ จนกว่าอาการจะดีขึ้น

 ใช้ลดน้าตาลในเลือด รักษาเบาหวาน ใช้มะแว้งต้นโตเต็มที่ 10-


20 ผล รับประทานเป็นอาหารกับน้าพริก

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 92


กระทกรก

ส่วนทีใ
่ ช้:
 เนื้อไม้ ราก ใบ ดอก ผล ใบสด ต้น
สรรพคุณ:
 เนื้อไม้ ใช้เป็นยาควบคุมธาตุ ถอนพิษเบื่อ
เมาทุกชนิดและใช้รักษาบาดแผล ราก ใช้ต้ม
น้าดื่มแก้ไข แก้กามโรค ใบ ใช้ตาให้ละเอียด
แล้วคั้นเอาน้าดื่มเป็นยาเบื่อและขับพยาธิ ดอก ขับเสมหะ แก้ไอ ผล
แก้ปวด บารุงปอด ใบสด ใช้พอกแก้สิว ต้น ใช้ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ
แก้ไอ และอาการบวม
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้:
 ราก ใช้ต้มน้าดื่มแก้ไข แก้กามโรค
 ใบ ใช้ตาให้ละเอียดแล้วคั้นเอาน้าดื่มเป็นยาเบื่อและขับพยาธิ
 ใบสด ใช้พอกแก้สิว

คาฝอย
ส่วนทีใ
่ ช้:
 ดอกหรือกลีบที่เหลืออยู่ที่ผล เกสร เมล็ด น้ามันจากเมล็ด ดอก
แก่
สรรพคุณ:
 ดอก หรือกลีบทีเ่ หลืออยู่ทผ
ี่ ล รสหวาน บารุงโลหิตระดู แก้
น้าเหลืองเสีย แก้แสบร้อนตามผิวหนัง
บารุงโลหิต บารุงหัวใจ บารุงประสาท ขับระดู แก้ดีพิการ โรค
ผิวหนัง ฟอกโลหิต ลดไขมันในเส้นเลือด ป้องกันไขมันอุดตัน

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 93


 เกสร บารุงโลหิต ประจาเดือนของสตรี
 เมล็ด เป็นยาขับเสมหะ แก้โรคผิวหนัง ทาแก้บวม ขับโลหิต
ประจาเดือน ตาพอกหัวเหน่า แก้ปวดมดลูกหลังจากการคลอดบุตร
 น้ามันจากเมล็ด ทาแก้อัมพาต และขัดตามข้อต่างๆ
 ดอกแก่ ใช้แต่งสีอาหารที่ต้องการให้เป็นสีเหลือง
วิธีและปริมาณทีใ ่ ช้ :
 ชาดอกคาฝอย ช่วยเสริมสุขภาพ ช่วยลดไขมันในเส้นเลือด โดย
ใช้ดอกแห้ง 2 หยิบมือ (2.5 กรัม) ชง
น้าร้อนครึ่งแก้ว ดื่มเป็นเครื่องดื่มได้

นางแย้ม

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ต้น ใบ และราก
สรรพคุณ :
 ใบ แก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน
 ราก
- ขับระดู ขับปัสสาวะ
- แก้หลอดลมอักเสบ ลาไส้อักเสบ
- แก้เหน็บชา บารุงประสาท รวมทั้งเหน็บชาที่มีอาการบวมช้า
- แก้ไข้ แก้ฝีภายใน
- แก้ริดสีดวง ดากโผล่

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 94


- แก้กระดูกสันหลังอักเสบเรื้อรัง
- แก้ปวดเอว และปวดข้อ แก้ไตพิการ
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
เหน็บชา ปวดขา ใช้ราก 15-30 กรัม ตุ๋นกับไก่ รับประทาน
ติดต่อกัน 2-3 วัน
ปวดเอวปวดข้อ เหน็บชาที่มีอาการบวมช้า ใช้รากแห้ง 30-60 กรัม
ต้มน้าดื่ม
 ขับระดูขาว ลดความดันโลหิตสูง หลอดลมอักเสบ ใช้ราก และ
ใบแห้ง 15-30 กรัม ต้มน้าดื่ม
ริดสีดวงทวาร ดากโผล่ ใช้รากแห้งจานวนพอควร ต้มน้า แล้วนั่งแช่
ในน้านั้นชั่วครู่
โรคผิวหนัง ผืน่ คัน เริมใช้ใบสด จานวนพอควร ต้มน้าชะล้าง
บริเวณที่เป็น

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 95


ใบระบาด

ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ใบสด
สรรพคุณ :
 ยารักษาโรคผิวหนัง ผื่นคัน
วิธีและปริมาณทีใ ่ ช้:
ใช้ใบสด 2-3 ใบ นามาล้างให้สะอาด ตาให้ละเอียด ใช้ทาบริเวณ
ที่เป็นโรคผิวหนัง วันละ 2-3 ครั้ง
ติดต่อกัน 3-4 วันจะเห็นผล
หมายเหตุ : เป็นสมุนไพรที่ใช้เฉพาะภายนอก ห้ามรับประทาน
เนื่องจาก ใบ ถ้ารับประทานเข้าไปทาให้คลุ้มคลั่ง ตาพร่า มึนงง
เมล็ด ถ้ารับประทานเข้าไปทาให้ประสาทหลอน

เปล้าน้อย
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ใบสด

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 96


สรรพคุณ :
 ใบ ราก รักษาโรคผิวหนัง คัน กลากเกลื้อน
วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ใช้ใบ หรือรากสด ตาให้ละเอียด ใช้น้าคั้นที่ออกมาทาบริเวณที่
เป็น

เหงือกปลาหมอ
ส่วนทีใ
่ ช้ :
 ต้น และใบ ทั้งสดและแห้ง ราก เมล็ด
สรรพคุณ :
 ต้นทัง้ สดและแห้ง - แก้แผลพุพอง น้าเหลืองเสีย เป็นฝีบ่อยๆ
 ใบ - เป็นยาประคบแก้ไขข้ออักเสบ แก้ปวดต่าง ๆ รักษาโรค
ผิวหนัง ขับน้าเหลืองเสีย
 ราก
- ขับเสมหะ บารุงประสาท แก้ไอ แก้หืด
- รักษามุตกิดระดูขาว
 เมล็ด
- ปิดพอกฝี
- ต้มดื่มแก้ไอ ขับพยาธิ ขับน้าเหลืองเสีย

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 97


วิธีและปริมาณทีใ
่ ช้ :
 ใช้ต้นและใบสด 3-4 กามือ ล้างให้สะอาด นามาสับ ต้มน้าอาบแก้ผื่น
คัน ใช้ติดต่อกัน 3-4 ครั้ง

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 98


แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 99
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 100
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 101
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 102
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 103
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ด้านสมุนไพรรักษาโรค” หน้า 104

You might also like