You are on page 1of 11

72

หนวยที่ 6
ภาพฉาย
(ORTHOGRAPHIC DRAWING)

บทนํา
ภาพฉายเปนภาพเขียนแบบเครื่องกลที่ผอู อกแบบ และผูเขียนแบบใชเปนเครื่องมือสื่อสาร
ใหผูผลิตไดผลิตชิ้นงานตามลักษณะรูปรางและรายละเอียดของชิ้นงานทีก่ ําหนด การเขียนและ
อานแบบภาพฉายไดจึงมีความสําคัญตอผูเ ปนชางอุตสาหกรรม

6.1 หลักการฉายภาพ
การมองชิน้ งานในดานตางๆ ในแนวที่ตงั้ ฉากกับพื้นผิวชิน้ งานทีละดาน ก็จะเห็นภาพแต
ละดานรวมหกดาน ดังแสดงในรูปที่ 6.1

รูปที่ 6.1 แสดงภาพดานทัง้ หกดานของภาพฉาย

สวรรคในอก นรกในใจ
(หมายถึง จะมีความสุขหรือความทุกขอยูท ี่จติ ใจคิดเอง)
73

6.2 ระบบการแสดงภาพฉาย
ระบบการแสดงภาพฉายเปนการจัดวางภาพดานตาง ๆ ตามรูปแบบทีไ่ ดกําหนดไวเปน
มาตรฐาน ซึง่ มีอยูหลายมาตรฐาน ในทีน่ จี้ ะกลาวถึงการแสดงภาพฉายตามมาตรฐาน DIN 6 ซึ่งมี
ระบบการฉายภาพอยู 3 วิธี คือ การฉายภาพแบบมุมที่ 1, การฉายภาพแบบมุมที่ 3 และการฉาย
ภาพแบบลูกศรชี้
6.2.1 ภาพฉายแบบมุมที่ 1 (First angle Projection) หรือ ระบบ ISO-Method E เปน
วิธีการฉายภาพที่มีรูปแบบการวางภาพดานตาง ๆ ดังแสดงในรูปที่ 6.2 และตารางที่ 6.1

รูปที่ 6.2 แสดงการวางภาพฉายแบบมุมที่ 1


ตารางที่ 6.1 ตารางแสดงการวางภาพฉายแบบมุมที่ 1

หมายเหตุ เสนประ เปนเสนที่แสดงเสนขอบรูปที่ถูกบัง


74

เทคนิคการมองภาพฉายแบบมุมที่ 1

ขั้นที่ 2 ตัดฉากรับภาพมุมอื่น ๆ ออก


ใหเหลือเพียงมุมที่ 1
ขั้นที่ 1 วางชิ้นงานลงบนฉากรับภาพในชองมุมที่ 1

ขั้นที่ 3 เขียนภาพดานหนาตามที่เห็นจริง ขั้นที่ 4 เขียนภาพดานขางตามที่เห็นจริง


ลงบนพื้นผิวฉากรับภาพดานหนา ลงบนพื้นผิวฉากรับภาพดานขาง

ขั้นที่ 5 เขียนภาพดานบนตามที่เห็นจริง ขั้นที่ 6 คลี่ฉากรับภาพดานขางใหอยูแนว


ลงบนพื้นผิวฉากรับภาพดานบน ระนาบเดียวกันกับฉากรับภาพดานหนา
75

ขั้นที่ 7 คลี่ฉากรับภาพดานบนใหอยูแนวระนาบ ขั้นที่ 8 นําชิ้นงานออกไปใหเหลือเพียง


เดียวกันกับฉากรับภาพดานหนา ฉากรับภาพทั้งสามดาน

ขั้นที่ 9 หมุนฉากรับภาพทั้งหมดใหอยูแนว ขั้นที่ 10 เขียนเสนฉายโยงหา


ตรงตั้งฉากกับสายตาก็จะไดภาพฉายแบบ ความสัมพันธกันระหวางดาน โดย
มุมที่ 1 ดานหนาสามารถโยงขึ้นจะตรงกับดานบน
และโยงจากดานหนาไปทางขวามือจะตรง
กับดานขาง สวนความสัมพันธระหวาง
ภาพดานบนและดานขาง ใชเสนเอียง 45
องศาเปนตัวเชื่อมโยง
76

6.2.2 ภาพฉายแบบมุมที่ 3 (Third angle Projection) หรือ ระบบ ISO-Method A เปน


วิธีการฉายภาพที่มีรูปแบบการวางภาพดานตาง ๆ ดังแสดงในรูปที่ 6.3 และตารางที่ 6.2

รูปที่ 6.3 แสดงการวางภาพฉายแบบมุมที่ 3


ตารางที่ 6.2 ตารางแสดงการวางภาพฉายแบบมุมที่ 3

ทํางานชักชา จะพาเสียการ
หมกไวเนิ่นนาน จะพาบรรลัย
พอกพูนมากขึ้น ลําบากใครใคร
บงบอกนิสัย หาใชคนดี
(หมายถึง การงานที่คั่งคางพอกพูนขึ้นเรื่อยๆ)
(คําใบ ดินพอกหางหมู)
77

เทคนิคการมองภาพฉายแบบมุมที่ 3

ขั้นที่ 1 วางชิ้นงานลงบนพื้น ขั้นที่ 2 วางกลองสี่เหลี่ยมใสครอบคลุมชิ้นงาน

ขั้นที่ 3 เขียนภาพดานหนาตามที่ ขั้นที่ 4 เขียนภาพดานขางตามที่เห็นจริงลงบน


เห็นจริงลงบนผิวกลองดานหนา ผิวกลองดานขาง

ขั้นที่ 5 เขียนภาพดานบนตามที่ ขั้นที่ 6 ตัดกลองที่ไมตองการออก ใหเหลือ


เห็นจริงลงบนผิวกลองดานบน เฉพาะผิวกลองที่เขียนเพียง 3 ดาน
78

ขั้นที่ 7 คลี่กลองดานขางใหอยูแนว ขั้นที่ 8 คลี่กลองดานบนใหอยูแนวระนาบ


ระนาบเดียวกันกับผิวระนาบดานหนา เดียวกันกับผิวระนาบดานหนา

ขั้นที่ 9 นําชิ้นงานออกไปใหเหลือเพียง ขั้นที่ 10 หมุนแผนงานทั้งหมดใหอยูแนวตรงตั้ง


แผนกลองทั้งสามดาน ฉากกับสายตาก็จะไดภาพฉายแบบมุมที่ 3

ขั้นที่ 11 การเขียนเสนฉายโยงหาความสัมพันธกันระหวางดาน โดยดานหนาสามารถโยงขึ้นจะ


ตรงกับดานบน และโยงจากดานหนาไปทางขวามือจะตรงกับดานขาง สวนความสัมพันธระหวาง
ภาพดานบนและดานขาง ใชเสนเอียง 45 องศาเปนตัวเชื่อมโยง
79

6.2.3 ภาพฉายแบบวิธลี กู ศรชี้ เปนวิธกี ารฉายภาพที่มีรูปแบบการวางภาพดานตาง ๆ


ตามตําแหนงลูกศรชี้และแสดงตัวอักษรกํากับไว จะใชในกรณีที่มีพนื้ ทีแ่ สดงแบบมีนอ ย ดังแสดงใน
รูปที่ 6.4

รูปที่ 6.4 แสดงการวางภาพฉายแบบวิธลี ูกศรชี้

การแสดงภาพฉาย เปนการวางภาพฉายดานตาง ๆ ตามรูปแบบดังที่ไดกลาวมาขางตนแลว


โดยจะยึดภาพฉายดานหนาเปนหลักในการอางอิงเพื่อฉายเชื่อมโยงไปยังภาพฉายดานอื่น ๆ ซึง่
การจะกําหนดดานใดเปนดานหนานัน้ โดยทั่วไปจะยึดดานที่แสดงรูปทรงและขนาดของชิ้นงานทีม่ ี
รายละเอียดยุง ยากซับซอนมากเปนดานหนา และจะนิยมแสดงภาพฉายเพียงสามดาน คือ ภาพ
ดานหนา (Front View) ภาพดานขาง (Side View) และภาพดานบน (Top View) ดังแสดงตัวอยาง
ในรูปที่ 6.6 และรูปที่ 6.8
ในกรณีชิ้นงานแตละดานมีรายละเอียดสลับซับซอนมาก อาจจะมีภาพดานมากกวาสาม
ดานก็ได หรือในกรณีที่ชนิ้ งานนั้น ๆ มีรายละเอียดไมมาก อาจจะมีภาพดานไมถงึ สามดานก็ได

ส.ค.ส.
ปใหมมี สําหรับดี กวาปเกา
พืชมีเหงา ครบป ทวีหัว
ทั้งขนาด และจํานวน ลวนเกินตัว
แตคนชั่ว กลับถดถอย ดีลดลง
คือปหนา เลวลงกวา ในปนี้
ไมกี่ป จะหมดดี เพราะมีหลง
รูสึกตัว ละชั่ว, เพราะเห็นตรง
ดีจะคง ดีขึ้นไป ชื่นใจเอยฯ
พุทธทาสภิกขุ
80

6.3 เทคนิคการเขียนเสนฉาย
เสนฉาย เปนการเขียนเสนรางเบา ๆ เพื่อเชื่อมโยงกันในระหวางภาพฉายแตละดาน ซึ่งจะมี
ความสัมพันธกันทั้งตําแหนง ขนาดสัดสวน และทิศทางตอกัน โดยใชภาพดานหนาเปนดานหลัก
เขียนเสนฉายเชื่อมโยงไปยังภาพดานขาง และภาพดานบน สวนภาพดานบนกับภาพดานขางก็จะ
เขียนเสนฉายเชื่อมโยงกันโดยใชเสนมุม 45 องศาเปนเสนเชื่อมโยงกัน ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 6.6
และรูปที่ 6.8

รูปที่ 6.5 แสดงภาพไอโซเมตริก

รูปที่ 6.6 แสดงภาพฉายและการเขียนเสนฉาย


81

รูปที่ 6.7 แสดงภาพไอโซเมตริก

รูปที่ 6.8 แสดงภาพฉาย และการเขียนเสนฉาย


82

บทสรุป
ภาพฉายเปนภาพเขียนแบบที่ใชเปนแบบสั่งงานที่ใชกนั ในงานอุตสาหกรรมทัว่ ไป ผูที่เปน
ชางผลิตชิน้ สวนเครื่องจักรกล หรือชิน้ สวนตาง ๆ จึงตองมีความเขาใจในแบบงานภาพฉายเปน
อยางดี โรงงานอุตสาหกรรมในเมืองไทย โดยทั่วไปจะมีบริษัทจากตางประเทศเขามาจํานวนมาก
ซึ่งแตละบริษทั ก็จะใชระบบการมองภาพฉายตามมาตรฐานของประเทศตนเอง ฉะนั้นผูอา นแบบ
จึงตองทําความเขาใจในการอานแบบภาพฉายในแบบตาง ๆ

อยู
สัตว อยูงาม ตามธรรมชาติ สัตวรูสึก
มิไดนึก วา “กู” อยู รูมั่นหมาย ;
หิวก็หา กินแลวมา นอนสบาย
สวนสืบพันธ นั้นมิหมาย วาเปนกาม ฯ
คน อยูรอน ดวยตัณหา อยางบาอยู
โดยมี “กู” มี “ของกู” ขี้ตู* พลาม
การสืบพันธ ก็หลงมัน ขั้นกองกาม
หลงตะกาม กิน-กาม-เกียรติ เกลียดนิพพาน
มนุษย อยูเย็น ดวยปญญา อยางมนุษย
รูสูงสุด เรื่องดับทุกข ทุกสถาน
รูเมตตา อารีกัน ในสันดาน
รูคิดอาน เหนือเกียรติ-กาม เพื่อความเย็น
ตูเอาธรรมชาติมาเปนตัวตน หรือของตน
พุทธทาสภิกขุ

You might also like