You are on page 1of 12

See discussions, stats, and author profiles for this publication at: https://www.researchgate.

net/publication/233903735

Contamination of mercury in edible tissue of fishes from upper


Andaman Sea (in Thai with English Abstract)

Conference Paper · August 2008

CITATIONS READS
0 1,408

6 authors, including:

Jinnathum Hantow Penjai Sompongchaiyakul


Prince of Songkla University Chulalongkorn University
2 PUBLICATIONS   11 CITATIONS    53 PUBLICATIONS   366 CITATIONS   

SEE PROFILE SEE PROFILE

Penchan Laongmanee
Southeast Asian Fisheries Development Center
4 PUBLICATIONS   9 CITATIONS   

SEE PROFILE

All content following this page was uploaded by Penjai Sompongchaiyakul on 10 June 2014.

The user has requested enhancement of the downloaded file.


การปนเปื อนของปรอทในเนื อเยือปลาจากทะเลอันดามันตอนบน
Contamination of mercury in edible tissue of fishes from upper Andaman Sea
จิณณธรรม หารเทา1, เพ็ญใจ สมพงษ์ชยั กุล1, สายัณห์ พรหมจินดา2, เพ็ญจันทร์ ละอองมณี2 นาวิณี ขุมทอง2 และอิสระ ชาญราชกิจ2
1
คณะการจัดการสิง& แวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ สงขลา 90112
2
ศูนย์พฒ
ั นาการประมงแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ พระสมุทรเจดีย์ สมุทรปราการ 10290

บทคัดย่อ: จากการวิเคราะห์ตวั อย่างปลา 26 ชนิด 199 ตัว ซึ&งสุ่มจากการลากอวนเพื&อสํารวจทรัพยากรประมงใน


น่ านนํ6าพม่า ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถงึ มีนาคม 2550 ประกอบด้วย Alepes djedaba 3 ตัว, Chrysochir aureus 3 ตัว,
Cynoglossus cynoglossus 3 ตัว, Decapterus russelli 3 ตัว, Drepane punctata 3 ตัว, Ephippus orbis 3 ตัว,
Epinephelus coioides 2 ตัว, Nemipterus bipunctatus 9 ตัว, Nemipterus japonicus 24 ตัว, Nemipterus peronii
3 ตัว, Nemipterus spp. 6 ตัว, Parupeneus spp. 18 ตัว, Pennahia macrocephalus 3 ตัว, Pennahia anea 3 ตัว,
Priacanthus macracanthus 38 ตัว, Pseudorhombus sp. 3 ตัว, Rastrelliger karnagurta 3 ตัว, Saurida elongata
3 ตัว, Saurida undosquamis 33 ตัว, Saurida sp. 3 ตัว, Sphyraena forsteri 3 ตัว, Sphyraena jello 3 ตัว,
Trachinocephalus myops 15 ตัว, Trichiurus lepturus 3 ตัว, Upeneus moluccensis 3 ตัว และ Upeneus sp. 3 ตัว
พบการปนเปื6 อนของปรอทในเนื6อเยื&อส่วนที&บริโภค อยู่ในช่วง 0.026 ถึง 0.539 มคก./ก. นํ6 าหนักเปี ยก มีค่าเฉลี&ยและ
ค่ามัธยฐาน เท่ากับ 0.077 ± 0.055 และ 0.066 มคก./ก. นํ6าหนักเปี ยก ตามลําดับ ในจํานวนนี6มเี พียง E. coioides หรือ
ปลากะรังจุดนํ6 าตาลทัง6 สองตัวอย่าง (นํ6 าหนักปลามากกว่าปลาชนิดอื&นเกินกว่า 2 เท่า) ที&มคี ่าปรอทเกินกว่าเกณฑ์ท&ี
Codex Alimentarius Commission (2005) และ EU (2006) กําหนด (ไม่เกิน 0.5 มคก./ก.) โดยมีค่าเฉลีย& เท่ากับ 0.519 ±
0.027 มคก./ก. นํ6าหนักเปี ยก ส่วนปลาทีเ& หลือ (197 ตัว) มีค่าปรอทอยู่ในช่วง 0.026 ถึง 0.208 มคก./ก. นํ6าหนักเปี ยก มี
ค่าเฉลี&ยและค่ามัธยฐานเท่ากับ 0.070 ± 0.033 และ 0.066 ตามลําดับ ในปลาชนิดเดียวกัน พบว่าความเข้มข้นของ
ปรอทในเนื6อเยื&อเพิม& ขึน6 ตามขนาดของปลา

คําสําคัญ: ปรอท, การสะสมทางชีวภาพ, ปลา, เนื6อส่วนทีบ& ริโภค, ทะเลอันดามัน

ABSTRACT: Total 199 specimens of 26 fish species obtained from bottom trawling in the EEZ of Myanmar
Waters during fishery resources survey during February to March 2007 were analyzed for total mercury (Hg) in
edible tissue. The samples included 3 Alepes djedaba, 3 Chrysochir aureus, 3 Cynoglossus cynoglossus,
3 Decapterus russelli, 3 Drepane punctatus, 3 Ephippus orbis, 2 Epinephelus coioides, 9 Nemipterus bipunctatus,
24 Nemipterus japonicus, 3 Nemipterus peronii, 6 Nemipterus spp., 18 Parupeneus sp., 3 Pennahia
macrocephalus, 3 Pennahia anea, 38 Priacanthus macracanthus, 3 Pseudorhombus sp., 3 Rastrelliger
karnagurta, 3 Saurida elongata, 33 Saurida undosquamis, 3 Saurida sp., 3 Sphyraena fosteri, 3 Sphyraena jello,
15 Trachinocephalus myops, 3 Trichiurus lepturus, 3 Upeneus moluccensis and 3 Upeneus sp. The results
revealed that Hg concentration ranged from 0.026 to 0.539 µg/g wet weight with an average and a median of
0.077 ± 0.055 and 0.066 µg/g wet weight, respectively. There were only 2 individuals of E. Coioides or orange
spotted groupers, which weighed > 2 times higher than the rest, having Hg level exceeded the Codex Alimentarius
Commission (2005) and EU (2006) guideline limit of 0.5 µg/g. The rest (197 specimens) had Hg ranging from
0.026 to 0.208 µg/g wet weight with an average and a median of 0.070 ± 0.033 and 0.066 µg/g wet weight,
respectively. In the same species, Hg concentration in the flesh increased with the increasing of size.

Keywords: mercury, bioaccumulation, fishes, edible tissue, Andaman Sea


บทนํา
เนื&องจากการประมงที&เกินศักยภาพในปจั จุบนั ทําให้ต้องหาแหล่งประมงใหม่ๆ และทําให้การทําประมงของ
ประเทศไทยต้องขยายพืน6 ทีอ& อกไปในน่ านนํ6 าต่างประเทศและน่ านนํ6าสากลมากขึน6 ทะเลอันดามันเป็ นทะเลกึง& ปิ ดทีย& งั
ไม่ได้ถูกคุกคามมากนัก โดยเฉพาะอย่างยิง& ในช่วงตอนบนในส่วนของน่ านนํ6 าพม่ามีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร
สัตว์น6ํ ามากยิ&งกว่าส่วนอื&นของทะเลอันดามัน ดังนัน6 จึง เป็ นพื6นที&สําคัญแห่งหนึ&งที&เป็ นเป้าหมายของชาวประมงไทย
ประเทศไทยเข้าไปทําประมงในน่านนํ6าพม่าตัง6 แต่ปี พ.ศ. 2518 ทัง6 ในรูปแบบสัมปทาน หรือโดยการรับสิทธิการทําประมง
แบบร่วมทุนภายใต้เงื&อนไขสัญญาของรัฐบาลพม่าและรัฐบาลไทย (ธนาคารเพื&อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย,
2548) อย่างไรก็ดี พืน6 ทีด& งั กล่าวยังขาดการศึกษาวิจยั ในเรื&องปญั หามลภาวะต่างๆ ประกอบกับน่านนํ6าพม่ามีการขุดเจาะ
ทรัพยากรปิ โตรเลียม ได้แก่ แหล่งยานาดา (Yanada) รวมทัง6 ในบริเวณหมู่เกาะอันดามัน-นิโคบาร์ ยังมีเกาะภูเขาไฟ อยู่ 2
ลูก คือ เกาะบาร์เรน (Barren Island) และเกาะนาร์คอนแดม (Narcondam Island) ล่าสุด ภูเขาไฟไปบนเกาะ
บาร์เรนเพิง& มีการปะทุขน6ึ เมื&อปี พ.ศ. 2537 (Bhattacharya et al., 1993) ทัง6 การขุดเจาะทรัพยากรปิ โตรเลียมโดยเฉพาะ
อย่างยิง& ก๊าซธรรมชาติและภูเขาไฟล้วนแต่เป็ นแหล่งกําเนิดของปรอททีเ& ข้าสูส่ งิ& แวดล้อม
ปรอทเป็ นโลหะทีม& คี วามเป็ นพิษสูง รูปแบบทีเ& ป็ นพิษมากทีส& ดุ คือ เมทิลเมอร์ควิ รี (methyl mercury; CH3Hg)
ซึง& เป็ นปรอทอินทรียท์ จ&ี ะสะสมในสิง& มีชวี ติ และถ่ายทอดสูส่ งิ& มีชวี ติ อื&นผ่านห่วงโซ่อาหาร การสะสมจะมีปริมาณเพิม& สูงขึน6
ตามลําดับชัน6 ในห่วงโซ่อาหาร และยังพบว่ามากกว่า 90% ของปรอทที&ปนเปื6 อนในปลาจะอยู่ในรูปของเมทิลเมอร์ควิ รี
(Windom and Cranmer, 1998; Burger and Gochfeld, 2005 Voegborlo and Akagi, 2007) ปริมาณการสะสมของ
ปรอทในเนื6อเยื&อปลาขึน6 อยู่กบั ชนิด อายุ ขนาด และถิน& ทีอ& ยู่อาศัย (Menasveta and Siriyong, 1977, Windom and
Cranmer, 1998; Kojadinovic et al., 2006, สุฑารัตน์ สุขพันธ์ และคณะ 2549) นอกจากนี6 ในพืน6 ทีท& ม&ี มี ลพิษทางนํ6า
ระดับของเมทิลเมอร์ควิ รีในเนื6อปลาอาจจะมีค่าสูงเกินกว่า 10 มก./กก. (Berlin et al., 2007) ปรอทเข้าสู่สตั ว์น6ําได้ทงั 6
โดยตรง คือ การแลกเปลีย& นก๊าซในกระบวนการการหายใจ และโดยอ้อม คือ ผ่านทางการกินอาหารตามลําดับขัน6 การ
บริโภค ดังนัน6 ปลาทีม& กี ารเคลื&อนไหวเร็วซึง& ต้องใช้ออกซิเจนสูงและเป็ นปลานักล่า จะมีปรอทสะสมอยู่ในเนื6อเยื&อสูง ปลา
ประเภทนี6 ได้แก่ ปลากระโทงแทงดาบ ปลาฉลาม และปลาทูน่า เป็ นต้น อย่างไรก็ดกี ารถ่ายทอดของปรอทผ่านห่วงโซ่
อาหารเป็ นเส้นทางหลักของปรอททีเ& ข้าไปสะสมในตัวปลา (Hall et al., 1997) Peterson et al. (1973) พบว่าปลาทูน่า
ขนาดใหญ่ทม&ี นี 6ําหนักมากกว่า 60 กก. จะมีระดับเมทิลเมอร์ควิ รีมากกว่า 1 มก./กก.
ปจั จุบนั การบริโภคปลาเป็ นแนวทางหนึ&งทีน& ิยมกันเนื&องจากคุณค่าทางอาหารทีส& งู และมีไขมันน้อย แต่ถา้ ปลานัน6
มีการปนเปื6 อนของปรอท ก็จะเกิดความเสีย& งต่อผูบ้ ริโภค ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มกี ารทําประมงและบริโภค
สัตว์น6ํากันมาก แต่ขอ้ มูลการปนเปื6 อนของโลหะหนักในสัตว์น6ําในพืน6 ทีแ& ถบนี6มคี ่อนข้างน้อย โดยเฉพาะอย่างยิง& ข้อมูลการ
ปนเปื6 อนในปลาจากทะเลอันดามันมีอยู่น้อยมาก ทีผ& ่านมา Menasveta and Siriyong (1977) วิเคราะห์เนื6อปลา 6 ชนิด
รวม 36 ตัว ซึง& เก็บตัวอย่างเมื&อปี พ.ศ. 2518 พบว่ามีปรอทปนเปื6 อนใน yellowfin tuna (Neothunnus albacora), bigeye
tuna (Parathunnus sibi) และ ปลาฉลาม 4 ชนิด ในช่วง 0.026 – 0.234, 0.027 – 0.233 และ 0.057 – 0.478 มคก./ก.
นํ6าหนักเปี ยก ตามลําดับ และพบว่าอัตราการสะสมของปรอทเข้าสูเ่ นื6อเยื&อของปลาทูน่าทัง6 สองชนิดไม่แตกต่างกันอย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติ Agusa et al. (2007) วิเคราะห์ปลา Megalaspis cordyla 3 ตัว จากกระบี& Megalaspis cordyla 3 ตัว
จากตรัง และ Valamugil seheli 3 ตัว จากพังงา พบว่ามีค่าเฉลี&ยของปรอทในเนื6อปลาอยู่ท&ี 0.22, 0.09 และ < 0.05
มคก./ก. นํ6าหนักแห้ง ตามลําดับ
งานวิจยั นี6จงึ มีวตั ถุประสงค์เพื&อศึกษาการสะสมของปรอทในเนื6อปลาทีจ& บั โดยเครื&องมือประมงประเภทอวนลาก
จากทะเลอันดามันตอนบน (น่ านนํ6าพม่า) ไว้เป็ น Baseline data และเพื&อใช้เป็ นข้อมูลพืน6 ฐานในการพิจารณาปริมาณที&
ปลอดภัยต่อการบริโภค

วิ ธีการศึกษา
การเก็บตัวอย่าง
สุม่ ตัวอย่างปลาจากการสํารวจทรัพยากรประมงด้วยเครื&องมือประมงอวนลาก ในทะเลอันดามันตอนบน (น่านนํ6า
พม่า) ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถงึ มีนาคม พ.ศ. 2550 ภายใต้โครงการ ”The National Research Survey in the EEZ of
Myanmar Waters” โดย M/V SEAFDEC 2 Cruise No. 23-1/2007 ซึง& ทําการสํารวจทีร& ะดับความลึก 30 ถึง 100 เมตร
ั&
ใน 2 พืน6 ที& คือ ตอนเหนือของอ่าวมาร์ทาบัน (Gulf of Martaban) และตามแนวชายฝงทะเลอั นดามัน ในแถบทานินทันยี
(Tanintanyi Region) รวม 17 สถานี (รูปที& 1) โดยสุ่มตัวอย่างจากสถานีทพ&ี บ สถานีละ 3 ตัว ได้ตวั อย่างปลาทัง6 สิน6 26
ชนิด รวม 199 ตัว

รูปที& 1 สถานีสาํ รวจทรัพยากรประมงโดยเครื&องมือประมงอวนลาก ( ) บนไหล่ทวีปของทะเลอันดามันในน่านนํ6าพม่า

หลัง จากจํา แนกชนิ ด วัด ขนาดความยาว และชัง& นํ6 า หนัก ปลา จดบัน ทึก รายละเอีย ด และเก็บ ตัว อย่ า งใส่
ถุงพลาสติกสะอาด ปิ ดปากถุงให้แน่ น เก็บรักษาตัวอย่างโดยการแช่เยือกแข็ง นํากลับมาเตรียมและวิเคราะห์ตวั อย่างใน
ห้องปฏิบตั กิ าร
การเตรียมตัวอย่าง
นํ า ตัว อย่า งที&จ ะชํา แหละออกจากตู้แ ช่ เยือ กแข็ง ทิ6งให้น6ํ า แข็ง ละลาย และทํา ความสะอาดตัวอย่ างด้วยนํ6 า
ปราศจากไอออน (deionized water, >18 MΩ cm) แล่ตวั อย่างด้วยมีดสแตนเลสเอาเฉพาะส่วนเนื6อเยื&อทีบ& ริโภค (white
flesh) บดให้ผสมเป็ นเนื6อเดียวกัน เก็บตัวอย่างใส่ถุงซิปสะอาด ทุกขัน6 ตอนในการเตรียมตัวอย่างทําภายใต้บรรยากาศ
ปลอดฝุ่น ในตู้ปราศจากฝุ่น (clean bench) Class 100 ปูแผ่นพลาสติกสะอาดกัน6 ระหว่างผิวสัมผัสกับตัวอย่างก่อนวาง
ตัวอย่างลง และสวมถุงมือพลาสติกทุกครัง6 เก็บรักษาตัวอย่างทีช& าํ แหละได้โดยแช่เยือกแข็งทีอ& ุณหภูมิ –20oC จนกว่าจะ
วิเคราะห์ทางเคมี
การย่อยตัวอย่างและตรวจวัดความเข้มข้นของปรอท
ย่อยตัวอย่างด้วยวิธที ด&ี ดั แปลงจาก AOAC (1990) และ US-EPA (2001) โดยย่อยเนื6อเยื&อสด 0.3 กรัม (ชังอย่
& าง
ละเอียด) ด้วย conc. H2SO4 0.5 มล. และ conc. HNO3 1 มล. ที& 90–95ºC นาน 30 นาที เมื&อสารละลายเย็น เติม 0.02
N BrCl 38.5 มล. เพื&อออกซิไดซ์ปรอทอินทรียใ์ ห้อยู่ในรูปปรอทอนินทรีย์ ทิง6 ไว้ขา้ มคืน วิเคราะห์ปริมาณปรอทด้วย
เทคนิคอะตอมมิกแอบซอบชันแบบไอเย็น (Cold vapour atomic absorption) โดยใช้เครื&อง Perkin-Elmer Flow Injection
Mercury Analyzer – FIMSTML 400 เทียบกับสารละลายมาตรฐาน ก่อนวิเคราะห์เติมสารละลาย NH2OH.HCl (เตรียม
โดยละลาย NaCl 12 ก. และ NH2OH.HCl 12 ก. ในนํ6าปราศจากไอออน 100 มล.) 1 มล. เพื&อกําจัด BrCl ส่วนเกิน
จากนัน6 นําสารละลายไปวัดปรอทโดยใช้สารละลาย NaBH4 (เตรียมโดยละลาย NaBH4 ใน 0.05% NaOH 1 ล.) เป็ น
ตัวรีดวิ ซ์ปรอททุกรูปให้เป็ นไอปรอท (Hgo) ใช้ 3% (v/v) HCl เป็ น carrier solution และใช้ก๊าซอาร์กอนเป็ นตัวพา
ไอปรอทเข้าเครื&องวิเคราะห์
การควบคุมคุณภาพการวิ เคราะห์ตวั อย่าง
ควบคุมคุณภาพในการวิเคราะห์โดยการทํา blank ทุกครัง6 วิเคราะห์ซ6ําทุก 10% ของตัวอย่าง และวิเคราะห์
สารอ้างอิงมาตรฐาน (Certified Reference Materials, CRM) DORM-2 (Dogfish Muscle) และ DOLT-2 (Dogfish
Liver) ด้วยวิธเี ดียวกับการวิเคราะห์ตวั อย่าง
จากการวิเ คราะห์ พบว่ า blank มีค่ า ตํ& า มาก ค่ า สัม ประสิท ธิก‡ ารแปรปรวนของตัว อย่ า งที&วิเ คราะห์ซ6ํ า
(SD/mean) มีค่าน้อยกว่า 10% ซึง& อยู่ในช่วงทีย& อมรับได้ และค่าปรอทใน DORM-2 และ DOLT-2 วิเคราะห์ได้เท่ากับ
4.31±0.32 และ 2.14 ± 0.12 มคก./ก. ตามลําดับ หรือ 93.0% และ 99.8% ของความเข้มข้นทีก& าํ กับมากับ CRM (4.64 ±
0.26 และ 2.14 ± 0.28 มคก./ก. ตามลําดับ)
การวิ เคราะห์ข้อมูลทางสถิ ติ
วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิตเิ ชิงพรรณา (Descriptive statistics) หาค่าเฉลีย& ค่าเบีย& งเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน
และค่าตํ&าสุด–สูงสุดของข้อมูล เปรียบเทียบการสะสมของปรอทในเนื6อเยื&อส่วนทีบ& ริโภคของปลาแต่ละชนิด และแสดงผล
ด้วยแผนภูมกิ ล่อง (Box Plot) และแสดงผลด้วยกราฟสําหรับความสัมพันธ์ระหว่างค่าความเข้มข้นของปรอทในเนื6อปลา
กับนํ6าหนักปลา และความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของปลากับนํ6าหนักตัวปลา

ผลการศึกษาและและอภิ ปรายผล
ตัวอย่างปลาทีไ& ด้จากการสุ่มระหว่างการสํารวจทรัพยากรประมงในทะเลอันดามันตอนบน (น่ านนํ6าพม่า) โดย
เครื&องมือประมงอวนลาก มีจํานวน 26 ชนิด รวม 199 ตัวอย่าง ปลาชนิดทีม& กี ารแพร่กระจายในสถานีต่างๆ มากที&สุด
และสุ่ม ตัว อย่ า งได้ม ากที&สุด คือ ปลาตาหวาน (Priacanthus macracanthus), ปลาปากคมหางจุด (Saurida
undosquamis), ปลาทรายแดงหางยาว (Nemipterus japonicus), ปลาแพะ (Parupeneus spp.), ปลาปากคมหูดํา
(Trachinocephalus myops) และ ปลาทรายแดง (Nemipterus bipunctatus) ผลการศึกษาทัง6 หมดสรุปไว้ในตารางที& 1
ตารางที& 1 นํ6 าหนักเฉลี&ย ความยาวทัง6 หมดเฉลี&ย และความเข้มข้นปรอทเฉลี&ย ของตัวอย่างปลาที&จบั โดยเครื&องมือ
ประมงอวนลากจากทะเลอันดามัน (น่านนํ6าพม่า) – ค่าเฉลีย& ± ส่วนเบีย& งเบนมาตรฐาน (ค่าตํ&าสุด – ค่าสูงสุด)
นําหนัก ความยาว ปรอท
ชือวิ ทยาศาสตร์ ชือสามัญ N (ก.) (ซม.) (มคก./ก. ลักษณะจําเพาะ*
นน. เปี ยก)
Alepes djedaba Shrimp scad 3 62.2 ± 9.6 16.6 ± 1.1 0.113 ± 0.086 Reef-associated, amphidromous,
สีกุน (51.2 – 68.7) (15.3 – 17.4) (0.031 – 0.203) 40 cm TL, 124 g
Chrysochir aureus Reeve's croaker 3 168.6 ± 28.6 26.8 ± 1.3 0.060 ± 0.007 Benthopelagic, brackish, marine,
จวด (137.3 – 193.4) (25.5 – 28.0) (0.052 – 0.067) 30 cm SL
Cynoglossus Bengal tongue sole 3 60.0 ± 25.7 25.0 ± 3.5 0.050 ± 0.007 Demersal, brackish, marine,
cynoglossus ลิน6 หมา (35.3 – 86.5) (21.5 – 28.5) (0.042 – 0.055) 20 cm TL
Decapterus russelli Indian scad 3 62.0 ± 10.3 19.2 ± 0.8 0.093 ± 0.034 Benthopelagic, 45 cm TL, 110 g
ทูแขก (50.2 – 68.6) (18.5 – 20.0) (0.055 – 0.121)
Drepane punctata Spotted sicklefish 3 113.2 ± 11.6 18.8 ± 1.1 0.107 ± 0.026 Reef-associated, brackish, marine,
ใบโพธิ ‡, หูชา้ ง (104.6 – 126.4) (17.9 – 20.0) (0.079 – 0.130) amphidromous, 50 cm TL
Ephippus orbis Orbfish 3 83.0 ± 6.6 15.9 ± 1.9 0.099 ± 0.011 Reef-associate, amphidromous,
ใบปอ (76.6 – 89.7) (14.5 – 18.0) (0.088 – 0.110) marine, 25 cm TL
Epinephelus Orange spotted grouper 2 796.2 ± 22.4 36.0 ± 0.7 0.519 ± 0.027 Reef-associated, brackish, marine,
coioides กะรังจุดนํ6าตาล, กะรังปากแม่น6ํา (780.4 – 812.1) (35.5 – 36.5) (0.500 – 0.539) 120 cm TL, 15 kg, 22 years
Nemipterus Delagoa threadfin bream 9 132.6 ± 50.5 22.3 ± 2.8 0.071 ± 0.018 Demersal, marine, non-migratory,
bipunctatus ทรายแดง (55.1 – 224.6) (17.0 – 27.5) (0.046 – 0.103) 30 cm TL
Nemipterus japonicus Japanese threadfin bream 24 95.5 ± 36.0 22.4 ± 2.7 0.081 ± 0.027 Demersal, non-migratory,
ทรายแดงหางยาว (54.0 – 200.4) (17.6 – 29.9) (0.055 – 0.153) 32 cm TL, 596 g, 8 years
Nemipterus peronii Notchedfin threadfin bream 3 143.5 ± 58.7 22.5 ± 3.4 0.080 ± 0.015 Demersal, non-migratory,
ทรายแดง (89.6 – 206.0) (19.1 – 25.9) (0.065 – 0.095) 29 cm SL
Nemipterus spp. Threadfin bream 6 127.0 ± 21.6 21.8 ± 1.2 0.079 ± 0.023 Demersal, non-migratory
ทรายแดง (106.9 – 167.8) (21.0 – 24.1) (0.039 – 0.107)
Parupeneus spp. Goatfish 18 41.8 ± 7.8 18.9 ± 4.0 0.099 ± 0.028 Reef-associated
แพะ (33.3 – 233.9) (14.9 – 26.0) (0.059 – 0.166)
Pennahia Big head pennah croaker 3 89.8 ± 6.9 20.6 ± 2.5 0.073 ± 0.056 Demersal, marine, 23 cm SL
macrocephalus จวด (82.7 – 96.4) (18.4 – 23.4) (0.040 – 0.138)
Pennahia anea Greyfin croaker 3 155.1 ± 12.3 22.2 ± 0.4 0.074 ± 0.019 Demersal, marine, 30 cm SL
จวดครีบเทา (142.6 – 167.1) (22.0 – 22.7) (0.053 – 0.091)
Priacanthus Red bigeye 38 89.1 ± 85.0 18.5 ± 4.5 0.069 ± 0.040 Reef-associated, marine,
macracanthus ตาหวาน (22.2 – 414.7) (12.5 – 30.5) (0.026 – 0.208) oceanodromous, 30 cm SL
Pseudorhombus sp. Flatfish 3 176.8 ± 76.5 24.7 ± 4.8 0.109 ± 0.024 Demersal, marine
ตาเดียว (121.5 – 264.1) (21.6 – 30.2) (0.093 – 0.136)
Rastrelliger Indian mackerel 3 59.0 ± 9.7 18.1 ± 1.0 0.036 ± 0.007 Pelagic, oceanodromous, marine,
karnagurta ลัง, ทูมง, มง (47.8 – 65.0) (17.1 – 19.0) (0.028 – 0.042) 35 cm FL, 4 years
Saurida elongata Slender lizardfish 3 46.4 ± 19.0 19.3 ± 2.4 0.035 ± 0.004 Demersal, marine, 50 cm SL
ปลาปากคม (32.3 – 68.0) (17.8 – 22.0) (0.031 – 0.038)
Saurida Brushtooth lizardfish 33 85.4 ± 41.7 22.5 ± 3.2 0.052 ± 0.017 Reef-associated, amphidromous,
undosquamis ปลาปากคมหางจุด (33.0 – 187.3) (18.0 – 29.5) (0.028 – 0.102) (M) 50 cm SL and (F) 23 cm SL
Saurida sp. Lizardfish 3 99.1 ± 31.1 24.8 ± 2.2 0.068 ± 0.051
ปากคม (67.3 – 129.5) (22.6 – 27.0) (0.037 – 0.126)
Sphyraena forsteri Bigeye barracuda 3 60.4 ± 6.8 22.1 ± 0.8 0.088 ± 0.045 Reef-associated, 75 cm TL
สาก (54.5 – 67.8) (21.4 – 23.0) (0.035 – 0.114)
Sphyraena jello Pickhandle barracuda 3 70.1 ± 8.3 24.6 ± 0.6 0.071 ± 0.006 Reef-associated, oceanodromous,
สากดํา (60.8 – 76.7) (24.1 – 25.2) (0.066 – 0.078) 150 cm TL, 12 kg
Trachinocephalus Snakefish 15 113.6 ± 26.9 22.5 ± 1.6 0.070 ± 0.023 Reef-associated, marine,
myops ปากคมหูดํา (77.3 – 172.2) (20.4 – 25.3) (0.042 – 0.131) 40 cm TL, 7 years
Trichiurus lepturus Largehead hairtail 3 358.6 ± 8.6 67.8 ± 3.1 0.051 ± 0.006 Benthopelagic, brackish, amphidro-
ดาบเงินใหญ่ (352.7 – 368.4) (65.6 – 71.4) (0.044 – 0.056) mous, 234 cm TL, 5 kg, 15 years
Upeneus Goldband goatfish 3 29.1 ± 5.4 14.1 ± 0.8 0.085 ± 0.019 Reef-associated, brackish, marine,
moluccensis หนวดฤาษี (24.8 – 35.2) (13.4 – 15.0) (0.064 – 0.099) 20 cm TL, 5 years
Upeneus sp. Goatfish 3 36.2 ± 0.8 15.2 ± 0.8 0.090 ± 0.031 Reef-associated
หนวดฤาษี (35.5 – 37.1) (14.5 – 16.0) (0.054 – 0.108)
* สภาพถิน& ทีอ& ยู่อาศัย, พฤติกรรมการย้ายถิน& , ความยาวสูงสุด, นํ6าหนักสูงสุด, อายุทม&ี รี ายงาน
ปลาทัง6 หมดทีไ& ด้มขี นาดความยาว (total length) อยู่ในช่วง 12.5 – 71.4 ซม. (เฉลีย& 21.7 ± 7.1 ซม. และ
ค่ามัธยฐาน 21.0 ซม.) มีน6ําหนัก 22 – 813 ก. (เฉลีย& 105 ± 95 ก. และค่ามัธยฐาน 83 ก.) โดย E. coioides หรือปลา
กะรังจุดนํ6าตาล ซึง& มีอยู่เพียง 2 ตัว มีขนาดใหญ่กว่าปลาทีเ& หลือมาก โดยหนัก 780 และ 812 ก. ส่วนปลาทีเ& หลือ 197 ตัว
หนักอยู่ในช่วง 22 – 415 ก. (เฉลีย& 98 ± 65 ก. และค่ามัธยฐาน 83 ก.)
จากการเปรียบเทียบค่ามัธยฐาน (ค่ากลางทีพ& บเป็ นส่วนใหญ่) ของความเข้มข้นของปรอทในปลาแต่ละชนิด โดย
ใช้แผนภูมกิ ล่อง ดังรูปที& 2 พบว่าปลา 99% มีระดับปรอทอยู่ในช่วงทีต& &ํากว่า 0.15 มคก./ก. นํ6าหนักเปี ยก และส่วนใหญ่มี
ค่าตํ&ากว่า 0.1 มคก./ก. นํ6าหนักเปี ยก มีค่ามัธยฐานใกล้เคียงกัน และมีค่าตํ&ากว่าเกณฑ์มาตรฐานที&กําหนดโดย Codex
Alimentarius Commission (2005) และ EU (2006) ซึง& ให้มไี ด้ไม่เกิน 0.5 มคก./ก. ในปลาทุกชนิด ยกเว้นปลานักล่าที&
ยอมให้มไี ด้ถงึ 1 มคก./ก. ซึง& เป็ นเกณฑ์เดียวกับทีก& ําหนดโดยกระทรวงสาธารณสุขของไทย (กระทรวงสาธารณสุข,
2529) ยกเว้น E. coioides 2 ตัวอย่างทีน& ํามาศึกษา มีค่าปรอทสูงถึง 0.500 และ 0.539 เฉลีย& 0.519 ± 0.027 มคก./ก.
นํ6 าหนักเปี ยก ทัง6 นี6น่าจะเนื&องจากปลาชนิดนี6กินปลา กุ้ง และสัตว์น6ํ าขนาดเล็กเป็ นอาหาร หากินอยู่ตามแนวปะการัง
นอกจากนี6ยงั มีขนาดใหญ่ทส&ี ดุ เมื&อเทียบกับตัวอย่างปลาทัง6 หมด

AD = Alepes djedaba
CA = Chrysochir aureus,
CC = Cynoglossus cynoglossus
Codex (2005) and EU (2006) DR = Decapterus russelli
DP = Drepane punctata
limit of 0.5 µg/g for all fish EO = Ephippus orbis
EC = Epinephelus coioides
NB = Nemipterus bipunctatus
NJ = Nemipterus japonicus
NP = Nemipterus peronii
Nemi. = Nemipterus spp.
Paru. = Parupeneus spp.
PeM = Pennahia macrocephalus
PA = Pennahia anea,
PrM = Priacanthus macracanthus
Pseu. = Pseudorhombus sp.
RK = Rastrelliger karnagurta
SE = Saurida elongata
SU = Saurida undosquamis
Saur. = Saurida sp.
SF = Sphyraena forsters
SJ = Sphyraena jello
TM = Trachinocephalus myops
TL = Trichiurus lepturus
UM = Upeneus moluccensis
Upen. = Upeneus sp.

รูปที& 2 แผนภูมกิ ล่อง (Box plot) เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน และช่วงปริมาณปรอท ในเนื6อเยื&อปลา 26 ชนิด จากทะเล
อันดามันตอนบน (น่านนํ6าพม่า) (เส้นหนาตรงกลางกล่องแสดงค่ามัธยฐาน เส้นล่างและเส้นบนของกล่องแสดงเปอร์เซ็นต์
ไทล์ท&ี 25 และ 75 ตามลําดับ และเครื&องหมายวงกลมและดอกจันแสดงค่าทีส& งู เกินกว่าค่าส่วนใหญ่)

เมื&อ เปรีย บเทีย บความสัม พัน ธ์ร ะหว่ า งความยาวทัง6 หมด (total length) ของปลากับ นํ6 า หนั ก ปลา และ
ความสัมพันธ์ระหว่างความระดับปรอททีส& ะสมในเนื6อปลากับนํ6 าหนักปลา ในปลา 5 สกุล คือ Nemipterus spp. (ปลา
ทรายแดง), Parupeneus spp. (ปลาแพะ), Priacanthus macracanthus (ปลาตาหวาน), Saurida spp. (ปลาปากคม)
และ Trachinocephalus myops (ปลาปากคมหูดํา) (รูปที& 3) พบว่าความยาวทัง6 หมดของปลามีความสัมพันธ์กบั นํ6าหนัก
ตัวปลา ยกเว้นปลาทรายแดงชนิด N. japonicus หรือปลาทรายแดงหางยาว ความสัมพันธ์ไม่ค่อยเด่นชัดนัก น่ าจะ
เนื&องมาจากลักษณะทีม& หี างค่อนข้างยาว ในภาพรวมระดับปรอททีส& ะสมในเนื6อปลาจะเพิม& ขึน6 ตามนํ6าหนักปลาทีเ& พิม& ขึน6
โดย Nemipterus spp., Saurida spp. และ Trachinocephalus myops มีการสะสมของปรอทเพิม& ขึน6 ในอัตราทีค& ่อนข้าง
ใกล้เคียงกัน ในปลาสกุล Parupeneus spp. ความสัมพันธ์ระหว่างปรอทกับนํ6 าหนักตัวปลาแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มทีม& นี 6ําหนักตัวตํ&ากว่า 60 ก. จะเห็นชัดเจนว่าเมื&อนํ6าหนักเพิม& ขึน6 ปริมาณปรอทในเนื6อปลาก็จะเพิม& ขึน6 ส่วนอีกกลุ่มที&
มีน6ําหนักมากกว่า 100 ก. ซึง& มีอยู่ 6 ตัว มีระดับปรอททีเ& ท่าๆ กัน ในปลา P. macracanthus ไม่ค่อยเห็นความสัมพันธ์
ของระดับปรอทกับนํ6าหนักตัวเช่นกัน ซึง& ปลาทัง6 2 ประเภททีไ& ม่ค่อยเห็นความสัมพันธ์ของระดับปรอทกับนํ6าหนักตัวปลา
เป็ นปลาทีม& ถี นิ& ทีอ& ยู่อาศัยและหากินตามแนวปะการัง (reef-associate) ทําให้มคี วามหลากหลายของอาหารค่อนข้างมาก
ซึง& อาจจะเป็ นสาเหตุทท&ี าํ ให้การสะสมของปรอทในปลาแต่ละตัวแตกต่างกัน (Hall et al., 1997)
เนื&องจากตัวอย่างปลาในการศึกษาครัง6 นี6มหี ลากหลายชนิดมาก เพื&อหาว่าปลาต่างชนิดทีม& ขี นาดเท่าๆ กัน จะมี
ปรอทสะสมอยู่ในปริมาณใกล้เคียงกันหรือไม่ จึงนํ าขนาดเฉลี&ยของปลาแต่ละชนิดมาหาความสัมพันธ์กบั ระดับปรอท
เฉลีย& ในปลาแต่ละชนิด ดังรูปที& 4 พบว่าปลาส่วนใหญ่มสี ดั ส่วนระหว่างนํ6าหนักกับความยาวตัวปลาค่อนข้างใกล้เคียงกัน
ยกเว้น E. coioides (ปลากะรังจุดนํ6าตาลหรือปลากะรังปากแม่น6ํา) ทีน& 6ําหนักมากแต่ความยาวตัวน้อย และ T. lepturus
(ปลาดาบเงินใหญ่) ทีน& 6ําหนักน้อยแต่ความยาวตัวมาก (รูปที& 4 ด้านซ้าย) สําหรับความสัมพันธ์ระหว่างนํ6าหนักตัวปลา
กับปริมาณปรอททีส& ะสมในเนื6อปลา พบว่า E. coioides มีปรอทสะสมในเนื6อปลามาก ซึง& น่าจะเนื&องมาจากลักษณะการกิน
อาหาร และการทีม& ขี นาดตัวทีใ& หญ่กว่าตัวอื&นๆ มาก โดยมีน6ําหนักทีม& ากกว่าปลาอื&นกว่า 2 เท่า และสามารถโตได้ถงึ 15
กก. (ตารางที& 1) ส่วน T. lepturus มีปรอทสะสมอยู่น้อยเมื&อเทียบสัดส่วนกับขนาดตัว ซึง& ปลานี6ยงั โตได้ถงึ ประมาณ 2 ม.
และหนักได้ถงึ 5 กก. อย่างไรก็ดจี าํ นวนตัวอย่างของปลา 2 ชนิดนี6 มีแค่ 2 และ 3 ตัว ตามลําดับ ในส่วนของปลากลุ่ม
ทีม& ขี นาดนํ6าหนักน้อยกว่า 300 ก. และความยาวน้อยกว่า 30 ซม. ก็ไม่ค่อยเห็นความสัมพันธ์กนั นัก เนื&องจากระดับปรอท
อยู่ในปริมาณทีใ& กล้เคียงกันเกือบทัง6 หมด แต่ในรูปขวาล่างของรูปที& 4 จะเห็นการจับกลุ่มของปลาประเภททีค& ล้ายคลึงกัน
เมื&อเปรียบเทียบผลการศึกษาครัง6 นี6กบั Menasveta and Siriyong (1977) ซึง& ศึกษาปรอทในเนื6อปลาจากทะเล
อันดามัน 6 ชนิด รวม 36 ตัวอย่าง พบว่าปรอทในทูน่าครีบเหลือง yellowfin tuna (Neothunnus albacora) อยู่ในช่วง
0.026 – 0.234 มคก./ก., bigeye tuna (Parathunnus sibi) อยู่ในช่วง 0.027 – 0.233 มคก./ก. และปลาฉลาม 4 ชนิด
มีค่าอยู่ในช่วง 0.057 – 0.478 มคก./ก. ซึง& เมื&อเปรียบเทียบกับการศึกษาครัง6 นี6 พบว่าค่าตํ&าสุดใกล้เคียงกับค่าทีไ& ด้ใน
การศึกษาครัง6 นี6 อย่างไรก็ดปี ลาที&ศกึ ษาในงานของ Menasveta and Siriyong (1977) เป็ นปลานักล่าทีห& ากินกลางนํ6 า
ย่อมมีการสะสมปรอทผ่านห่วงโซ่อาหารมากกว่า ดังนัน6 จึงพบค่าในช่วงทีส& งู กว่าทีพ& บส่วนใหญ่ในการศึกษาครัง6 นี6
เมื&อนําผลการศึกษาในครัง6 นี6เปรียบเทียบกับปลาทีห& ากินใกล้ผวิ ดินเช่นเดียวกัน โดยเปรียบเทียบกับการศึกษา
ของ สุธารัตน์ สุขพันธ์ และคณะ (2549) ทีศ& กึ ษาปลาในทะเลสาบสงขลา พบว่ามีปรอทสะสมในเนื6อปลากินพืช (n = 9)
ปลากินทัง6 พืชและสัตว์ (n=36) และปลากินสัตว์ (n = 119) เท่ากับ 0.033 ± 0.032, 0.036 ± 0.022 และ 0.095 ± 0.108
มคก./ก. นํ6าหนักเปี ยก ตามลําดับ จะเห็นว่าการปนเปื6 อนของปรอทในตัวอย่างปลาทีไ& ด้จากเครื&องมือประมงอวนลากใน
ทะเลอันดามันตอนบน (น่านนํ6าพม่า) มีค่าใกล้เคียงกับปลากินสัตว์ในทะเลสาบสงขลา โดยระดับปรอททีพ& บในการศึกษา
ครัง6 นี6อยู่ในช่วง 0.026 – 0.539 มคก./ก. นํ6าหนักเปี ยก (เฉลีย& 0.077 ± 0.055 และค่ามัธยฐาน 0.066 มคก./ก. นํ6าหนัก
เปี ยก) ซึง& หากไม่คดิ ปลากะรังจุดนํ6าตาล (E. coioides) 2 ตัว ทีม& ขี นาดใหญ่กว่าตัวอื&นๆ มากออกไป ระดับของปรอทที&
สะสมในเนื6อปลาในการศึกษาครัง6 นี6จะอยู่ในช่วง 0.026 – 0.208 มคก./ก. นํ6าหนักเปี ยก (ค่าเฉลีย& 0.070 ± 0.033 และ
ค่ามัธยฐาน 0.066 มคก./ก. นํ6าหนักเปี ยก)
300 0.25
Nemipterus spp.
250 ปลาทรายแดง 0.20
R2 = 0.9269

Hg ( มคก./ก.)
นํา หนัก ( ก.)

200
0.15
150
0.10
100 R2 = 0.4452
50 N. japonicus 0.05

0 0.00
0 10 20 30 40 0 50 100 150 200 250

250 ความยาว ( ซม. ) 0.25 นํา หนัก ( ก. )


Parupeneus spp.
200 ปลาแพะ 0.20

Hg ( มคก./ก.)
นํา หนัก ( ก.)

150 0.15
R2 = 0.9646
100 0.10

50 0.05

0 0.00
0 10 20 30 40 0 50 100 150 200 250

500 ความยาว (ซม. ) 0.25 นํา หนัก (ก. )


Priacanthus macracanthus
400 ปลาตาหวาน 0.20
Hg (มคก./ก.)
นํา หนัก ( ก.)

300 0.15

200 0.10
R2 = 0.9698
100 0.05

0 0.00
0 10 20 30 40 0 100 200 300 400 500

200 ความยาว (ซม. ) 0.25 นํา หนัก (ก. )


Saurida spp.
ปลาปากคม 0.20
150
Hg ( มคก./ก.)
นํา หนัก ( ก.)

0.15
100 R2 = 0.937
0.10
50
0.05

0 0.00
0 10 20 30 40 0 50 100 150 200 250

200 ความยาว ( ซม. ) 0.25 นํา หนัก (ก. )


Trachinocephalus myops
ปลาปากคมหูดํา 0.20
150
Hg ( มคก./ก.)
นํา หนัก ( ก.)

0.15
100 R2 = 0.7848
0.10
50
0.05

0 0.00
0 10 20 30 40 0 50 100 150 200

ความยาว (ซม. ) นํา หนัก (ก. )

รูปที& 3 รูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความยาวทัง6 หมดของปลากับนํ6าหนักปลา (รูปซ้าย) และระหว่างความเข้มข้นของ


ปรอททัง6 หมดในเนื6อปลากับนํ6าหนักปลา (รูปขวา) ในปลา 5 สกุล คือ Nemipterus spp., Parupeneus spp., Priacanthus
macracanthus, Saurida spp. และ Trachinocephalus myops
80

ิ (มคก/ก.)
0.6 EC
ิ (ซม.)

TL
70
0.5
แต่ละชน ด

60
2

ในแต่ละชนด
50 0.4 R = 0.7398
EC
40 0.3
ความยาวเฉลีย

30
0.2

ปรอทเฉลีย
20
0.1 TL
10
0 0.0
0 200 400 600 800 1000 0 100 200 300 400 500 600 700 800 900
นํา หน ักเฉลีย
แต่ละชน ด
ิ (ก.) นํา หน ักเฉลีย
แต่ละชน ด
ิ (ก.)

กลุม
่ ปลาจวด กลุม
่ ปลาหนวดฤาษี /ปลาแพะ

ิ (มคก/ก.)
30 0.20 ปลาสีกน

ิ (ซม.)

ปลาสาก
ปลาทูแขก
กลุม
่ ปลาทรายแดง
แต่ละชน ด

25 0.15

ในแต่ละชน ด
ปลาตาเดียว
20 0.10
ปลาตาเดียว
ความยาวเฉลีย

กลุม
่ ปลาทรายแดง
ปรอทเฉลีย

15 0.05
ปลาทรายแดงหางยาว กลุม
่ ปลาจวด
ปลาทรายแดงหางยาว
10 0.00
0 50 100 150 200 250 300 0 100 200 300
นํา หน ักเฉลีย
แต่ละชนด
ิ (ก.) นํา หน ักเฉลีย
แต่ละชน ด
ิ (ก.)

รูปที& 4 รูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่างนํ6าหนักเฉลีย& กับความยาวเฉลีย& ทัง6 หมดของปลาแต่ละชนิด (รูปซ้าย) และระหว่าง


นํ6าหนักเฉลีย& กับความเข้มข้นของปรอทเฉลีย& ในปลาแต่ละชนิด (รูปขวา) รูปบน เป็ นความสัมพันธ์ในปลาทัง6 หมด ส่วนรูป
ล่างเป็ นความสัมพันธ์ในปลาทีม& นี 6ําหนักตํ&ากว่า 300 กรัม

แม้ว่าความเข้มข้นของปรอทในเนื6อปลาจะไม่เกินเกณฑ์ท&ี Codex Alimentarius Commission (2005) และ EU


(2006) กําหนดไว้ คือ ไม่เกิน 0.5 มคก./ก. ในปลาทัวไป
& และไม่เกิน 1 มคก./ก. สําหรับปลานักล่า แต่หากได้รบั ต่อเนื&อง
ปรอทก็จะสะสมในร่างกายจนเป็ นอันตรายต่อสุขภาพได้ องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and
Agriculture Organization of the United Nations; FAO) และองค์การอนามัยโลก (World Health Organization; WHO)
ได้ร่วมกําหนดค่าแนะนําในการบริโภค โดยกําหนดว่าในแต่ละสัปดาห์คนปกติไม่ควรได้รบั ปรอทในรูปของปรอทอินทรีย์
เข้าสู่ร่างกาย (Provisional Tolerable Weekly Intake; PTWI) เกินกว่า 3.3 มคก. /กก. นํ6าหนักตัว ซึง& ต่อมาในปี พ.ศ.
2546 ได้ปรับลดค่า PTWI ของปรอทเป็ น 1.6 มคก. /กก. นํ6 าหนักตัว โดยเฉพาะอย่างยิง& ในเด็กและสตรีมคี รรภ์ ส่วน
ผูใ้ หญ่ปกติอาจจะรับได้มากกว่านี6 (JECFA, 2006)
จากค่า PTWI ทีแ& นะนําโดย FAO/WHO เมื&อประมาณการโดยคิดว่า คนปกติน6ําหนักตัว 60 กก. บริโภคปลาจาก
ทะเลอันดามันซึ&งมีปรอทปนเปื6 อนในเนื6อเยื&อเฉลี&ย 0.070 มคก./ก. นํ6 าหนักเปี ยก และ 90% อยู่ในรูปปรอทอินทรีย์
(Windom and Cranmer, 1998; Burger and Gochfeld, 2005 Voegborlo and Akagi, 2007) จะพบว่าหญิงมีครรภ์ทม&ี ี
นํ6าหนักตัว 70 กก. โดยประมาณไม่ควรบริโภคปลาทีไ& ด้จากเครื&องมือประมงอวนลากในทะเลอันดามันตอนบน (น่ านนํ6า
พม่า) เกินกว่า 1.78 กก. ต่อสัปดาห์ หรือในเด็กปกติทม&ี นี 6ําหนักตัว 25 กก. ไม่ควรบริโภคเกินกว่า 0.63 กก. ต่อสัปดาห์
สรุปผลการวิ จยั
จากการศึกษาปริมาณปรอททีส& ะสมในปลาทีไ& ด้จากเครื&องมือประมงอวนลากในทะเลอันดามันตอนบน (น่ านนํ6า
พม่า) 26 ชนิด รวม 199 ตัว พบว่าระดับปรอทส่วนใหญ่ยงั อยู่ในเกณฑ์ท&ี Codex Alimentarius Commission (2005) และ
EU (2006) กําหนดไว้ คือ ไม่เกิน 0.5 มคก./ก. ในปลาทัวไป & และไม่เกิน 1 มคก./ก. สําหรับปลานักล่า โดยปลา 99% มี
ระดับปรอทอยู่ในช่วงทีต& &ํากว่า 0.15 มคก./ก. นํ6าหนักเปี ยก และส่วนใหญ่มคี ่าตํ&ากว่า 0.1 มคก./ก. นํ6าหนักเปี ยก ยกเว้น
ปลากะรังจุดนํ6าตาลหรือปลากะรังปากแม่น6ํา (Epinephelus coides) ทีม& คี ่าเกินกว่า 0.5 มคก./ก. นํ6 าหนักเปี ยก ทัง6 2
ตัวอย่าง
จากการประเมินปริมาณปลาทีส& ตรีมคี รรภ์และเด็กสามารถบริโภคได้ต่อสัปดาห์โดยไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
จากเกณฑ์ของ JECFA (2006) และค่าความเข้มข้นเฉลีย& ของปรอทในเนื6อปลาทีศ& กึ ษาในครัง6 นี6 (0.070 มคก./ก. นํ6าหนัก
เปี ยก) โดยคิดว่า 90% ปรอททีป& นเปื6 อนอยู่เป็ นปรอทอินทรีย์ พบว่าหญิงมีครรภ์ทม&ี นี 6ําหนักตัว 70 กก. และเด็กปกติทม&ี ี
นํ6าหนักตัว 25 กก. ไม่ควรบริโภคเกินกว่า 1.78 และ 0.63 กก. ต่อสัปดาห์ ตามลําดับ

กิ ตติ กรรมประกาศ
ผูว้ จิ ยั ขอขอบคุณ คุณโสภณา บุญญาภิวฒ ั น์ สํานักวิจยั และพัฒนาประมงทะเล กรมประมง ศูนย์พฒ ั นาการ
ประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทีมงานของเรือ M.V. SEAFDEC2 ที&ให้ความอนุ เคราะห์ในการเก็บตัวอย่าง
ขอบคุณ คุณยุทธนา บัวแก้ว และคุณปิ ยวรรณ นาคินชาติ สําหรับความช่วยเหลือระหว่างการเตรียมตัวอย่าง ขอบคุณ
คุณพัณณ์ชติ า ทัพพ์วรางค์กรู คุณสุชาดา บัวแก้ว และคุณหฤทัย อภัยรัตน์ ทีช& ่วยเหลือระหว่างการวิเคราะห์ตวั อย่างใน
ห้ อ งปฏิ บ ัติ ก าร ขอขอบคุ ณ หน่ ว ยวิ จ ัย ชี ว ธรณี เ คมี แ ละการเปลี& ย นแปลงสิ&ง แวดล้ อ ม และบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทีใ& ห้ความสนับสนุนทุนวิจยั ในครัง6 นี6
เอกสารอ้างอิ ง
กระทรวงสาธารณสุข, 2529. มาตรฐานอาหารทีม& สี ารปนเปื6 อน. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที& 98 (พ.ศ. 2529)
ลงวันที& 21 มกราคม 2529. กรุงเทพมหานคร.
ธนาคารเพื&อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย. 2548. ฝ่ายวิชาการ ส่วนเศรษฐกิจต่างประเทศ. เข้าถึงได้ท&ี URL:
http://www.exim.go.th/doc/research/targeted_country/6925.pdf.
สุฑารัตน์ สุขพันธ์, เพ็ญใจ สมพงษ์ชยั กุล, และ สมเกียรติ ขอเกียรติวงศ์. 2549. การปนเปื6 อนของปรอทในสัตว์น6ํ า
เศรษฐกิจในทะเลสาบสงขลา. วารสารวิจยั วิทยาศาสตร์ (Section T) ปี ท&ี 5 ฉบับที& 3: 91-100.
Agusa, T., Kunito, T., Sudaryanto, A., Monirith, I., Kan-Atireklap, S., Iwata, H., Ismail, A., Sanguansin, J.,
Muchtar, M., Tana, T.S. and Tanabe, S. 2007. Exposure assessment for trace elements from
consumption of marine fish in Southeast Asia. Environ. Pollut. 145: 766–777.
AOAC. 1990. Official Methods of Analysis of the Association of official Analytical Chemists, 15th Edition. Virginia
modified, Arlington.
Berlin, M., Zalups, R.K. and Fowler, B.A. 2007. Handbook on the Toxicology of Metals 3E. Academic Press, Inc.
Bhattacharya, A., Reddy, C.S.S., and Srivastav, S.K. 1993. Remote sensing for active volcano monitoring in
barren Island, India. Ninth Thematic Conference on Geologic Remote sensing, Pasadena, California,
pp 993–1003.
Burger, J., and Gochfeld, M. 2005. Heavy metals in commercial fish in New Jersey. Environ. Res. 99: 403–412.
Codex Alimentarius Commission. 2005. Discussion paper on Guideline Levels for Methylmercury in Fish.
CX/FAC 05/37/35. 37th Session, เข้าถึงได้ท&ี URL: ftp://ftp.fao.org/codex/ccfac37/fa37_35e.pdf เมื&อ 20
สิงหาคม 2551.
EU. 2006. European Commission Regulation (EC) No. 1881/2006 of 19 December 2006 setting maximum
levels for certain contaminants in foodstuffs. Official Journal of the European Union, L 364/5 – 364/24.
Hall, B.D., Bodaly, R.A., Fudge RJP, Rudd, J.W.M. and Rosenberg, D.M. 1997. Food as the dominant pathway
of methylmercury uptake by fish. Water Air Soil Pollut. 100(1-2): 13-24.
JECFA. 2006. Summary and conclusions of the sixty-seventh meeting of the Joint FAO/WHO Expert
Committee on Food Additives (JECFA).
Kojadinovic, J., Potier, M., Le Corre, M., Cosson, R.P. and Bustamante, P. 2006. Mercury content in
commercial pelagic fish and its risk assessment in the Western Indian Ocean. Sci. Total Envi. 366:
688–700.
Menasveta, P. and Siriyong, R. 1977. Mercury content of several predacious fish in the Andaman sea.
Mar. Pollut. Bull. 9(9): 200-204.
Peterson, C.L., Klawe, W.L., and Sharp, G.D. 1973. Mercury in tuna: a review. Fish. Bull. 71: 603–613.
US-EPA. 2001. Appendix to Method 1631 Total Mercury in Tissue, Sludge, Sediment, and Soil by Acid
Digestion and BrCl Oxidation. Based on a standard operating procedure provided by Frontier
Geosciences, Inc.
Voegborlo, R.B. and Akagi, H. 2007. Determination of mercury in fish by cold vapour atomic absorption
spectrometry using an automatic mercury analyzer. Analytical, Nutritional and Clinical Methods. Food
Chem. 100: 853–858.
Windom, H.L. and Cranmer, G. 1998. Lack of observed impacts of gas production of Bongkot Field, Thailand
on marine biota. Mar. Pollut. Bull. 36: 799-807.

View publication stats

You might also like