You are on page 1of 20

หอยศัตรูพืชเศรษฐกิจในประเทศไทย

ปราสาททอง พรหมเกิด ชมพูนุท จรรยาเพศ


กลุม่ กีฏและสัตววิทยา สำนักวิจยั พัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร

กลุ่มหอย (Molluscs)
Molluscs เป็ นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จัดอยูใ่ นไฟลัม Mollusca ซึง่ ใหญ่เป็ นอันดับสอง
ของอาณาจักรสัตว์ (Animal Kingdom) ที่มีทงชนิ ั ้ ดและปริ มาณเป็ นรองแต่กลุม่ ที่มีร ะยางค์เป็ นข้ อ
ปล้ องเท่านัน้ (Arthropods) มีรูปร่างลักษณะทัว่ ไป คือเป็ นท่อม้ วนขดของผิวหนังและแมนเทิล ลำตัว
อ่อนนุ่มมีเมือกไม่มีข้อปล้ อง บริเวณขอบแมนเทิลด้ านล่างติดกับ umbilicus จะผลิตเปลือกปกคลุมลำ
ตัว อาจจะปกคลุมทังตั ้ วหรื อเป็ นบางส่วนเท่านันตามแต่
้ ชนิดของหอย ไฟลัม Mollusca แบ่งเป็ นชัน้
(classes) ดังนี ้
Class Monoplacophora เป็ นชันที
้ ่โบราณที่สดุ มีเหลืออยูห่ นึง่ หรื อ สองชนิดเท่านัน้
Class Polyplacophora เป็ นหอยฝาเดียวโบราณ มีเปลือกเป็ นแผ่น 8 แผ่น ได้ แก่ ลิน่
ทะเล (Chitons)
Class Aplacophora เป็ นพวกคล้ ายหนอนไม่มีเปลือกหุ้ม
Class Gastropoda เป็ น หอยฝาเดีย วมีล กั ษณะเป็ น เกลีย วหรื อ ม้ ว นขดกลมมี
จำนวนชนิดมากที่สดุ
Class Scaphopoda เปลือกเป็ นท่อปลายเปิ ดทังสองด้
้ าน ได้ แก่หอยงาช้ าง
Class Bivavia หรื อ clams เป็ นหอยสองฝา เป็ นชันที ้ ่ใหญ่เป็ นอันดับสอง
Class Cephalopoda เป็ นพวกที่พฒ ั นาที่สดุ มีเปลือกปกคลุมภายนอก ได้ แก่ หอย
งวงช้ าง ( nautilus) หมึก ( octopus ; squid and cuttle fish)
Molluscs เป็ นกลุม่ สัตว์ที่โบราณมาก โดยพบฟอสซิลติดอยูท่ ี่หินของยุค Palaeozoic (ช่วง
แคมเบียน ประมาน 500 ล้ านปี ผ่านมาแล้ ว) จนถึงยุค Caenozoic เป็ นยุคที่มีการพัฒนามากที่สดุ
และปั จจุบนั มีการจำแนกชนิดต่างกันไปบ้างอาจเป็ น 120,000 ชนิด แต่ปกติแล้ วประมาณ 80,000
ชนิด ส่วนใหญ่อาศัยอยูใ่ นน้ำทะเลและประมาณ 75% เป็ นหอยฝาเดียว
หอยฝาเดียว (Gastropods) มีประมาณ 50,000 – 60,000 ชนิด ถูกจำแนกตามการหายใจแบ่ง เป็ น
3 Sub class คือ Prosobranchia , Opisthobranchia และ Pulmonata โดย Posobranchia จะ
หายใจ ด้ วยเหงือกที่เรี ยงเป็ น 2 แถว ในช่องแมนเทิล ส่วน Pulmonate จะหายใจด้ วยปอดเป็ นต้ น
ที่อยู่อาศัย (Habitat) หอยฝาเดียวอาศัยอยูไ่ ด้ ทงในน้ำทะเล
ั้ น้ำจืดและบนบก จึงมีรูปร่าง
แตกต่างกันไปตามแหล่งที่อยูอ่ าศัย จึงอาจพบหอยอยูใ่ นน้ำโดยจะว่ายน้ำ หรื อลอยไปตามกระแสน้ำ
หรื อคลานตามหน้ าดินใต้ น้ำ บางชนิดอยูบ่ นพื ้นดินจะคลานอยูต่ ามพื ้นดิน อยูใ่ นโพรงหรื อรู บนพื ้นดิน
บางชนิดจะอาศัยอยูบ่ นต้ นไม้ ดังนันหอยจึ
้ งกินอาหารได้ ทงพื
ั ้ ชผักต่างๆ เนื ้อสัตว์ ซากพืชและซากสัตว์
และบางพวกเป็ นปรสิต
ลำตัว (Body) แบ่งเป็ น 3 ส่วนใหญ่ๆตามพบเห็นคือ ส่วนหัวประกอบด้ วยปากอยูต่ รงปลาย
สุด มีหนวดและตา ส่วนของเท้ าอยูด่ ้ านล่างของส่วนหัว ใช้ สำหรับเคลื่อนที่และ ส่วนของอวัยวะ
ภายในเป็ นกลุม่ ก้ อนอวัยวะขนาดใหญ่ประกอบด้ วยระบบย่อยอาหารและระบบสืบพันธุ์ เป็ นต้ น ซึง่ จะ
บิดเวียนไปตามเปลือกที่ปกคลุมโดยมีผิวหนังห่อหุ้มอวัยวะเหล่านัน้ แมนเทิลจะมีผิวแนบชิดกับเปลือก
มีช่องว่างระหว่างผนังแมนเทิลกับส่วนหัวเรี ยกว่า mantle cavity ทำให้ สว่ นหัวและส่วนเท้ าสามารถยื่น
ออกและหดเข้ าได้ ถ้ าแบ่งส่วนของลำตัวตามหน้ าที่ของอวัยวะจะแบ่ง เป็ น สองส่วน คือ อวัยวะ
ภายในและแมนเทิล เรี ยกว่า visceropallium เป็ นส่วนที่ทำหน้ าที่ยอ่ ยอาหาร หมุนเวียนเลือด สืบพันธุ์
และขับถ่าย ตลอดถึงผลิตเมือกและขน (cilia) สำหรับพัดโบก ส่วนทีย่ น่ื ออกภายนอกได้ แก่ หัวและเท้ าเป็ น
ส่วนที่สมั ผัสกับสภาพแวดล้ อมภายนอก มีมดั กล้ ามเนื ้อขนาดใหญ่ สำหรับเคลื่อนที่และกินอาหาร รวม
ทังมี
้ เซลล์ขนทำหน้ าที่รับความรู้สกึ และมีเซลล์ผลิตเมือก
การสมมาตร (Symmetry) ลำตัว หอยส่ว นกลุม่ ก้ อ นอวัย วะภายในมีก ารบิด เวีย นไปตาม
เปลือกนันมี ้ สมมาตรแบบ Asymmetry ส่วนหัวและเท้ าสมมาตรแบบ Bilateral symmetry
เปลือก (Shell) โครงสร้ างของเปลือกประกอบด้ วยชันนอกเป็้ น periostracum ด้ านนอกสุด
เป็ นชันสารอิ
้ นทรี ย์ ชันในเป็
้ นชันแคลเซี
้ ่ยม (Watabe, 1988) รูปร่าง ของเปลือกถูกกำหนดโดยสัดส่วน
ของความสูงกับความกว้าง ถ้ าเปลือกแบนความกว้ างจะมากกว่าความสูง เปลือกจะมีรูปร่างสูงความสูง
จะมากกว่าความกว้ าง เปลือกทรงกลมความสูงกับความกว้ างจะเท่ากัน ส่วนผิวนอกเปลือกอาจมีผิว
เรี ยบ มันเงา หรื อมีรวดลายชัดเจน (Signor, 1983)
ฝาปิ ด (Operculum) เป็ นแผ่นแบน ทำหน้ าที่เปิ ดปิ ดของปากเปลือกเพื่อให้ สว่ นหัวและเท้ ายื่น
ออกและการไหลของน้ำเข้ าช่องแมนเทิล หอยบกบางชนิดไม่มีฝาปิ ด หอยจะพัฒนาปากของเปลือก
เป็ น fold, ridges, callus และ tubercle เพื่อให้ ปากแคบลงป้องกันแมลงผู้ลา่ รวมทังมี ้ การผลิตเมือกมา
ปิ ดปาก หรื อผลิตเป็ น Epiphragm เพื่อลดการสูญเสียน้ำ
การเคลื่อนที่ (Locomotion) หอยเคลื่อนที่ไปข้ างหน้ าด้ วยการหดตัวของกล้ ามเนื ้อตามความ
ยาวจากสั้นเท้ ามาด้ านหน้ า ส่วนการเคลื่อนที่ในทิศตรงข้ ามจะเป็ นการถอยหลัง หอยจะเคลื่อนที่ไป
ทางซ้ ายมือหรื อขวา กล้ ามเนื ้อด้ านนันก็ ้ จะหดตัวครึ่งหนึง่ ของความยาวแผ่น เท้ า ความเร็ วในการ
เคลื่อน ที่ขึ ้นกับการหดตัวของกล้ ามเนื ้อและความสูงของคลื่น (Miller, 1974)
อัตราการเคลื่อนที่สมั พันธ์ก บั เปลือกหอย ถ้ าเปลือกหอยอยูแ่ นวเดียวกับการเคลื่อ นที่จ ะ
เคลื่อน ที่ได้ เร็ว ยังขึ ้นกับความลาดเอียงและจำนวนเกลียวของเปลือกหอยโดยหอยที่มีเกลียวต่ำจะ
เคลื่อนที่เร็วกว่าเกลียวสูง
การเคลื่อนที่โดยขน ความเร็วการเคลื่อนที่สงู สุด 1.9 มิลลิเมตรต่อวินาที (Audesirk and
Audesirk, 1985) ความเร็วการเคลื่อนที่ด้วยขนจะเร็ วกว่า 2-3 เท่าของการเคลื่อนที่แบบหดกล้ ามเนื ้อ
แต่การเคลื่อนที่ด้วยขนมีข้อจำกัด คือ จะต้ องเป็ นหอยขนาดเล็ก เพราะง่ายต่อการใช้ ขนใต้ ฝ่าเท้ าได้ ดี
ไม่สามารถเคลื่อนกลับหลังได้ และไม่เหมาะสมสำหรับหอยขนาดใหญ่
ระบบประสาท (Nervous system) ระบบประสาทส่วนกลางประกอบด้ วยปมประสาท 5 ค ู่
ได้ แก่ Cerebral ganglion หล่อเลี ้ยงบริ เวณหัว เช่น หนวด ตา buccal ganglion หล่อเลี ้ยงบริ เวณ
ช่อ งปาก Oesophageal ganglion หล่อ เลี ้ยงบริ เ วณแมนเทิล Plural ganglion หล่อ เลี ้ยงอวัย วะ
ภายใน และ Pedal ganglion หล่อ เลี ้ยงบริ เ วณเท้ า และมีป มประสาทที่ไ ม่เ ป็ น คูค่ ือ visceral
ganglion จะมีการเชื่อมต่อประสานกันทัง้ 2 ข้ าง
การรับความรู้สกึ และการตอบสนอง (Sensory Receptor and Responses) อวัยวะรับความ
รู้สกึ ได้ แก่ ตา หนวด อวัยวะรับกลิ่น (Osphradium) และปุ่ มที่แมนเทิล รับรู้สารเคมี โดยที่ตาและปุ่ ม
บางชนิดทำหน้ าที่รับรู้แสงและ neuroepithelial cell หรื อปลายประสาทอิสระทำหน้ าที่รับรู้เกี่ยวกับ
อาหาร
ช่องแมนเทิล อวัยวะที่สำคัญที่สดุ อวัยวะหนึง่ ของหอยฝาเดียว ในการดำเนินชีวติ โดยผนัง
แมนเทิลนันทำหน้
้ าที่ผลิตเปลือกห่อหุ้มอวัยวะภายใน และมีรูปร่างคล้ ายกระโปรง จึงมีช่องว่าระหว่าง
แมนเทิลกับลำตัวทางด้ านหน้ า จนถึงด้ านหลังที่มีการบิดของลำตัว เป็ นช่องที่สว่ นหัวและเท้ าหดเข้ า
ภายในได้ จึงประกอบด้ วยอวัยวะหายใจ (gill) หัวใจและไตรวมทังท่ ้ อขับถ่ายของเสียของทางเดิน
อาหารและท่ออวัยวะสืบพันธุ์ (gonoduct)
อวัย วะหายใจ (gill) เป็ นแถวยาว อยูต่ ิดด้ านซ้ ายของผนัง ช่อ งแมนเทิล โดยมีริว้ ของ gill
เรี ยงเป็ นแถวอยู่จำ นวนมาก น้ำจะเข้ าทางด้ านซ้ ายของช่องแมนเทิลผ่านริว้ gill แล้ วผ่านออกด้ าน
ขวาของหัว หอยน้ำจืดจะมีทงั ้ gill และปอดแยกกันสามารถหายใจได้ ทงั ้ 2 ทาง จึงสามารถอาศัย
อยูใ่ นแหล่งน้ำจืดได้ แม้ จะมีออกซิเจนต่ำ ส่วนพวกหอยบก (Pulmonate) มีปอดช่วยหายใจ
การไหลเวียนเลือด (Circulation) หัวใจจะปั๊ มเลือดจากห้ องด้ านล่าง (Ventricle) ไปด้ านหน้ า
และด้ านหลังของหลอดเลือด การไหลย้ อนกลับของเลือดถูกป้องกันโดยลิ ้น (Valve) เลือดจากส่วนหัว
และเท้ าจะไหลกลับโดยการปั๊ มของ Cephalopedal Sinus เลือดที่ไปเลี ้ยงอวัยวะภายในจะไหลกลับ
โดยการปั๊ มของ Visceral sinus และเลือดที่ไปเลี ้ยงอวัยวะหายใจและไตจะกลับทาง Subrenal sinus
ก่อนกลับเข้ าสูช่ ่องหัวใจทางเส้ นเลือดดำ
การขับถ่าย (Excretion) น้ำเสียในเลือดจะถูกกรองทีไ่ ตเข้ าสูช่ อ่ งหัวใจทาง renopericardial canal
มาเปิ ดออกทีช่ อ่ งว่างแมนเทิลโดยตรง หรือโดยทางท่อไตมาเปิ ดออกทีข่ ้ างท่อถ่ายอุจระ
การกินและการย่ อย (Feeding and Digestion) ฟั น (radular) เป็ นอวัยวะรวบรวมเป็ น
แผ่น ฟั น อยูบ่ นปุ่ มกล้ า มเนื ้อเรี ย กว่า Odontophore ที่เ รี ย งต วั ซับ ซ้ อ นซึง่ โครงสร้ า ง radular,
Odontophor และ muscle เรี ยกว่า buccal mass เป็ นประโยชน์ในพวกหอยกินพืช พวกปากเจาะ
ปากดูด พวกกินซาก พวกที่เป็ นปรสิตและผู้ลา่ ด้ วยการดูด เจาะ บด ฉีก เสียบ อาหารเหล่านันเข้ ้ าสู่
ระบบการย่อยอาหาร (Fretter and Graham, 1994)
การย่ อย (Digestion) หอยมีการย่อยทังภายในและภายนอกเซลล์
้ ต่อมผลิตน้ำย่อยมีกระบวน
การซับซ้ อน มีการผลิต follicle เล็กๆ ขึ ้นมา ระหว่างผลิตเอนไซม์ การดูดซึมอาหารก็เกิด มีการสะสม
อาหารขึ ้นพร้ อมๆกัน และอาหารที่ไม่ถกู ย่อย ถูกส่งโดยขนพัดโบกเข้ ากระเพราะอาหาร เซลล์ในต่อม
ผลิตน้ำย่อยอาจจะทำหน้ าที่สะสมแคลเซียม เอนไซม์ที่ผลิต ได้ แก่ ไลเปส โปรทีเอส และคาร์ โบไฮเดรส
อาหาร ที่ไ ม่ถ กู ย่อ ยจากกระเพราะอาหาร ถูก ส่ง เข้ า ต่อ มผลิต น้ำย่อ ยและถูก ย่อ ยในเซลล์ โดย
วิธีPhagocytic cell ขณะที่มีการย่อยอาหารทังภายในและภายนอกเซลล์
้ หอยยังมีการกินอาหารเป็ นพัก

การสืบพันธุ์ (Reproduction) หอยพวก Prosobranchs มีเพศแยกและมีหนึง่ gonad อยูท่ ี่
เกลียวสุดท้ ายใกล้ กบั ต่อมผลิตน้ำย่อย ในเพศผู้ ท่อนำอสุจิจาก testis มายัง prostate gland มา
เปิ ดใกล้ กบั Pallial vas deferene เข้ าสู่ Penis ซี่งอยูด่ ้ านขวาของหัว ในเพศเมียจะซับซ้ อนกว่าเพศ
ผู้ ท่อนำไข่จากรังไข่เข้ าสูช่ ่องแมนเทิลจะมี ทอ่ ของ albumin เปิ ดด้ านหลังของท่อ capsule gland
บริ เวณเท้ ามีตอ่ ม Pedal gland ผลิตเมือกสำหรับให้ ไข่ติดกับวัสดุที่วาง และในเพศเมียยังมีอวัยวะ
พิเศษ คือ ท่อรับอสุจิและถุงเก็บอสุจิ ( seminal receptacle) อสุจิจากเพศผู้เข้ าสูเ่ พศเมียอาจใช้ เวลา
เพียง 2-3 นาที จนถึงหลายชัว่ โมง
ดังที่ได้ กล่าวมาแล้ ว หอยฝาเดียวเป็ นกลุม่ ที่มีขนาดใหญ่อาศัยได้ ทงในน้ำและบนบกรวมทั
ั้ งอยู
้ ่
บนต้ นไม้ จึงมีแหล่งอาหารหลากหลายทังพื ้ ชน้ำ พืชผัก ผลไม้ บางชนิดเป็ นผู้ลา่ สัตว์อื่นเป็ น
อาหาร บางชนิดกินซากพืชซากสัตว์ โดยมีหอยหลายชนิดที่กดั กินพืชอาหารของมนุษย์ และเป็ น
พาหะนำโรคจนกลายเป็ นศัตรูของมนุษย์ และการเคลื่อนที่เป็ นระยะไกล ๆ จึงทำความเสียหายให้ กบั
พืชอาหารเป็ นอย่างมาก ดังนันจึ ้ งต้ องมีการศึกษาชีววิทยาและการป้องกัน กำจัดหอยเหล่านันอย่
้ างมี
ประสิทธิภาพโดยในที่นี ้จะกล่าวถึงหอยที่เป็ นศัตรูพืชเศรษฐกิจที่ สำคัญ 9 ชนิด ได้ แก่
1. หอยเชอรี่ Golden apple snail; Pomacea canaliculata Lamark
2. หอยทากยักษ์ Giant Africa; Acantina fulica
3. หอยดักดาน Siam snail ; Cryptozona siamensis
4. หอยสาริ กา Glass snail ; Sarika sp.
5. หอยเจดีย์ใหญ่ Prosopeas walkeri
6. หอยเจดีย์เล็ก Lamellaxis gracilis
7. หอยอำพัน Amber snail, Succinea sp.
8. หอยเลขหนึง่ Ovachlamys fulgens
9. หอยคล้ ายทาก Parmarion siamensis

หอยเชอรี่ ( Golden apple snail )


หอยเชอรี่ เป็ นหอยฝาเดียวน้ำจืด บางครัง้ เรี ยกว่าหอยโข่งอเมริ กาใต้ หอยโข่งเหลืองเป็ นต้ น จำแนกได้
ดังนี ้
Phylum Mollusca
Class Gastropoda
Subclass Prosobranchia
Order Mesogastropoda
Family Ampullaridae
Scientific name Pomacea canaliculata Lamark
ภาพที่ 1 หอยเชอรี่
ถิ่นกำเนิด ทวีปอเมริกาใต้
การกระจาย หอยเชอรี่ แพร่ระบาดในหลายประเทศแถบเอเชีย ซึง่ เป็ นแหล่งปลูกข้ าว เช่น ญี่ปนุ่
ฟิ ลิปปิ นส์ เวียดนาม ลาว กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไต้ หวัน จีน เป็ นต้ น สำหรับในประเทศไทย
พบว่าได้ มีการนำหอยเข้ ามาจากประเทศญี่ปนุ่ ไต้ หวัน และฟิ ลิปินส์ ในปี 2525-2526 เพื่อมาทำฟาร์ ม
เลี ้ยงส่งไปขายเป็ นอาหารที่ญี่ปนุ่ และขายเป็ นหอยสวยงาม ตามร้ านตู้ปลาในสวนจตุจกั ร เมื่อหาตลาด
ไม่ได้ ประกอบกับหอยเจริ ญเติบโต และสืบพันธุ์ได้ รวดเร็ วจึงมีปริ มาณมาก และแพร่กระจายไปสูแ่ หล่ง
น้ำ ลำคลองต่อไปเรื่ อยๆ ในที่สดุ แพร่กระจายไปสูน่ าข้ าวในท้ องที่รอบๆกรุงเทพมหานคร การแพร่
กระจายครัง้ แรกในนาข้ าว พบในตอนต้ นปี 2530 ในนาทดลองข้ าวสถานีบางเขน กรมวิชาการเกษตร
สอบถามได้ วา่ นิสิตภาควิชาเพาะเลี ้ยงสัตว์น้ำ คณะประมงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำมาปล่อย
ในคลองส่งน้ำของสถานีทดลอง หลังจากปล่อยประมาณหนึง่ สัปดาห์ (เป็ นแม่หอยทากขนาดใหญ่
ทังหมด)
้ ได้ เริ่มวางไข่ เป็ นกลุม่ ไข่ติดอยูต่ ามผนังคอนกรี ตของท่อส่งน้ำเป็ นจำนวนมาก จนกระทัง่ ปี
2531 ประชากรหอย ได้ เพิ่มจำนวนมากขึ ้น จนเกิดการระบาดทำลายข้ าวเสียหายทังแปลงทดลองของ ้
สถานีทงั ้ 100 ไร่
พฤษภาคม 2531 ได้ รับรายงานว่าระบาดเป็ นครัง้ แรก ในนาข้ าวราษฎรท้ องที่ หมู่ 7 ตำบลศรี ษะ
จระเข้ น้อย อำเภอ บางพลี จังหวัด สมุทรปราการ ตามมาด้ วย อำเภอ กระทุม่ แบน จังหวัด
สมุทรสาคร ประกอบกับปี 2538 ได้ เกิดอุทกภัยเกือบทัว่ ประเทศ ครอบคลุมพื ้นที่ 65 จังหวัด จึง
พยากรณ์ได้ วา่ หอยเชอรี่ แพร่กระจายไปตามแหล่งน้ำ ลำธาร คลอง แม่น้ำ ต่าง ๆ จนทัว่ ประเทศใน
เวลาอันสัน้ เนื่องจากสภาพภูมิอากาศในประเทศไทย มีความเหมะสมต่อการดำรงชีวิตของหอยเป็ น
อย่างมาก อีกประการหนึง่ เป็ นเพราะในระยะแรกประชาชนส่วนใหญ่ ไม่ร้ ูจกั หอยเชอรี่ และอันตราย
ของมัน จึงมักนำไปเลี ้ยงเพื่อดูเล่น บ้ าง เป็ นอาหารมนุษย์ บ้าง จึงเป็ นตัวการที่สำคัญที่ทำให้ หอยขยาย
แพร่พนั ธุ์ออกไป กว้ างขวางและรวดเร็วยิ่งขึ ้นกว่าการแพร่ ไปตามธรรมชาติ
ลักษณะทั่วไป หอยเชอรี่ เป็ นหอยฝาเดียว รูปร่าง เป็ นท่อม้ วนขดเป็ นเกลียว ค่อนข้ างกลม (tubular
coiled round) ขนาดใหญ่ เปลือกเรี ยบ ฝาบิดเป็ นแผ่นบาง แข็ง สีน้ำตาล เพิ่มขนาดได้ ตามการเจริ ญ
เติบโตของเปลือก ลำตัวหอยจะอยูภ่ ายในตัวเปลือก แล้ ว มีปิดฝาเพื่อป้องกันอันตราย กล่าวคือมีรูปร่าง
และ ขนาดคล้ ายกับหอยโข่ง ซึง่ เป็ นหอยประจำถิ่น ของประเทศไทยนัน่ เอง แต่เปลือกบางกว่า และมี
ร่อง(suture) ลึกกว่า ส่งผลให้ สว่ นยอด(apex) ของเปลือกสูงขึ ้น ฝาปิ ดของหอยโข่ง จะหนา แข็งมากม ี
แคลเซียมประกอบมีสีขาว มีมกุ เคลือบมันวาว การหมุน เกลียวของเปลือกเป็ นเกลียววนขวา (dextral)
เมื่อหอยโตเต็มที่ มีขนาดความสูง เฉลี่ยประมาณ 80 มม. หนัก 112 กรัม หอยเชอรี่ ขนาดใหญ่ที่สดุ ที่เคย
พบ สูง 94.5 มม. หนัก 170 กรัม
หอยเคลื่อนที่โดยการใช้ เท้ า ซึง่ มีลกั ษณะเป็นแผ่น กล้ ามเนื ้อหนา ยืดยาว หรื อแผ่กว้ าง ใช้ คลาน
เคลื่อนที่เมื่อถูกรบกวน หรื อจะหดส่วนหัวและเท้ า เข้ าไปในเปลือก หอยสามารถคลานไปตามพื ้นดินใต้
น้ำ ตามวัตถุตา่ ง ๆ เช่น ขอนไม้ ต้ นพืชที่อยูใ่ นน้ำ คลานขึ ้นลงในแนวดิ่ง โดยใช้ กล้ ามเนื ้อแผ่นเท้ ายึด
เกาะหรื อปล่อยตัว ลอยไปตามกระแสน้ำ หรื อลอยขึ ้นสูผ่ วิ น้ำ โดยเฉพาะหอยขนาดเล็ก เช่น ลูกหอย
จะหงายแผ่นเท้ าขึ ้นสัมผัสกับผิวน้ำแล้ ว ลอยตัว ว่ายน้ำ ด้ วยการหดตัวของกล้ ามเนื ้อพร้ อมกับการ
พัดโบก ของขน(cilia) ที่อยูต่ ามขอบของแผ่นเท้ า นอกจากนี ้เท้ าหอยยังแข็งแรง สามารถ ขุดดินโคลน
แล้ วฝั งตัวลงใต้ ดินเพื่อจำศีล ส่วนหัวจะมีปากอยูด่ ้ านหน้ าสุด ขอบปากจะมีกล้ ามเนื ้อยื่นออก คล้ าย
หนวดสัน้ ๆ อยูด่ ้ านข้ างปากทังสองข้
้ าง ทำหน้ าที่รับรู้ สำหรับกินอาหาร เหนือปากมีหนวดเส้ นเล็ก ๆ
( tentacle) ยาวข้ างละหนึง่ เส้ นยืดหดได้ ทำหน้ าที่รับรู้ความรู้สกึ และสารเคมีเป็นต้ น แต่ละข้ างมีตา
อยูบ่ นก้ านตา (stalk) สัน้ ๆ มีหน้ าที่รับรู้แสง ด้ านหน้ าส่วนบนจะเป็ นแมนเทิล และช่องแมนเทิล
แมนเทิล มีลกั ษณะเป็ นแผนเนื ้อเยื่อคล้ ายกระโปรงปกคลุมส่วนหัวของหอย ทำให้ เกิดช่องว่าง ระหว่าง
ผนังแมนเทิลกับผนังส่วนหัว เรี ยกว่า ช่องแมนเทิล ส่วนด้ านล่างของแมนเทิลมีขอบติดกับเปลือกหอย
ทำหน้ าที่ผลิตเปลือกหอย ภายในช่องแมนเทิลด้ านซ้ ายพบแมนเทิลที่เปลี่ยนแปลงไปเป็ นอวัยวะใช้
สำหรับในการหายใจ เรี ยกว่า เหงือก (gill) จะมีลกั ษณะเป็ นริว้ เหงือก เรี ยงเป็นแถว ตามยาวจากด้ าน
หน้ าไปหลัง เมื่อหอยอยูใ่ นน้ำจะทำหน้ าที่แลกเปลี่ยนออกซิเจนจากน้ำ โดยน้ำจะไหลเข้ าช่องแมนเทิล
ทางด้ านซ้ ายผ่านริ ว้ เหงือก แล้ วไหลออกทางด้ านขวาของตัวหอย ถัดจากส่วนของเหงือกจะมีอวัยวะ
คล้ายปอด ทำหน้ าที่ช่วยหายใจโดยใช้ อากาศ ทำให้ สามารถอยูบ่ นบกได้ บ้าง เช่น ขณะที่หอยขึ ้นมา
วางไข่ นอกจากนี ้ ยังมีแผ่นเนื ้อเยื่อ ที่สามารถโค้ งม้ วน เป็ นหลอดและยืดหด ได้ ทำหน้ าที่เป็นหลอด
ดูดอากาศ (respiratory siphon) ท่อนี ้ขณะยืด ออกจะยืดยาวได้ ถึง 10 ซม.หรื อมากกว่าขึ ้นกับขนาด
ของตัวหอย จึงสามารถอาศัยอยูใ่ นน้ำที่มีออกซิเจนละลายอยู่น้อยได้ ส่วนอวัยวะภายในจะอยูร่ วมกัน
เป็ นกลุม่ แล้ วหมุนเวียนไปตามเกลียวเปลือก ได้ แก่ ระบบทางเดินอาหาร เช่นกระเพาะอาหาร ลำไส้
และต่อมผลิตน้ำย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ เป็ นต้ น
ภาพที่ 2 ลักษณะภายนอกของหอยเชอรี่ ( ที่มา ชมพูนทุ , 2542 )
การกินและการย่ อยอาหาร หอยเชอรี่ กินอาหารโดยใช้ สว่ นต่างๆคือใช้ หนวดแกว่งไปมาเพื่อหาอาหาร
จากนันใช้้ แผ่นเท้ าโอบยึดอาหารไว้ แล้ วใช้ หวั ที่มีปากก้ มมุดเข้ าไปกัดกินอาหารนันด้
้ วยขากรรไกร (jaw)
ที่อยูภ่ ายในช่องปาก แล้ วส่งอาหารเข้ าช่องปาก มัดกล้ ามเนื ้อรอบๆ ในช่องปากจะทำงาน ให้ สว่ นฟั น
(radula) ซึง่ เป็ นแผ่นบางที่มีฟันหยักคล้ ายซี่เลื่อย เรี ยงเป็ นแถว มีรูปร่างและขนาดแตกต่างกันระหว่างซี่
ฟั นตรงกลางกับซี่ที่อยู่ริม และมีจำนวนแตกต่างกันในหอยแต่ละชนิดจึงใช้ จำแนกชนิดหอยได้ อาหาร
เมื่อถูกบดละเอียดแล้ ว จะถูกดันเข้ าหลอดอาหาร ขณะที่อยูใ่ นช่องปาก และหลอดอาหารจะมีน ้ำย่อย
จากต่อม salivary ผลิตน้ำย่อย มาช่วยย่อยอาหารด้ วย เมื่ออาหารเข้ ากระเพาะอาหาร จะมีการย่อย
โดยต่อมผลิตน้ำย่อย มีลกั ษณะเป็ นท่อปลายตันขนาดใหญ่สีดำ ขดเวียนไปตามปลายยอดของเปลือก
ภายในท่อ มีเซลล์ ผลิตน้ำย่อย และเซลล์รูปปิ รามิด สีดำ คาดว่าเป็ นเซลล์สะสมแคลเซียม เซลล์ผลิตน้ำ
ย่อยจะผลิตไลเปส โปรทีนเอส และคาร์ โบไฮเดรส ย่อยอาหารภายในกระเพาะอาหารซึง่ มีกล้ ามเนื ้อที่
แข็งแรง คอยบีบให้ อาหารละเอียด อาหารที่ยอ่ ยแล้ วจะถูกดูดซึม ส่วนที่ยงั ไม่ยอ่ ย จะไหลผ่านตาม
ช่องผนังกระเพาะเข้ าสู่ลำไส้ เล็กมีการย่อยและดูดซึม ต่อในลำไส้ เล็ก กากอาหารที่เหลือจะถูกขับถ่าย
ออกมาทางช่องเปิ ดทวารหนัก ภายในช่องแมนเทิล ที่อยูท่ างด้ านขวาใกล้ กบั ส่วนหัว
การขับถ่ าย ของเสียที่ปนอยูใ่ นเลือด จากหัวใจจะถูกส่งไปยังไต ทำหน้ าที่กรอง ของเสียออกจากเลือด
แล้ ว น้ำของเสีย(urine) จะถูกส่งไปตามท่อภายในไต ไปออกทางช่องเปิ ดของอวัยวะสืบพันธุ์ ที่อยูท่ าง
ด้ านขวาภายในช่องแมนเทิล ซึง่ อยูต่ ิดกับทวารหนัก
การสืบพันธุ์ มีเพศแยก เพศผู้และเพศเมีย สังเกตได้ จากความนูนมากน้ อยของ แผ่นฝาปิ ด ถ้ านูนมาก
เป็ นเพศผู้ ถ้ าเว้ าหรื อตรงจะเป็ นเพศเมีย หอยเพศผู้จะมีอวัยวะผลิตเซลล์สืบพันธุ์เรี ยกว ่าอัณฑะ (testis )
อยูต่ ิดกับต่อมผลิตน้ำย่อย จะติดแนบขนานกันไปจนสุดปลายก้ นหอย ภายในอัณฑะมี ท่อผลิตอสุจิ
ขดไปขดมาเมื่อผลิตอสุจิ จนสมบูรณ์แล้ วส่งเข้ าช่องว่างภา ยในท่อรอการขับเคลื่อนออกไป ตัวเต็มวัย
ของหอยที่พร้ อมที่จะจับคูผ่ สมพันธุ์จะมีอายุประมาณ 3 เดือน น้ำหนักตัวประมาณ 55 กรัม ขนาด
ความสูง ประมาณ 2.5 มม. หอยจะจับคูเ่ พื่อถ่ายอสุจิ จากเพศผู้ให้ กบั เพศเมียเก็บไว้ เท่านัน้ โดย
เพศผู้ จะใช้ แผ่นฝาปิ ดแนบไปกับเปลือกด้ านบนของเพศเมีย แล้ วสอดอวัยวะเพศ เข้ าไปยึดเกาะกับ
เพศเมีย พร้ อมทังสอดท่้ อ นำอสุจิเข้ า ไปในช่องสืบพันธุ์ ของเพศเมีย อสุจิจะถูกปล่อยจากเพศผู้
เข้ าไปเก็บภายในถุงเก็บอสุจิ ของเพศเมีย (seminal receptacle)ช่วงเวลาการจับคู่เพื่อถ่ายอสุจิจะใช้
เวลา นานหลายชัว่ โมง หลังจากนันไข่ ้ ในรังไข่จะมีการพัฒนาจนถึงระยะไข่สกุ แล้ วมีการตกไข่ ไหลมา
ตามท่อนำไข่ มาสะสมที่มดลูกในช่วงนี ้ใช้ เวลาประมาณ 7 วันหลังจากหอยจับคูก่ นั จากนันหอยเพศ ้
เมียจะคลานขึ ้นเหนือน้ำเวลากลางคืน หรื ออากาศมืดครึม้ เพื่อวางไข่ โดยมดลูกจะบีบตัวปล่อยไข่
ออกมาที่ละฟอง สองฟอง ในขณะเดียวกัน ถุงเก็บอสุจิก็บีบตัวปลดปล่อยอสุจิออกมาผสมกับไข่ ขณะที่
ไข่เคลื่อนไปบนหลัง แผ่น เท้ า แล้ วไปวางเรี ยงกัน เป็ นกลุม่ ก้ อนอย่างสวยงามตรงปลายแผ่นเท้ าโดย
กล้ ามเนื ้อตรงปลายแผ่นเท้ าจะทำหน้ าที่รับน้ำหนัก เพื่อจัดเรี ยงไข่ที่เคลื่อนออกมาเป็ นกลุม่ ก้ อนตามวัสดุ
ที่ยดึ เกาะอยู่ หอยจะใช้ เวลาวางไข่อยูห่ ลายชัว่ โมง ไข่ที่ออกมาใหม่ๆ จะอ่อนนิ่มและมีเมือก สีแดงส้ ม
หลังจากนันไข่้ จะเริ่ มแข็ง เป็ นเปลือกห่อหุ้ม เนื่องจากมีแคลเซียมปะปนอยู่ เปลือกไข่จะเปลี่ยนเป็ นสี
ขาว กลุม่ ไข่ที่มีขนาด 2-3 นิ ้ว จะมีปริมาณไข่ 388 - 3000 ฟอง ขึ ้นกับขนาดของหอย ไข่หลังจากถูก
ผสมแล้ วตัวอ่อนภาย ในไข่จะพัฒนาเป็ นลูกหอย ใช้ เวลาประมาณ 10 วัน ลูกหอยจะฟั กออกจากไข่
แล้ วตกลงในน้ำ ลูกหอยที่ฟักออกมาใหม่จะมีขนาดประมาณ 1 มม. โดยลูกหอยหลังจากฟั กออกมา 7
วันแรกจะยังไม่กินอาหารเนื่องจากยังมีไข่แดงเหลืออยู่ หลังจากนัน้ จะกิน ตะไคร่น้ำ สาหร่าย เป็ นอาหาร
อัตราการฟั กของลูกหอยประมาณ 77 - 91% ที่อณ ุ หภูมิประมาณ 34 องศาเซลเซียส หอยสามารถ
วางไข่ได้ ตลอดทังปี
้ ตามอายุขยั 2-3 ปี
การจำศีล (estivation) ปกติแล้ วหอยเชอรี่ จะอาศัยอยูใ่ นน้ำตลอดเวลา แต่เมื่อน้ำแห้ งก็จะคลานหาที่
หลบซ่อนตามกอหญ้ าหรื อคลานมุดตัว และหมกตัวอยูใ่ นโคลนใต้ ดิน ความลึกขึ ้นกับความอ่อนตัวของ
โคลน แล้ วทำการปิ ดแผ่นฝาให้ สนิทซึง่ เป็ นการทำตัวให้ รอดพ้ นจากความแห้ งแล้ ง ในประเทศญี่ปนุ่ แม้
น้ำแห้ งดินแตกระแหง เป็ นเวลา 3-4 เดือน หอยก็ยงั รอดชีวิตอยูไ่ ด้ มากกว่า 80 % ถ้ าหลบซ่อนอยู่
ตามกอหญ้ าก็จะรอดชีวิตเพียง 40 % และหอยสามารถมีชีวิตอยูร่ อดนาน ๆ ตลอดฤดูหนาวที่มีหิมะ
ปกคลุมได้ จากการทดลอง โดยนำหอยใส่ต้ อู บที่อุ ณหภูมิ 0 , - 3 และ -6 องศาเซลเซียส พบว่า หอย
ตายภายใน 25, 3 และ 1 วัน ตามลำดับ (oya et al,1987) ในประเทศไทยเคยพบหอยขนาดใหญ่
59.2 - 63.4 มม. สามารถจำศีลอยูใ่ นดินที่แห้ งได้ นาน โดยพบว่าเวลาผ่านไป 8 เดือน หอยยังมีชีวิต
รอดถึง 50% และเมื่อหอยจำศีลนาน 16 เดือน หอยก็ยงั มีชีวิตรอดอีกประมาณ 10% (ปราสาททอง
และชมพูนทุ , 2542) ดังนันจึ ้ งเป็ นที่แน่ชดั ว่าหอยเชอรี่ จะสามารถจำศีลอยูใ่ นพื ้นที่นา ตลอดฤดูแล้ ง
ในบ้ านเราช่วงระยะเวลา 5-6 เดือนได้
การเป็ นพาหะนำโรค เนื่องจากหอยเชอรี่ อยูใ่ นวงค์เดียวกันกับหอยโข่ง จึงอาจจะเป็ นเจ้ าบ้ าน
( intermediate host) ของหนอนพยาธิตวั กลม เช่นเดียวกับหอยโข่ง คือ พยาธิ Angiostrongylus
cantonensis Chen ซึง่ ผ่านเข้ าสูค่ นโดยการที่คนกินเนื ้อหอยดิบๆ เช่นพล่า หรื อยำหอย ถ้ าหอยมี
พยาธิอยู่ ตัวอ่อน ของพยาธิเข้ าสูค่ น ถ้ าหากไปอยูท่ ี่สมอง จะมีอาการ เยื่อหุ้มสมองบวมอักเสบ คือ ปวด
ศรี ษะ คลื่นไส้ อาเจีย ร คอแข็ง มีอมั พาตของส่วนใดส่วนหนึง่ ถ้ าพยาธิ เข้ าลูกตาก็ทำ ให้ ตาบอด
นอกจาก นี ้ยังอาจเป็ นเจ้ าบ้ านตัวกลาง ของหนอนพยาธิ Echinostona ilocanum (Gerrison) ซึง่ เป็ น
พยาธิใบไม้ ในลำไส้ เมื่อคนกินหอยที่มีตวั พยาธิเข้ าไปจะเกิดอาการของกระเพาะอาหาร และลำไส้
เช่น ปวดท้ อง ท้ องเดิน เป็ นต้ น
การทำลายข้ าว หอยชอบกัดกินต้ นข้ าวระยะต้ นกล้ า และระยะปั ก ดำใหม่ๆ ไปจนถึงระยะแตกกอเมื่อ
ต้ นข้ าวแตกกอเต็มที่ จะมีความเสียหายน้ อยลง โดยหอยจะกัดกินต้ นข้ าวที่อยูใ่ ต้ น ้ำ ระดับเหนือพื ้น
ดิน 0.5 – 1 นิ ้ว จากนันจะกิ
้ นส่วนของต้ นข้ าวจนหมด หอยขนาด 60.6 มม. กินต้ นข้ าว อายุ 10 วัน
ได้ 26-47 ต้ น ต่อ วัน ( ชมพูน ทุ และคณะ 2532) และเมื่อ ทดลองให้ ห อยเลือ ก กิน ต้ น ข้ า วอายุ
10,20,30,40 และ 50 วัน พร้ อมกัน พบว่าหอยจะเลือกกิน ต้ นข้ าวอายุ 10 วันมากที่สดุ มีรายงาน
ความเสีย หายในนาข้ าว ในระหว่า งปี 2536-2537 จากการสุม่ นับต้ นข้ าว ที่ถกู หอยกัด กิน ในท้ อ งที่
อำเภอ ต่าง ๆ จังหวัด เชียงใหม่ ลำพูน และเพชรบูรณ์ พบว่าที่อำเภอหางดง สันป่ าตอง สารภี และ
แม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ หอยกัด ทำลายข้ าว เสียหาย 22.12, 23.79, 8.82 และ 27.32 % ตามลำดับ
และที่อำเภอเมือง จังหวัด ลำพูน และจังหวัดเพชรบูรณ์ ข้ าวเสียหาย 48.04 และ 12.94 % ตามลำดับ
การป้องกันกำจัด
ขณะเตรี ยมดิน
1. การสูบน้ำจากคลองส่งน้ำ ต้ องใช้ ตาข่ายไนล่อน ตาถี่ปิดปากท่อ หรื อใช้ กนทางน้ำ ั้ เพื่อ
ป้องกันลูกหอยเข้ ามาเพิ่มจำนวนในนา ตาข่ายนี ้ต้ องตังก่ ้ อนเริ่ ม เปิ ดน้ำเข้ านา เพื่อการเตรี ยมดิน การ
กันตาข่
้ ายควรทำเป็ นหลายช่วง ๆ แรกอาจใช้ เฝื อกไม้ ไผ่ปัก ก่อนก็ได้ เพื่อป้ องกัน หอยขนาดใหญ่ และ
เศษขยะหรื อวัชพืช เสียชันหนึ
้ ง่ ช่วงสุดท้ ายจึงใช้ ตาข่ายตาถี่ กันลู ้ กหอย และต้ องดูแลรักษาตาข่ายให้ อยู่
ในสภาพดีตลอดทังฤดู ้ ปลูก
2. เก็บไข่และ ตัวหอยจากนาข้ าวมาทำลายให้ มากที่สดุ การเก็บได้ ผลดีควรเก็บในช่วงเช้ าหรื อ
เย็น ถ้ าหากแสงแดดจัดหอยจะหลบซ่อนอยูใ่ นบริ เวณที่มีน้ำลึกหรื อหมกตัวในดินโคลน ทำให้ หาตัวหอย
ลำบาก ในการเก็บหอยอาจใช้ ใบไม้ เช่น ใบมะละกอ ใบกล้ วย เป็ นต้ นทิ ้งลงน้ำเป็ นเหยื่อล่อให้ หอยเข้ า
มากินและหลบแดด จะทำให้ เก็บง่าย และได้ ปริ มาณมากขึ ้น หรื อ วิธีเก็บหอยให้ สะดวกก็อาจใช้
กระชอนสำหรับช้ อนลูกปลาต่อด้ ามยาวเพื่อช้ อนหอยโดยไม่ต้องก้ มหลัง จากนันรวบรวมหอยที ้ ่เก็บได้ ใส่
กระป๋ อง หรื อถุงพลาสติกนำมาทำลาย อย่ากองทิ ้งไว้ บนคันนาเพราะหอยอาจไม่ตายหรื อตายไม่หมด
ถ้ านำหอยมาเป็ นอาหารต้ องทำให้ สกุ ก่อนบริ โภค เช่น ต้ มในน้ำเดือดอย่างน้ อย 5 นาที ขึ ้นไป การนำไป
ลวกกับน้ำร้ อนจะไม่ทำให้ ตวั อ่อนของหนอนพยาธิตาย
3 ปล่อยฝูงเป็ ด เข้ าช่วยเก็บ กินลูกหอยขนาดเล็ก ที่เหลือจากใช้ แรงคนเก็บด้ วยมือ
4. การไถนาเพื่อเพาะปลูก รถไถ และลูก ทุบขณะคราดนา จะกำจัด หอยไปได้ จำ นวนหนึง่
เนื่องจากทำให้ เปลือกหอยแตก แต่อาจมีปัญหาเรื่ องถูก เปลือกหอยบาดเท้ า เนื่องจากเปลือกบางและ
คมมาก หลังจากเตรี ยมดินเสร็จจะมีการทำร่องน้ำเล็ก ๆ กว้ างประมาณ 1 ฟุต ลึกประมาณ 15 - 10
ซม. เพื่อระบายน้ำออก หอยที่เหลืออยูในนาจะรวมกันในร่องน้ำเล็ก ๆ เหล่านี ้ จึงทำให้ เก็บหอยออก
ได้ ง่าย หรื อใช้ สารฆ่าหอยใส่เฉพาะในร่องน้ำ เป็ นการประหยัด แรงงานและสารกำจัดหอย
ระหว่างปลูกข้ าว
1. เมื่อหว่านข้ าวหรื อ ปั กดำข้ าว แล้ ว หากมีการสูบน้ำ เข้ า นาทุกครัง้ ต้ องใช้ ตาข่ายไนลอน ตาถี่
กัน้ ทางน้ำเข้ า เพื่อป้องกันหอยเข้ ามาเพิ่มในนาอีก
2. ควรปั กไม้ รวกเล็กๆตรงริมคันนา เป็ นระยะทุก 10 เมตร เพื่อชักจูง ให้ หอยออกมาไข่บนหลัก
ไม้ จะสังเกตพบเห็นได้ ชดั เจนและเก็บออกได้ ง่าย
3. หมัน่ ตรวจตราอยูเ่ สมอตามคันนา ต้ นหญ้ าริ มคันนา หลักไม้ ว่ามีไข่หอยหรื อไม่ ถ้ าพบ
ต้ องรี บขูดออกไปทำลาย โดยทุบทิ ้งหรื อเผาไฟ อย่าทิ ้งลงน้ำเพราะไข่จะลอยน้ำและฟั กเป็ นตัวได้
ควรปฏิบตั ิเช่นนี ้ สัปดาห์ละครัง้ เพราะถ้ าทิ ้งไว้ นานกว่า 7 วัน ไข่จะฟั กเป็ นลูกหอยหล่นลงในน้ำได้ อีก
และแม้ วา่ ลูกหอยฟั กออกเป็ นตัวหล่นบนพื ้นดินที่แห้ งก็ตาม หอยก็ยงั มีชีวิตอยูร่ อดได้ นานถึง 1-2
เดือน ถ้ ามีน้ำมาก็จะเจริญเติบโตต่อไปได้ เพราะฉะนันการเก็ ้ บไข่หอยทำลายต้ องให้ แน่ใจว่าทำลาย
จนหมดสิ ้นและเป็ นการกำจัดได้ ทีละมาก ๆ
4. เก็บหอยในแปลงนาทุกสัปดาห์ อาจใช้ กระชอนตาข่ายเดินช้ อนจากบนคันนาเป็ นการช่วยลด
จำนวนประชากรหอย
การใช้ สารเคมี
ควรใช้ เป็ นวิธีสดุ ท้ ายกรณีที่มีการระบาดอย่างหนัก และมีความเสียหายมากเท่านัน้ เพราะสารฆ่า
หอยก็เช่นเดียวกับสารเคมีทวั่ ไป ที่ล้วนเป็ นพิษต่อสภาพแวดล้ อมและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เช่น กุ้ง ปลา
ตลอดจนผู้ใช้ เอง สารที่ใช้ กำจัดหอยเชอรี่ ได้ แก่
นิโคซาไมด์ ชื่อการค้ า ไบลุสไซส์ ชนิดผง 70% มีลกั ษณะเป็ นผงละเอียด หรื อหยาบสีเหลือง
ผสมน้ำคนให้ ละลายดีแล้ วรดด้ วยบัวรดน้ำหรื อตักราดหรื อใส่เครื่ องพ่นในอัตรา 50 กรัมต่อไร่ เมื่อน้ำใน
นาสูงไม่เกิน 5 ซม.
เมทัลดีไฮด์ ชื่อการค้ า เดทมิล ชนิดผง 80% มีลกั ษณะเป็ นผงละเอียด หรื อหยาบสีขาวขุ่น
ผสมน้ำคนให้ ละลายดีแล้ วรดด้ วยบัวรดน้ำหรื อตักราดหรื อใส่เครื่ องพ่นในอัตรา 100 กรัมต่อไร่ เมื่อน้ำ
ในนาสูงไม่เกิน 5 ซม.
กากชา ชื่อการค้ า แซปโปเคียววัน เป็ นเมล็ดชาที่บีบน้ำมันออกแล้ วมีลกั ษณะเป็ นผงละเอียด
หรื อหยาบ มีสารออกฤทธิ์เป็ นซาโปนิน 10% ใช้ หว่านในนาข้ าวอัตรา 2.5-3 กก.ต่อไร่ ที่ระดับน้ำ 5 ซม.
ยังมีสารสกัดจากพืชหลายชนิดที่มีประสิทธิภาพฆ่าหอยได้ เช่น หางไหล มะคำดีควาย สะเดา
เทียนหยด มะไฟนกคุม่ เมล็ดมันแกว ลำโพง เป็ นต้ น
หอยทากยักษ์ (Giant African snail )
เป็ นหอยทากบกที่เป็ นศัตรูพืชขนาดใหญ่ พบกระจายอยูท่ วั่ ไปในเขตร้ อนชื ้น พบอยูป่ ระมาณ 13 สกุล
200 ชนิด มีการจัดจำแนกดังนี ้
Class Gastropoda
Sub class Pulmonata
Order Stylommatophora
Family Achatidae
Scientific Achatina fulica Bowdich , 1922

ภาพที่ 3 หอยทากยักษ์ แอฟริกา

ถิ่นกำเนิด ในทวีป แอฟริ กา


การแพร่ กระจาย หอยทากยักษ์ มีขนาดใหญ่ พบทางภาคตะวัน ออกของทวีป แอฟริ ก า แพร่
กระจายอยูท่ วั่ โลกโดยเฉพาะในเขตร้ อนชื ้น โดยการนำพาของมนุษย์เพื่อใช้ ประกอบเป็ นอาหาร หรื อ
ติดไปกับอุปกรณ์เครื่ องใช้ หรื อพาหนะขนส่งต่างๆ ถูก นำเข้ า Madagascar ประมาณปี 1760 และแพร่
ขยายมาทางภาคตะวันออก โดยปี 1922 ถูกพบในมาเลเซีย ปี 1925 พบในญี่ปนุ่ ปี 1931 พบในฟิ ลิปิ
นส์ พบใน พื ้นที่ของฝรั่งเศสปี 1978 และอเมริ กาปี 1983 สำหรับประเทศไทยนันอาจเข้ ้ ามาตังแต่

สมัยสงครามโลกครัง้ ที่สอง โดยทหารญี่ปนนำเขุ้่ ามาเป็ นอาหารระหว่างทำสงคราม เมื่อสงคราม
สงบลงหอยทากยักษ์ ถกู ปล่อยทิ ้งแล้ วเจริ ญเติบโตขยายพันธุ์ได้ เป็ นอย่างดีในประเทศไทย จึงเกิดการ
แพร่ระบาดในประเทศไทยกลายเป็ นหอยประจำถิ่นอีกชนิดหนึง่
ลักษณะทั่ว ไป เป็ น หอยฝาเดียวรูปร่างเป็ นท่อม้ วนเป็ นเกลียวสูง (tubular coiled higth spiral)
ขนาดใหญ่เปลือกเรี ยบ หนาแข็งแรงมีรวดลาย เป็ นแถบสีน ้ำตาลเข้ มสลับกับสีน้ำตาลอ่อนขนานไป
ตามเกลียวตามความสูงของเปลือก ไม่มีฝาปิ ดแต่จะผลิตแผ่นเมือกเรี ยกว่า epiphragm มาปิ ดปาก
เปลือก เมื่ออยูใ่ นสภาพแห้ งแล้ ง เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำ เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงถึง 10-12 ซม.
เปลือกบิดเวียนขวา ส่วนหัวและเท้ าจะยื่นออกและหดเข้ าเปลือกได้ เมื่อกินอาหารจะใช้ ปากอยูป่ ลาย
สุดทางด้ านล่างของส่วนหัว กัดกินอาหารด้ วยขากรรไกรและใช้ ซี่พนั บดอาหารก่อนส่งเข้ ากระเพาะอาหาร
เพื่อทำการย่อยต่อไป ถัดจากส่วนปากจะมีหนวดสัน้ 1 คู่ ทำหน้ าที่รับรู้การกินอาหารและมีตาอยูบ่ น
ก้ านตา 1 คูท่ ี่ยาวกว่าคูแ่ รก ทังตาและก้
้ านตาหดเข้ าผิวหนังได้ ตามีทำหน้ าที่รับรู้แสง เท้ าเป็ นแผ่น
ขนาดใหญ่ยืดหยุน่ มีเมือก ขณะเคลื่อนที่จะมีการหดตัวของกล้ ามเนื ้อ เปลือกจะถูกยกขึ ้นด้ านบนของ
แผ่นเท้ า ทำให้ เคลื่อนที่ได้ เร็ว ส่วนหัวและเท้ ามีสมมาตรแบบสองข้ างเหมือนกัน ส่วนอวัยวะภายใน
อยูภ่ ายในเปลือกสมมาตรแบบ Asymmetry แมนเทิลจะแนบชิดติดกับเปลือก เพื่อป้องกันความชื ้น
และอันตรายให้ กบั อวัยวะภายใน ที่แผ่นแมนเทิลด้ านขวาจะมีรูเปิ ดปิ ดเล็กๆ ทำหน้ าที่ให้ อากาศ
เข้ าไปในช่องแมนเทิล สำหรับหายใจที่ปอด
วงจรชีวิต หอยทากยักษ์ เป็ นกระเทยมีสองเพศในตัวเดียวกัน แต่ไม่สามารถผสมภายในตัวมันเองได้
ใน ธรรมชาติหอยจะมีการจับคูห่ ลายครัง้ จึงไม่พบเห็นว่ามีการเก็บอสุจิไว้ แต่ถ้าสภาพไม่เหมาะสม
หอยจะเก็บอสุจิไว้ และสามารถวางไข่ได้ ในหลายเดือนถัดมาเมื่อสภาวะเหมาะสม เมื่อหอยโตเต็มที่
จะจับคูผ่ สมพันธุ์ในเวลากลางคืน มีอากาศชื ้น โดยเพศผู้จะสอดอวัยวะเพศมีลกั ษณะเป็ นท่อสีขาว
อยูท่ างด้ านขวาของส่วนหัวใกล้ ๆ กับก้ านตา เข้ าไปยังหอยอีกตัวหนึง่ มีสถานะเป็ นเพศเมีย เพื่อรับ
อสุจิ ซึง่ ช่องเปิ ดนันอยู
้ ด่ ้ านข้ างใกล้ ก้านตาเหมือนกัน ใช้ เวลาจับคูถ่ ่ายอสุจินานหลายชัว่ โมง อาจ
ถึง 6-8 ชัว่ โมง ไข่ผลิตจากรังไข่ จะถูกขับเคลื่อนมาผสมกับอสุจิ แล้ วมาเก็บสะสมที่มดลูก โดยไข่ที่
ถูกผสมแล้ วจะได้ รับอาหารจากต่อม อัลบูมิน และรับแคลเซี่ยมสำหรับสร้ างเปลือกไข่ หลังจากนันก็ ้
จะวางไข่ออกทางช่องเปิ ดด้ านขวาของลำตัววางเป็ นกลุม่ ก้ อนใต้ พื ้นดินที่ชื ้นลึกประมาณ 2-3 ซม. มี
ปริ มาณไข่มากถึง 200-300 ฟอง ในแต่ละปี วางไข่ 2-3 ครัง้ หรื อมากถึง 6 ครัง้ ขึ ้นอยูก่ บั สภาพ
อากาศ หลังจากไข่ถกู วางแล้ ว ตัวอ่อนจะเจริ ญเติบโตภายในไข่ เป็ นเวลา 8-14 วัน ก็จะเริ่ มฟั กเป็ น
ลูกหอย ลูกหอยหลังฟั กจะกินเปลือกไข่และบางครัง้ อาจกิน ทำลายไข่ข้างๆ ด้ วย ลูกหอยที่ฟักออกมา
ใหม่ๆ เปลือกจะค่อน ข้ างกลม เมื่อเจริ ญขึ ้นมาจะเพิ่มเกลียวเปลือกสูงขึ ้นกลายเป็ น เปลือกหอยที่มี
เกลียวสูง สำหรับ 1-2 เดือนแรก ลูกหอยจะกินต้นพืชเล็กๆและยอดอ่อนของพืช โดยจะออกไปหา
อาหารแล้ วหลบซ่อนพักที่ตา่ ง ๆ จะไม่กลับมาจนโตเต็มวัย มันสามารถเคลื่อนที่ได้ ถึง 50 เมตรต่อคืน
ลูกหอยจะโตเต็มวัยเมื่ออายุ 5-8 เดือน เมื่อหอยมีอายุแก่ขึ ้น ประสิทธิภาพการสืบพันธุ์จะลดลง หอย
มีอายุโดยเฉลี่ยถึง 5 ปี โดยมีการกินอาหารน้ อยและการผสมพันธุ์ต่ำ
การจำศีล ช่วงอากาศไม่เหมาะสมหอยจะเข้ าสูส่ ภาวะการฟั กตัว คือ aestivation เมื่ออากาศแห้ ง
แล้ งหอยจะหลบซ่อนตัวใต้ โคนต้ นไม้ ตามง่ามและซอกของต้ นไม้ ซอกหิน วัสดุสิ่งก่อสร้ าง หรื ออาจ
ฝั งตัวใต้ ดินลึกหลายเซนติเมตร มีแผ่นผนัง epiphragm ปิ ดปากเปลือก เมื่อมีความชื ้นหรื อฝน
ตกหนักแผ่นผนังนี ้จะแตกออก เพื่อออกมาหากินและผสมพันธุ์ตอ่ ไป
การทำลายพืช หอยทำลายพืชหลายชนิด จำพวกพืชผักจำนวนมาก และไม้ พมุ่ เตี ้ย หอยสามารถกิน
พืชต่างๆ แม้ กระทัง่ ต้ นหอมที่มีกลิ่นฉุน สับปะรดที่เหนียวมีเส้ นใยมาก หอยมีความสามารถกัดกินและ
ทำลายได้ สงู ถึงแม้ จะมีปริมาณหอยน้ อยก็มีผลต่อทางเศรษฐกิจทันที เนื่องจากหอยกินได้ มากทังต้ ้ น
พืชและผลไม้ แม้ กระทัง่ card board และกระดาษสามารถทำลายได้ ถึง 75% จึงเป็ นหอยที่ทำความ
เสียหายต่อพืชและมนุษย์
หอยกินมูลของคนและสัตว์ ซากที่เน่าและแหล่งขยะ ซึง่ จะเป็ นปั จจัยที่ ทำให้ เกิดความเสี่ยงต่อ
การระบาดของโรคในชุมชน ยังเป็ นพาหะพยาธิ Angiostrongylus cantonesis จากหนูมาสูค่ น
ทำให้ ตายได้ และยังนำโรคแบคทีเรี ย Aeromonas hydrophilia ยังเป็ นพาหะนำโรคพืช เช่น
Phytophthora palmivora ของมะพร้ าว พริ กไทยดำ ถัว่ และกล้ วย เป็ นต้ น
หอยยังทำให้ เกิดความสกปรก ทำความรำคาญ และเป็ นที่เพาะพันธุ์ของแมลง ซึง่ มีผลต่อ
การรำคาญและเป็ นปั จจัยที่สำคัญต่อสุขภาพของมนุษย์

หอยดักดาน และหอยสาริกา ( Glass snails )


เป็ นหอยทากบกศัตรูพืช ผัก ผลไม้ และไม้ ดอก เป็ นหอยประจำถิ่นของประเทศไทย จัดจำแนกได้ ดงั นี ้
Class Gastropoda
Sub class Pulmonata
Order Sigmurethra
Family Helicarionidae
Scientific name Sarika sp. หอยสาริ กา
Cryptozona siamensis หอยดักดาน

หอยดักดาน หอยสาริ กา
ภาพที่ 4 หอยดักดานและหอยสาริ กา

ลักษณะทั่วไป เป็ นหอยฝาเดียว รูปร่างเป็ นท่อม้ วนขดแบน (Tubular coiled flat ) ขนาดปานกลาง
เปลือกเรี ยบในหอยสาริ กา เปลือกบางและแบน และเป็ นมันวาวกว่าหอยดักดาน มีสีน้ำตาลเข้ ม ไม่มี
ฝาปิ ด แต่จะผลิตแผนเมือก เรี ยกว่า epiphragm มาปิ ดปากเปลือก เมื่ออยูใ่ นสภาพแห้ งแล้ ง เพื่อ
ป้ องกันการสูญเสีย น้ำ เหมือนหอยทากยัก ษ์ ขนาดหอยสาริ กาประมาณ 18 - 20 มม. ขนาดหอย
ดักดานประมาณ 25 -35 มม. เปลือกบิดเวียนขวา ส่วนหัวและเท้ าจะยื่นออกจากเปลือก เพื่อกิน
อาหารและเคลื่อนที่ ปากอยูป่ ลายสุดลงมาทางด้ านล่างของส่วนหัว ถัดจากส่วนปากจะมีหนวดสัน้ 1 คู่
ทำหน้ าที่รับรู้การกินอาหารและมีตาอยูบ่ นก้ านตา 1 คู่ ทังตาและก้
้ านตาหดเข้ าผิวหนังได้ ทำหน้ าที่
รับรู้แสง เท้ าเป็ นแผ่นค่อนข้ างแคบแต่ยาวยืดหยุน่ มีเมือก ขณะเคลื่อนที่จะมีการหดตัวของกล้ ามเนื ้อ
เปลือกจะถูกยกขึ ้นด้ านบนของแผ่นเท้ า ทำให้ เคลื่อนที่ได้ เร็ ว ส่วนหัวและเท้ ามีสมมาตรแบบสองข้ าง
เหมือนกัน ส่วนอวัยวะภายในอยูภ่ ายในเปลือกสมมาตรแบบ Asymmetry แมนเทิลจะแนบชิดติดกับ
เปลือก เพื่อป้องกันความชื ้นและอันตรายให้ กบั อวัยวะภายใน ที่แผ่นแมนเทิลด้ านขวาจะมีรูเปิ ดปิ ด
เล็ก ๆ ทำหน้ าที่ให้ อากาศเข้ าไปในช่องแมนเทิลสำหรับหายใจที่ปอด
วงจรชีวิต ทังหอยสาริ
้ กาและหอยดักดานเป็ นหอยที่มีสองเพศในตัวเดียวกัน แต่ผสมภายในตัวเองไม่
ได้ เมื่อหอยโตเต็มที่จะจับคูก่ นั เวลากลางคืนทีมีอากาศชื ้น โดยจะยื่นอวัยวะเพศที่อยูส่ ว่ นหัวด้ าน
ขวาถัดจากก้ านของตัวที่ถ่ายอสุจิจะสอดอวัยวะสืบพันธุ์ เข้ าช่องสืบพันธุ์ของอีกตัวที่ ทำ หน้ าที่เป็ นตัว
เมีย ที่มีไข่ตกลงมาตามท่อนำไข่แล้ วผสมกับอสุจิ ไข่หลังจากถูกผสมแล้ วจะเคลื่อนมาตามท่อนำไข่มา
รวมกันที่มดลูก การวางไข่จะวางใต้ เศษใบไม้ หรื อใต้ ดินลึก 1-2 ซม. ที่มีความชื ้นไข่จะเป็ นฟองเดี่ยวแต่
อยูร่ วมเป็ นกลุม่ เปลือกไข่ขาวค่อนข้ างใสอ่อนนุ่มมีแคลเซี่ยมประกอบเล็กน้ อย กลุม่ ไข่ของสาริ กามี
ประมาณ 30 - 50 ฟอง และของหอยดักดานมีประมาณ 50 - 70 ฟอง ตัวอ่อนในไข่จะเจริ ญพัฒนา
ประมาณ 10 วัน จึงฟั กเป็ นลูกหอยมีเปลือกน้ำตาลอ่อนขนาด 2 มม. ลูกหอยจะกินต้นอ่อนและยอด
อ่อนของพืช โดยออกหากินและพักหลบซ่อนตัวเวลากลางวันอาจจะไม่ซ้ำที่เดิม ลูกหอยดักดานเมื่อ
โตขึ ้นเกลียวเปลือกส่วนยอดจะนูนขึ ้น ส่วนหอยสาริ กาจะแบนราบเหมือนเดิม
การทำลายพืช หอยทังสองชนิ ้ ดจะกัดกินพืชต่าง ๆ เช่น ผักบุ้งจีน คะน้ า ผักกาด กวางตุ้ง ตระกูล
แตง โดยจะกินทุกส่วนของพืชตังแต่ ้ ระยะกล้ า ลำต้ นและใบจนได้ รับความเสียหาย บางครัง้ อาจต้ อง
ปลูกใหม่ทงแปลง
ั้ และยังกัดกินผลไม้ เช่น มะละกอสุก มะม่วง กระท้ อน ลำไย ลิ ้นจี่ เป็ นต้ น
เนื่องจากหอยทังสองชนิ
้ ดเคลื่อนที่ได้ เร็ว และขึ ้นต้ นไม้ ได้ เก่ง

หอยเจดีย์ใหญ่ และหอยเจดีย์เล็ก
เป็ นหอยทากบกศัตรูพืชที่มีขนาดเล็ก อาศัยอยูต่ ามพื ้นดิน ตามกองวัสดุพืช จัด จำแนกดังนี ้
Class Gastropoda
Sub class Pulmonata
Order Stylomemotophora
Family Subulinidae
Scientific name Prosopeas walkeri หอยเจดีย์ใหญ่
Lamellaxic gracilis หอยเจดีย์เล็ก

หอยเจดีย์ใหญ่ หอยเจดีย์เล็ก
ภาพที่ 5 หอยเจดีย์ใหญ่ และหอยเจดีย์เล็ก
ลักษณะทั่วไป เป็ นหอยฝาเดียว รูปร่างเป็ นท่อม้ วนเป็ นเกลียวสูง (Tubular high spiral) ขนาดเล็ก
เปลือกเรี ยบหนาแข็งสีขาว ยอดเปลือกของหอยเจดีย์เล็กจะแหลมกว่า ไม่มีฝาปิ ด เมื่อโตเต็มที่หอย
เจดีย์ใหญ่มีความสูงประมาณ 15 - 25 มม. หอยเจดีย์เล็กมีความสูงประมาณ 9 -10 มม. เปลือกเวียน
ขวา ส่วนหัวและเท้ าจะยื่นออกจากเปลือกเพื่อกินอาหารและเคลื่อนที่ ปากอยูป่ ลายสุดลงมาทาง ด้ าน
ล่างของส่วนหัว ถัดจากส่วนปากจะมีหนวดสัน้ 1 คู่ ทำหน้ าที่รับรู้การกินอาหารและมีตาอยูบ่ นก้ าน
ตา 1 คู่ ทังตาและก้
้ านตาหดเข้ าผิวหนังได้ ทำ หน้ าที่รับรู้แสง เท้ าเป็ นแผ่น แบบแคบยาวเล็กน้ อย
ยืดหยุน่ มีเมือก ขณะเคลื่อนที่จะเคลื่อนที่ช้า เนื่องจากมีแผ่นเท้ าเล็กและมีเปลือกทรงสูง ส่วนหัว
และเท้ ามีสมมาตรแบบสองข้ างเหมือนกัน ส่วนอวัยวะภายในจะอยูภ่ ายในเปลือกสมมาตรแบบ
Asymmetry แมนเทิลจะแนบชิดติดกับเปลือก เพื่อป้องกันความชื ้นและอันตรายให้ กบั อวัยวะภายใน
ที่แผ่นแมนเทิลด้ านขวาจะมีรูเปิ ดปิ ดเล็กๆ ทำหน้ าที่ให้ อากาศเข้ าไปในช่องแมนเทิล สำหรับหายใจที่
ปอด
วงจรชีวิต ทังหอยเจดี
้ ย์ใหญ่และเจดีย์เล็กมีสองเพศในตัวเดียวกัน แต่ผสมภายในตัวไม่ได้ เมื่อโต
เต็มวัยจะจับคูก่ นั เวลากลางคืนมีอากาศชื ้น โดยตัวที่ถ่ายอสุจิจะสอดอวัยวะสืบพันธุ์เข้ าช่องสืบพันธุ์
ของอีกตัวที่ทำหน้ าที่เป็ นเพศเมีย อสุจิอาจจะถูกเก็บไว้ ในถุงเก็บอสุจิของเพศเมีย เมื่อไข่ตกจากรังไข่
จะเคลื่อนมาตามท่อนำไข่มาทีละฟองอย่างช้ าๆเพื่อผสมกับอสุจิ ไข่ที่ถกู ผสมกับอสุจิแล้ วจะค่อย ๆ
เคลื่อนมาตามท่อนำไข่ที่ไม่ขยายตัวเพื่อสะสมไข่ โดยไข่ที่ถกู ผสมแล้ ว จะเพิ่มขนาดขึ ้นพร้ อมทังมี ้ การ
พัฒนาของตัวอ่อนภายในเปลือกไข่ที่แข็งมีแคลเซียมประกอบอยู่ในมดลูกซึง่ มองเห็นจากภายนอก
เปลือกหอยได้ เมื่อไข่เคลื่อนที่มาถึงช่องเปิ ดของอวัยวะสืบพันธุ์อยูท่ างขวาของลำตัว ไข่จะถูกปล่อย
ออกมาอยูใ่ ต้ เศษกองวัสดุพืช หรื อมอส ทีละฟองหลังจาก วางไข่ 3 - 5 วัน ไข่จะฟั กเป็ นลูกหอยขนาด
เล็ก มีเปลือกค่อนข้ างกลม กินมอส ตะไคร่น้ำ ต้ นอ่อนและยอดพืช เป็ นอาหาร เมื่อโตขึ ้นยอดเกลียว
เปลือกจะสูงขึ ้น จะกินรากอ่อน ลำต้ น ใบพืชเป็ นอาหาร
การทำลายพืช หอยทังสองชนิ ้ ดอาศัยตามกองเศษวัสดุการเกษตร ปุ๋ยหมัก พื ้นดินที่ช่มุ ชื ้น โคนต้ นไม้
จึงกัดกินรากพืช ต้ นอ่อนของผักต่างๆ ลำต้ น ใบผัก บางครัง้ ระบาดจนต้ องทำแปลงหว่านเมล็ดพันธุ์
ใหม่ ทำความเสียหายกับเกษตรกรอย่างมาก หรื อกัดกินรากพืชของไม้ ดอก เช่น กล้ วยไม้ ทำให้
ชะงักการเจริญเติบโตแคระแกร็นได้ บางครัง้ อาจติดไปกับวัสดุปลูกกล้ วยไม้ ที่สง่ ออกไปขายต่าง
ประเทศ เมื่อถูกเจ้ าหน้ าที่ดา่ นกักกันพืชตรวจพบจะถูกเผาทันที

หอยอำพัน (Amber snail)


เป็ นหอยทากบกศัตรูกล้ วยไม้ ที่มีขนาดเล็กอาศัยอยูต่ ามพื ้นดิน หรื อวัสดุปลูกพืชจัด จำแนกดังนี ้
Class Gastropoda
Sub class Pulmonata
Order Stylommatophora
Family Succineidae
Scientific name Succinea sp.
ภาพที่ 6 หอยอำพัน

ลักษณะทั่วไป เป็ นหอยฝาเดียวรูปร่างเป็ นท่อม้ วนเป็ นเกลียวสูงเล็กน้ อย (Tubular coiled spiral)


ขนาดเล็กเปลือกเรี ยบบางใสสีน ้ำตาลอ่อน ไม่มีฝาปิ ดแต่จะผลิตแผ่นเมือกเรี ยกว่า epiphragm มา
ปิ ดปากเปลือก เมื่ออยูใ่ นสภาพแห้ งแล้ ง เพื่อป้ องกันการสูญเสียน้ำ เมื่อหอยโตเต็มที่มีความสูง 8 -9
มม. เปลือกบิดเวียนขวา ส่วนหัวและเท้ าจะยื่นออกจากเปลือก เพื่อกินอาหารและเคลื่อนที่ ปากอยู่
ปลายสุดลงมาทางด้ านล่างของส่วนหัว ถัดจากส่วนปากจะมีหนวดสัน้ 1 คู่ ทำหน้ าที่รับรู้การกิน
อาหารและมีตาอยูบ่ นก้ านตา 1 คู่ ทังตาและก้
้ านตาหดเข้ าผิวหนังได้ ทำหน้ าที่รับรู้แสง เท้ าเป็ น
แผ่นแบบค่อนข้ างใหญ่ยืดหยุน่ มีเมือก ขณะเคลื่อนที่จะมีการหดตัวของกล้ ามเนื ้อเท้ า เปลือกจะถูกยก
ขึ ้นอยูบ่ นแผ่นเท้ า ที่แผ่กว้ างออกเล็กน้ อยจึงมีทางเคลื่อนที่คอ่ นข้ างช้ า ส่วนหัวและเท้ ามีสมมาตร
แบบสองข้ างเหมือนกัน ส่วนอวัยวะภายในจะอยูภ่ ายในเปลือกสมมาตรแบบ Asymmetry แมนเทิล
จะแนบชิดติดกับเปลือก เพื่อป้องกันความชื ้นและอันตรายให้ กบั อวัยวะภายใน ที่แผ่นแมนเทิลด้ านข
วาจะมีรูเปิ ดปิ ดเล็ก ๆ ทำหน้ าที่ให้ อากาศเข้ าไปในช่องแมนเทิล สำหรับหายใจที่ปอด
วงจรชีวิต มีสองเพศในตัวเดียวกันแต่ผสมในตัวเองไม่ได้ เมื่อโตเต็มวัยจะจับคูก่ นั ทุกเวลาทังกลาง ้
วันและกลางคืนที่มีความชื ้น โดยตัวที่ถ่ายอสุจิจะสอดอวัยวะสืบพันธุ์เข้ าช่องสืบพันธุ์ของอีกตัวที่ ทำ
หน้ าที่เป็ นเพศเมีย อสุจิจะถูกเก็บไว้ ในในถุงเก็บอสุจิของเพศเมีย เมื่อไข่ตกจากรังไข่จะมาเก็บสะสม
อยูท่ ี่มดลูก แล้ วจะมีการขับอสุจิมาผสมกับไข่ก่อนที่จะวางไข่ ไข่จะอยูร่ วมกันเป็ นกลุม่ ก้ อนประมาณ
10 - 15 ฟอง อยูต่ ามซอกดิน วัสดุปลูกกล้ วยไม้ ไข่จะใสเป็ นวุ้นไม่มีแคลเซี่ยมประกอบหลังจากนัน้
ลูกหอยจะพัฒนาขึ ้นใช้ เวลาประมาณ 7-10 วัน จึงฟั กเป็ นลูกหอย ลูกหอยจะกินมอส ตะไคร่น้ำ ยอด
อ่อนพืชป็ นอาหาร หอยจะเคลื่อนที่ช้า ๆ ออกหากินอาหารตลอดเวลาทังกลางวั ้ นและกลางคืน ใช้ เวลา
ประมาณ 50 - 60 วัน จึงเจริญเป็ นตัวเต็มวัย
การทำลายพืช หอยอำพันเป็ นศัตรูกล้ วยไม้ จะหากินตลอดทังกลางวั ้ นลางคืน โดยจะกินรากอ่อน
ตาหน่ออ่อน ยอดอ่อน ใบและดอกของกล้ วยไม้ ทำให้ กล้ วยไม้ ชะงักการเจริ ญเติบโตและทำให้ ดอก
เสียหายขายไม่ได้ ราคาบางครัง้ อาจติดไปกับดอกกล้ วยไม้ สง่ ออกไปต่างประเทศโดยเฉพาะ ญี่ปนุ่ กลุม่
สหภาพยุโรป อเมริกา ถ้ าตรวจพบหอยติดไปกับดอกกล้ วยไม้ จะถูกเผาทำลายทันที จึงทำให้ เสียทัง้
เงินและชื่อเสียงประเทศ

หอยเลขหนึ่ง
เป็ นหอยทากบกศัตรูกล้ วยไม้ มีขนาดเล็กมาก อาศัยอยูต่ ามพื ้นดิน หรื อวัสดุปลูก จำแนกได้ ดงั นี ้
Class Gastropoda
Sub class Pulmonata
Order Helicarionoidae
Family Helicarionidae
Scientific name Ovachlamys fulgens

ภาพที่ 7 หอยเลขหนึง่

ลักษณะทั่วไป เป็ นหอยฝาเดียวรูปร่างเป็ นท่อม้ วนกลมแบนขนาดเล็ก ((Tubular coiled flat) เปลือก


หนาแข็งสีน้ำตาลดำ ไม่มีฝาปิ ดแต่จะผลิตแผ่นเมือกเรี ยกว่า epiphragm มาปิ ดปากเปลือก เมื่ออยูใ่ น
สภาพแห้ งแล้ ง เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำ เมื่อโตเต็มที่จะมีขนาดกว้ าง 4 - 5 มม. เปลือกเวียนขวา
ส่วนหัวและเท้ าจะยื่นออกจากเปลือก เพื่อกินอาหารและเคลื่อนที่ ปากอยูป่ ลายสุดลงมาทางด้ านล่าง
ของส่วนหัว ถัดจากส่วนปากจะมีหนวดสัน้ 1 คู่ ทำหน้ าที่รับรู้การกินอาหารและมีตาอยูบ่ นก้ านตา 1
คู่ ทังตาและก้
้ านตาหดเข้ าผิวหนังได้ ทำหน้ าที่รับรู้แสง เท้ าเป็ นแผ่นแบบแคบยืดยาวและยืดหยุน่ มี
เมือก ขณะเคลื่อนที่จะมีการหดตัวของกล้ ามเนื ้อ เปลือกจะถูกยกขึ ้นด้ านบนของแผ่นเท้ าทำให้ เคลื่อนที่
ได้ เร็ ว ส่วนหัวและเท้ ามีสมมาตรแบบสองข้ างเหมือนกัน ส่วนอวัยวะภายในจะอยูภ่ ายในเปลือก
สมมาตรแบบ Asymmetry แมนเทิลจะแนบชิดติดกับเปลือกเพื่อป้ องกันความชื ้นและอันตรายให้ กบั
อวัยวะภายใน ที่แผ่นแมนเทิล ด้ านขวาจะมีรูเปิ ดปิ ดเล็กๆ ทำหน้ าที่ให้ อากาศเข้ าไปในช่องแมนเทิล
สำหรับหายใจที่ปอด
วงจรชีวิต มีสองเพศในตัวเดียวกันแต่ผสมภายในตัวเองไม่ได้ เมื่อโตเต็มที่จะจับคูก่ นั เวลากลางคืน
โดยตัวที่ถา่ ยอสุจิจะสอดอวัยวะสืบพันธุ์เข้ าช่องสืบพันธุ์ของอีกตัวหนึง่ ที่ ทำหน้ าที่เป็ นตัวเมีย อสุจิอาจ
ถูกเก็บไว้ ในถุงเก็บอสุจิของตัวเมีย เมื่อไข่ตกจากรังไข่จะเก็บสะสมอยูท่ ี่มดลูกแล้ วขับอสุจิมาผสมกับ
ไข่ก่อนที่จะวางไข่ ไข่เดี่ยวอยูเ่ ป็ นกลุม่ ๆ ละ 3 - 5 ฟอง อยูต่ ามซอกดิน วัสดุปลูกกล้ วยไม้ เปลือกไข่สี
ขาวขุ่นนิ่มมีแคลเซี่ยมประกอบเล็กน้ อย หลังจากนันลู ้ กหอยจะพัฒนาใช้ เวลาประมาณ 10 วัน จึงฟั ก
เป็ นลูกหอย จะกินมอส ตะไคร่น้ำ รากพืชอ่อนเป็ นอาหาร
การทำลายพืช หอยเลขหนึง่ เป็ นศัตรูกล้ วยไม้ จะหากินเวลากลางคืน โดยกัดกินราก หน่ออ่อน
ใบและดอกกล้ วยไม้ ทำให้ กล้ วยไม้ ชะงักการเจริ ญเติบโต ถ้ ากัดทำลายดอกจะทำให้ ดอกเสียหายขาย
ไม่ได้ ราคา บางครัง้ อาจติดไปกับต้ นหรื อดอกกล้ วยไม้ ที่สง่ ขายต่างประเทศ โดยเฉพาะญี่ปนุ่ อเมริ กา
กลุม่ สหภาพยุโ รป ถ้ า ตรวจพบหอยติดไปจะถูก เผาทำลายทัน ที จึง ทำให้ เสีย ทังเงิ ้ น และชื่อ เสีย ง
ประเทศ

หอยคล้ ายทาก
เป็ นหอยคล้ ายทากบกศัตรูกล้ วยไม้ และพืชผัก ผลไม้ หลายชนิด จัด จำแนกดังนี ้
Class Gastropoda
Sub class Pulmonata
Order Sigmurethra
Family Helicarionidae
Scientific name Parmarion siamensis

ภาพที่ 8 หอยคล้ ายทาก

ลักษณะทั่วไป เป็ นหอยฝาเดียวรูปร่างเป็ นท่อยาว (Logitudinal) ลำตัวอ่อนนุ่มสีเทาดำ มีเมือกมาก


เปลือกลดรูปเป็ นแผ่นเล็กๆ ติดอยูด่ ้ านบนของลำตัว ขนาดลำตัวยาว 30-40 มม. แมนเทิลมีสีเข้ ม
เกือบดำหุ้มรอบๆ เปลือก อยูต่ รงกลางลำตัว ส่วนหัวมีปากอยูต่ ่ำลงมาด้ านล่างตรงปลายสุด มีหนวด
หนึง่ คู่ อยูเ่ หนือปาก ขนาดเล็กและสันสามารถหดเข้
้ าผิวหนังได้ ถัดขึ ้นด้ านบนมีตาหนึง่ คูอ่ ยูบ่ นก้ าน
ตาที่ยาวและใหญ่กว่าหนวดคูแ่ รกหดเข้ าใต้ ผวิ หนังได้ เวลาเคลื่อนที่จะทิ ้งเมือกไว้ เป็ นทาง
วงจรชีวิต มีสองเพศในตัวเดียวกันแต่ผสมภายในตัวไม่ได้ เมื่อโตเต็มที่จะจับคูก่ นั เวลากลางคืน
โดยตัวที่ถ่ายอสุจิจะสอดอวัยวะสืบพันธุ์เข้ าช่องสืบพันธุ์ของอีกตัวหนึง่ ที่ ทำหน้ าที่เป็ นตัวเมีย อสุจิอาจ
ถูกเก็บไว้ ในถุงเก็บอสุจิของตัวเมีย เมื่อไข่ตกจากรังไข่จะเก็บสะสมอยูท่ ี่มดลูก แล้ วขับอสุจิมาเก็บ
สะสมกับไข่ก่อนที่จะวางไข่ ไข่เดี่ยวอยูเ่ ป็ นกลุม่ ๆ ละ 30 - 50 ฟอง อยูต่ ามซอกดิน วัสดุปลูกกล้ วยไม้
เปลือกไข่สีขาวขุ่นนิ่มมีแคลเซี่ยมประกอบเล็กน้ อย หลังจากนันลู ้ กหอยจะพัฒนาใช้ เวลา 10 -15 วัน
จึงฟั กเป็ นลูกหอย หากินมอส ตะไคร่น้ำ และยอดพืชเป็ นอาหาร
การทำลาย หอยคล้ ายทาก จะออกหากินเวลากลางคืน โดยกัดกินลำต้ น ใบ ดอกกล้ วยไม้ และพืช
ผักจนเสียหายและการที่มีเมือกมากจึงเป็ นพาหะนำโรคพืชทำให้ พืชที่ถกู กัดเป็ นแผลเน่าตาย

การป้องกันกำจัดหอยทาก
การป้องกัน
1. ในสวนที่ไม่เคยมีหอยทากมาก่อนต้ องหมัน่ ตรวจตรา โดยเฉพาะในฤดูฝนจะพบเห็นหอย
ทากได้ ง่าย เมื่อนำต้ นพันธุ์เช่น กล้ วยไม้ เข้ ามาในสวนควรแยกไว้ ตากหากให้ แน่ใจว่าไม่มีหอยทากหรื อ
ไข่หอยติดมา
2. เมื่อมีการเปลี่ยนเครื่ องปลูกใหม่ ควรชุบกาบมะพร้ าวหรื อเครื่ องปลูกในสารกำจัดหอย
หรื อควรอบหรื อตากแห้ งกาบมะพร้ าวเสียก่อนนำมาปลูก เพราะอาจมีไข่หอยหรื อลูกหอยติดมาด้ วย

การกำจัด
หากเริ่มพบหอยทากหรื อพบหอยชนิดตัวใหญ่ เช่น หอยสาริ กา หอยดักดานหรื อหอยทากยักษ์
แอฟริ กา ให้ เก็บออกหรื อวางเหยื่อพิษสำเร็ จรูปเมทัลดีไฮด์ มีลกั ษณะเป็ นเม็ดโดยวางเป็ นจุดประมาณ
ปลายช้ อนชาตามที่พบหอยทาก หรื อในตอนเย็นวันที่ฝนไม่ตก เพื่อให้ เหยื่อพิษมีประสิทธิภาพอยูไ่ ด้
นานหลายวัน
ชมพูนทุ และคณะ (2542) ได้ ทดสอบและแนะนำว่า ถ้ าพบหอยทากชนิดเล็กได้ แก่หอยทาก
ซัคซิเนียระบาดมากทัว่ ทังสวน
้ การใช้ เหยื่อพิษแบบเม็ดหว่านทัว่ ทังสวน
้ เพื่อให้ หอยทากเดินมาพบ
และกินหรื อสัมผัสโดยการเดินผ่านจะเป็ นการสิ ้นเปลืองและยากลำบากต่อเกษตรกร จึงแนะนำให้ ใช้
สารฆ่าหอยชนิดซึง่ ต่างอยูใ่ นรูปผง นำมาละลายน้ำแล้ วพ่นด้ วยเครื่ องพ่นชนิดใช้ แรงดันหรื อเครื่ องสูบ
โยกสะพายหลัง เดินพ่นไปตามทางเดินระหว่างโต๊ ะวางกล้ วยไม้ ทังนี ้ ้เพื่อให้ สารฆ่าหอยสัมผัสกับ
ตัวหอยโดยตรง และหากละอองตกค้ างอยูบ่ นมอสหรื อตะไคร่น ้ำตามพื ้นดินก็สามารถทำให้ หอยที่เดิน
เข้ ามาในบริเวณนันได้
้ รับสารเพิ่มไปด้ วย ใช้ สารกำจัดหอยพ่นโดยเลือกใช้ ชนิดใดชนิดหนึง่ ดังต่อไปนี ้
เมทัลดีไฮด์ 80% เป็ นผงสีขาวผสมน้ำในอัตรา 40 กรัม/น้ำ 20 ลิตร
นิโคลซาไมด์ 70 % เป็ นผงสีเหลืองผสมน้ำอัตรา 40 กรัม/น้ำ 20 ลิตร
ควรพ่นสารฆ่าหอยในตอนเช้ าตรู่ เนื่องจากจะยังมีความชื ้นสัมพัทธ์สงู หรื อพ่นน้ำเปล่าให้ ทวั่
สวนก่อนการพ่นสารประมาณ 15 นาที การพ่นสารควรพ่นตามพื ้นบริ เวณทางเดินระหว่างโต๊ ะวาง
กล้ วยไม้ เพื่อชักนำให้ หอยทากออกจากที่หลบซ่อน ขณะหอยทากเคลื่อนที่ ส่วนกล้ ามเนื ้อส่วนเท้ า
และส่วนหัวที่นิ่มจะสัมผัสสารฆ่าหอยเต็มที่
ถ้ าหากพบหอยหมายเลขหนึง่ หรื อหอยทากซัคซิเนียเริ่ มขึ ้นตามเครื่ องปลูก จำเป็ นต้ องพ่นสาร
ตรงเฉพาะลำต้ นส่วนกลางลงมาตลอดจนถึงส่วนของกระถาง หรื อเครื่ องปลูก รวมทังทางเดิ ้ นระหว่าง
โต๊ ะ เนื่องจากหอยทากมักหลบอาศัยในที่ร่มและชุ่มชื ้น

เอกสารอ้ างอิง
ชมพูนทุ จรรยาเพศ , ทักษิน อาชวาคม และทรงทับ แก้ วตา . 2532. การทดสอบอัตราการกินข้ าว
ของหอยเชอรี่ . รายงานผลการค้ นคว้ าและวิจยั กลุม่ งานสัตววิทยาการเกษตร กองกีฏและ
สัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร จตุจกั ร กรุงเทพฯ. หน้ า 115-125.
ชมพูนทุ จรรยาเพศ , เสริมศักดิ์ หงศ์นาค , กรแก้ ว เสือสะอาด และยุวลักษณ์ ขอประเสริ ฐ. 2537 .
สำรวจการแพร่กระจายและความเสียหายจากหอยเชอรี่ รายงานผลการค้ นคว้ าวิจยั . กลุม่
งาน สัตววิทยาการเกษตร กองกีฏและสัตววิทยาการเกษตร กองกีฏและสัตววิทยา กรม
วิชาการเกษตร จตุจกั ร กรุงเทพฯ. หน้ า 98 – 108.
ชมพูนทุ จรรยาเพศ , ปราสาททอง พรหมเกิด , ปิ ยาณี หนูกาฬ และธีรเดช เจริ ญรักษ์ 2542. การ
ป้องกันกำจัดหอยทากศัตรูกล้ วยไม้ . รายงานผลการวิจยั กลุม่ งานสัตววิทยาการเกษตร
กองฏีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร จตุจกั ร กรุงเทพฯ. หน้ า 244
ปราสาททอง พรหมเกิด และชมพูนทุ จรรยาเพศ . 2542. ผลกระทบของความแห้ งแล้ งต่อเนื ้อเยื่อหอย
เชอรี่ . การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 พัทยา ชลบุรี หน้ า 46-54.
Audesirk , T. and G. Audesirk , 1985 . Behavior of gastropod molluses , pp. 1-99 . In
A.O.D. Willon (ed.) The Mollusca . Vol.8. Neurobiology and Behavior Partv I.
Academic Press , New York.
Fretter , V. and A. Graham, 1994. British Prosobranch Molluses . Their function anatomy
and ecology . RaY Society London 820 p.
Miller , S. L. 1974 . Adaptive design of locomotion and foot form in prosobranch
gastropods. J. EXP. Marine Bio. And Eco. 14: 99 – 156
Oya , S.Y. Hirai and Y. Miyahara . 1987 . Overwintering of the Apple snail Pomacea
caniculata in North Kyushu . Jpn. Soc. Apple . Entomol. Zool. 31 (3) : 206 – 212
Signor , P. W. 1983. Burrowing and the functional significance of ratchet sculpture in
turitellifrom gastropoda J. Paleontol. 58 : 210 - 216
Watabe , N. 1988. Shell structure . pp. 691-704 In. E.R. Trueman and M.R. Clarke (eds) The
Mollusca . Vol. 11 . Form and Function. Academic Press . New York .

You might also like