You are on page 1of 3

ราเชนทร์ เหมือนชอบ. (2550). นักดนตรี : ชีวิตบนวิถีการพัฒนา. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.(การวิจัยและพัฒนาเมือง).

กรุงเทพฯ : บัณฑิ
ตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. คณะกรรมการควบคุม : รองศาสตราจารย์ ดร.วาทินี บุญชะลักษี,
รองศาสตราจารย์สุมาลี ไชยศุภรากุล

การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงของอาชีพนักดนตรี เพื่อเปรียบเทียบชีวิตนักดนตรี
ก่อนที่ดนตรีจะเข้าสู่ความเป็นธุรกิจกับหลังจากที่เข้าสู่ความเป็นธุรกิจแล้ว โดยให้ปี พ.ศ. 2525 เป็นจุดเปลี่ยน
ระหว่างความเป็นนักดนตรีรุ่นเก่ากับนักดนตรีรุ่นใหม่ และเพื่อศึกษาการปรับตัวของนักดนตรีภายใต้ระบบธุรกิจ
โดยมีกรอบแนวคิดว่า 1) อาชีพนักดนตรีนั้นขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโตของธุรกิจบันเทิงและสภาพของเมือง 2) การ
พัฒนาทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง ด้านสังคมเศรษฐกิจ ทาให้วัฒนธรรมและวิถีการดารงชีวิตของนักดนตรี
เปลี่ยนไปด้วย 3) หลังจากที่ดนตรีก้าวเข้าสู่ความเป็นธุรกิจแล้วทาให้นักดนตรีต้องมีการปรับตัว เป็นการศึกษาเชิง
คุณภาพ โดยวิธีการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม และสัมภาษณ์ผู้ประกอบอาชีพ
นักดนตรีในเขตกรุงเทพมหานคร นนทบุรี สมุทรปราการ และปทุมธานี ที่ประกอบอาชีพมา
ไม่น้อยกว่า 5 ปี จานวน 18 คน
ผลการศึกษาพบว่า นักดนตรีนั้นไม่ได้มาจากครอบครัวที่ยากจน เข้าสู่อาชีพเพราะ
มีใจรักดนตรีเป็นพื้นฐาน ช่วงก่อน พ.ศ. 2525 จานวนนักดนตรีก็ยังมีไม่มาก การแข่งขันในอาชีพ มีน้อย หลังจาก
พ.ศ. 2525 เป็นต้นมา แม้ว่าแหล่งประกอบอาชีพจะมีมากขึ้น แต่อัตราการเพิ่มของจานวนนักดนตรีนั้นสูงกว่า การ
แข่งขันในอาชีพจึงมีมากกว่า การทางานของนักดนตรีแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่เล่นแบ็คอัพกับกลุ่มที่เล่นวงโชว์
นักดนตรีรุ่นเก่ามักจะได้รับการว่าจ้างให้เล่นทุกวันและรับค่าจ้างเป็นรายเดือน โอกาสในการเปลี่ยนงานไม่
บ่อยครั้ง ส่วนนักดนตรีรุ่นใหม่มักจะได้รับการว่าจ้างเป็นรายวัน โดยทางานวันละ 1 ชั่วโมง การเปลี่ยนงานหรือถูก
เลิกจ้างเกิดขึ้นได้เสมอ จากการศึกษาครั้งนี้ได้ข้อค้นพบว่า อาชีพนักดนตรีเป็นอาชีพที่รายได้ดี แต่ขาดความมั่นคง
และก้าวหน้า ไม่มีเกณฑ์ในการกาหนดมาตรฐานรายได้ที่เป็นธรรมแก่
นักดนตรี เป็นอาชีพที่นับวันการแข่งขันจะสูง ขึ้นเรื่อยๆ นักดนตรีจะอยู่ในอาชีพได้ในระยะเวลาสั้นลง การที่
ดนตรีเข้าสู่ความเป็นธุรกิจทาให้นักดนตรีต้องปรับตัวทั้งในด้านเทคโนโลยีและด้านเพลง ซึ่งนักดนตรีรุ่นใหม่จะ
ปรับตัวได้ดีกว่า ธุรกิจดนตรีทาให้นักดนตรีขาดเสรีภาพในการสร้างสรรค์ผลงาน นายทุนจะให้ความสาคัญกับ
มูลค่าในการจาหน่ายสินค้าดนตรีมากกว่าคุณค่าทางศิลปะ
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ควรจะกาหนดขอบเขตของประชากรให้แคบลง เปลี่ยนวิธีการ
ศึกษาและพื้นที่ในการศึกษา อาจทาให้ได้ข้อค้นพบที่แตกต่างไปจากการศึกษาครั้งนี้ ส่วนผู้ที่สนใจในอาชีพนัก
ดนตรี ผู้วิจัยเสนอว่าควรทาเป็นอาชีพเสริม และข้อเสนอแนะประการสุดท้าย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจะหา
แนวทางในการกาหนดมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อเป็นการยกระดับอาชีพนักดนตรีให้ดีขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
Rachen Muanchob. (2007). Musician : Life on the Way of Development. Master Thesis,
M.A. (Urban Research and Development). Bangkok : Graduate School,
Chandrakasem Rajabhat University. Advisory Committee :
Assoc.Prof.Dr. Wathinee Boonchalaksi, Assoc.Prof.Sumalee Chaisuparakul.

This research intended to explore the dynamic in musical career after the
turning point of musical industry in Thailand in 1982 (2525 B.E.), when musical industry
has been controlled by business section and disrupted musical traditional model, thus
affecting Thai musicians’ way of life. The purposes of this research had two folds; a) to
compare musicians’ way of life before and after business governed musical industry,
and b) to examine musicians’ life adjustment after the turning point. The framework of
the study provided assumptions that guided the research; 1) musicians career
depended on the growth of entertainment industry and the country development, 2) the
growth and development led to socioeconomic and cultural changes that influenced
musicians’ way of life, and 3) Thai musicians faced the career adjustment after the
turning point.
A qualitative study with participant observation and in depth interview was
utilized to examine the research objectives. Key informants were 18 musicians who
had been in musical career for five years or more years and resided in Bangkok,
Nonthaburi, Samuthprakarn, and Pathumthani.
The result revealed that musicians did not come from poor family. They
entered musical career with passion in music. Before the turning point in 2525 B.E.
there were fewer numbers of musicians and lower level of competition in music
business. The rapid growth after the turning point caused high level of competition and
the increased number of musicians outgrew the demand. According to their
performance, musicians were categorized into two groups - back up performers and on-
stage band musicians.
The result also disclosed that the past generation musicians were more likely
to have permanent job, and performed daily and received monthly salary
compensations, while the new age musicians were hired temporarily on an one - hour
schedule daily with hourly wages. Although musicians received high compensation, they
still confronted with a deficit in job security and career advancement. The result
discovered that there were no standard or regulations for work compensation in music
industry. The increment of competition led to shorter period of musicians staying in
music career.
(3)

The study proved that musicians had to adjust themselves to business driven
music industry and the new generation musicians adapted better. Business governed
music production limited musicians’ freedom in music creativity. Music entrepreneurs
valued the profit from sale volumes than artistic quality of music.
The recommendations for the further research included narrowing the research
sample, trying different methods, and expanding of study to various settings to increase
generalizability. For individuals who desired to enter music career, it was suggested
that they should consider it as a sideline or second career. Lastly, related agencies
both private and government sectors should press forward the attempts to initiate
standards and/or regulations for musicians and music industry, which would eventually
improve musical art as a whole.

You might also like