You are on page 1of 58

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

THAI INDUSTRIAL STANDARD


มอก. 11 2531

สายไฟฟาทองแดงหมุ ดวยโพลิไวนิลคลอไรด
PVC INSULATED COPPER CABLES

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม UDC 621.315.21 : 678.743 ISBN 974-8125-71-8
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
สายไฟฟาทองแดงหมุ ดวยโพลิไวนิลคลอไรด

มอก. 11 2531

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 0 2202 3300

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 106 ตอนที่ 14


วันที่ 26 มกราคม พุทธศักราช 2532
คณะกรรมการวิชาการคณะที่ 4
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมสายไฟฟา
ประธานกรรมการ
นายประพฤทธิ์ ณ นคร
กรรมการ
นายจุมภฏ กอนแกว ผแู ทนกรมวิทยาศาสตรบริการ
นายปราโมทย ชัยศาสตรศิลป
นายโชคชัย ตันธนวัฒน ผแู ทนกรมโยธาธิการ
นายทองหลอ พมุ กลิน่ ผแู ทนสำนักงานพลังงานแหงชาติ
นายสัณห ศิวารัตน ผแู ทนคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
นายสมบัติ โสภาวนิตย ผแู ทนการไฟฟานครหลวง
นายชำนาญ อึง้ ตระกูล ผแู ทนการไฟฟาสวนภูมภิ าค
นายบรรเจิด จันทรเจิดศักดิ์ ผแู ทนการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
นายพิธาน ชัยจินดา
นายพิฑรู ย พฤติสนุ ทร ผแู ทนการเคหะแหงชาติ
นายอดุลย ฮูเซ็น ผแู ทนบริษทั สายไฟฟาบางกอกเคเบิล้ จำกัด
นายกมล เรืองตระกูล
นายประเสริฐ สิทธิน์ อ ย
นายสมชาย พิทยาอุดมฤกษ ผแู ทนบริษทั สายไฟฟาไทยยาซากิ จำกัด
นายสุทนิ อัญญมณี ผแู ทนบริษทั เฟลปสดอดจไทยแลนด จำกัด
นายพูลลาภ สมบูรณปญ  ญา
นายเฉิน เหลียง ชิง ผแู ทนบริษทั จรุงไทยไวรแอนดเคเบิล้ จำกัด
นายสถิตย ตาบเพ็ชร
นายจรัส ชัยศิลปพฒ ั นา ผแู ทนหางหนุ สวนจำกัด ธนาพรอีเล็คตริค
กรรมการและเลขานุการ
นายสมรวย หะริณสุต ผแู ทนสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
นายศิรชิ ยั คัณธมาส

(2)
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม สายไฟฟาทองแดงหมุ ดวยโพลิไวนิลคลอไรด นี้ ไดประกาศใชเปนครัง้ แรกตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม สายไฟฟาชนิดตัวนำทองแดงกลม หมุ ดวยฉนวนและเปลือกนอกโพลีไวนิลคลอไรด
มาตรฐานเลขที่ มอก.11-2513 ในราชกิจจานุเบกษา เลม 88 ตอนที่ 136 วันที่ 7 ธันวาคม พุทธศักราช 2514 และ
ไดยกเลิกและกำหนดใหมตามมาตรฐานเลขที่ มอก.11-2518 ในราชกิจจานุเบกษา เลม 92 ตอนที่ 210 วันที่ 10
ตุลาคม พุทธศักราช 2518 โดยเพิม่ เติมตารางแสดงรายละเอียดของสายไฟฟาทีม่ สี ายดิน ตอมาปรากฏวามีปญ  หา
ในทางปฏิบตั ิ คณะกรรมการวิชาการพิจารณาแลวเห็นควรใหแกไขแบบยกเลิกเลมเดิมและกำหนดเลมใหม เพือ่ ให
ถูกตองเหมาะสมกับสภาพอุตสาหกรรม และสอคดลองกับมาตรฐานของไออีซซี งึ่ ไดแกไขปรับปรุงเปลีย่ นไปจากเดิม
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีก้ ำหนดขึน้ โดยใชเอกสารตอไปนีเ้ ปนแนวทาง
IEC 227-1(1979) Polyvinyl chloride insulated cables of rated voltages up to and including
450/750V
Part 1 : General requirements
IEC 227-2(1979) Polyvinyl chloride insulated cables of rated voltages up to and including
450/750V
Part 2 : Test methods
IEC 228(1978) Conductors of insulated cables
IEC 228A(1982) First supplement to publication 228(1978). Conductors of insulated
cables. Guide to the dimensional limits of circular conductors
IEC 332-1(1979) Tests on electric cables under fire conditions
Part : 1 Test on a single vertical insulated wire or cable
IEC 540(1982) Test methods for insulations and sheaths of electric cables and cords
(elastomeric and thermoplastic compounds)
IEC 719(1981) Calculation of the lower and upper limits for the average outer dimensions
of cables with circular copper conductors and rated voltages up to and
including 450/750V

คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมไดพจิ ารณามาตรฐานนีแ้ ลว เห็นสมควรเสนอรัฐมนตรีประกาศตาม


มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511

(3)
สารบัญ

หนา
1. ขอบขาย -1-
2. บทนิยาม -1-
3. ประเภท -2-
4. ขนาด -2-
5. วัสดุและการทำ -20-
5.1 ตัวนำ -20-
5.2 ฉนวน -20-
5.3 การตีเกลียวแกน -20-
5.4 เปลือก -20-
5.5 เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา -23-
6. คุณลักษณะทีต่ อ งการ -23-
6.1 ความคงทนของเครือ่ งหมาย -23-
6.2 ฉนวนและเปลือก -23-
6.2.1 ความตานแรงดึงและความยืดกอนเรงอายุใชงาน -23-
6.2.2 ความตานแรงดึงและความยืดภายหลังเรงอายุใชงาน -23-
6.2.3 การสูญเสียของมวล -23-
6.2.4 ความทนตอการช็อกดวยความรอน -23-
6.2.5 การเปลีย่ นรูปขณะมีแรงกดทีอ่ ณ
ุ หภูมสิ งู -23-
6.3 สายไฟฟา -24-
6.3.1 ความตานทานของตัวนำ -24-
6.3.2 ความทนทางไฟฟาของสายไฟฟา -24-
6.3.3 ความทนทางไฟฟาของแกน -24-
6.3.4 ความตานทานของฉนวน -24-
6.3.5 ความโคงงอของสายออน -24-
6.3.6 ความติดแนนระหวางแกนของสายแบนคู -24-
6.3.7 ความตานทานการลุกไหม -24-
7. การบรรจุ -24-
8. เครือ่ งหมายและฉลาก -25-
9. การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน -26-
10. การทดสอบ -26-
10.1 ขนาดและจำนวนเสนลวดในตัวนำ -26-
10.2 การทำ -27-
10.2.1 ความหนาของฉนวน -27-

(4)
10.2.2 ความหนาของเปลือก -29-
10.2.3 เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา -30-
10.3 ความคงทนของเครือ่ งหมาย -30-
10.4 ฉนวน -30-
10.4.1 ความตานแรงดึงและความยืดกอนเรงอายุใชงาน -30-
10.4.2 ความตานแรงดึงและความยืดภายหลังเรงอายุใชงาน -33-
10.4.3 การสูญเสียของมวล -34-
10.4.4 ความทนตอการช็อกดวยความรอน -36-
10.4.5 การเปลีย่ นรูปขณะมีแรงกดทีอ่ ณ
ุ หภูมสิ งู -37-
10.5 เปลือก -40-
10.5.1 ความตานแรงดึงและความยืดกอนเรงอายุใชงาน -40-
10.5.2 ความตานแรงดึงและความยืดภายหลังเรงอายุใชงาน -40-
10.5.3 การสูญเสียของมวล -40-
10.5.4 ความทนตอการช็อกดวยความรอน -41-
10.5.5 การเปลีย่ นรูปขณะมีแรงกดทีอ่ ณุ หภูมสิ งู -41-
10.6 สายไฟฟา -43-
10.6.1 ความตานทานของตัวนำ -43-
10.6.2 ความทนทางไฟฟาของสายไฟฟา -43-
10.6.3 ความทนทานไฟฟาของแกน -43-
10.6.4 ความตานทานของฉนวน -43-
10.6.5 ความโคงงอของสายออน -44-
10.6.6 ความติดแนนระหวางแกนของสายแบนคู -45-
10.6.7 ความตานทานการลุกไหม -45-
11. ภาคผนวก
11.1 ภาคผนวก ก. -50-
11.2 ภาคผนวก ข. -51-

(5)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 1444 ( พ.ศ. 2531 )
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
พ.ศ. 2511
เรือ่ ง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
สายไฟฟาชนิดตัวนำทองแดงกลม
หมุ ดวยฉนวนและเปลือกนอกโพลีไวนิลคลอไรด
และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
สายไฟฟาทองแดงหมุ ดวยโพลิไวนิลคลอไรด

โดยทีเ่ ปนการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม สายไฟฟาชนิดตัวนำทองแดงกลม หมุ ดวย


ฉนวนและเปลือกนอกโพลีไวนิลคลอไรด มาตรฐานเลขที่ มอก.11-2518
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 158 (พ.ศ.2518)
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ.2511 เรือ่ ง ยกเลิกและกำหนดมาตรฐาน
ผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม สายไฟฟาชนิดตัวนำทองแดงกลม หมุ ดวยฉนวนและเปลือกโพลีไวนิลคลอไรด ลงวันที่ 26
สิงหาคม พ.ศ.2518 และออกประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สายไฟฟาทองแดงหุมดวย
โพลิไวนิลคลอไรด มาตรฐานเลขที่ มอก. 11-2531 ขึน้ ใหม ดังมีรายการละเอียดตอทายประกาศนี้
ทัง้ นี้ ตัง้ แตวนั ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2532 เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2531


บรรหาร ศิลปอาชา
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม

(7)
มอก. 11–2531

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
สายไฟฟาทองแดง หมุ ดวยโพลิไวนิลคลอไรด
1. ขอบขาย
1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีก้ ำหนด ประเภท ขนาด วัสดุและการทำ คุณลักษณะทีต่ อ งการ การบรรจุ
เครื่ อ งหมายและฉลาก การชั ก ตั ว อย า งและเกณฑ ตั ด สิ น และการทดสอบสายไฟฟ า ทองแดงหุ ม ด ว ย
โพลิไวนิลคลอไรด ทีม่ แี รงดันไฟฟาทีก่ ำหนดไมเกิน 750 โวลต ซึง่ ตอไปในมาตรฐานนีจ้ ะเรียกวา “สายไฟฟา”
1.2 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีค้ รอบคลุม สายไฟฟาทองแดงซึง่ ใชกบั ตัวนำทีม่ อี ณ ุ หภูมไิ มเกิน 70 องศา
เซลเซียส มีจำนวนแกนตัง้ แต 1 ถึง 4 แกน (ไมรวมสายดิน) ทีใ่ ชักบั ไฟฟากระแสสลับทีม่ คี วามถีไ่ มเกิน 60
แฮรตซ และไฟฟากระแสตรง แตไมรวมถึงสายไฟฟาทองแดงหมุ ดวยโพลิไวนิลคลอไรด ซึง่ มีประกาศกำหนด
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมไวตา งหากโดยเฉพาะ

2. บทนิยาม
ความหมายของคำทีใ่ ชมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้ มีดงั ตอไปนี้
2.1 โพลิไวนิลคลอไรดหรือพีวซี ี (polyvinylchloride compound) หมายถึง สวนผสมของสารโพลิไวนิลคลอไรดกบั
สารอืน่ ทีป่ ระกอบขึน้ เพือ่ ใหมสี มบัตติ ามทีต่ อ งการ ซึง่ อาจเปนพลาสโตเมอรโพลิไวนิลคลอไรด หรือมีโคโพลิ
เมอรผสมอยดู ว ย หรือเปนสวนผสมทีป่ ระกอบดวยสารโพลิไวนิลคลอไรดและโพลิเมอรบางตัว ของสารโพลิไวนิล
คลอไรด
2.2 แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด หมายถึง แรงดันไฟฟาคารากของกำลังสองเฉลีย่ หรือแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวาง
แกนกับแกน
หมายเหตุ 1. ในระบบไฟฟากระแสสลับ แรงดันไฟฟาที่กำหนดของสายไฟฟา ตองมีคาอยางนอยเทากับแรงดัน
ไฟฟาระบุของระบบ
2. ในระบบไฟฟากระแสตรง แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนดของสายไฟฟาตองมีคา อยางนอยเทากับ 0.7 เทา
ของแรงดันไฟฟาระบุของระบบ
3. แรงดันไฟฟาปฏิบัติงานของระบบ อาจมีคาอยางถาวรเกินแรงดันไฟฟาระบุของระบบนั้นไดรอยละ
10 ถาแรงดันไฟฟาที่กำหนดของสายไฟฟา มีคาอยางนอยเทากับแรงดันไฟฟาระบุของระบบ
สายไฟฟานั้นสามารถใชในระบบที่แรงดันไฟฟาปฏิบัติงานมีคาสูงกวาแรงดันไฟฟาที่กำหนดรอยละ
10 ได
2.3 ตัวนำ หมายถึง ลวดทองแดงมีภาคตัดขวางกลม อาจเปนเสนลวดเสนเดียว หลายเสนตีเกลียวหรือเปนกลมุ ของ
เสนลวด
2.4 ตัวนำตีเกลียว หมายถึง เสนลวด 7 เสนหรือมากกวาตีเกลียวรวมศูนยกลางเดียวกัน
2.5 ฉนวน หมายถึง โพลิไวนิลคลอไรดทใี่ ชปอ งกันการสัมผัสกันโดยตรงระหวางตัวนำกับตัวนำหรือสิง่ อืน่

–1–
มอก. 11–2531

2.6 แกน หมายถึง ตัวนำทีห่ มุ ดวยฉนวน


2.7 เปลือก หมายถึง โพลิไวนิลคลอไรดทหี่ มุ แกนหรือสิง่ หอหมุ อืน่ หากมีชนั้ เดียวเรียกวา เปลือก หากมี 2 ชัน้
เรียกวา เปลือกในและเปลือกนอก
2.8 สายไฟฟา หมายถึง สายตัวนำหมุ ดวยฉนวน (ตัวนำเดียว ตีเกลียว หรือกลมุ ของเสนลวด) แกนเดียวหรือหลาย
แกนรวมกัน และอาจจะมีเปลือกเพือ่ ความแข็งแรงคงทน หรือไมมเี ปลือกก็ได
2.9 สายออน (cord) หมายถึง สายไฟฟาซึง่ ตัวนำแตละแกนประกอบดวยกลมุ ของเสนลวด เสนผานศูนยกลางของ
แกนและของเสนลวดมีขนาดเล็กพอทีจ่ ะทำใหดดั งอโคงสายนัน้ ไดโดยงาย และมีแกนไมเกิน 4 แกน (ไมรวม
สายดิน)
2.10 สายแบน หมายถึง สายไฟฟาและสายออนจำนวนตัง้ แต 2 แกนขึน้ ไป (ไมรวมสายดิน) มีเปลือก ลักษณะแบน
2.11 สายแบนคู หมายถึง สายออนจำนวน 2 แกนติดกัน (ไมรวมสายดิน) ไมมเี ปลือก ลักษณะแบน
2.12 สายแกนตีเกลียว หมายถึง สายออนแกนเดียว จำนวนตัง้ แต 2 สายขึน้ ไปบิดรวมกันเขาเปนเกลียว ไมมเี ปลือก
2.13 อัตราสวนของการเวียน หมายถึง อัตราสวนของความยาวตามแนวแกน (axis) ของการเวียนครบหนึง่ รอบของ
แกนใดแกนหนึง่ ของสายไฟฟา หรือลวดเสนใดเสนหนึง่ ของตัวนำตีเกลียว ตอคาเฉลีย่ ของเสนผานศูนยกลางภาย
นอกของวงทีเ่ วียนครบหนึง่ รอบนัน้
2.14 คามัธยฐาน หมายถึง คาตรงกลางถาจำนวนคาทัง้ หมดเปนเลขคี่ หรือหมายถึงคาเฉลีย่ ของคาตรงกลาง 2 คา
ถาจำนวนคาทัง้ หมดเปนเลขคู เมือ่ คาทีไ่ ดจากผลการทดสอบมีหลายคาและเรียงตามลำดับจากมากไปหานอย
หรือจากนอยไปหามาก

3. ประเภท
สายไฟฟาในมาตรฐานนี้ แบงออกเปน 2 ประเภท ตามแรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด คือ
3.1 ประเภทใชกบั แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนดไมเกิน 300 โวลต
3.2 ประเภทใชักบั แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนดไมเกิน 750 โวลต

4. ขนาด
4.1 ขนาดและรายละเอียดของสายไฟฟา ใหเปนไปตามทีก่ ำหนดในตารางที่ 1 ถึงตารางที่ 17

–2–
มอก. 11–2531

ตารางที่ 1 สายไฟฟาหมุ ดวยฉนวนแกนเดียวแรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 300 โวลต


(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนาของฉนวน เสนผานศูนยกลาง ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของสายไฟฟา ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร เมกะโอหมกิโลเมตร
0.5 1/0.80 0.6 2.6 0.014 6
1 1/1.13 0.6 2.9 0.011 5
1 7/0.40 0.6 3.1 0.011 0
1.5 1/1.38 0.6 3.2 0.010 0
1.5 7/0.50 0.6 3.4 0.009 4
2.5 1/1.78 0.7 3.8 0.009 2
2.5 7/0.67 0.7 4.1 0.008 4
4 1/2.25 0.8 4.5 0.008 6
4 7/0.85 0.8 4.9 0.007 8
6 7/1.04 0.8 5.6 0.006 6
10 7/1.35 1.0 7.0 0.006 4
16 7/1.70 1.0 8.2 0.005 3
25 7/2.14 1.2 10.0 0.005 1
35 19/1.53 1.2 11.5 0.004 3
50 19/1.78 1.4 13.0 0.004 4
70 19/2.14 1.4 15.0 0.003 7
95 19/2.52 1.6 17.5 0.003 6
120 37/2.03 1.6 19.0 0.003 2
150 37/2.25 1.8 21.5 0.003 3

–3–
ตารางที่ 2 สายไฟฟาหมุ ดวยฉนวนและเปลือก แกนเดียว สายแบน 2 แกน และสายแบน 3 แกน แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 300 โวลต

มอก. 11–2531
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนาของเปลือก เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา มิลลิเมตร มิลลิเมตร ต่ําสุด
สายแกน สายแบน สายแบน สายแกน สายแบน 2 แกน สายแบน 3 แกน
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร เดียว 2 แกน 3 แกน เดียว พิสัยต่ํา พิสัยสูง พิสัยต่ํา พิสัยสูง เมกะโอหมกิโลเมตร
0.5 1/0.80 0.6 0.9 0.9 0.9 4.4 3.6 x 5.6 4.4 x 6.8 3.6 x 7.4 4.4 x 9.0 0.014 6
1 1/1.13 0.6 0.9 0.9 0.9 4.8 4.0 x 6.2 4.8 x 7.4 4.0 x 8.4 4.8 x 10.0 0.011 5
1 7/0.40 0.6 0.9 0.9 0.9 5.0 4.0 x 6.4 5.0 x 7.8 4.0 x 8.6 5.0 x 10.5 0.011 0
1.5 1/1.38 0.6 0.9 1.2 1.2 5.2 4.8 x 7.2 5.8 x 8.6 4.8 x 9.8 5.8 x 11.5 0.010 0
1.5 7/0.50 0.6 0.9 1.2 1.2 5.4 4.9 x 7.4 6.0 x 9.2 4.9 x 10.0 6.0 x 12.5 0.009 4
–4–

2.5 1/1.78 0.7 0.9 1.2 1.2 5.8 5.4 x 8.4 6.4 x 10.0 5.4 x 11.5 6.4 x 13.5 0.009 2
2.5 7/0.67 0.7 0.9 1.2 1.2 6.2 5.6 x 8.8 6.8 x 10.5 5.6 x 12.0 6.8 x 14.5 0.008 4
4 1/2.25 0.8 0.9 1.2 1.2 6.6 6.0 x 9.8 7.2 x 11.5 6.0 x 13.5 7.2 x 16.0 0.008 6
4 7/0.85 0.8 0.9 1.2 1.2 7.0 6.2 x 10.0 7.6 x 12.0 6.2 x 14.0 7.6 x 16.5 0.007 8
6 7/1.04 0.8 0.9 1.2 1.2 7.6 6.8 x 11.0 8.2 x 13.5 6.8 x 16.0 8.2 x 18.5 0.006 6
10 7/1.35 0.9 0.9 1.2 1.2 8.6 8.0 x 13.5 9.4 x 16.0 8.0 x 19.0 9.4 x 22.0 0.005 9
16 7/1.70 1.0 1.2 1.2 1.4 11.0 9.2 x 16.0 11.0 x 18.5 9.6 x 23.0 11.5 x 26.5 0.005 3
25 7/2.14 1.2 1.2 1.4 - 12.5 11.0 x 19.5 13.0 x 22.5 - - 0.005 1
35 19/1.53 1.2 1.2 1.4 - 14.0 12.0 x 22.0 14.5 x 25.0 - - 0.004 3
ตารางที่ 3 สายไฟฟาหมุ ดวยฉนวนเปลือกหลายแกน แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 300 โวลต
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนาของเปลือก เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา มิลลิเมตร มิลลิเมตร ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร 2 แกน 3 แกน 4 แกน 2 แกน 3 แกน 4 แกน เมกะโอหมกิโลเมตร
0.5 1/0.80 0.6 0.9 0.9 0.9 6.8 7.2 7.8 0.014 6
1 1/1.13 0.6 0.9 0.9 0.9 7.6 8.0 8.6 0.011 5
1 7/0.40 0.6 0.9 0.9 0.9 8.0 8.4 9.0 0.011 0
1.5 1/1.38 0.6 1.2 1.2 1.2 8.8 9.2 10.0 0.010 0
1.2 1.2 1.2 9.2 9.6 10.5
–5–

1.5 7/0.50 0.6 0.009 4


2.5 1/1.78 0.7 1.2 1.2 1.2 10.0 10.5 11.5 0.009 2
2.5 7/0.67 0.7 1.2 1.2 1.2 11.0 11.5 12.5 0.008 4
4 1/2.25 0.8 1.2 1.2 1.2 11.5 12.5 13.5 0.008 6
4 7/0.85 0.8 1.2 1.2 1.2 12.5 13.0 14.0 0.007 8
6 7/1.04 0.8 1.2 1.2 1.2 13.5 14.5 15.5 0.006 6
10 7/1.35 0.9 1.2 1.2 1.4 16.0 17.0 19.0 0.005 9
16 7/1.70 1.0 1.4 1.4 1.4 19.0 20.0 22.0 0.005 3
25 7/2.14 1.2 1.4 1.8 1.8 22.5 25.0 27.5 0.005 1
35 19/1.53 1.2 1.4 1.8 1.8 25.5 28.0 30.5 0.004 3

มอก. 11–2531
มอก. 11–2531

ตารางที่ 4 สายไฟฟาหมุ ดวยฉนวนแกนเดียว แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 750 โวลต


(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนาของฉนวน เสนผานศูนยกลาง ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของสายไฟฟา ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร เมกะโอหมกิโลเมตร
0.5 1/0.80 0.8 3.0 0.017 5
1 1/1.13 0.8 3.3 0.014 1
1 7/0.40 0.8 3.5 0.013 5
1.5 1/1.38 0.8 3.6 0.012 3
1.5 7/0.50 0.8 3.8 0.011 6
2.5 1/1.78 0.8 4.0 0.010 2
2.5 7/0.67 0.8 4.3 0.009 3
4 1/2.25 0.9 4.8 0.009 4
4 7/0.85 0.9 5.2 0.008 5
6 7/1.04 0.9 5.8 0.007 3
10 7/1.35 1.1 7.2 0.006 9
16 7/1.70 1.1 8.4 0.005 7
25 7/2.14 1.3 10.5 0.005 4
35 19/1.53 1.3 11.5 0.004 7
50 19/1.78 1.5 13.5 0.004 6
70 19/2.14 1.5 15.5 0.003 9
95 19/2.52 1.7 18.0 0.003 8
120 37/2.03 1.7 19.5 0.003 4
150 37/2.25 1.9 21.5 0.003 4
185 37/2.52 2.1 24.0 0.003 4
240 61/2.25 2.3 27.0 0.003 3
300 61/2.52 2.5 30.0 0.003 2
400 61/2.85 2.7 33.5 0.003 0
500 61/3.20 3.1 38.0 0.003 1

–6–
ตารางที่ 5 สายไฟฟาหมุ ดวยฉนวนและเปลือก แกนเดียว และสายแบน 2 แกน แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 750 โวลต
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนาของเปลือก เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา มิลลิเมตร มิลลิเมตร ต่ําสุด
สายแกน สายแบน สายแกน สายแบน 2 แกน
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร เดียว 2 แกน เดียว พิสัยต่ํา พิสัยสูง เมกะโอหมกิโลเมตร
1 1/1.13 0.8 1.0 1.4 5.4 5.2 x 8.0 6.4 x 9.4 0.014 1
1 7/0.40 0.8 1.0 1.4 5.6 5.4 x 8.0 6.6 x 9.8 0.013 5
1.5 1/1.38 0.8 1.0 1.4 5.8 5.6 x 8.4 6.6 x 10.0 0.012 3
1.0 1.4 6.0 5.6 x 8.6 7.0 x 10.5
–7–

1.5 7/0.50 0.8 0.011 6


2.5 1/1.78 0.8 1.2 1.4 6.6 5.8 x 9.2 7.2 x 11.0 0.010 2
2.5 7/0.67 0.8 1.2 1.4 7.0 6.2 x 9.6 7.4 x 11.5 0.009 3
4 1/2.25 0.9 1.2 1.4 7.4 6.6 x 10.5 7.8 x 12.5 0.009 4
4 7/0.85 0.9 1.2 1.4 7.8 6.8 x 11.0 8.2 x 13.0 0.008 5
6 7/1.04 0.9 1.4 1.4 8.8 7.4 x 12.0 8.8 x 14.5 0.007 3
10 7/1.35 1.1 1.4 1.5 10.5 8.8 x 15.0 10.5 x 17.0 0.006 9
16 7/1.70 1.1 1.5 1.5 11.5 9.8 x 17.0 11.5 x 19.5 0.005 7
25 7/2.14 1.3 1.5 1.6 13.5 11.5 x 20.5 13.5 x 23.5 0.005 4
35 19/1.53 1.3 1.6 1.7 15.0 13.0 x 23.0 15.0 x 26.5 0.004 7

มอก. 11–2531
มอก. 11–2531

ตารางที่ 6 สายไฟฟาหมุ ดวยฉนวนและเปลือกแกนเดียว


แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 750 โวลต
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนาของเปลือก เสนผานศูนยกลาง ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน ของสายไฟฟา ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร เมกะโอหมกิโลเมตร
1 1/1.13 1.5 1.8 8.6 0.020 7
1 7/0.40 1.5 1.8 8.8 0.020 0
1.5 1/1.38 1.5 1.8 9.0 0.018 4
1.5 7/0.50 1.5 1.8 9.2 0.017 5
2.5 1/1.78 1.5 1.8 9.4 0.015 7
2.5 7/0.67 1.5 1.8 9.8 0.014 6
4 1/2.25 1.5 1.8 10.0 0.013 5
4 7/0.85 1.5 1.8 10.5 0.012 4
6 7/1.04 1.5 1.8 11.0 0.010 7
10 7/1.35 1.5 1.8 12.0 0.008 8
16 7/1.70 1.5 1.8 13.0 0.007 4
25 7/2.14 1.5 1.8 14.5 0.006 1
35 19/1.53 1.5 1.8 16.0 0.005 3
50 19/1.78 1.5 1.8 17.0 0.004 6
70 19/2.14 1.5 1.8 19.0 0.003 9
95 19/2.52 1.7 1.8 21.5 0.003 8
120 37/2.03 1.7 1.8 23.0 0.003 4
150 37/2.25 1.9 2.0 26.0 0.003 4
185 37/2.52 2.1 2.0 28.0 0.003 4
240 61/2.25 2.3 2.2 31.5 0.003 3
300 61/2.52 2.5 2.2 35.0 0.003 2
400 61/2.85 2.7 2.2 38.5 0.003 0
500 61/3.20 3.1 2.4 43.0 0.003 1

–8–
ตารางที่ 7 สายไฟฟาหมุ ดวยฉนวน เปลือกใน และเปลือกนอก หลายแกน แรงดันไฟฟาทีกำหนด 750 โวลต
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนาของเปลือกใน ความหนาของเปลือกนอก เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร 2 แกน 3 แกน 4 แกน 2 แกน 3 แกน 4 แกน 2 แกน 3 แกน 4 แกน เมกะโอหมกิโลเมตร
1 1/1.13 0.8 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 12.0 12.5 13.5 0.014 1
1 7/0.40 0.8 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 12.5 13.0 14.0 0.013 5
1.5 1/1.38 0.8 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 12.5 13.0 14.0 0.012 3
1.5 7/0.50 0.8 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 13.0 13.5 14.5 0.011 6
2.5 1/1.78 0.8 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 13.5 14.0 15.0 0.010 2
2.5 7/0.67 0.8 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 14.0 15.0 16.0 0.009 3
–9–

4 1/2.25 0.9 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 15.0 15.5 17.0 0.009 4
4 7/0.85 0.9 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 15.5 16.5 17.5 0.008 5
6 7/1.04 0.9 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 17.0 18.0 19.0 0.007 3
10 7/1.35 1.1 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 2.0 19.5 20.5 23.0 0.006 9
16 7/1.70 1.1 0.8 1.2 1.2 2.0 2.0 2.0 22.5 24.5 26.5 0.005 7
25 7/2.14 1.3 1.2 1.2 1.2 2.0 2.0 2.0 27.0 28.5 31.0 0.005 4
35 19/1.53 1.3 1.2 1.2 1.5 2.0 2.0 2.2 29.5 31.5 35.0 0.004 7
50 19/1.78 1.5 1.2 1.5 1.5 2.2 2.2 2.2 33.5 36.0 39.5 0.004 6
70 19/2.14 1.5 1.5 1.5 1.5 2.2 2.2 2.4 38.0 40.5 44.5 0.003 9
95 19/2.52 1.7 1.5 1.5 1.8 2.2 2.4 2.6 42.5 46.0 51.5 0.003 8
120 37/2.03 1.7 1.5 1.8 1.8 2.4 2.6 2.8 46.5 50.5 56.0 0.003 4

มอก. 11–2531
150 37/2.25 1.9 1.8 1.8 2.0 2.6 2.8 3.0 52.0 56.0 62.0 0.003 4
185 37/2.52 2.1 1.8 2.0 2.0 2.8 3.0 3.2 57.0 61.5 68.0 0.003 4
240 61/2.25 2.3 2.0 2.0 2.2 3.0 3.2 3.4 64.0 69.0 76.5 0.003 3
300 61/2.52 2.5 2.0 2.2 2.2 3.2 3.4 3.8 70.5 76.0 85.0 0.003 2
ตารางที่ 8 สายไฟฟาหมุ ฉนวน เปลือกใน และเปลือกนอก 3 แกน มีสายกลาง แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 750 โวลต

มอก. 11–2531
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนาของฉนวน ความหนาของเปลือกใน ความหนาของเปลือกนอก เสนผานศูนยกลาง ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของสายไฟฟา ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร
สายไฟ สายกลาง สายไฟ สายกลาง สายไฟ สายกลาง มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร เมกะโอหมกิโลเมตร
6 4 7/1.04 7/0.85 0.9 0.9 0.8 1.8 19.0 0.007 3
10 6 7/1.35 7/1.04 1.1 0.9 0.8 2.0 23.0 0.006 9
16 10 7/1.70 7/1.35 1.1 1.1 1.2 2.0 26.5 0.005 7
25 16 7/2.14 7/1.70 1.3 1.1 1.2 2.0 31.0 0.005 4
35 16 19/1.53 7/1.70 1.3 1.1 1.5 2.2 35.0 0.004 7
–10–

50 25 19/1.78 7/2.14 1.5 1.3 1.5 2.2 39.5 0.004 6


70 35 19/2.14 19/1.53 1.5 1.3 1.5 2.4 44.5 0.003 9
95 50 19/2.52 19/1.78 1.7 1.5 1.8 2.6 51.5 0.003 8
120 70 37/2.03 19/2.14 1.7 1.5 1.8 2.8 56.0 0.003 4
150 70 37/2.25 19/2.14 1.9 1.5 2.0 3.0 62.0 0.003 4
185 95 37/2.52 19/2.52 2.1 1.7 2.0 3.2 68.0 0.003 4
240 120 61/2.25 37/2.03 2.3 1.7 2.2 3.4 76.5 0.003 3
300 150 61/2.52 37/2.25 2.5 1.9 2.2 3.8 84.5 0.003 2

หมายเหตุ สีของฉนวนทีใ่ ชแสดงแกนซึง่ ทำหนาทีเ่ ปนสายกลาง ใหใชสเี ทาออน


ตารางที่ 9 สายออนหมุ ดวยฉนวนและเปลือกหลายแกน แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 750 โวลต
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนาของเปลือก เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา มิลลิเมตร มิลลิเมตร ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร แกนเดียว 2 แกน 3 แกน 4 แกน แกนเดียว 2 แกน 3 แกน 4 แกน เมกะโอหมกิโลเมตร
0.5 16/0.20 0.8 1.0 1.2 1.2 1.4 5.4 8.8 9.2 10.5 0.016 0
0.75 24/0.20 0.8 1.0 1.2 1.2 1.4 5.6 9.2 9.6 11.0 0.014 0
1 32/0.20 0.8 1.2 1.2 1.4 1.6 6.2 9.6 10.5 12.0 0.012 7
1.5 30/0.25 0.8 1.2 1.4 1.4 1.6 6.6 11.0 11.5 12.5 0.011 1
2.5 50/0.25 0.8 1.2 1.4 1.4 1.6 7.4 12.5 13.0 15.0 0.009 2
4 56/0.30 0.9 1.4 1.6 1.6 1.8 8.6 14.5 15.5 17.0 0.008 4
–11–

6 84/0.30 0.9 1.4 1.6 1.8 2.0 9.4 16.0 17.5 19.5 0.007 1
10 80/0.40 1.1 1.8 1.8 2.0 2.2 12.0 20.0 21.5 24.0 0.006 8
16 126/0.40 1.1 1.8 2.2 2.4 2.6 13.5 23.0 25.0 28.0 0.005 0
25 196/0.40 1.3 2.2 2.4 2.6 2.8 16.0 27.5 30.0 33.0 0.004 8
35 276/0.40 1.3 2.2 2.6 2.8 3.1 17.5 31.0 33.5 37.0 0.004 1
50 396/0.40 1.5 2.6 - - - 21.0 - - - 0.004 0
70 360/0.50 1.5 2.6 - - - 23.0 - - - 0.003 4
95 475/0.50 1.7 3.0 - - - 26.5 - - - 0.003 4

มอก. 11–2531
มอก. 11–2531

ตารางที่ 10 สายแกนตีเกลียวและสายแบนคู แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 300 โวลต


(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา มิลลิเมตร ต่ําสุด
สายแกน สายแบนคู
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร ตีเกลียว พิสัยต่ํา พิสัยสูง เมกะโอหมกิโลเมตร
0.5 16/0.20 0.8 3.2 2.4 x 4.9 3.2 x 6.2 0.016 0
0.5 28/0.15 0.8 3.2 2.4 x 4.8 3.2 x 6.2 0.016 0
0.75 24/0.20 0.8 3.4 2.6 x 5.2 3.4 x 6.6 0.014 0
0.75 42/0.15 0.8 3.4 2.6 x 5.2 3.4 x 6.6 0.014 0
1 32/0.20 0.8 3.6 2.8 x 5.6 3.6 x 7.0 0.012 7
1.5 30/0.25 0.8 3.9 3.0 x 6.0 3.9 x 7.6 0.011 1
2.5 50/0.25 0.8 4.8 3.5 x 7.0 4.8 x 9.4 0.009 2

–12–
ตารางที่ 11 สายแบน 2 แกน และ 3 แกน มีสายดิน แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 300 โวลต
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนาของเปลือก เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน มิลลิเมตร ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร สายแบน 2 แกน สายแกน 3 แกน
สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน สายแบน สายแบน พิสัยต่ํา พิสัยสูง พิสัยต่ํา พิสัยสูง
2 แกน 3 แกน เมกะโอหมกิโลเมตร
1 1 1/1.13 1/1.13 0.6 0.6 0.9 0.9 4.0 x 8.4 4.8 x 10.0 4.0 x 10.5 4.8 x 12.5 0.011 5
1 1 7/0.40 7/0.40 0.6 0.6 0.9 0.9 4.0 x 8.6 5.0 x 10.5 4.0 x 11.0 5.0 x 13.5 0.011 0
1.5 1 1/1.38 1/1.13 0.6 0.6 1.2 1.2 4.8 x 9.4 5.8 x 11.5 4.8 x 12.0 5.8 x 14.0 0.010 0
1.5 1 7/0.50 7/0.40 0.6 0.6 1.2 1.2 4.9 x 9.8 6.0 x 12.0 4.9 x 12.5 6.0 x 15.0 0.009 4
–13–

2.5 1.5 1/1.78 1/1.38 0.7 0.6 1.2 1.2 5.4 x 10.5 6.4 x 13.0 5.4 x 14.0 6.4 x 16.5 0.009 2
2.5 1.5 7/0.67 7/0.50 0.7 0.6 1.2 1.2 5.6 x 11.5 6.8 x 14.0 5.6 x 14.5 6.8 x 17.5 0.008 4
4 2.5 1/2.25 1/1.78 0.8 0.6 1.2 1.2 6.0 x 12.5 7.2 x 15.0 6.0 x 16.0 7.2 x 19.0 0.008 6
4 2.5 7/0.85 7/0.67 0.8 0.6 1.2 1.2 6.2 x 13.0 7.6 x 16.0 6.2 x 17.5 7.6 x 20.5 0.007 8
6 4 7/1.04 7/0.85 0.8 0.6 1.2 1.2 6.8 x 15.0 8.2 x 17.5 6.8 x 19.5 8.2 x 22.5 0.006 6
10 4 7/1.35 7/0.85 0.9 0.6 1.2 1.2 8.0 x 17.0 9.4 x 20.0 8.0 x 22.5 9.4 x 26.0 0.005 9
16 6 7/1.70 7/1.04 1.0 0.6 1.2 1.4 9.2 x 20.0 11.0 x 23.0 9.6 x 27.5 11.0 x 31.5 0.005 3
25 6 7/2.14 7/1.04 1.2 0.6 1.4 - 11.0 x 24.0 13.0 x 27.0 - - 0.005 1
35 10 19/1.53 7/1.35 1.2 0.6 1.4 - 12.0 x 27.0 14.5 x 31.0 - - 0.004 3

มอก. 11–2531
ตารางที่ 12 สายไฟฟาหมุ ดวยฉนวนและเปลือก หลายแกน มีสายดิน แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 300 โวลต

มอก. 11–2531
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนาของเปลือก เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร
สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน 2 แกน 3 แกน 4 แกน 2 แกน 3 แกน 4 แกน เมกะโอหมกิโลเมตร
1 1 1/1.13 1/1.13 0.6 0.6 0.9 0.9 0.9 8.0 8.6 9.2 0.011 5
1 1 7/0.40 7/0.40 0.6 0.6 0.9 0.9 0.9 8.4 9.0 9.8 0.011 0
1.5 1 1/1.38 1/1.13 0.6 0.6 1.2 1.2 1.2 9.2 10.0 11.0 0.010 0
1.5 1 7/0.50 7/0.40 0.6 0.6 1.2 1.2 1.2 9.6 10.5 11.5 0.009 4
10.5 11.5 12.5
–14–

2.5 1.5 1/1.78 1/1.38 0.7 0.6 1.2 1.2 1.2 0.009 2
2.5 1.5 7/0.67 7/0.50 0.7 0.6 1.2 1.2 1.2 11.5 12.5 13.5 0.008 4
4 2.5 1/2.25 1/1.78 0.8 0.6 1.2 1.2 1.2 12.5 13.5 14.5 0.008 6
4 2.5 7/0.85 7/0.67 0.8 0.6 1.2 1.2 1.2 13.0 14.0 15.5 0.007 8
6 4 7/1.04 7/0.85 0.8 0.6 1.2 1.2 1.2 14.5 15.5 17.0 0.006 6
10 4 7/1.35 7/0.85 0.9 0.6 1.2 1.2 1.4 16.0 18.5 20.5 0.005 9
16 6 7/1.70 7/1.04 1.0 0.6 1.4 1.4 1.4 19.0 22.0 24.5 0.005 3
25 6 7/2.14 7/1.04 1.2 0.6 1.4 1.8 1.8 22.5 27.5 30.0 0.005 1
35 10 19/1.53 7/1.35 1.2 0.6 1.4 1.8 1.8 25.5 30.5 33.5 0.004 3
มอก. 11–2531

ตารางที่ 13 สายแบน 2 แกน มีสายดิน แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 750 โวลต


(ขอ 4.1)

พืน้ ทีห่ นาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนา เสนผานศูนยกลาง ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน ของเปลือก ของสายไฟฟา ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร
สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน มิลลิเมตร พิสัยต่ํา พิสัยสูง เมกะโอหมกิโลเมตร
1 1 1/1.13 1/1.13 0.8 0.6 1.4 5.2 x 10.0 6.4 x 12.0 0.014 1
1 1 7/0.40 7/0.40 0.8 0.6 1.4 5.4 x 10.0 6.6 x 12.5 0.013 5
1.5 1 1/1.38 1/1.13 0.8 0.6 1.4 5.6 x 10.5 6.6 x 12.5 0.012 3
1.5 1 7/0.50 7/0.40 0.8 0.6 1.4 5.6 x 11.0 7.0 x 13.0 0.011 6
2.5 1.5 1/1.78 1/1.38 0.8 0.6 1.4 5.8 x 11.5 7.2 x 14.0 0.010 2
2.5 1.5 7/0.67 7/0.50 0.8 0.6 1.4 6.2 x 12.0 7.4 x 14.5 0.009 3
4 2.5 1/2.25 1/1.78 0.9 0.6 1.4 6.6 x 13.0 7.8 x 15.5 0.009 4
4 2.5 7/0.85 7/0.67 0.9 0.6 1.4 6.8 x 14.0 8.2 x 16.5 0.008 5
6 4 7/1.04 7/0.85 0.9 0.6 1.4 7.4 x 15.5 8.8 x 18.5 0.007 3
10 4 7/1.35 7/0.85 1.1 0.6 1.5 8.8 x 18.5 10.5 x 21.5 0.006 9
16 6 7/1.70 7/1.04 1.1 0.6 1.5 9.8 x 21.0 11.5 x 24.5 0.005 7
25 6 7/2.14 7/1.04 1.3 0.6 1.6 11.5 x 24.5 13.5 x 28.0 0.005 4
35 10 19/1.53 7/1.35 1.3 0.6 1.7 13.0 x 28.0 15.0 x 32.0 0.004 7

–15–
ตารางที่ 14 สายไฟฟาหมุ ดวยฉนวน เปลือกใน และเปลือกนอก หลายแกน มีสายดิน แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 750 โวลต

มอก. 11–2531
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนาของเปลือกใน ความหนาของเปลือกนอก เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร
สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน 2 แกน 3 แกน 4 แกน 2 แกน 3 แกน 4 แกน 2 แกน 3 แกน 4 แกน เมกะโอหมกิโลเมตร
1 1 1/1.13 1/1.13 0.8 0.6 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 12.5 13.5 14.0 0.014 1
1 1 7/0.40 7/0.40 0.8 0.6 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 13.0 14.0 14.5 0.013 5
1.5 1 1/1.38 1/1.13 0.8 0.6 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 13.0 14.0 15.0 0.012 3
1.5 1 7/0.50 7/0.40 0.8 0.6 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 13.5 14.5 15.5 0.011 6
2.5 1.5 1/1.78 1/1.38 0.8 0.6 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 14.0 15.0 16.0 0.010 2
2.5 1.5 7/0.67 7/0.50 0.8 0.6 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 15.0 16.0 17.0 0.009 3
–16–

4 2.5 1/2.25 1/1.78 0.9 0.6 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 15.5 17.0 18.0 0.009 4
4 2.5 7/0.85 7/0.67 0.9 0.6 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 16.5 17.5 19.0 0.008 5
6 4 7/1.04 7/0.85 0.9 0.6 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 1.8 18.0 19.0 20.5 0.007 3
10 4 7/1.35 7/0.85 1.1 0.6 0.8 0.8 0.8 1.8 1.8 2.0 19.5 22.5 25.0 0.006 9
16 6 7/1.70 7/1.04 1.1 0.6 0.8 1.2 1.2 2.0 2.0 2.0 22.5 26.5 28.5 0.005 7
25 6 7/2.14 7/1.04 1.3 0.6 1.2 1.2 1.2 2.0 2.0 2.0 27.0 31.0 33.5 0.005 4
35 10 19/1.53 7/1.35 1.3 0.6 1.2 1.2 1.5 2.0 2.0 2.2 29.5 34.0 38.5 0.004 7
50 10 19/1.78 7/1.35 1.5 0.6 1.2 1.5 1.5 2.2 2.2 2.2 33.5 36.0 43.0 0.004 6
70 10 19/2.14 7/1.35 1.5 0.6 1.5 1.5 1.5 2.2 2.2 2.4 38.0 40.5 44.5 0.003 9
95 16 19/2.52 7/1.70 1.7 0.6 1.5 1.5 1.8 2.2 2.4 2.6 42.5 46.0 51.5 0.003 8
120 16 37/2.03 7/1.70 1.7 0.6 1.5 1.8 1.8 2.4 2.6 2.8 46.5 50.5 56.0 0.003 4
150 25 37/2.25 7/2.14 1.9 0.6 1.8 1.8 2.0 2.6 2.8 3.0 52.0 56.0 62.0 0.003 4
185 25 37/2.52 7/2.14 2.1 0.6 1.8 2.0 2.0 2.8 3.0 3.2 57.0 61.5 68.0 0.003 4
240 35 61/2.25 19/1.53 2.3 0.6 2.0 2.0 2.2 3.0 3.2 3.4 64.0 69.0 76.5 0.003 3
300 35 61/2.52 19/1.53 2.5 0.6 2.0 2.2 2.2 3.2 3.4 3.8 70.5 76.0 84.5 0.003 2
ตารางที่ 15 สายออนหมุ ดวยฉนวนและเปลือก หลายแกน มีสายดิน แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 750 โวลต
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนาของเปลือก เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน มิลลิเมตร ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร
สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน 2 แกน 3 แกน 4 แกน 2 แกน 3 แกน 4 แกน เมกะโอหมกิโลเมตร
1 1 32/0.20 32/0.20 0.8 0.6 1.2 1.4 1.6 10.5 11.5 13.0 0.012 7
1.5 1 30/0.25 32/0.20 0.8 0.6 1.4 1.4 1.6 11.5 12.5 13.5 0.011 1
2.5 1.5 50/0.25 30/0.25 0.8 0.6 1.4 1.4 1.6 13.0 14.5 16.0 0.009 2
4 2.5 56/0.30 50/0.25 0.9 0.6 1.6 1.6 1.8 15.5 17.0 18.5 0.008 4
6 4 84/0.30 56/0.30 0.9 0.6 1.6 1.8 2.0 17.0 19.0 21.0 0.007 1
–17–

10 4 80/0.40 56/0.30 1.1 0.6 1.8 2.0 2.2 20.0 23.5 26.0 0.006 8
16 6 126/0.40 84/0.30 1.1 0.6 2.2 2.4 2.6 23.0 27.5 30.5 0.005 0
25 6 196/0.40 84/0.30 1.3 0.6 2.4 2.6 2.8 27.5 32.5 36.0 0.004 8
35 10 276/0.40 80/0.40 1.3 0.6 2.6 2.8 3.1 31.0 36.5 40.5 0.004 1

มอก. 11–2531
ตารางที่ 16 สายแบนคู มีสายดิน แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 300 โวลต

มอก. 11–2531
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร มิลลิเมตร
สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน สายไฟ สายดิน พิสัยต่ํา พิสัยสูง เมกะโอหมกิโลเมตร
1 1 32/0.20 32/0.20 0.8 0.6 2.8 x 8.0 3.6 x 9.8 0.012 7
1.5 1 30/0.25 32/0.20 0.8 0.6 3.0 x 8.6 3.9 x 10.5 0.011 1
2.5 1.5 50/0.25 30/0.25 0.8 0.6 3.5 x 9.6 4.8 x 12.5 0.009 2
–18–
ตารางที่ 17 สายออนแบน 2 แกน และ 3 แกน แรงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 300 โวลต
(ขอ 4.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนและ ความหนา ความหนาของ เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ความตานทานของฉนวน


เสนผานศูนยกลาง ของฉนวน เปลือก มิลลิเมตร ที่ 70 องศาเซลเซียส
ของเสนลวดในตัวนํา ต่ําสุด

มิลลิเมตร 2 แกน 3 แกน


ตารางมิลลิเมตร เสน/มิลลิเมตร มิลลิเมตร 2 แกน 3 แกน พิสัยต่ํา พิสัยสูง พิสัยต่ํา พิสัยสูง เมกะโอหมกิโลเมตร
0.5 16/0.20 0.6 0.9 0.9 3.8 x 5.8 4.7 x 7.2 3.8 x 7.8 4.7 x 9.6 0.013 2
0.5 28/0.15 0.6 0.9 0.9 3.8 x 5.8 4.7 x 7.2 3.8 x 7.8 4.7 x 9.6 0.013 3
1 32/0.20 0.6 0.9 0.9 4.1 x 6.6 5.2 x 8.0 4.1 x 9.0 5.2 x 11.0 0.010 4
1.2 1.2 5.0 x 7.6 6.2 x 9.4 5.0 x 10.0 6.2 x 12.5
–19–

1.5 30/0.25 0.6 0.009 0


2.5 50/0.25 0.7 1.2 1.2 5.6 x 9.0 7.2 x 11.5 5.6 x 12.0 7.2 x 16.0 0.008 3
4 56/0.30 0.8 1.2 1.2 6.4 x 10.0 8.0 x 13.0 6.4 x 14.5 8.0 x 18.5 0.007 6
6 84/0.30 0.8 1.2 1.2 6.8 x 11.5 8.8 x 14.5 6.8 x 16.0 8.8 x 20.5 0.006 5
10 80/0.40 0.9 1.2 1.2 8.0 x 13.5 10.5 x 17.5 8.0 x 19.5 10.5 x 25.0 0.005 7
16 126/0.40 1.0 1.2 1.4 9.8 x 17.5 12.0 x 20.5 10.0 x 25.5 12.5 x 29.0 0.004 7
25 196/0.40 1.2 1.4 - 12.0 x 21.5 14.5 x 25.0 - - 0.004 5
35 276/0.40 1.2 1.4 - 13.5 x 24.0 16.0 x 28.0 - - 0.003 8

มอก. 11–2531
มอก. 11–2531

5. วัสดุและการทำ
5.1 ตัวนำ
5.1.1 ตัวนำตองทำดวยลวดทองแดงอบออน
5.1.2 เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ทีต่ วั นำเปนเสนลวดเสนเดียว ตองไมนอ ยกวาคาทีก่ ำหนดในตารางที่ 18
5.1.3 คาเฉลีย่ ของเสนผานศูนยกลางของเสนลวดในตัวนำตีเกลียวตองไมนอ ยกวาคาทีก่ ำหนดในตารางที่ 18
5.1.4 อัตราสวนของการเวียนของตัวนำตีเกลียว ตองไมเกิน 20 และชัน้ ของเกลียวทีอ่ ยตู ดิ กันตองเวียนสวนกัน
เกลียวชัน้ นอกสุดควรเวียนซาย
5.1.5 จำนวนเสนลวดในตัวนำสำหรับสายไฟฟา และสายออน ตองเปนไปตามทีก่ ำหนดในตารางที่ 18 และตารางที่
19 ตามลำดับ
5.1.6 เสนผานศูนยกลางของเสนลวดในตัวนำสำหรับสายออน ตองไมเกินคาทีก่ ำหนดในตารางที่ 19
การทดสอบใหทำโดยการตรวจพินจิ และขอ 10.1
5.2 ฉนวน
5.2.1 การหมุ ฉนวน ตองหมุ ใหแนบชิดตัวนำและตองทำใหปอกฉนวนออกไดงา ยโดยไมทำใหตวั นำชำรุด
การทดสอบใหทำโดยการตรวจพินจิ
5.2.2 ความหนาเฉลีย่ ของฉนวน ตัองไมนอ ยกวาคาทีก่ ำหนดในตารางที่ 1 ถึงตารางที่ 17 ฉนวนทีจ่ ดุ ใดจุดหนึง่
อาจบางกวาทีก่ ำหนดได แตจะบางกวาไดไมเกิน 0.1 มิลลิเมตร บวกรอยละ 10 ของคาทีก่ ำหนด
ความหนาเฉลี่ยของฉนวนระหวางตัวนำของสายแบนคูตองไมนอยกวาผลรวมของความหนาของฉนวน
ของแกนทีอ่ ยตู ดิ กัน
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.2.1
5.3 การตีเกลียวแกน
อัตราสวนของการเวียนของแกนตองไมเกิน 20 และการตีเกลียวแกนควรเวียนซาย
การทดสอบใหทำโดยการวัด
5.4 เปลือก
ความหนาเฉลีย่ ของเปลือก เปลือกในและเปลือกนอก ตองไมนอ ยกวาคาทีก่ ำหนดในตารางที่ 1 ถึงตารางที่
17 เปลือกทีจ่ ดุ ใดจุดหนึง่ อาจบางกวาทีก่ ำหนดได แตจะบางกวาไดไมเกิน 0.1 มิลลิเมตร บวกรอยละ 15
ของคาทีก่ ำหนด
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.2.2

–20–
มอก. 11–2531

ตารางที่ 18 ตัวนำของสายไฟฟาแกนเดียวและหลายแกน
(ขอ 5.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนเสนลวดในตัวนํา เสนผานศูนยกลาง ความตานทานกระแสตรง


ของเสนลวดในตัวนํา ของตัวนําที่ 20 องศาเซลเซียส
สูงสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน มิลลิเมตร เมกะโอหมกิโลเมตร
0.5 1 0.80 36.0
1 1 1.13 18.1
1 7 0.40 18.1
1.5 1 1.38 12.1
1.5 7 0.50 12.1
2.5 1 1.78 7.41
2.5 7 0.67 7.41
4 1 2.25 4.61
4 7 0.85 4.61
6 7 1.04 3.08
10 7 1.35 1.83
16 7 1.70 1.15
25 7 2.14 0.727
35 19 1.53 0.524
50 19 1.78 0.387
70 19 2.14 0.268
95 19 2.52 0.193
120 37 2.03 0.153
150 37 2.25 0.124
185 37 2.52 0.099 1
240 61 2.25 0.075 4
300 61 2.52 0.060 1
400 61 2.85 0.047 0
500 61 3.20 0.036 6

–21–
มอก. 11–2531

ตารางที่ 19 ตัวนำของสายออนแกนเดียวและหลายแกน
(ขอ 5.1)

พื้นที่หนาตัดระบุ จํานวนเสนลวดในตัวนํา เสนผานศูนยกลาง ความตานทานกระแสตรง


ต่ําสุด ของเสนลวดในตัวนํา ของตัวนําที่ 20 องศาเซลเซียส
สูงสุด สูงสุด
ตารางมิลลิเมตร เสน มิลลิเมตร เมกะโอหมกิโลเมตร
0.5 16 0.21 39.0
0.5 28 0.16 39.0
0.75 24 0.21 26.0
0.75 42 0.16 26.0
1 32 0.21 19.5
1.5 30 0.26 13.3
2.5 50 0.26 7.98
4 56 0.31 4.95
6 84 0.31 3.30
10 80 0.41 1.91
16 126 0.41 1.21
25 196 0.41 0.780
35 276 0.41 0.554
50 396 0.41 0.386
70 360 0.51 0.272
95 475 0.51 0.206

–22–
มอก. 11–2531

5.5 เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา
5.5.1 เสนผานศูนยกลางเฉลีย่ ของสายไฟฟา ตองไมเกินคาทีก่ ำหนดในตารางที่ 1 ถึงตารางที่ 17 ยกเวนสายไฟฟา
ทีม่ แี กนตัง้ แต 2 แกนขึน้ ไปและมีเปลือก อาจมากกวาคาทีก่ ำหนดไดแตจะมากกวาคาทีก่ ำหนดไดไมเกิน
รอยละ 5
5.5.2 ความแตกตางของเสนผานศูนยกลางของสายไฟฟาทีว่ ดั ไดสงู สุดและต่ำสุดทีภ่ าคตัดขวางเดียวกัน ตองไม
เกินรอยละ 15 ของคาเสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ทีก่ ำหนดในตารางที่ 1 ถึงตารางที่ 17 ยกเวนสาย
แบนและสายไฟฟาทีม่ เี สนผานศูนยกลางเกิน 15 มิลลิเมตร
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.2.3

6. คุณลักษณะทีต่ อ งการ
6.1 ความคงทนของเครือ่ งหมาย
เครือ่ งหมายทีส่ ายไฟฟาตองมีความคงทนและไมลบเลือนงาย
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.3
6.2 ฉนวนและเปลือก
6.2.1 ความตานแรงดึงและความยืดกอนเรงอายุใชงาน
คามัธยฐานของความตานแรงดึง ตองไมนอ ยกวา 12.5 เมกะพาสคัลสำหรับสายไฟฟา และไมนอ ยกวา
10.0 เมกะพาสคัลสำหรับสายออน
คามัธยฐานของความยืด ตองไมนอ ยกวารอยละ 125 สำหรับสายไฟฟา และไมนอ ยกวารอยละ 150 สำหรับ
สายออน
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.4.1 และขอ 10.5.1 ตามลำดับ
6.2.2 ความตานแรงดึงและความยืดภายหลังเรงอายุใชงาน
คามัธยฐานของความตานแรงดึงและความยืด สำหรับสายไฟฟาและสายออน ใหเปนไปตามขอ 6.2.1
ความแตกตางระหวางคามัธยฐานภายหลังเรงอายุใชงานกับคามัธยฐานกอนเรงอายุใชงาน ตองไมเกินรอยละ
20 ของคามัธยฐานกอนเรงอายุใชงาน
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.4.2 และขอ 10.5.2 ตามลำดับ
6.2.3 การสูญเสียของมวล
เมือ่ ทดสอบฉนวนตามขอ 10.4.3 และเปลือกตามขอ 10.5.3 แลว การสูญเสียของมวลตองไมเกิน 2.0
มิลลิกรัมตอตารางเซนติเมตร
6.2.4 ความทนตอการช็อกดวยความรอน
เมือ่ ทดสอบฉนวนตามขอ 10.4.4 และเปลือกตามขอ 10.5.4 แลว ฉนวนและเปลือกตองไมแตกราน
6.2.5 การเปลีย่ นรูปขณะมีแรงกดทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู
เมือ่ ทดสอบฉนวนตามขอ 10.4.5 และเปลือกตามขอ 10.5.5 แลว คามัธยฐานของความลึกทีร่ อยกดตอง
ไมเกินรอยละ 50 ของความหนาเฉลีย่ ของชิน้ ทดสอบ เมือ่ วัดตามขอ 10.4.5.4 และขอ 10.5.5.4 ตาม
ลำดับ

–23–
มอก. 11–2531

6.3 สายไฟฟา
6.3.1 ความตานทานของตัวนำ
ความตานทานกระแสตรงสูงสุดของตัวนำที่ 20 องศาเซลเซียส ตองไมเกินคาทีก่ ำหนดในตารางที่ 18 และ
ตารางที่ 19
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.6.1
6.3.2 ความทนทางไฟฟาของสายไฟฟา
เมือ่ ทดสอบตามขอ 10.6.2 แลว ฉนวนและ/หรือเปลือกของสายไฟฟาตองไมเสียสภาพฉับพลันหรือวาบไฟ
ตามผิว
6.3.3 ความทนทานไฟฟาของแกน
เมืด่ ทดสอบตามขอ 10.6.3 แลว ฉนวนของแกนตองไมเสียสภาพฉับพลันหรือวาบไฟตามผิว
6.3.4 ความตานทานของฉนวน
ความตานทานของฉนวนที่ 70 องศาเซลเซียส ตองไมนอ ยกวาคาทีก่ ำหนดในตารางที่ 1 ถึงตารางที่ 17
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.6.4 ยกเวนสายดิน ไมตอ งทดสอบ
6.3.5 ความโคงงอของสายออน
เมือ่ ทดสอบตามขอ 10.6.5 โดยใหสว นเคลือ่ นที่ ค เคลือ่ นไปกลับ 15 000 ครัง้ (30 000 ครัง้ ถานับทัง้
2 ทาง) ในระหวางการทดสอบ กระแสไฟฟาในสายไฟฟาตองไมหยุดชะงัก หรือสายไฟฟาตองไมลดั วงจร
และภายหลังทดสอบตัวอยางตองทนการทดสอบความทนทางไฟฟาของสายไฟฟา ตามขอ 10.6.2 ไดดว ย
6.3.6 ความติดแนนระหวางแกนของสายแบนคู
แรงทีใ่ ชแยกแกนของสายแบนคอู อกจากกัน ตองมีคา ระหวาง 3 ถึง 30 นิวตัน
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.6.6
6.3.7 ความตานทานการลุกไหม
เมืด่ ทดสอบตามขอ 10.6.7 แลว สวนทีไ่ หมตอ งไมแผขยายเขาไปในระยะ 50 มิลลิเมตรจากขอบดานลาง
ของทีจ่ บั ซึง่ ยึดชิน้ ทดสอบดานบน

7. การบรรจุ
7.1 ใหทำเปนหนวยบรรจุ ซึง่ อาจเปนลอ มวน ขด ฯลฯ สวนขนาดความยาวของสายไฟฟาในแตละหนวยบรรจุ ให
เปนไปตามขอตกลงระหวางผซู อื้ กับผขู าย
7.2 การบรรจุ ใหมสี งิ่ ปองกันสายไฟฟาไมใหเสียหายเนือ่ งจากการเคลือ่ นยายและขนสง ทัง้ นีใ้ หเปนไปตามขอตกลง
ระหวางผซู อื้ กับผขู าย

–24–
มอก. 11–2531

8. เครือ่ งหมายและฉลาก
8.1 ทีส่ ายไฟฟาทุกหนวยบรรจุ ทุกระยะหางไมเกิน 200 มิลลิเมตรสำหรับสายไฟฟาทีห่ มุ ดวยฉนวน และไมเกิน
500 มิลลิเมตรสำหรับสายไฟฟาทีม่ เี ปลือก อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครือ่ งหมายแจงรายละเอียดตอไปนี้
ใหเห็นไดงา ย ชัดเจน และไมลบเลือน
(1) ขอความ “พีวซี ี 70o C”
(2) ประเภท
(3) จำนวนแกนและพืน้ ทีห่ นาตัดระบุของตัวนำ
(4) หมายเลขตาราง (ตารางที่ 1 ถึงตารางที่ 17)
(5) ชือ่ ผทู ำหรือโรงงานทีท่ ำ หรือเครือ่ งหมายการคา
8.2 ทีห่ นวยบรรจุสายไฟฟาทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครือ่ งหมายแจงรายละเอียดตอไปนีใ้ หเห็น
ไดงา ย ชัดเจน และไมลบเลือน
(1) ขอความ “พีวซี ี 70o C”
(2) ประเภท
(3) จำนวนแกนและพืน้ ทีห่ นาตัดระบุของตัวนำ
(4) หมายเลขตาราง (ตารางที่ 1 ถึงตารางที่ 17)
(5) ความยาว เปนเมตร
(6) น้ำหนักสุทธิ เปนกิโลกรัม ในกรณีเปนลอใหระบุน้ำหนักรวมดวย
(7) เดือนและปทที่ ำ
(8) ในกรณีทหี่ นวยบรรจุเปนลอ ใหมลี กู ศรแสดงทิศทางการกลิง้ ลอ และตำแหนงปลายสาย
(9) ชือ่ ผทู ำหรือโรงงานทีท่ ำ หรือเครือ่ งหมายการคา
8.3 ในกรณีทใี่ ชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยทีก่ ำหนดไวขา งตน
8.4 สายไฟฟาทีม่ แี กนตัง้ แต 2 แกนขึน้ ไป แตละแกนใหใชสขี องฉนวนตางกัน ในแกนเดียวกันใหใชสเี หมือนกันตลอด
ยกเวนตามทีร่ ะบุในขอ 8.6 ขอ 8.7 และขอ 8.8
8.5 สีของฉนวนทีใ่ ชแสดงแกนของสายไฟฟา มีดงั นี้
(1) สายไฟฟา 2 แกน : สีเทาออน และดำ
(2) สายไฟฟา 3 แกน : สีเทาออน ดำ และแดง
(3) สายไฟฟา 4 แกน : สีเทาออน ดำ แดง และน้ำเงิน
การกำหนดสีของแกนในขอนี้ ไมรวมถึงแกนซึง่ ทำหนาทีเ่ ปนสายดิน
8.6 สีของฉนวนทีใ่ ชแสดงแกนซึง่ ทำหนาทีเ่ ปนสายดิน ใหใชสเี ขียวแถบสีเหลือง การสลับสีเขียวกับสีเหลืองนัน้ ควร
ใชสใี ดสีหนึง่ อยางนอยรอยละ 30 แตไมเกินรอยละ 70 ของพืน้ ผิวของแกน อีกสีหนึง่ ใหใชพนื้ ทีส่ ว นทีเ่ หลือ
8.7 สีของฉนวนของสายแบนคู และสายแกนตีเกลียวจำนวน 2 แกน ถาเปนสีเดียวกันจะเปนสีใดก็ได แตตอ งมีแถบ
หรือไหมสีขาวหรือสีเทาออนแสดงไวทแี่ กนหนึง่ แถบนัน้ ตองตอเนือ่ งกันหรืออาจคัน่ ดวยเครือ่ งหมายตามขอ
8.1 ก็ได ถาฉนวนเปนสีขาวหรือสีเทาออนแถบหรือไหมตองเปนสีดำ

–25–
มอก. 11–2531

8.8 สีของฉนวนของสายแกนตีเกลียวตัง้ แต 3 แกนขึน้ ไป ถาสีของฉนวนทุกแกนเปนสีเดียวกันตองมีแถบหรือไหม


สีแสดงไวทแี่ กน การใหสตี อ งเปนไปตามขอ 8.5 ยกเวนแกนหนึง่ ไมตอ งมีแถบหรือไหมสีในกรณีทสี่ ขี องฉนวน
ดังกลาวเปนสีใดสีหนึง่ ตามขอ 8.5
8.9 ผทู ำผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมทีเ่ ปนไปตามมาตรฐานนี้ จะแสดงเครือ่ งหมายมาตรฐานกับผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
นัน้ ได ตอเมือ่ ไดรบั ใบอนุญาตจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมแลว

9. การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน
9.1 รนุ ในทีน่ ี้ หมายถึง สายไฟฟาประเภทและตารางเดียวกัน พืน้ ทีห่ นาตัดระบุของตัวนำ จำนวนและเสนผาน
ศูนยกลางของเสนลวดในตัวนำ และจำนวนแกนอยางเดียวกัน ทีท่ ำในคราวเดียวโดยตอเนือ่ ง หรือสงมอบหรือซือ้
ขายในระยะเวลาเดียวกัน
9.2 การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางทีก่ ำหนดตอไปนี้ หรืออาจใชแผนการชัก
ตัวอยางอืน่ ทีเ่ ทียบเทากันทางวิชาการกับแผนทีก่ ำหนดไว
9.2.1 การชักตัวอยาง
ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกัน จำนวน 30 เมตร จากหนวยบรรจุในแตละรนุ
9.2.2 เกณฑตดั สิน
ตัวอยางตองเปนไปตามขอ 4. ขอ 5. ขอ 6. และขอ 8. ทุกรายการ จึงจะถือวาสายไฟฟารนุ นัน้ เปนไปตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้

10. การทดสอบ
10.1 ขนาดและจำนวนเสนลวดในตัวนำ
10.1.1 เครื่องมือ
ไมโครมิเตอร ทีว่ ดั ไดละเอียดถึง 0.01 มิลลิเมตร
10.1.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดตัวอยางสายไฟฟาจากตัวอยางตามขอ 9.2.1 ทีส่ ว นปลายทัง้ 2 ขาง และสวนกลางอยางละชิน้ เปนชิน้
ทดสอบยาวอยางนอยชิน้ ละ 200 มิลลิเมตร
10.1.3 วิธที ดสอบ
10.1.3.1 เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ทีต่ วั นำเปนเสนลวดเสนเดียว
วัดเสนผานศูนยกลางของเสนลวดทีจ่ ดุ ใดจุดหนึง่ ดวยไมโครมิเตอร 2 ครัง้ ในแนวตัง้ ฉากกัน แลวหา
คาเฉลีย่
10.1.3.2 เสนผานศูนยกลางของเสนลวดในตัวนำตีเกลียว
วัดและหาคาเฉลีย่ ของเสนผานศูนยกลางของเสนลวดแตละเสนเชนเดียวกับขอ 10.1.3.1 หลังจาก
นัน้ หาคาเฉลีย่ ของเสนลวดทัง้ หมดในตัวนำตีเกลียวนัน้
10.1.3.3 เสนผานศูนยกลางของเสนลวดในตัวนำสำหรับสายออน ในกรณีทจี่ ำนวนเสนลวดในตัวนำไมเกิน 50
เสน ใหวดั เสนผานศูนยกลางของเสนลวดทุกเสน ในกรณีทจี่ ำนวนเสนลวดในตัวนำเกิน 50 เสน ใหวดั
เสนผานศูนยกลางของเสนลวด 50 เสน

–26–
มอก. 11–2531

วัดเสนผานศูนยกลางของเสนลวดดวยไมโครมิเตอร ทีป่ ลายชิน้ ทดสอบทัง้ 2 ขาง แตละขางใหวดั 2


ครัง้ ในแนวตัง้ ฉากกัน แลวหาคาเฉลีย่ ของแตละเสน
10.1.3.4 จำนวนเสนลวด
ใหนบั จำนวนเสนลวดทัง้ หมด
10.1.4 การรายงานผล
10.1.4.1 เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ทีต่ วั นำเปนเสนลวดเสนเดียว
ใหรายงานผลการวัดเปนคาเฉลีย่
10.1.4.2 เสนผานศูนยกลางของเสนลวดในตัวนำตีเกลียว
ใหรายงานคาเฉลีย่ ของเสนลวดทัง้ หมดในตัวนำตีเกลียว
10.1.4.3 เสนผานศูนยกลางของเสนลวดในตัวนำสำหรับสายออน
ใหรายงานผลการวัดเปนคาเฉลีย่ สูงสุด
10.1.4.4 จำนวนเสนลวด
ใหรายงานผลจำนวนทัง้ หมด
10.2 การทำ
10.2.1 ความหนาของฉนวน
10.2.1.1 เครื่องมือ
กลองจุลทรรศน ทีว่ ดั ไดละเอียดถึง 0.01 มิลลิเมตร หรือเครือ่ งฉาย (projector) ทีม่ กี ำลังขยาย
อยางนอย 10 เทา ในกรณีทมี่ ขี อ สงสัยในการทดสอบดวยเครือ่ งฉาย ใหวดั ดวยกลองจุลทรรศน
10.2.1.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดตัวอยางสายไฟฟาจากทุกแกน แกนละ 3 แหง แตละแหงหางกันอยางนอย 1 เมตร
ปอกสิง่ หอหมุ ภายนอกแกนออก แลวถอดตัวนำออกจากแกนโดยไมใหฉนวนเสียหาย ใชอปุ กรณที่
เหมาะสม เชน มีดบางคม หรือใบมีดโกน ตัดฉนวนเปนแผนบางตามระนาบซึง่ ตัง้ ฉากกับแนวแกน
ของตัวนำ เพือ่ ทำเปนชิน้ ทดสอบ
ถาการทำเครือ่ งหมายบนฉนวน เปนเหตุใหความหนาของฉนวนตรง สวนนัน้ ลดลง ใหใชฉนวนตรงทีม่ ี
เครือ่ งหมายนัน้ เปนชิน้ ทดสอบ
10.2.1.3 วิธที ดสอบ
วัดความหนาของชิน้ ทดสอบ โดยวางระนาบรอยตัดตัง้ ฉากกับแนวของการมอง ดังนี้
(1) ถารูปขอบในของชิน้ ทดสอบเปนวงกลม ใหวดั ความหนา 6 ครัง้ ทีร่ ะยะตามแนวเสนรอบวง
เทา ๆ กัน
(2) ถาเปนฉนวนของตัวนำตีเกลียว ใหวดั ความหนา 6 ครัง้ ตรงสวนทีบ่ างทีส่ ดุ ไดแก ระหวางสันซึง่
เกิดจากการตีเกลียวดังแสดงในรูปที่ 1 ก.
(3) ถารูปขอบนอกไมเรียบ ใหปรับเสนในแนวดิง่ ของเครือ่ งมือดังแสดงในรูปที่ 1 ข.
(4) สายแบนคู ใหวดั ตรงตำแหนงดังแสดงในรูปที่ 1 ค. และตรงตำแหนงทีฉ่ นวนบางทีส่ ดุ ดวย
ในการวัดความหนาฉนวตาม (1) ถึง (3) การวัดครัง้ แรกใหวดั ตรงตำแหนงทีฉ่ นวนบางทีสดุ

–27–
มอก. 11–2531

รูปที่ 1 การวัดความหนาของฉนวนและเปลือก
(ขอ 10.2.1.3 ขอ 10.2.2.3 ขอ 10.4.3.3 และขอ 10.5.5.3)

–28–
มอก. 11–2531

10.2.1.4 การรายงานผล
ใหคำนวณคาเฉลีย่ จาก 18 คา ซึง่ ไดจากชิน้ ทดสอบ 3 ชิน้ ใน 1 แกน โดยคิดทศนิยม 2 ตำแหนง
แลว ปดเศษเหลือทศนิยม 1 ตำแหนง คาทีไ่ ดคอื คาเฉลีย่ ของความหนาฉนวน ในการคำนวณ ถา
ทศนิยมตำแหนงทีส่ องเปน 5 หรือมากกวา ใหปด ทศนิยมตำแหนงทีห่ นึง่ ใหมคี า ถัดขึน้ ไป ถาทศนิยม
ตำแหนงทีส่ องนอยกวา 5 ใหปด ทิง้ คาต่ำสุดทีไ่ ดจาก 18 คา ใหถอื เปนความหนาของฉนวน ณ จุดทีบ่ าง
ทีส่ ดุ
ในกรณีสายแบนคู ใหรายงานคาความหนาของฉนวน ณ จุดบางทีส่ ดุ และคาความหนาเฉลีย่ ของฉนวน
ระหวางตัวนำดวย
การทดสอบนี้ อาจทำรวมกับการวัดความหนาของฉนวนซึง่ กำหนดในขอ 6.2.1 และขอ 6.2.2
หมายเหตุ ความหนาของฉนวนทีว่ ดั ได อาจนำไปใชคำนวณตามขอ 10.4.1
10.2.2 ความหนาของเปลือก
10.2.2.1 เครื่องมือ
เชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.2.1.1
10.2.2.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ใชตวั อยางสายไฟฟา 3 แหง แตละแหงหางกันอยางนอย 1 เมตร ถอดแกนหรือวัสดุอนื่ (ถามี) ทัง้
ภายในและภายนอกเปลือกออกจากตัวอยางโดยไมใหเปลือกทีจ่ ะทดสอบเปนรอยหรือชำรุดใชอปุ กรณ
ทีเ่ หมาะสม เชน มีดบางคม หรือใบมีดโกน ตัดเปลือกเปนแผนบางตามระนาบซึง่ ตัง้ ฉากกับแนวของ
สายไฟฟา เพือ่ ทำเปนชิน้ ทดสอบ ถาการทำเครือ่ งหมายบนเปลือก เปนเหตุใหความหนาของเปลือก
ตรงสวนนัน้ ลดลง ใหใชเปลือกตรงทีม่ เี ครือ่ งหมายนัน้ เปนชิน้ ทดสอบ
10.2.2.3 วิธที ดสอบ
วัดความหนาของชิน้ ทดสอบ โดยวางระนาบรอยตัดตัง้ ฉากกับแนวของการมอง ดังนี้
(1) ถารูปขอบในของชิน้ ทดสอบเปนวงกลม ใหวดั ความหนา 6 ครัง้ ทีร่ ะยะตามแนวเสนรอบวง
เทา ๆ กัน
(2) ถาผิวภายในซึง่ สวนใหญมลี กั ษณะเปนวงกลม ไมสม่ำเสมอหรือไมเรียบ ใหวดั ความหนา 6 ครัง้
ในตำแหนงทีเ่ ปลือกบางทีส่ ดุ โดยปรับเสนในแนวดิง่ ของเครือ่ งมือดังแสดงในรูปที่ 1 ง.
(3) ถารูปขอบในของชิน้ ทดสอบไมเปนวงกลม ใหวดั ความหนาจำนวนครัง้ ตามความเหมาะสม แต
ไมเกิน 6 ครัง้ ตรงเปลือกทีบ่ างทีส่ ดุ เชน ทีด่ า นลางของรองซึง่ เกิดจากแกน ดังแสดงในรูป
ที่ 1 จ.
ในการวัดความหนาเปลือกขางตน การวัดครัง้ แรกใหวดั ตรงตำแหนงทีเ่ ปลือกบางทีส่ ดุ
10.2.2.4 การรายงานผล
การคำนวณคาเฉลีย่ ซึง่ ไดจากการวัดชิน้ ทดสอบทัง้ 3 ชิน้ ใหคดิ ทศนิยม 2 ตำแหนง แลวปดเศษโดย
อาศัยหลักการปดเศษตามขอ 10.2.1.4 คาทีไ่ ดคอื คาเฉลีย่ ของความหนาเปลือก
คาต่ำสุดทีไ่ ดจากการวัดชิน้ ทดสอบทัง้ 3 ชิน้ ใหถอื เปนความหนาของเปลือก ณ จุดทีบ่ างทีส่ ดุ
การทดสอบนีอ้ าจทำรวมกับการวัดความหนาของเปลือก ซึง่ กำหนดในขอ 6.2.1 และขอ 6.2.2
หมายเหตุ ความหนาของเปลือกทีว่ ดั ได อาจนำไปใชในการคำนวณตามขอ 10.5.1

–29–
มอก. 11–2531

10.2.3 เสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา
10.2.3.1 เครื่องมือ
(1) ในกรณีเสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ไมเกิน 15 มิลลิเมตร ใหเปนไปตามขอ 10.2.1.1
10.2.3.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ใหเปนไปตามขอ 10.2.1.2 หรือขอ 10.2.2.2
10.2.3.3 วิธที ดสอบ
(1) ในกรณีเสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ไมเกิน 15 มิลลิเมตร ใหวดั เสนผานศูนยกลางจาก
ชิน้ ทดสอบชิน้ เดียวกับทีใ่ ชในขอ 10.2.1.3 และขอ 10.2.2.3 โดยใหวดั 2 ครัง้ ในแนวตัง้ ฉาก
ซึง่ กันและกัน
(2) ในกรณีเสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา เกิน 15 มิลลิเมตร ยกเวนสายแบน ใหวดั เสนรอบวง
ของสายไฟฟาละเอียดถึง 0.1 มิลลิเมตร
(3) ในกรณีสายแบนและสายแบนคู ใหใชไมโครมิเตอร เครือ่ งฉาย หรือเครือ่ งมือทีค่ ลายกัน
10.2.3.4 การรายงานผล
(1) ในกรณีเสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา ไมเกิน 15 มิลลิเมตร คาเฉลีย่ ของ 6 คาทีว่ ดั ไดคอื
คาเฉลีย่ ของเสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา
(2) ในกรณีเสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา เกิน 15 มิลลิเมตร เสนผานศูนยกลางทีค่ ำนวณจาก
การเฉลีย่ 3 คาทีว่ ดั ได คือคาเฉลีย่ ของเสนผานศูนยกลางของสายไฟฟา
(3) ในกรณีสายแบนและสายแบนคู คาเฉลีย่ ของ 3 คาทีว่ ดั ได คือคาเฉลีย่ ของเสนผานศูนยกลางของ
สายไฟฟา
10.3 ความคงทนของเครือ่ งหมาย
ใชผา ทีช่ มุ น้ำถูเครือ่ งหมายทีส่ ายไฟฟาเบา ๆ 10 ครัง้ แลวตรวจพินจิ เครือ่ งหมายตองยังคงติดแนนและเห็น
ไดชดั เจน
10.4 ฉนวน
10.4.1 ความตานแรงดึงและความยืดกอนเรงอายุใชงาน
10.4.1.1 เครื่องมือ
(1) กลองจุลทรรศน หรือเครือ่ งวัดทีเ่ ทียบเทาทีม่ แี รงกดสัมผัสไมเกิน 7 นิวตันตอตารางเซนติเมตร
(2) เครือ่ งทดสอบแรงดึงทีม่ อี ตั ราการดึง 250 ± 50 มิลลิเมตรตอนาที
10.4.1.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ใชตวั อยางทุกแกน แตละแกนตัดเปนชิน้ ทดสอบ 5 ชิน้ มีรปู รางตามทีก่ ำหนดในขอ (1) หรือขอ
(2) (อีก 5 ชิน้ สำหรับการทดสอบภายหลังเรงอายุใชงาน โดยตัดจากบริเวณทีอ่ ยตู ดิ กัน การทดสอบ
ความตานแรงดึงกอนเรงอายุใชงานและภายหลังเรงอายุใชงานใหทำอยางตอเนือ่ งกันทันที) ถาเปน
สายแบนคไู มตอ งแยกแกนออกจากกัน หากตัวอยางชำรุดซึง่ เกิดจากความเสียหายทางกล ไมใหทำ
เปนชิน้ ทดสอบ

–30–
มอก. 11–2531

(1) ชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลล


ผาฉนวนตามแนวแกนและเปดเอาตัวนำออก ตัดตัวอยางแตละชิน้ ใหมขี นาดพอเพียงสำหรับ
ทดสอบและทำเครือ่ งหมาย ทีช่ นิ้ ตัวอยางและตัวอยางทดสอบใหสมั พันธกนั เพือ่ ใหทราบวาตัด
ชิ้นทดสอบมาจากตัวอยางและที่ตำแหนงใด และมีความสัมพันธกันอยางไร ขัดหรือตัดชิ้น
ทดสอบจนผิวทัง้ 2 ดานขนานกันในชวงความยาวพิกดั ในขณะขัดแตงตองระวังมิใหอณ ุ หภูมิ
สูงขึน้ เกินควร
ภายหลังการขัดหรือการตัด ความหนาของชิน้ ตัวอยางตองไมนอ ยกวา 0.8 มิลลิเมตร และไม
มากกวา 2.0 มิลลิเมตร
นำชิน้ ตัวอยางแตละชิน้ ทีเ่ ตรียมไวมาตัดเปนชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลลดงั แสดงในรูปที่ 2 หรือถา
เปนไปไดใหตดั ชิน้ ทดสอบดานยาวเคียงขางกัน
ถาเสนผานศูนยกลางของแกน เล็กเกินไปทีจ่ ะทำชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลลตามรูปที่ 2 ใหตดั ชิน้
ตัวอยางเปนชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลลทมี่ ขี นาดเล็กกวา ดังแสดงในรูปที่ 3
ทำขีดหมาย 2 แหงหางกัน 20 มิลลิเมตรเปนความยาวพิกดั ตรงกลางของชิน้ ทดสอบสำหรับ
ชิน้ ทดสอบตามรูปที่ 2 และหางกัน 10 มิลลิเมตร สำหรับชิน้ ทดสอบตามรูปที่ 3

หนวยเปนมิลลิเมตร
รูปที่ 2 ชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลล
(ขอ 10.4.1.2 ขอ 10.4.1.5 และขอ 10.4.3.3)

หนวยเปนมิลลิเมตร
รูปที่ 3 ชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลลเล็ก
(ขอ 10.4.1.2 ขอ 10.4.1.5 และขอ 10.4.3.3)

–31–
มอก. 11–2531

(2) ชิน้ ทดสอบรูปทอ


ในกรณีทแี่ กนมีขนาดเล็ก ไมสามารถทำชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลลได ใหทำชิน้ ทดสอบรูปทอ ดังนี้
ตัดแกนตัวอยางใหมคี วามยาวประมาณชิน้ ละ 100 มิลลิเมตร ถอดตัวนำและสิง่ หอหมุ ภายนอก
แกนออกโดยไมใหฉนวนเสียหาย ทำเครือ่ งหมายทีท่ อ และตัวอยางทดสอบใหสมั พันธกนั เพือ่
ใหทราบวาตัดทอมาจากตัวอยางและทีต่ ำแหนงใด และมีความสัมพันธกนั อยางไร ทำขีดหมาย
2 แหงหางกัน 20 มิลลิเมตรเปนความยาวพิกดั ตรงกลางของชิน้ ทดสอบ
10.4.1.3 การหาพืน้ ทีห่ นาตัดของชิน้ ทดสอบ
(1) พืน้ ทีห่ นาตัดของชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลล คำนวณจากความกวางและความหนาต่ำสุดซึง่ ไดจาก
การวัดชิน้ ทดสอบ 3 ครัง้ ระหวางขีดหมาย ถามีขอ สงสัยในเรือ่ งความสม่ำเสมอของความกวาง
ใหวดั ความกวางทีผ่ วิ ของชิน้ ทดสอบทัง้ 2 ดาน 3 ตำแหนงทีเ่ ดียวกับการวัดความหนา แลวหาคา
เฉลีย่ ของการวัดทัง้ 2 ดานนัน้ เปนความกวางของแตละตำแหนง
คาทีน่ อ ยทีส่ ดุ ของพืน้ ทีห่ นาตัด 3 คาทีห่ าได ใหนำไปคำนวณหาความตานแรงดึง
ในการวัดความหนาและความกวาง ใหคดิ ทศนิยม 2 ตำแหนง เปนมิลลิเมตร
(2) พืน้ ทีห่ นาตัดของชิน้ ทดสอบรูปทอ
ใหหาพืน้ ทีห่ นาตัด (A) ของชิน้ ทดสอบ เปนตารางมิลลิเมตร จากชิน้ สวนซึง่ นำมาจากตรงกลาง
ของตัวอยางทดสอบ โดยวิธี ก. หรือวิธี ข. ในกรณีทมี่ ขี อ สงสัยใหใชวธิ ี ข.
ก. วิธคี ำนวณจากมิติ โดยใชสตู ร
A = π (D-i) i
เมื่อ D คือ คาเฉลี่ย ของเสนผานศูนยกลางภายนอกของชิ้นทดสอบ เปนมิลลิเมตร
คำนวณเชนเดียวกับวิธีที่กำหนดในขอ 10.2.3.3 (2) แลวปดเศษใหมี
ทศนิยม 2 ตำแหนง
i คือ คาเฉลี่ยของความหนาฉนวนของชิ้นสวน เปนมิลลิเมตร คำนวณตามขอ
10.2.1 มีทศนิยม 2 ตำแหนง
ข. วิธคี ำนวณจากความหนาแนน มวล และความยาว โดยใชสตู ร
1 000 m
A= dxL
เมื่อ m คือ มวลของชิน้ ทดสอบ เปนกรัม ทศนิยม 3 ตำแหนง
d คือ ความหนาแนนของฉนวน เปนกรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร คำนวณตาม
ภาคผนวก ข. ทศนิยม 3 ตำแหนง
L คือ ความยาวของชิน้ ทดสอบ เปนมิลลิเมตร ทศนิยม 1 ตำแหนง
10.4.1.4 การปรับภาวะของชิน้ ทดสอบ
ุ หภูมิ 23 ± 2 องศาเซลเซียส เปนเวลา
กอนทดสอบความตานแรงดึง ใหเก็บชิน้ ทดสอบทัง้ หมดไวทอี่ ณ
อยางนอย 3 ชัว่ โมง

–32–
มอก. 11–2531

10.4.1.5 วิธที ดสอบ


(1) อุณหภูมทิ ดสอบ
ใหทดสอบทีอ่ ณ ุ หภูมหิ อ ง โดยทดสอบใหเสร็จภายใน 5 นาที นับจากนำชิน้ ทดสอบออกจาก
ุ หภูมิ 23 ± 2 องศา
การปรับภาวะตามขอ 10.4.1.4 ในกรณีทมี่ ขี อ สงสัยใหทดสอบซ้ำทีอ่ ณ
เซลเซียส
(2) ระยะระหวางปากจับ
ใหเปนดังนี้
34 มิลลิเมตร สำหรับชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลลเล็ก ตามรูปที่ 3
50 มิลลิเมตร สำหรับชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลล ตามรูปที่ 2
50 มิลลิเมตร สำหรับชิน้ ทดสอบรูปทอ ถาทดสอบดวยปากจับแบบทำใหแนนไดเอง
85 มิลลิเมตร สำหรับชิน้ ทดสอบรูปทอ ถาทดสอบดวยปากจับแบบทำใหแนนไมไดเอง
(3) การวัด
บันทึกคาแรงดึง และระยะระหวางขีดหมายทัง้ 2 ในขณะทีฉ่ นวนขาด ผลทีไ่ มเปนไปตาม เกณฑ
เนือ่ งจากชิน้ ทดสอบขาดนอกความยาวพิกดั ไมตอ งนำมาพิจารณา ในกรณีนหี้ ากมีผลทีเ่ ปนไป
ตามเกณฑอยางนอย 4 คา ใหนำมาคำนวณความตานแรงดึงและความยืด แตถา มีผลทีเ่ ปนไป
ตามเกณฑนอ ยกวา 4 คา ตองทดสอบซ้ำ
10.4.1.6 การรายงานผล
ใหรายงานผลเปนคามัธยฐาน โดยคำนวณความตานแรงดึง และความยืด ดังนี้
(1) ความตานแรงดึง เมกะพลาสคัล
คาของแรงทีว่ ดั ไดทจี่ ดุ ขาด เปนนิวตัน
=
พืน้ ทีห่ นาตัดเดิมของชิน้ ทดสอบ เปนตารางมิลลิเมตร
(2) ความยืด รอยละ
ความยาวพิกดั ขณะทีข่ าด - ความยาวพิกดั เดิม x 100
=
ความยาวพิกดั เดิม
10.4.2 ความตานแรงดึงและความยืดภายหลังเรงอายุใชงาน
10.4.2.1 เครื่องมือ
ตอู บความรอนทีม่ อี ากาศหมุนเวียนตามธรรมชาติ หรือโดยการขับ ทัง้ นีอ้ ากาศตองไหลผานทัว่ พืน้ ผิว
ชิน้ ทดสอบและไหลออกใกลสว นบนของตอู บ อากาศในตอู บตองถายเทชัว่ โมงละไมนอ ยกวา 8 เทา
ุ หภูมิ 80 ± 2 องศาเซลเซียส หามใชใบพัดในตอู บ
และไมเกิน 20 เทาของปริมาตรตอู บ ทีอ่ ณ
10.4.2.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
(1) ชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลล หรือชิน้ ทดสอบรูปทอ ใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.4.1.2
(2) ชิน้ สวนทีเ่ ปนสายไฟฟา ตัดสายไฟฟาตัวอยางโดยเลือกเอาจากบริเวณทีอ่ ยตู ดิ กับตัวอยางทีน่ ำ
มาทดสอบความตานแรงดึงและความยืดกอนเรงอายุใชงาน เปนชิน้ สวน 3 ชิน้ ยาวประมาณ
ชิน้ ละ 200 มิลลิเมตร

–33–
มอก. 11–2531

10.4.2.3 การหาพืน้ ทีห่ นาตัดของชิน้ ทดสอบ


ใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.4.1.3
10.4.2.4 การปรับภาวะของชิน้ ทดสอบ
ใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.4.1.4
10.4.2.5 วิธที ดสอบ
(1) ชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลลหรือชิน้ ทดสอบรูปทอแขวนชิน้ ทดสอบในแนวดิง่ ใหอยบู ริเวณกลางตอู บ
แตละชิน้ หางกันอยางนอย 20 มิลลิเมตร เปนเวลา 7 วัน (168 ชัว่ โมง) เมือ่ ครบตามเวลาที่
กำหนด นำชิน้ ทดสอบออกจากตอู บ ทิง้ ไวทอี่ ณ ุ หภูมหิ อ งไมใหถกู แสงอาทิตยโดยตรง เปนเวลา
อยางนอย 16 ชั่วโมง แลวนำไปทดสอบความตานแรงดึงและความยืดตามวิธีที่กำหนดใน
ขอ 10.4.1.5
(2) ชิน้ สวนทีเ่ ปนสายไฟฟา
แขวนชิน้ สวนในแนวดิง่ ใหอยบู ริเวณกลางตอู บ แตละชิน้ หางกัน 20 มิลลิเมตร เปนเวลา 7
วัน (168 ชัว่ โมง) ปริมาตรของชิน้ สวนทัง้ หมดตองไมเกินรอยละ 2 ของปริมาตรตอู บ
เมือ่ ครบตามเวลาทีก่ ำหนด นำชิน้ สวนออกจากตอู บ ทิง้ ไวทอี่ ณ ุ หภูมหิ อ งไมใหถกู แสงอาทิตย
โดยตรง เปนเวลาอยางนอย 16 ชัว่ โมง
ถอดแกนออกจากชิน้ สวนทัง้ 3 ชิน้ สำหรับฉนวนใหตดั แตละแกน ทำเปนชิน้ ทดสอบ ตามขอ
10.4.1.2 แกนละ 2 ชิน้ ใชไมเกิน 3 แกน รวมเปนชิน้ ทดสอบ 6 ชิน้ สวนเปลือกใหตดั จาก
ชิน้ สวนทัง้ 3 ชิน้ แตละชิน้ สวนทำเปนชิน้ ทดสอบ 2 ชิน้ ถาจำเปนตองตัดหรือขัดชิน้ ทดสอบ
ใหมคี วามหนาไมเกิน 2 มิลลิเมตร ใหตดั หรือขัดจากดานทีไ่ มตดิ กับวัสดุอนื่ ทีใ่ ชประกอบสาย
ไฟฟา ถาจำเปนตองตัดหรือขัดจากดานที่ติดกับวัสดุอื่น ใหตัดหรือขัดนอยที่สุดเพียงพอ
ใหดานนั้นเรียบ แลวนำไปทดสอบความตานแรงดึงและความยืดตามวิธีที่กำหนดในขอ
10.4.1.5
10.4.2.6 การรายงานผล
ใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.4.1.6
10.4.3 การสูญเสียของมวล
10.4.3.1 เครื่องมือ
(1) ตอู บความรอน เชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.2.1
(2) เครือ่ งชัง่ ทีช่ งั่ ไดละเอียดถึง 0.1 มิลลิกรัม
(3) เดซิกเคเตอรทมี่ ซี ลิ กิ าเจล หรือวัสดุทคี่ ลายกัน
10.4.3.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
(1) ใชตวั อยางทุกแกน แตละแกนตัดเปนชิน้ ทดสอบ 3 ชิน้ ตามวิธที กี่ ำหนดในขอ 10.4.1.2 แต
ไมตอ งทำขีดหมาย
ในกรณีชนิ้ ทดสอบรูปดัมบเบลล ผิวทัง้ 2 ดานของชิน้ ทดสอบตองขนานกันตลอดความยาว
ความหนาของชิน้ ทดสอบตองมีคา 1.0 ± 0.2 มิลลิเมตร ในกรณีชนิ้ ทดสอบรูปทอ เสนผาน
ศูนยกลางภายในตองไมเกิน 12.5 มิลลิเมตร และพืน้ ทีผ่ วิ ทัง้ หมดของชิน้ ทดสอบตองไมนอ ย
กวา 5 ตารางเซนติเมตร
–34–
มอก. 11–2531

(2) สายแบนคทู มี่ รี อ งทัง้ 2 ดานระหวางแกน ไมตอ งแยกแกนออกจากกัน แตในการคำนวณพืน้ ที่


สวนระเหยอาจถือวาเปนทอ 2 ทอแยกกัน
10.4.3.3 การคำนวณพืน้ ทีส่ ว นระเหย
ใหหาพืน้ ทีผ่ วิ (A) ของชิน้ ทดสอบแตละชิน้ เปนตารางเซนติเมตรกอนทดสอบ โดยใชสตู รตอไปนี้
(1) ชิน้ ทดสอบรูปทอ
พืน้ ทีผ่ วิ A = พืน้ ทีผ่ วิ ภายนอก + พืน้ ทีผ่ วิ ภายใน + พืน้ ทีผ่ วิ ปลายทอ
2 π (D - i) x (L + i)
A =
100
เมื่อ D คือ คาเฉลีย่ ของเสนผานศูนยกลางภายนอกของชิน้ ทดสอบ เปนมิลลิเมตร ทศนิยม
1 ตำแหนง
i คือ คาเฉลีย่ ของความหนาของชิน้ ทดสอบเปนมิลลิเมตร ทศนิยม 1 ตำแหนง
L คือ ความยาวของชิน้ ทดสอบ เปนมิลลิเมตร ทศนิยม 1 ตำแหนง
การวัดคา i และ D ใหใชตามวิธที กี่ ำหนดในขอ 10.2.1 และขอ 10.2.3 ตามลำดับ โดยตัด
ตรงปลาย ชิน้ ทดสอบเปนแผนบาง
อาจใชสตู รนี้ กับชิน้ ทดสอบรูปทอทีม่ ภี าคตัดขวาง ตามรูปที่ 1 ก.
(2) ชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลล ตามรูปที่ 2
1 256 + (180i)
A =
100
เมื่อ i คือ ความหนาเฉลีย่ ของชิน้ ทดสอบ เปนมิลลิเมตร คำนวณตามขอ 10.4.1.3(1)
(3) ชิน้ ทดสอบรูปดัมบเบลลเล็ก ตามรูปที่ 3
624 + (118i)
A=
100
เมื่อ i คือ ความหนาเฉลีย่ ของชิน้ ทดสอบ เปนมิลลิเมตร คำนวณตามขอ 10.4.1.3(1)
10.4.3.4 วิธที ดสอบ
(1) วางชิน้ ทดสอบในเดซิกเคเตอรทอี่ ณ ุ หภูมหิ อ ง เปนเวลาอยางนอย 20 ชัว่ โมง ชัง่ ชิน้ ทดสอบทันที
ทีน่ ำออกจากเดซิกเคเตอร เปนมิลลิกรัม ทศนิยม 1 ตำแหนง
(2) แขวนชิน้ ทดสอบในแนวดิง่ ใหอยบู ริเวณกลางตอู บใหแตละชิน้ หางกันอยางนอย 20 มิลลิเมตร
เปนเวลา 7 วัน (168 ชัว่ โมง) ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 80 ± 2 องศาเซลเซียส ปริมาตรของชิน้ ทดสอบ
ตองไมเกินรอยละ 0.5 ของปริมาตรตอู บ
(3) เมือ่ อบชิน้ ทดสอบครบตามเวลาทีก่ ำหนด นำชิน้ ทดสอบไปวางในเดซิกเคเตอรทอี่ ณ ุ หภูมหิ อ ง
เปนเวลา 20 ชัว่ โมง แลวชัง่ ชิน้ ทดสอบแตละชิน้ คำนวณความแตกตาง ระหวางมวลทีช่ งั่ ได
ในขอ (1) กับขอ (3) ของแตละชิน้ แลวปดเศษเปนจำนวนมิลลิกรัมทีใ่ กลทสี่ ดุ

–35–
มอก. 11–2531

10.4.3.5 การรายงานผล
ใหรายงานผลเปนคามัธยฐาน ของคาทีไ่ ดจากการหาอัตราสวนคาแตกตางระหวางมวลทีช่ งั่ ไดของชิน้
ทดสอบแตละชิน้ ตอพืน้ ทีผ่ วิ A
10.4.4 ความทนตอการช็อกดวยความรอน
10.4.4.1 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดแกนใหมคี วามยาวทีเ่ หมาะสมจากตัวอยางทดสอบ 2 แหง แตละแหงหางกันอยางนอย 1 เมตร
ถามีสงิ่ หมุ ภายนอกแกนใหถอดออก แลวนำไปทำชิน้ ทดสอบ ดังนี้
(1) แกนทีม่ เี สนผานศูนยกลางไมเกิน 12.5 มิลลิเมตร ใหใชแกนเปนชิน้ ทดสอบ
(2) แกนทีม่ เี สนผานศูนยกลางเกิน 12.5 มิลลิเมตร ใหผา ฉนวนตามแนวแกนของสายไฟฟาทำเปน
แผนมีความกวางไมนอ ยกวา 1.5 เทาของความหนาแตไมนอ ยกวา 4 มิลลิเมตร
10.4.4.2 วิธที ดสอบ
พันชิน้ ทดสอบแตละชิน้ บนแมนเดรล ใหแนนเปนวงชิดกันและยึดปลายชิน้ ทดสอบใหอยกู บั ที่ ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ
หอง เสนผานศูนยกลางของแมนเดรลและจำนวนรอบทีพ่ นั ให เปนดังนี้
(1) ชิน้ ทดสอบตามขอ 10.4.4.1(1) ใหเปนไปตามตารางที่ 20 สำหรับสายแบนคใู หถอื วามิติ
แกนสัน้ เปนเสนผานศูนยกลางของชิน้ ทดสอบ และในการพันชิน้ ทดสอบใหแกนสัน้ ตัง้ ฉากกับ
แกนแมนเดรล
ตารางที่ 20 เสนผานศูนยกลางของแมนเดรลและจำนวนรอบ
(ขอ 10.4.4.2(1) และขอ 10.5.4.2(1))

เสนผานศูนยกลาง เสนผานศูนยกลาง
ของชิ้นทดสอบ ของแมนเดรล จํานวนรอบ
มิลลิเมตร มิลลิเมตร
ไมเกิน 2.5 5 6
เกิน 2.5 ถึง 4.5 9 6
เกิน 4.5 ถึง 6.5 13 6
เกิน 6.5 ถึง 9.5 19 4
เกิน 9.5 ถึง 12.5 40 2

หมายเหตุ การวัดเสนผานศูนยกลางของชิ้นทดสอบ ใหใชแคลลิเปอรสหรือเครื่องวัดอยาง


อื่นที่เหมาะสม
(2) ชิน้ ทดสอบตามขอ 10.4.4.1(2) ใหเปนไปตามตารางที่ 21 ในกรณีนี้ ผิวดานในของชิน้ ทดสอบ
ตองสัมผัสกับแมนเดรล

–36–
มอก. 11–2531

ตารางที่ 21 เสนผานศูนยกลางของแมนเดรลและจำนวนรอบ
(ขอ 10.4.4.2(2) และขอ 10.5.4.2(2)

ความหนาของชิ้นทดสอบ เสนผานศูนยกลาง
ของแมนเดรล จํานวนรอบ
มิลลิเมตร มิลลิเมตร
ไมเกิน 1 2
เกิน 1 ถึง 2 4
เกิน 2 ถึง 3 6 6
เกิน 3 ถึง 4 8
เกิน 4 ถึง 5 10
หมายเหตุ การวัดความหนาของชิ้นทดสอบ ใหใชแคลลิเปอรสหรือเครื่องวัดอยางอื่นที่
เหมาะสม
ุ หภูมิ 150 ± 2 องศาเซลเซียส เปนเวลา
นำชิน้ ทดสอบซึง่ พันอยบู นแมนเดรล ไปไวในตอู บทีม่ อี ณ
1 ชั่วโมง หลังจากนั้นนำชิ้นทดสอบทั้งที่ยังอยูบนแมนเดรลมาปลอยใหเย็นที่อุณหภูมิหอง
แลวตรวจพินจิ ชิน้ ทดสอบตองไมแตกราน
10.4.5 การเปลีย่ นรูปขณะมีแรงกดทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู
10.4.5.1 เครื่องมือ
เครือ่ งทดสอบดังแสดงในรูปที่ 4 ประกอบดวยแผนโลหะสีเ่ หลีย่ มผืนผาลักษณะคลายใบมีด ขอบหนา
0.70 ± 0.01 มิลลิเมตร ซึง่ ใชกดลงบนชิน้ ทดสอบ

หนวยเปนมิลลิเมตร
รูปที่ 4 เครือ่ งทดสอบการเปลีย่ นรูปขณะมีแรงกดทีอ่ ณ
ุ หภูมสิ งู
(ขอ 10.4.5 และขอ 10.5.5.3)

–37–
มอก. 11–2531

10.4.5.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ


ใชแกนตัวอยางทีม่ คี วามยาว 250 ถึง 500 มิลลิเมตร เปนชิน้ ทดสอบ 3 ชิน้ แตละชิน้ ตองตัดใหตอ
เนือ่ งกันยาวชิน้ ละ 50 ถึง 100 มิลลิเมตร ถาเปนสายแบนคไู มตอ งแยกแกนออกจากกัน
10.4.5.3 วิธที ดสอบ
วางชิน้ ทดสอบในลักษณะดังแสดงในรูปที่ 4 ถาเปนสายแบนคู ใหวางดานแบนในแนวราบ หากชิน้
ทดสอบมีเสนผานศูนยกลางเล็ก ใหยดึ ชิน้ ทดสอบเขากับทีร่ องรับในลักษณะทีจ่ ะไมทำใหชนิ้ ทดสอบงอ
เมือ่ มีแรงกดทีใ่ บมีดแรงทีก่ ดและใบมีดตองตัง้ ฉากกับแกนของชิน้ ทดสอบแรงทีใ่ ชใหคำนวณจากสูตร
F = k √ 2 Di -i2
เมื่อ F คือ แรงทีใ่ ชกดชิน้ ทดสอบ เปนนิวตัน
k คือ ตัวประกอบ
มีคา 0.6 สำหรับแกนของสายออนหรือแกนของสายไฟฟาที่ D ≤ 10 มิลลิเมตร
มีคา 0.8 สำหรับแกนของสายไฟฟาที่ D > 10 มิลลิเมตร
D คือ คาเฉลีย่ ของเสนผานศูนยกลางภายนอกของชิน้ ทดสอบ เปนมิลลิเมตร
i คือ คาเฉลีย่ ของความหนาฉนวนของชิน้ ทดสอบเปนมิลลิเมตร
คา i และ D ใหใชทศนิยม 1 ตำแหนง โดยตัดจากปลายชิน้ ทดสอบใหเปนแผนบาง แลวทดสอบตาม
วิธที กี่ ำหนดในขอ 10.2.1 และขอ 10.2.3 ตามลำดับ แรงทีใ่ ชกดบนชิน้ ทดสอบทีเ่ ปนสาบแบนคู
ตองเปน 2 เทาของคาทีค่ ำนวณไดตามสูตร เมือ่ D คือ คาเฉลีย่ ของมิตแิ กนสัน้ ของชิน้ ทดสอบ แรงที่
คำนวณไดอาจปดเศษลงไดไมเกินรอยละ 3
นำเครือ่ งทดสอบพรอมดวยชิน้ ทดสอบในลักษณะดังกลาวขางตน ไปอบเปนเวลา
4 ชัว่ โมง สำหรับสายไฟฟาทีม่ พี นื้ ทีห่ นาตัดไมเกิน 35 ตารางมิลลิเมตร
6 ชัว่ โมง สำหรับสายไฟฟาทีม่ พี นื้ ทีห่ นาตัด เกิน 35 ตารางมิลลิเมตร
ในตอู บทีม่ อี ณ ุ หภูมิ
70 ± 2 องศาเซลเซียส สำหรับสายออน
80 ± 2 องศาเซลเซียส สำหรับสายไฟฟา
เมือ่ ครบระยะเวลาทีก่ ำหนดแลว ทำใหชนิ้ ทดสอบตรงจุดกดเย็นลงขณะยังอยใู นตอู บ จนรอยกดคง
ตัวไมคนื รูปการทำใหเย็นนีอ้ าจใชน้ำหรืออากาศพนตรงจุดกด นำชิน้ ทดสอบออกจากเครือ่ งทดสอบ
แลวจมุ ชิน้ ทดสอบในน้ำเย็น
10.4.5.4 การวัดรอยกด
หลังจากจมุ ในน้ำเย็น ใหเตรียมชิน้ ทดสอบเพือ่ วัดความลึกทีร่ อยกดทันที โดยดึงตัวนำออกจากชิน้
ทดสอบ สวนทีเ่ หลือจะมีรปู รางเปนทอ ตัดชิน้ ทดสอบเปนแถบบางตามทิศทางในแนวแกนของชิน้
ทดสอบ โดยตัดใหตงั้ ฉากกับรอยกด ดังแสดงในรูปที่ 5 วางแถบใหอยใู นแนวราบบนเครือ่ งวัดแบบ
กลองจุลทรรศน หรือแบบเครือ่ งฉายปรับเสนกากบาทของกลองจุลทรรศนใหตรงกับจุดทีล่ กึ ทีส่ ดุ ของ
รอยกดและผิวนอกของชิน้ ทดสอบ ดังแสดงในรูปที่ 5

–38–
มอก. 11–2531

รูปที่ 5 การวัดรอยกด
(ขอ 10.4.5.4)

ในกรณีชนิ้ ทดสอบทีม่ เี สนผานศูนยกลางภายนอก ไมเกิน 6 มิลลิเมตร ใหตดั ชิน้ ทดสอบตามแนวขวาง


2 ครัง้ ตรงจุดทีล่ กึ ทีส่ ดุ ของรอยกดและจุดทีใ่ กลกบั รอยกด ดังแสดงในรูปที่ 6 หาความลึกของรอยกด
โดยใชกลองจุลทรรศน วัดความแตกตางระหวางความหนาของฉนวนของชิน้ ทดสอบตามภาคตัด 1
และภาคตัด 2 ดังแสดงในรูปที่ 6
ใหวดั เปนมิลลิเมตร ทศนิยม 2 ตำแหนง

หนวยเปนมิลลิเมตร
รูปที่ 6 การวัดรอยกดสำหรับชิน้ ทดสอบทีม่ เี สนผานศูนยกลางภายนอกไมเกิน 6 มิลลิเมตร
(ขอ 10.4.5.4)

–39–
มอก. 11–2531

10.4.5.5 การรายงานผล
ใหรายงานผลคามัธยฐานของความลึก ทีร่ อยกดของชิน้ ทดสอบทัง้ 3 ชิน้ เปนรอยละของความหนา
เฉลีย่ ของชิน้ ทดสอบทีว่ ดั ในขอ 10.4.5.3
10.5 เปลือก
10.5.1 ความตานแรงดึงและความยืดกอนเรงอายุใชงาน
10.5.1.1 เครื่องมือ
เชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.1.1
10.5.1.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดตัวอยางเปนชิน้ ทดสอบ 5 ชิน้ มีรปู รางเชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.1.2 (อีก 5 ชิน้ สำหรับ
การทดสอบภายหลังเรงอายุใชงาน โดยตัดจากบริเวณทีอ่ ยตู ดิ กัน การทดสอบความตานแรงดึงกอน
เรงอายุใชงานและภายหลังเรงอายุใชงาน ใหทำอยางตอเนือ่ งกันทันที) หากตัวอยางชำรุดซึง่ เกิดจาก
ความเสียหายทางกล ไมใหทำเปนชิน้ ทดสอบ
ถาเปลือกมีสนั ซึง่ เกิดจากแกนภายใน ใหผา เปลือกตามแนวสัน แลวขัดหรือตัดผลเนือ่ งจากสันนัน้ ให
เรียบ ในการทำชิน้ ทดสอบรูปทอ ใหถอดสวนตาง ๆ ทีอ่ ยภู ายในเปลือกออกใหหมด เชน แกน วัสดุ
เสริม และสิง่ หอหมุ ภายใน
10.5.1.3 การหาพืน้ ทีห่ นาตัดของชิน้ ทดสอบ
ใหปฏิบตั เิ ชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.1.3 แตการวัดความหนาของเปลือกและเสนผานศูนยกลาง
ของชิน้ ทดสอบตามวิธี ก. ใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.2.2 และขอ 10.2.3.3 ตามลำดับ สำหรับการวัดความ
หนาแนนตามวิธี ข. ใหใชชนิ้ ตัวอยางเพิม่ เติมตางหากจากตัวอยางเดียวกัน สำหรับชิน้ ทดสอบรูปทอ
ถาเปลือกมีสนั ใหใชวธิ ี ข. เทานัน้
10.5.1.4 การปรับภาวะของชิน้ ทดสอบ
ใหปฏิบตั ติ ามขอ 10.4.1.4
10.5.1.5 วิธที ดสอบ
ใหปฏิบตั เิ ชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.1.5
10.5.1.6 การรายงานผล
ใหปฏิบตั เิ ชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.1.6
10.5.2 ความตานแรงดึงและความยืดภายหลังเรงอายุใชงาน
ใหปฏิบตั เิ ชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.2
10.5.3 การสูญเสียของมวล
10.5.3.1 เครื่องมือ
เชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.3.1
10.5.3.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ถอดแกนหรือวัสดุอนื่ (ถามี) ทัง้ ภายในและภายนอกเปลือกออกจากชิน้ ตัวอยาง โดยไมใหเปลือกเปน
รอยหรือชำรุด แลวทำเปนชิน้ ทดสอบเชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.3.2
10.5.3.3 การคำนวณพืน้ ทีส่ ว นระเหย

–40–
มอก. 11–2531

ใหคำนวณพืน้ ทีผ่ วิ ของสวนระเหย ตามทีก่ ำหนดในขอ 10.4.3.3 เมือ่ ชิน้ ทดสอบรูปทอมีภาคตัดขวาง


รูปที่ 1 ข. และรูปที่ 1 ง. พืน้ ทีผ่ วิ ภายในและพืน้ ทีผ่ วิ ภายนอกของเปลือกสวนระเหยของสายแบนแกนคู
ใหคำนวณจากมิตขิ องภาคตัดขวางของเปลือก มิตนิ วี้ ดั เปนมิลลิเมตร ทศนิยม 2 ตำแหนง ดานในของ
เปลือกของสายแบนแกนคทู มี่ สี นั เปนรูปลิม่ อาจถือวาแบนราบ
10.5.3.4 วิธที ดสอบ
ใหปฏิบตั เิ ชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.3.4
10.5.3.5 การรายงานผล
ใหปฏิบตั เิ ชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.3.5
10.5.4 ความทนตอการช็อกดวยความรอน
10.5.4.1 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดสายไฟฟาทีม่ เี ปลือกใหมคี วามยาวทีเ่ หมาะสม จากตัวอยางทดสอบ 2 แหง หางกันอยางนอย 1
เมตร ถามีสงิ่ หมุ ภายนอกใหถอดออก แลวนำไปทำชิน้ ทดสอบ ดังนี้
(1) สายไฟฟาทีม่ เี สนผานศูนยกลางไมเกิน 12.5 มิลลิเมตร ใหใชสายไฟฟาเปนชิน้ ทดสอบ
(2) สายไฟฟาทีม่ เี สนผานศูนยกลางเกิน 12.5 มิลลิเมตร ใหผา เปลือกตามแกนของสายไฟฟาทำเปน
แผนมีความกวางไมนอ ยกวา 1.5 เทาของความหนาแตไมนอ ยกวา 4 มิลลิเมตร
(3) ในกรณีสายแบน ถามิตแิ กนสัน้ ของสายไมเกิน 12.5 มิลลิเมตร ใหใชสายเปนชิน้ ทดสอบ ถามิติ
แกนสัน้ ของสายเกิน 12.5 มิลลิเมตร ใหทำเปนชิน้ ทดสอบเชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ (2)
10.5.4.2 วิธที ดสอบ
พันชิน้ ทดสอบแตละชิน้ บนแมนเดรล ใหแนนเปนวงชิดกันและยึดปลายชิน้ ทดสอบใหอยกู บั ที่ ทีอ่ ณ ุ หภูมิ
หอง เสนผานศูนยกลางของแมนเดรลและจำนวนรอบทีพ่ นั ให เปนดังนี้
(1) ชิน้ ทดสอบตามขอ 10.5.4.1 (1) และขอ 10.5.4.1(3) ใหเปนไปตามตารางที่ 20
(2) ชิน้ ทดสอบตามขอ 10.5.4.1 (2) และขอ 10.5.4.1 (3) ซึง่ มาจากสายแบนกวางเกิน 12.5
มิลลิเมตร ใหเปนไปตามตารางที่ 21
นำชิน้ ทดสอบซึง่ พันอยบู นแมนเดรล ไปไวในตอู บทีม่ อี ณ ุ หภูมิ 150 ± 2 องศาเซลเซียส เปนเวลา 1
ชัว่ โมง หลังจากนัน้ นำชิน้ ทดสอบทัง้ ทีย่ งั อยบู นแมนเดรลมาปลอยใหเย็นทีอ่ ณ ุ หภูมหิ อ ง แลวตรวจพินจิ
ชิน้ ทดสอบตองไมแตกราน
10.5.5 การเปลีย่ นรูปขณะมีแรงกดทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู
10.5.5.1 เครื่องมือ
เชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.4.5.1
10.5.5.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ถอดสิง่ หมุ เปลือกและสวนภายในทีอ่ ยใู ตเปลือก เชน แกน วัสดุเสริม ออกจากตัวอยางทีม่ คี วามยาว
250 ถึง 500 มิลลิเมตร แลวตัดเปนชิน้ ตัวอยาง 3 ชิน้ แตละชิน้ ตองตัดใหตอ เนือ่ งกัน ยาวชิน้ ละ
50 ถึง 100 มิลลิเมตร (ใหใชตวั อยางยาวขึน้ ในกรณีทสี่ ายไฟฟามีเสนผานศูนยกลางใหญขนึ้ )
ถาเปลือกไมมสี นั ใหทำชิน้ ทดสอบโดยตัดชิน้ ตัวอยางตามแนวแกนของสายไฟฟา เปนแผนยาวซึง่ กวาง
ประมาณหนึง่ ในสามของเสนรอบวง

–41–
มอก. 11–2531

ถาเปลือกมีสนั ซึง่ เกิดจากแกน ใหทำชิน้ ทดสอบโดยตัดชิน้ ตัวอยางตามแนวของสัน และอยางนอยให


มีรอ งหนึง่ ระหวางสันอยใู นแนวกึง่ กลางของชิน้ ทดสอบ โดยประมาณ
10.5.5.3 วิธที ดสอบ
วางชิน้ ทดสอบในลักษณะดังแสดงในรูปที่ 4 โดยรองชิน้ ทดสอบดวยทอหรือแทงโลหะกลม ซึง่ อาจผา
ครึง่ ในแนวแกนเพือ่ ใหเปนทีร่ องทีม่ นั่ คง มีรศั มีประมาณครึง่ หนึง่ ของเสนผานศูนยกลางภายในของ
ชิน้ ทดสอบ
การจัดเครือ่ งทดสอบ ชิน้ ทดสอบ และทีร่ องชิน้ ทดสอบตองทำใหใบมีดกดตรงผิวภายนอกของชิน้
ทดสอบ แรงทีก่ ดและใบมีด ตองตัง้ ฉากกับแกนของทีร่ องชิน้ ทดสอบแรงทีใ่ ชใหคำนวณจากสูตร
F = k √ 2 Di -i2
เมื่อ F คือ แรงทีใ่ ชกดชิน้ ทดสอบ เปนนิวตัน
k คือ ตัวประกอบ
มีคา 0.6 สำหรับสายออน หรือสายไฟฟาที่ D ≤ 10 มิลลิเมตร
มีคา 0.8 สำหรับสายไฟฟาที่ D > 10 มิลลิเมตร
D คือ คาเฉลีย่ ของเสนผานศูนยกลางภายนอกของชิน้ ทดสอบ สำหรับสายแบนคือมิตแิ กนสัน้
เปนมิลลิเมตร
i คือ คาเฉลีย่ ของความหนาเปลือก ของชิน้ ทดสอบ เปนมิลลิเมตร
คา i และ D ใหใชทศนิยม 1 ตำแหนง โดยวัดตามวิธที กี่ ำหนดในขอ 10.2.2 และขอ 10.2.3 ตาม
ลำดับ
แรงทีค่ ำนวณไดอาจปดเศษลงไดไมเกินรอยละ 3
นำเครือ่ งทดสอบพรอมดวยชิน้ ทดสอบในลักษณะดังกลาวขางตน ไปอบเปนเวลา
4 ชัว่ โมง สำหรับชิน้ ทดสอบทีม่ เี สนผานศูนยกลางภายนอกไมเกิน 12.5 มิลลิเมตร
6 ชัว่ โมง สำหรับชิน้ ทดสอบทีม่ เี สนผานศูนยกลางภายนอกเกิน 12.5 มิลลิเมตร
ในตอู บทีม่ อี ณ
ุ หภูมิ
70 ± 2 องศาเซลเซียส สำหรับสายออน
80 ± 2 องศาเซลเซียส สำหรับสายไฟฟา
เมือ่ ครบระยะเวลาทีก่ ำหนดแลว ทำใหชนิ้ ทดสอบตรงจุดกดเย็นลงขณะยังอยใู นตอู บ จนรอยกดคงตัว
ไมคืนรูปการทำใหเย็นนี้อาจใชน้ำหรืออากาศพนตรงจุดกด นำชิ้นทดสอบออกจากเครื่องทดสอบ
แลวจมุ ชิน้ ทดสอบในน้ำเย็น
10.5.5.4 การวัดรอยกด
ใหปฏิบตั เิ ชนเดียวกับวิธที กี่ ำหนดในขอ 10.4.5.4
10.5.5.5 การรายงานผล
ใหรายงานผลคามัธยฐานของความลึก ทีร่ อยกดของชิน้ ทดสอบทัง้ 3 ชิน้ เปนรอยละของความหนา
เฉลีย่ ของชิน้ ทดสอบทีว่ ดั ในขอ 10.5.5.3

–42–
มอก. 11–2531

10.6 สายไฟฟา
10.6.1 ความตานทานของตัวนำ
วัดความตานทานของตัวนำแตละแกนจากตัวอยางสายไฟฟาทีม่ คี วามยาวอยางนอย 1 เมตร และใหคำนวณ
ความตานทานของตัวนำตอ 1 กิโลเมตร ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส จากสูตร
254.5 1 000
R20 = Rt x
234.5 + t L
เมื่อ R20 คือ ความตานทานของตัวนำ ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส เปนโอหมตอกิโลเมตร
Rt คือ ความตานทานของสายไฟฟายาว L เมตร ทีอ่ ณ ุ หภูมิ t เปนโอหม
t คือ อุณหภูมขิ องตัวอยางสายไฟฟาขณะทีว่ ดั เปนองศาเซลเซียส
L คือ ความยาวของตัวอยางสายไฟฟา เปนเมตร (มิใชความยาวของแตละแกนหรือเสนลวด)
10.6.2 ความทนทางไฟฟาของสายไฟฟา
10.6.2.1 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ใชตวั อยางสายไฟฟาเปนชิน้ ทดสอบ 1 ชิน้ ยาวอยางนอย 10 เมตร
10.6.2.2 วิธที ดสอบ
แชชนิ้ ทดสอบในน้ำทีอ่ ณ ุ หภูมิ 20 ± 5 องศาเซลเซียส เปนเวลาอยางนอย 1 ชัว่ โมง โดยใหปลายชิน้
ทดสอบทัง้ 2 ขางโผลพน ผิวน้ำขึน้ มาประมาณขางละ 250 มิลลิเมตร จายแรงดันไฟฟากระแสสลับ
ความถี่ 50 แฮรตซ ระหวางตัวนำแตละแกนกับตัวนำทีเ่ หลือทัง้ หมดซึง่ ตอเขาดวยกัน ระหวางตัวนำ
แตละแกนกับน้ำ และระหวางตัวนำทัง้ หมดซึง่ ตอเขาดวยกันกับน้ำ แรงดันไฟฟาทดสอบมีคา ดังนี้
2 000 โวลต สำหรับสายไฟฟาทีม่ แี รงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 300 โวลต
2 500 โวลต สำหรับสายไฟฟาทีม่ แี รงดันไฟฟาทีก่ ำหนด 750 โวลต
1 500 โวลต สำหรับสายดิน
คงคาแรงดันไฟฟาทดสอบไวเปนเวลา 5 นาที ระหวางทดสอบสายไฟฟาตองไมเสียสภาพพลันหรือวาบ
ไฟตามผิว
10.6.3 ความทนทางไฟฟาของแกน
10.6.3.1 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดตัวอยางสายไฟฟาใหมคี วามยาวประมาณ 5 เมตร ปอกเปลือก สิง่ หมุ หรือวัสดุเสริมออกโดยไม
ทำใหแกนเสียหาย
ในกรณีสายแบนคู ใหผา ระหวางแกน แลวใชมอื แยกแกนออกจากกันยาวประมาณ 2 เมตร
10.6.3.2 วิธที ดสอบ
ใหปฏิบตั เิ ชนเดียวกับทีก่ ำหนดในขอ 10.6.2.2 แตจา ยแรงดันไฟฟากระแสสลับระหวางตัวนำกับน้ำ
ระหวางทดสอบแกนตองไมเสียสภาพฉับพลันหรือวาบไฟตามผิว
10.6.4 ความตานทานของฉนวน
10.6.4.1 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ใชแกนเปนชิน้ ทดสอบยาวประมาณ 5 เมตร จากชิน้ ทดสอบทีผ่ า นการทดสอบตามขอ 10.6.3 หาก
เปนไปไมไดใหใชตามขอ 10.6.2

–43–
มอก. 11–2531

10.6.4.2 วิธที ดสอบ


ุ หภูมิ 70 ± 2 องศาเซลเซียส เปนเวลาอยางนอย 2 ขัว่ โมง โดยใหปลายชิน้
แชชนิ้ ทดสอบในน้ำทีม่ อี ณ
ทดสอบทัง้ 2 ขางโผลพน ผิวน้ำขึน้ มาประมาณขางละ 250 มิลลิเมตร จายแรงดันไฟฟากระแสตรงทีม่ ี
คาระหวาง 80 กับ 500 โวลต ระหวางตัวนำกับน้ำ หลังจากผานแรงดันไฟฟา 1 นาที วัดคาความตาน
ทานของฉนวน
10.6.5 ความโคงงอของสายออน
ใชทดสอบเฉพาะสายออน ทีต่ วั นำแตละแกนมีขนาดไมเกิน 2.5 ตารางมิลลิเมตร และมีจำนวนแกนไมเกิน
4 แกน (ไมรวมสายดิน)
10.6.5.1 เครื่องมือ
เครือ่ งทดสอบดังแสดงในรูปที่ 7 ประกอบดวยสวนเคลือ่ นที่ ค ซึง่ มีรอก 2 อัน คือ ก และ ข จัดวาง
ในตำแหนงทีท่ ำใหสายไฟฟา อยใู นแนวระดับระหวางรอกทัง้ สอง สวนเคลือ่ นที่ ค สามารถเคลือ่ นไปมา
ระหวางระยะทาง 1 เมตรดวยความเร็วคงทีป่ ระมาณ 0.33 เมตรตอวินาที

รูปที่ 7 เครือ่ งทดสอบความโคงงอของสายออน


(ขอ 10.6.5)

10.6.5.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ


ใชตวั อยางสายออนเปนชิน้ ทดสอบ 1 ชิน้ ยาวประมาณ 5 เมตร
10.6.5.3 วิธที ดสอบ
ขึงชิน้ ทดสอบพาดบนรอกดังแสดงในรูปที่ 7 แขวนน้ำหนักทีป่ ลายแตละขาง น้ำหนักทดสอบและเสน
ผานศูนยกลางของรอกใหเปนไปตามทีก่ ำหนดในตารางที่ 22

–44–
มอก. 11–2531

ตารางที่ 22 น้ำหนักทดสอบและเสนผานศูนยกลางของรอก
(ขอ 10.6.5.3)
ชนิดของสายออน น้ําหนักทดสอบ เสนผานศูนยกลางของรอก
กิโลกรัม มิลลิเมตร
1. สายแบนคูและสายออน 1.0 60
2. สายออนมีเปลือกที่มีพื้นที่หนาตัดระบุ
- ไมเกิน 1 ตารางมิลลิเมตร 1.0 80
- 1.5 และ 2.5 ตารางมิลลิเมตร 1.5 120
ในการทดสอบสายออนกลมใหใชรอกทีม่ รี อ งครึง่ วงกลมและในการทดสอบสายแบนคใู หใชรอกทีม่ ี
รองแบน ตรึงทีจ่ บั ง ติดกับสายไฟฟา ดังแสดงในรูปที่ 7 เพือ่ ใหแรงดึงเกิดจากตมุ น้ำหนักทีอ่ ยตู รง
ขามกับทิศทางการเคลือ่ นทีเ่ ทานัน้
จายกระแสไฟฟาประมาณ 1 แอมแปรตอ ตารางมิลลิเมตร ใหกบั ตัวนำแตละเสน
ในกรณีสายออน 2 แกน และสายออน 3 แกนมีเปลือกใหใชแรงดันไฟฟากระแสสลับ 220 โวลต
ในกรณีสายออนชนิดอืน่ ทีม่ ี 3 แกนขึน้ ไป ใหใชแรงดันไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส 380 โวลต ปอนเขา
กับแกนทัง้ 3 ถามีแกนทีเ่ กินจากการที่ 3 ใหตอ เขากับสายกลาง
10.6.6 ความติดแนนระหวางแกนของสายแบนคู
10.6.6.1 เครื่องมือ
เครือ่ งทดสอบความตานแรงดึงทีม่ อี ตั ราการดึงประมาณ 50 มิลลิเมตรตอวินาที
10.6.6.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ใชสายแบนคเู ปนชิน้ ทดสอบ 1 ชิน้ ยาวพอประมาณ
10.6.6.3 วิธที ดสอบ
ผาชิน้ ทดสอบระหวางแกน แลวแยกแกนออกจากกันใหมรี ะยะพอทีจ่ ะใหเครือ่ งทดสอบ จับปลายที่
แยกจากกันไดใชแรงดึงทดสอบจนขาดออกจากกัน บันทึกคาแรงดึงทีใ่ ช
10.6.7 ความตานทานการลุกไหม
10.6.7.1 เครื่องมือ
(1) ตะเกียงกาซ
ใหใชตะเกียงกาซซึง่ สามารถปรับกาซใหเปลวไฟสูงประมาณ 175 มิลลิเมตร และใหเปลวไฟ
รูปกรวยสีน้ำเงินสูงประมาณ 55 มิลลิเมตร และมีคุณลักษณะตามขอ 10.7.6.2 ตัวอยาง
ตะเกียงกาซทีเ่ หมาะสมแสดงไวในรูปที่ 8

–45–
มอก. 11–2531

หนวยเปนมิลลิเมตร
รูปที่ 8 ตัวอยางตะเกียงกาซ (ภาคตัด)
(ขอ 10.6.7.1(1))

ถาชิน้ ทดสอบมีเสนผานศูนยกลางไมเกิน 50 มิลลิเมตร ใหใชตะเกียง 1 ดวงวางในตำแหนง


ดังแสดงในรูปที่ 9
ถาชิน้ ทดสอบมีเสนผานศูนยกลางเกิน 50 มิลลิเมตร ใหใชตะเกียง 2 ดวงวางในตำแหนงดัง
แสดงในรูปที่ 9

–46–
มอก. 11–2531

รูปที่ 9 การจัดวางตะเกียงกาซ
(ขอ 10.6.7.1(1))

10.6.7.2 การตรวจสอบการทำงานของตะเกียง
วางตะเกียงโดยใหแกนของตะเกียงอยใู นแนวดิง่ ใชลวดทองแดงเปลือยทีม่ เี สนผานศูนยกลาง 0.7
± 0.025 มิลลิเมตร และมีความยาวพนทีจ่ บ ั ไมนอ ยกวา 100 มิลลิเมตร ปลายอีกขางหนึง่ แหยเขาไป
ในเปลวไฟ ตามแนวระนาบ ทีร่ ะยะเหนือสวนบนของเปลวไฟรูปกรวยสีน้ำเงิน 10 มิลลิเมตร จนปลาย
ลวดอยเู หนือขอบตะเกียงดานทีไ่ กลจากทีจ่ บั ลวด เวลาทีท่ ำใหลวดหลอมตองไมเกิน 6 วินาที และไม
นอยกวา 4 วินาที

–47–
มอก. 11–2531

10.6.7.3 การเตรียมชิน้ ทดสอบ


ใชตวั อยางสายไฟฟาเปนชิน้ ทดสอบ 1 ชิน้ ยาว 600 ± 25 มิลลิเมตร
10.6.7.4 วิธที ดสอบ
จับยึดปลายชิน้ ทดสอบทัง้ 2 ขางในแนวดิง่ ใหอยกู งึ่ กลางของทีก่ ำบังซึง่ ทำดวยโลหะ มีมติ ขิ องดาน
ทัง้ สามเปนดังนี้ สูง 1 200 ± 25 มิลลิเมตร กวาง 300 ± 25 มิลลิเมตร และลึก 450 ± 25 มิลลิ
เมตร โดยเปดดานหนาและปดดานบนกับดานลาง ดานลางตองเปนอโลหะ ทีจ่ บั ยึดตองมีความกวาง
ประมาณ 25 มิลลิเมตร และจัดใหระยะระหวางสวนบนของทีจ่ บั ยึดตัวลางกับสวนลางของทีจ่ บั ยึดตัวบน
หางกัน 550 ± 25 มิลลิเมตร การทดสอบใหทำในทีท่ ไี่ มมลี ม จัดชิน้ ทดสอบใหสว นลางของชิน้ ทดสอบ
อยเู หนือดานลางของทีก่ ำบังประมาณ 50 มิลลิเมตร ดังแสดงในรูปที่ 10 วางตะเกียงใหแกนของ
ตะเกียงทำมุม 45 องศากับแกนของชิน้ ทดสอบ โดยใหเปลวไฟรูปกรวยสีน้ำเงินอยหู า งจากผิวของ
ชิน้ ทดสอบประมาณ 10 มิลลิเมตร วัดตามแนวแกนของเปลวไฟ และอยตู ่ำกวาสวนลางของทีจ่ บั ยึด
ตัวบน 475 มิลลิเมตร
ใหใชเปลวไฟทดสอบอยางตอเนือ่ ง เวลาทีใ่ ชทดสอบ
คำนวณไดจากสูตร
m
t = 60 +
25
เมื่อ t คือ เวลาทีใ่ ชตดิ ตอกัน เปนวินาที
m คือ มวลของชิน้ ทดสอบ คิดจากความยาว 600 มิลลิเมตร เปนกรัม
หลังจากไฟดับเองแลว เช็ดใหสะอาดเพือ่ ตรวจดูสว นทีไ่ หม

–48–
มอก. 11–2531

หนวยเปนมิลลิเมตร
รูปที่ 10 การจัดวางชิน้ ทดสอบในทีก่ ำบัง
(ขอ 10.6.7.4)

–49–
มอก. 11–2531

ภาคผนวก ก.
การคำนวณความตานทานของฉนวน
(ขอ 4.1)

คาความตานทานของฉนวนทีก่ ำหนดในตารางที่ 1 ถึงตารางที่ 17 ใชความตานทานทางปริมาตร 1 x 108 โอหมเมตร


โดยคำนวณจากสูตรดังนี้
D
R = 0.036 7 log
d
เมื่อ R คือ ความตานทานของฉนวน เปนเมกะโอหมกิโลเมตร
D คือ เสนผานศูนยกลางภายนอกระบุของฉนวน เปนมิลลิเมตร
d คือ เสนผานศูนยกลางของวงกลมทีล่ อ มรอบตัวนำ เปนมิลลิเมตร

–50–
มอก. 11–2531

ภาคผนวก ข.
การคำนวณหาความหนาแนนโดยวิธพี กิ โนมิเตอร
(ขอ 10.4.1.3)

ข.1 เครื่องมือ
ข.1.1 เครือ่ งชัง่ ทีช่ งั่ ไดละเอียดถึง 0.1 มิลลิกรัม
ข.1.2 ทีจ่ บั ยึดพิกโนมิเตอร
ข.1.3 พิกโนมิเตอรทมี่ คี วามจุ 50 ลูกบาศกเซนติเมตร
ข.1.4 อางของเหลวทีค่ วบคุมอุณหภูมไิ ด
ข.2 การเตรียมชิน้ ทดสอบ
ตัดตัวอยางฉนวนหรือเปลือกเปนชิน้ เล็กเพือ่ ทำเปนชิน้ ทดสอบมีมวลไมนอ ยกวา 1 กรัม แตไมเกิน 5 กรัม
ถาฉนวนหรือเปลือกเปนรูปทอใหผา ตามยาวเปน 2 ซีกหรือมากกวา เพือ่ ปองกันการเกิดฟองอากาศภายใน
ข.3 การปรับภาวะของชิน้ ทดสอบ
เก็บชิน้ ทดสอบไวทอี่ ณ ุ หภูมโิ ดยรอบ 23 ± 2 องศาเซลเซียส
ข.4 วิธที ดสอบ
ทำความสะอาดพิกโนมิเตอร ปลอยใหแหงแลวชัง่ ใสชนิ้ ทดสอบปริมาณทีเ่ หมาะสมลงในพิกโนมิเตอรแลวชัง่
เทแอลกอฮอลบริสทุ ธิร์ อ ยละ 96 ลงในพิกโนมิเตอรใหทว มชิน้ ทดสอบและไลอากาศออกจากชิน้ ทดสอบโดย
อาจทำใหพิกโนมิเตอรเปนสูญญากาศดวยการใสไวในเดซิกเคเตอร นำพิกโนมิเตอรออกจากเดซิกเคเตอร
เติมแอลกอฮอลลงในพิกโนมิเตอรจนเต็ม แลวนำไปแชในอางของเหลวโดยทำใหอณ ุ หภูมขิ องแอลกอฮอลมคี า
23 ± 0.5 องศาเซลเซียส นำพิกโนมิเตอรขนึ้ จากอางของเหลว เช็ดใหแหง แลวชัง่ ทำความสะอาดพิกโนมิเตอร
แลวใสแอลกอฮอลจนเต็ม ไลอากาศออกแลวชัง่
ข.5 วิธคี ำนวณ
ความหนาแนนที่ 23 องศาเซลเซียส m x 0.798 8
=
กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร m1 - m2
เมื่อ m คือ มวลของชิน้ ทดสอบ เปนกรัม
m1 คือ มวลของแอลกอฮอลบรรจุเต็มพิกโนมิเตอร เปนกรัม
m2 คือ มวลของแอลกอฮอลบรรจุเต็มพิกโนมิเตอร เมือ่ มีชนิ้ ทดสอบบรรจุอยดู ว ย เปนกรัม
0.798 8 คือ ความหนาแนนของแอลกอฮอลบริสทุ ธิ์ รอยละ 96 ที่ 23 องศาเซลเซียส เปนกรัม
ตอลูกบาศกเซนติเมตร

–51–

You might also like