You are on page 1of 36

ลักษณะและการทํางานของปั๊ม

ปั๊ม คือ เครื่ องมือกลที่ทาํ หน้าที่เพิ่มพลังงานให้แก่ของเหลวเพื่อให้ของเหลว


นั้นไหลผ่านระบบท่อปิ ดจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง

หลักการใช้ งานทัว่ ไป
 จากบริ เวณที่มีระดับนํ้าตํ่าไปสู่บริ เวณที่มีระดับนํ้าสูงกว่า
 จากบริ เวณที่มีความดันตํ่าไปสู่บริ เวณที่มีความดันสู ง
 ที่มีระยะทางไกลๆ

การจําแนกประเภทปั๊ม
1. แยกตามลักษณะการเพิม่ พลังงานให้ แก่ ของเหลว
2. แยกประเภทตามลักษณะการขับดันของเหลวในเครื่ องสู บ แบ่ ง
ออกเป็ น 2 ประเภท
 Non-positive displacement ปั๊ มที่อาศัยแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง จะ
ให้อตั ราการไหลสู งแต่แรงดันค่อนข้างตํ่า)
 Positive Displacement พลัง งานจะถู ก ส่ ง ให้ กับ ของเหลวเป็ น
จังหวะโดยปกติจะให้อตั ราการไหลที่ค่อนข้างตํ่าแต่จะให้แรงดัน
สูง ปั๊ มแบบนี้ได้แก่ ปั๊ มลูกสูบรวมและแบบโรตารี่ ปั๊ม

การทํางานของ Centrifugal Pump (ปั๊มแบบไคเนติก: Kinetic pump)

 ทํางานโดยอาศัยการหมุนโดยใบพัด (Impeller)
ซึ่งได้รับพลังงานจากเครื่ องยนต์หรื อมอเตอร์ไฟฟ้ า

ของเหลวจะถูกผลักดันโดยการหมุนของครี บ
ใบพัด (Vane) ทําให้เกิดการไหลในแนวสัมผัสกับ
เส้นรอบวง (Tangential flow) การไหลในลักษณะ
ดั ง ก ล่ า ว จ ะ เ กิ ด แ ร ง เ ห วี่ ย ง ห นี ศู น ย์ ก ล า ง
(Centrifugal force) และเป็ นผลให้ของเหลวไหล
ไปสู่แนวเส้นรอบวงทุกทิศทุกทาง
โดยหลัก ชลศาสตร์ เ มื่ อ ของเหลว
ถูกหมุนในภาชนะปิ ดและมี ความเร็ ว
มากพอ ความกดอากาศที่จุดศูนย์กลาง
ข อ ง ใ บ พั ด จ ะ ตํ่ า ก ว่ า ค ว า ม ดั น
บรรยากาศทําให้ของเหลวไหลสู่ ทาง
ดูด (suction opening)

 เมื่อของเหลวถูกดูดและถูกผลักโดยครี บใบพัด ของเหลวก็จะไหลมาตามแนวเส้น


รอบวงและถูกรวบรวมโดยเรื อนปั๊ม (casing) และไหลไปสู่ทางจ่าย (discharge opening)
 เพื่อที่จะรวบรวมของเหลวจะต้องมีจุดหนึ่งที่ชิดกับเรื อนปั๊มเรี ยกว่า ลิน้ ของเรื อน
ปั๊ม (tongue of the casing)

แบบต่ างๆของ Centrifugal Pump


1. แบบหอยโขง (Volute Type)

2. แบบมีครี บผันนํ้า (Diffuser Type)

3. แบบเทอร์ไบน์ (Turbine Type)

4. แบบ Vertical Turbine Type

5. แบบ Mixed Flow

6. แบบ Axial Flow


Volute Type

Single volute double volute

 เป็ นแบบที่ของเหลวไหลเข้าสู่จุดศูนย์กลางของใบพัดแล้วไหลออกทํามุม 90° กับ


ทิศทางของการไหลเข้า
ช่องทางเดินของของเหลวมีท้ งั แบบ Single and double volute

Diffuser Type
ใบพัด และรู ป ร่ า งภายนอกจะเหมื อ นกับ
แบบ Volute Type ทุกอย่างแต่จะต่างกันที่ปั๊ม
แบบนี้จะมีครี บผันนํ้า (Guide Vanes) ครี บ
ดังกล่าวจะอยูต่ ิดกับเรื อนปั้ มช่วยให้ของเหลว
ที่ ถู ก ผลัก ดัน ออกมาค่ อ ยๆเบนทิ ศ ทางไปสู่
ช่ อ งทางเดิ น ทํา ให้ มี ก ารสู ญ เสี ย พลัง งาน
น้อยลง และมีผลทําให้ kinetic energy มาเป็ น
พลัง งานศั ก ดิ์ ในรู ปความดั น (pressure) มี
ประสิ ทธิภาพดีข้ ึน
Turbine Type
 ปั๊ ม แ บ บ นี้ บ า ง ค รั้ ง เ รี ย ก ว่ า vortex,
periphery หรื อ regenerative turbine
ลักษณะพิเศษคือใบพัดจะเป็ นแผ่นแบน
กลมมีความหนา ครี บของใบพัดเกิดจาก
การเซาะร่ องบนขอบของใบพัด
 เมื่ อ ของเหลวไหลเข้ า สู่ ช่ องทางดู ด
ช่ องว่างระหว่างครี บของใบพัดมันจะถูก
เหวี่ ย งออกด้ ว ยแรงหนี ศู น ย์ ก ลางแต่
เนื่ องจากผนังของเรื อนปั๊ ม ของเหลวจึ ง
ไหลย้อนกลับ และกระทําแบบนี้ไปเรื่ อยๆ
จนถึงช่องทางจ่าย (Discharge Opening)
 ยิง่ จํานวนครั้งของการไหลสู่ช่องว่างระหว่างครี บมีผลต่อการเพิ่มพลังงานศักดิ์

Vertical Turbine หรือ Deep Wall Turbine


 ปั๊มแบบนี้ผลิตขึ้นมาเพื่อสู บนํ้าบาดาลโดยออกแบบ
ให้ใบพัดเป็ นแบบ radial flow หรื อ mixed flow
และประกอบด้วยเรื อนปั๊ มหลายชุดเข้าด้วยกันเป็ น
ชั้นๆ โดยอาศัยเพลาหมุนใบพัดท่อนเดียวกัน เรื อน
ปั๊ ม (Casing) ต้องดัดแปลงให้รับนํ้าจากใบพัดแล้ว
ส่ งขึ้นไปสู่ ทางดูดของใบพัดตัวบน เรื อนปั๊ มแบบนี้
เรี ยกว่าโบว์ล (Bowl)
 โบว์ล 1 ชุดเทียบได้กบั ปั๊ ม 1 เครื่ อง โดยทัว่ ไปปั๊ ม
แบบ Vertical Turbine จะมีมากกว่าหนึ่งชั้น ในการ
เรี ยกชื่อจึงจําเป็ นที่จะต้องบอกจํานวนชั้นควบคู่ไป
ด้วย ตัวอย่างเช่น three-state deep wall turbine
Mixed Flow
 เป็ นปั๊ มที่เรี ยกตามลักษณะของใบพัดหรื อทิศทางการไหลของของเหลวออกจาก
ใบพัด ปั๊ มหรื อใบพัดแบบนี้จะเพิ่มพลังงานให้แก่ของเหลวโดยอาศัยทั้งแรงเหวี่ยง
หนีศูนย์กลางและแรงผลักดันของแผ่นใบพัดในแนวขนานกับแกนเพลา ของเหลว
ที่ไหลออกจะทํามุม 45-80o กับแกนเพลา ปั๊ มแบบนี้ให้ head น้อยกว่า radial flow
แต่จะให้อตั ราการสูบสู งกว่า ปั๊มแบบนี้ใช้มากในแบบ vertical turbine

Axial flow

 ปั๊ มแบบนี้ ของเหลวที่ไหลเข้าและออกจากใบพัดมีทิศทางขนานกับแกนของ


เพลาแรงที่ เพิ่มพลังงานให้กบั ของเหลวเป็ นแรงผลักดันในทิศทางการไหล
เพียงอย่างเดียว ไม่มีแรงเหวี่ยงหนี ศูนย์กลาง ปั๊ มแบบนี้จะให้ Head ตํ่าแต่ให้
อัตราการสูบถึง 100,000 ลูกบาศก์เมตรต่อชัว่ โมง
ลักษณะใบพัดของปั๊มแบบ Centrifugal

Open Impeller Enclosed Impeller Semi-open Impeller


Affinity Laws
ในการนําปั๊ มไปใช้งานจริ ง สภาพการทํางานอาจไม่เหมือนกับที่ทาํ การทดลองไว้
ความแตกต่างนี้แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะด้ายกัน คือ
1. รอบของความเร็ วเปลี่ยนไป
2. ขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางเปลี่ยนไป
Affinity Laws (กฎความคล้ าย)

เมือ่ ขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลางของใบพัดมีค่าคงทีแ่ ต่ มกี ารเปลีย่ นแปลงรอบความเร็ว


Q1 N1

Q2 N 2
2
H 1  N1 
  
H 2  N2 
3
Bhp1  N1 
 
Bhp2  N 2 

สมการทั้ง 3 นี้ จะถือว่าประสิ ทธิ์ ภาพการทํางานของปั๊ มจะไม่เปลี่ยนแปลงเมื่ อ


ความเร็ วเปลี่ยนไม่เกิน 25% ของความเร็ วที่ออกแบบ
เมือ่ รอบความเร็วคงที่ แต่ ขนาดของเส้ นผ่ าศูนย์ กลางเปลีย่ นไป
3
Q1  D1 
 
Q2  D2 
2
H1  D1 
  
H 2  D2 
5
Bhp1  D1 
 
Bhp2  D2 

สมการนี้ใช้ได้กบั ปั๊ มเซนตริ ฟกู อลเท่านั้น

ตัวอย่ าง
ปั๊ มสู บนํ้าได้ 1700 แกลลอนต่อนาที ที่เฮด 180 ฟุตและแรงม้าที่ตอ้ งการ (Bhp)
เท่ากับ 84 แรงม้า เมื่อใบพัดหมุนด้วยความเร็ ว 2000 รอบต่อนาที จงหาอัตราการ
สู บ, เฮด และ Bhp เมื่อความเร็ วรอบเปลี่ยนไปเป็ น 1600 รอบต่อนาที

วิธีทาํ
Q1 N1 1600
 Q1  1700  1360 gal / min
Q2 N 2 2000
2 2
H 1  N1   1600 
   H1    180  115.2 ft
H 2  N2   2000 
3 3
Bhp1  N1   1600 
  Bhp1     84  43 hp.
Bhp2  N 2   2000 
ปั๊มแบบแทนทีโ่ ดยปริมาตร (positive displacement pump)
 อาศัยการแทนที่ปริ มาตรของไหลตามกลไกการเคลื่อนตัวภายในตัวปั๊ม
 ปั๊มแบบเกียร์ (gear pump)
 ปั๊มชนิดลอน (lobe pump)
 ปั๊มโรตารี่ ชนิดสว่าน (screw pump)
 ปั๊มลูกสูบ (reciprocating pump)

Rotary Pump
 ปั๊ มโรตารี่ (rotary pump) เป็ นปั๊ ม (pump) ประเภท positive displacement
pump ที่เพิ่มพลังงานของเหลว โดยอาศัยการหมุนของฟันเฟื องรอบแกนกลาง
มีชิ้นส่ วนภายในที่หมุนได้ เพื่อตักหรื อตวงของเหลว ของเหลวถูกดูดเข้าและ
อัดปล่อยออก โดย การหมุนรอบจุดศูนย์กลางของเครื่ องมือกล ซึ่ งมีช่องว่าง
ให้ข องเหลวไหลเข้า ทางด้า นดู ด และเก็บ อยู่ร ะหว่า งผนัง ของห้อ งสู บ กับ
ชิ้นส่ วนที่หมุนหรื อโรเตอร์ จนกว่าจะถึงด้านจ่าย การหมุนของโรเตอร์ ทาํ ให้
เกิดการแทนที่เป็ นการเพิ่มปริ มาตรของของเหลว (Positive Displacement) ให้
ทางด้านจ่าย
โรตารี่แบบเฟื อง (gear pump)

 เป็ นปั๊ มที่แพร่ หลายที่สุด จะประกอบด้วยฟั นเฟื องสองตัวหมุนขบกันใน


ห้องสู บ ของเหลวจากทางดู ดจะไหลเข้าไปในร่ องฟั น ซึ่ งหมุ นและพา
ของเหลวไปสู่ ทางจ่าย ซี่ของฟันเฟื องจะอยูช่ ิดกับผนังของห้องสู บป้ องกัน
ไม่ให้ของเหลวไหลย้อนมาสู่ ช่องทางดูดได้ ตัวอย่างของการใช้ปั๊มแบบนี้
คือ ice-cream, molasses และ oil
http://www.youtube.com/watch?v=c6gwU7IHtlo&list=PL74CEB87AE394403B
http://www.youtube.com/watch?v=KbOVoW1C_nE

ปั๊มโรตารี่แบบครีบ

 ปั๊ ม แบบนี้ มี ห้อ งสู บ เป็ นรู ป ทรงกระบอกและมี โ รเตอร์ ซ่ ึ งเป็ นทรงกระบอก
เหมื อนกันวางเยื้องศูนย์ รอบๆโรเตอร์ จะมี ครี บที่ เลื่อนได้ในแนวเข้าออกจาก
ศูนย์กลางมาชนกับฝาผนังของห้องสู บ เมื่อโรเตอร์ หมุนครี บเหล่านี้ก็จะกวาดเอา
ของเหลวซึ่งอยูร่ ะหว่างโรเตอร์กบั ห้องสู บไปสู่ทางจ่าย
ปั๊มโรตารี่แบบลอน

 ปั๊ มแบบนี้มีลกั ษณะคล้ายกับแบบเฟื อง แต่ตวั โรเตอร์ มี


ลักษณะเป็ นลอน ช่องว่างระหว่างลอนมีลกั ษณะแบน
และกว้าง ดังนั้นอัตราการสูบจึงมากกว่าแบบเฟื อง

ปั๊มโรตารี่แบบสว่ าน
 ปั๊ มแบบนี้ จะเพิ่ ม พลั ง งาน
ให้กบั ของเหลวโดยอาศัยโร
เตอร์ ที่มีลกั ษณะเป็ นสว่านที่
หมุนในลักษณะขับดันให้ให้
ของเหลวเคลื่อนที่ไประหว่าง
ร่ องเกลียวสว่านกับผนังของ
ห้องสูบ

http://www.youtube.com/watch?v=BM-vUd9fAbc
ประสิ ทธิภาพการทํางานของโรตารี่ปั๊มขึน้ อยู่กบั
1. ช่องว่าง (Clearance) ระหว่างโรเตอร์กบั ผนังสูบ
2. ความแตกต่างของความดันระหว่างด้านสูบและด้านจ่าย
3. ความเข้มข้นของของเหลว
4. ความเร็ วของการหมุน

ลักษณะและการทํางานของปั๊บแบบลูกสู บชัก
(Reciprocating Pump)
 เป็ นการเพิม่ พลังงานให้แก่ของเหลวโดยการเคลื่อนที่ของลูกสูบเข้าไปอัด
ของเหลวให้ไหลไปสู่ ทางจ่าย
 ปริ มาตรของๆ เหลวที่สูบได้ในแต่ละครั้งจะเท่ากับผลคูณของพื้นที่หน้าตัด
กระบอกสูบกับช่วงชักของกระบอกสูบนั้น
 ต่างจากโรตารี่ ปั๊มตรงที่ เป็ นการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงในขณะที่โรตารี่
ปั๊ มจะเคลื่อนที่โดยการหมุนรอบแกน
แบบขับดันโดยตรง (Direct-acting)
 เป็ นปั๊ มที่มีลกั ษณะการทํางานคล้ายกระบอกสู บเครื่ องยนต์ เมื่อมีการอัด
ของเหลวไปสู่ ทางจ่ ายแล้วก็จะต้องมี การดู ดของเหลวที่ ตอ้ งการดู ดมา
แทนที่ ในช่ วงดังกล่าวนี้ การไหลๆของของเหลวก็จะขาดช่ วง การไหล
แบบนี้เรี ยกว่า อัดจังหวะเดียว (Single-acting)

 ในการใช้งานส่ วนใหญ่ตอ้ งการอัตราการไหลที่สมํ่าเสมอ จึงได้มีการดัดแปลง


กระบอกสู บให้ทาํ งานได้ในทั้งจังหวะดูดและจังหวะอัด

การอัดในลักษณะนี้เรี ยกว่า แบบอัดสองจังหวะ (double-acting)


ตัวอย่างกราฟแสดงอัตราการไหลของปั๊มลูกสูบชัก แบบสองและสามสูบ

แบบ Rotary Piston

 ปั๊ มแบบนี้ การดูดและการอัดจะเกิดจากการหมุนของโรเตอร์ ซ่ ึ งก่อให้เกิดการ


กดและคายบนลูกสู บรอบๆเวียนกันไป
 ในทางตรงกันข้ามถ้าหากส่ วนที่เป็ นกระบอกสู บเคลื่อนที่แต่เสื่ อสู บอยูก่ บั ที่
เราเรี ยกปั๊มแบบนี้วา่ Rotating-block
http://www.youtube.com/watch?v=_CnIP85oY3o&list=PL74CEB87AE394403B
แบบไดอาแฟรม
 ปั้ มไดอะแฟรม (Diaphragm Pump) การใช้งาน
ทัว่ ไปจะเป็ นปั้ ม ที่ ใช้สําหรั บ ดูดของเหลวที่ มี
ความหนืด เช่น นํ้ามันหรื อสารเคมี
 ปั้ มไดอะแฟรม จําเป็ นต้องมี ป้ ั มลมช่ วยในการ
ทํางาน ซึ่ งความดันลมจะเป็ นตัวควบคุมปริ มาณ
การไหล
 ข้อดีคือพลังการปั้ มค่อนข้างดี head สูง
 ข้อเสี ยก็คือ ปริ มาณการดูดก็จะน้อยตามไปด้วย
 เป็ นจุ ดเด่นของ ปั้ มไดอะแฟรม เพราะว่าจะทํา
ให้ควบคุมปริ มาณของเหลวได้ง่ายและค่อนข้าง
แม่นยํา จึงทําให้นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรม
http://www.youtube.com/watch?v=Y6To-bgL4GE

แบบ Special
Jet pump
 นํ้า จากหั ว ฉี ด ซึ่ งมี แ รงดัน สู ง จะพุ่ ง ผ่ า น
ช่ องแคบของท่ อที่ มีลกั ษณะเป็ นคอคอด
(Venturi) ความเร็ วที่พงุ่ ออกจากหัวฉี ด ทํา
ให้น้ าํ ที่อยู่รอบๆไหลตามสายนํ้าผ่านท่อ
คอคอดเข้าไปด้วย และไหลเข้าไปสู่ ทาง
ดูดของปั๊ มเซนตริ ฟูกอล ปริ มาณนํ้าที่ออก
จากปั๊ ม ส่ ว นหนึ่ งจะถู ก ส่ ง ย้อ นกลับ เข้า
ไปสู่ หัว ฉี ด ใหม่ อี ก ส่ ว นที่ เ หลื อ จะไหล
ออกไปใช้งาน
ข้ อดีสําหรับ Jet Pump

1. ใช้ ได้ ดกี บั บ่ อบาดาลทีม่ ขี นาดเล็กและลึก เช่ น ขนาด 2 นิว้

2. สามารถดูแลรักษาได้ ง่าย

3. ปั๊มเซนตริฟูกอลทีน่ ํามาใช้ มรี าคาถูกจึงทําให้ ค่าลงทุนครั้งแรกและค่ าบํารุงรักษาถูก

Air lift pump


หลักการทํางานของปั๊มแบบนีค้ อื เมื่อลม
ถูกปล่ อยออกจากเครื่ องอัดลมความดันสู ง
ผ่ า นท่ อ ไปยั ง ก้ น บาดาล ฟองอากาศเมื่ อ
ผสมกับนํ้าจะทําให้ ความถ่ วงจําเพาะของ
นํ้าน้ อยลงและจะถูกฟองอากาศดันขึน้ มาสู่
ปากบ่ อ
Hydraulic Ram

http://www.youtube.com/watch?v=qWqDurunnK8

ข้ อดีของ Hydraulic Ram


1. ใช้ พลังงานจากแหล่ งนํา้ ทีม่ อี ยู่แล้ ว
2. มีชิ้นส่ วนที่มีการเคลือ่ นที่และมีการสึ กหรอได้ เพียงสองชิ้น คือ Impulse Valve
and Delivery Valve
3. ถ้ ามีการปรับจังหวะการปิ ดเปิ ดของวาล์ วควบคุมความเร็วได้ พอเหมาะจะให้
ประสิ ทธิภาพในการทํางานสู งเกือบตลอดช่ วงอัตราการไหล
4. สามารถประกอบขึ้น ได้ จ ากอุ ป กรณ์ ท่ อ ที่ มี ข ายอยู่ แ ล้ ว ในท้ อ งตลาด และไม่
ต้ องการเครื่องมือเพือ่ ประกอบมากนัก

ข้ อเสี ยของ Hydraulic Ram


1. สู ญเสี ยนํา้ ที่ Impulse Valve
2. ในขณะทีเ่ ครื่องทํางานจะมีเสี ยงดังตลอดเวลา
Selecting a pump
การเลือกปั๊มขึน้ อยู่กบั
 Capacity required
 Pressure difference
 Other special factors: pumping fluid, sanitary
requirement, space limitation, noise restriction etc.

ความกว้างของใบพัด

ความโค้งของใบพัด

จํานวนของใบพัด
Pump performance vs. system Curves

ควรเลือกจุดทํางานของปั๊มควรทีอ่ ยู่ใกล้ กบั ตําแหน่ งประสิ ทธิภาพสู งสุ ดไป


ด้ านขวาเล็กน้ อย
พัดลม (Fan)

ลักษณะและการทํางานของพัดลม
ตัวอย่ างการใช้ ประโยชน์ ของพัดลม
 การอบแห้ง (Drying)
 การระบายอากาศ (Ventilating)
 ระบบการให้ความร้อน (Heating)
 ระบบทําความเย็น (Refrigeration)
 ระบบการลําเลียง (Conveying)
Pump Liquid (Incompressible)
Fan Gas (Compressible)
Fan Types

Axial – flow fan


 Propeller fan
 Tube - axial fan
 Vane - axial fan
 Propeller fans
ใบพัดอาจมีใบพัด 2 อัน หรือมากกว่ าได้ และอาจมีรูปร่ างเป็ น Sheet
steel หรือ Airfoil
 ใบพัดมีท้งั แบบกว้ างและแบบแคบ
 ระยะ pitch อาจเป็ นแบบสมํา่ เสมอหรือไม่ กไ็ ด้
 ใช้ กบั ระบบทีต่ ้ องการปริมาณอากาศมากแต่ แรงดันตํา่
 นิยมใช้ กบั การระบายอากาศในทางการเกษตร

 Tube-axial fan
 จะประกอบด้ วยใบพัด (Wheel หรือ Impeller) อยู่ในท่ อทรงกระบอก
 ระยะของใบพัดจะอยู่ใกล้ กบั ท่ อทรงกระบอกเพือ่ ประสิ ทธิภาพ
 พัดลมแบบนีจ้ ะให้ แรงดันทีส่ ู ง และประสิ ทธิภาพทางกลสู ง
 Vane-axial fan
 จะมีลกั ษณะเหมือนกับพัดลมแบบ axial fan แต่จะมีชุดของ guide
Vane ก่อนหรื อหลัง ใบพัด
ครี บจะช่วยในการไหลของอากาศให้มีการไหลเป็ นเส้นตรงมากที่สุด
เพื่อลดการไหลแบบปั่ นป่ วนให้นอ้ ยลง และลดการสูญเสี ยพลังงาน
 Single axial fan สามารถให้ความดันได้ถึง 15 MPa (eff. = 85%)

Guide vane

Centrifugal fan
 Straight or radial fans
 Backward-curved fans
 Forward-curve fans
 Forward-curved-tip fans
 ใบพัดของพัดลมชนิดนีจ้ ะลักษณะเหมือนกรงกระรอก และ
อาจมีมากถึง60 ใบ
 เป็ นพัดลมทีใ่ ช้ ความเร็วตํา่
 ให้ ความดันพอประมาณ
 ใช้ สําหรับอากาศทีส่ ะอาด (ไม่ เหมาะกับอากาศทีม่ ฝี ุ่ น)

 Straight or radial-tip fans


 มีจาํ นวนใบพัด (Blade) ประมาณ 6-20 ใบ
 มี housing ขนาดใหญ่
 ราคาค่ อนข้ างแพง
 ใช้ สําหรับอากาศทีส่ กปรก (มีฝุ่นมาก)
 Backward-curve-tip fans
 มีจาํ นวนใบพัด (Blade) ประมาณ 12 ใบ
 เป็ นพัดลมทีห่ มุนเร็ว (High speed type)
 เป็ นพัดลมเซนตริฟูกอลทีใ่ ห้ ประสิ ทธิภาพสู งสุ ด
 ใช้ สําหรับอากาศทีส่ ะอาด (ไม่ แนะนําให้ ใช้ กบั อากาศทีส่ กปรก)

Cross-flow fans
 ให้การไหลที่ค่อนข้างคงที่และอัตราการ
ไหลค่อนข้างสู ง
 เสี ยงเบา
 เตาอบขนมปั ง, หน่วยทําความร้อน,
อุปกรณ์ในการอบแห้ง
ปกติทิศทางของอากาศจะทํามุม 90o,
แต่กส็ ามารถทํามุมได้ถึง 180o
Mixed-flow fans

 มีลกั ษณะผสมระหว่ างพัดลมแบบ centrifugal และ axial flow

Fan testing

 ความดันจะถูกวัดโดยใช้ pitot tube ทีค่ วามเร็วรอบคงทีแ่ ต่ เปลีย่ นอัตราการไหล


 เส้ น performance ของพัดลมจะประกอบด้ วย static pressure, total pressure,
power, total efficiency และ volumetric flow rate
Key Pressure Terms
 Static Pressure (Pt) - ใช้สาํ หรับเลือกพัดลม
 Velocity pressure (Ps) - ใช้สาํ หรับวัดอัตราการไหล
 Total Pressure (Pv) - ใช้สาํ หรับการหา velocity pressure

Pt = Ps + Pv

ถ้ าเรารู้ total pressure หรือ static pressure และ ขนาดของท่ อเราสามารถหา
ค่ าอืน่ ได้ จาก
v 2
pt  p s  ( )
2
ค่ า v สามารถหาได้ จาก
Q
v
A
ถ้ าเรารู้ power input (P) เราสามารถหาประสิ ทธิภาพ (e)ได้ จาก
pt Q
et  Total efficiency
P
psQ Static efficiency
es 
P
Performance curve

Example
A fan having an outlet area of 0.6 m2 produces a volumetric air flow rate
(ρ = 1.2 kg/m3) of 6.0 m3/s at the static pressure of 500 Pa and requires

an input power of 4200 W. Determine the total pressure, total efficiency


and static efficiency

Solution
V = Q/A =(6.0 m3/s)/(0.6 m2) = 10 m/s
ρv 2
pt = ps + ( )
2
= 500 + (1.2)(10)2/2

= 560 Pa

ptQ p sQ
et = = 0 .8 es = = 0.714
P P
Sound Power Level Rating
The sound emitted by fan is a inevitable byproduct of energy transfer process

W
L = 10 log( )
W0

L = Sound power level (dB)

W = Power (W)

W0 = reference power (1 x 10-12W)

Two or more source

(
L c = 10 log 10(L1 / 10 ) + 10(L2 / 10 ) + ...10(Ln / 10 ) )
Lc = Overall sound power level (dB)

L1, L2,… L3 = Sound power level (dB)

Example
A fan has a sound power of 0.002 W. Determine the sound power level in

decibels for a single fan and the three identical fans operating at the same

distance from the point at which sound power is determined

Solution
For single fan

W 0.002 W
L = 10 log( ) = 10 log( ) = 93.0 dB
W0 1× 10 -12 W
For three identical fans

( )
L c = 10 log 3 × 10( 93 / 10 ) = 97.8 dB
Fan Laws (Affinity Laws)
3
Q1  N1  D1 
  
Q2  N 2  D2 
2 2
pt 1  N 1   D1 
   
pt 2  N 2   D2 
3 5
P1  N1  D 
    1 
P2  N 2   D2 
D  N   
L1  L2  70 log 1   50 log 1   20 log 1 
 D2   N2   2 
Example
A fan geometrically similar to the following performance curve has a
diameter of 1.588 m and at 875rpm. Determine its volumetric flow rate, total
pressure, power requirement and sound power level at the point where its
total efficiency is maximum.

Solution

The figure has the following


characteristics at its maximum
total efficiency

Q1 = 6.0 m3/s et = 83%


pt1 = 780 Pa
D1 = 0.794 m
P1 = 5.6 kW
N1 = 1750 rpm
L = 99 dB

 N  D 
Q2  Q1  2  2 
 N1  D1 
 875  1.588 
Q2  6    24m / s
3

 1750  0.794 
2 2
 N 2   D2 
pt 2  pt1    
 N1   D1 
2 2
 875   1.588 
pt 2  780     780Pa
 1750   0.974 
3 5
N  D 
P2  P1  2   2 
 N1   D1 
3 5
 875   1.588 
P2  5.6     22.4
 1750   0.794 
D  N   
L1  L2  70 log 1   50 log 1   20 log 1 
 D2   N2   2 
L1  99  70 log2   50 log0.5  20 log1  105dB
Example
Determine the diameter and operating speed of a vane-axial fan geometrically
Similar to that following figure which will provide a volumetric flow rate of 10 m3/s
at a total pressure of 1000 Pa and a total efficiency of 75% (to right of maximum)

Solution
The figure has the following
characteristics at 75% total eff.
Q1 = 6.0 m3/s et = 83%
pt1 = 780 Pa
D1 = 0.794 m
P1 = 5.6 kW
N1 = 1750 rpm
L = 99 dB

The known parameters for the fan to be selected are:

Q1 = 10 m3/s pt2 = 1000 Pa


3 3
Q1  N1  D1  N1  Q1  D2 
      
Q2  N 2  D2  N 2  Q2  D1 

2 2 2 4
pt 1  N 1   D1  pt1  Q1   D2 
       
pt 2  N 2   D2  pt 2  Q2   D1 
Then, 1/ 4 1/ 2
p  Q 
D2  D1  t1   2 
 pt 2   Q1 
1/ 4 1/ 2
 500   10.0 
D2  0.794     0.761 m
 1000   7 .7 
Then,
3
 Q  D 
N 2  N1  2  1 
 Q1  D2 
3
 10.0  0.794 
N 2  1750    2583 rpm
 7.7  0.761 

You might also like