You are on page 1of 36

บรรยากาศของโลก หมายถึง อากาศ

ที่หอหุมโลกเป็นบริเวณกวาง เปนปจจัย
สําคัญของสิ่งมี ชีวิต ปรากฏการณของ
ลมฟาอากาศ เชน เมฆ ฝน ลม
โดยบรรยากาศที่หอหุมโลกจะมีชั้นตางๆ
กันไป

ถาโลกปราศจากบรรยากาศที่หอหุมจะ
ทําใหโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 110 องศา
เซลเซียส ในเวลากลางวัน และในเวลา
กลางคืนอุณหภูมิ จะลดลงมาถึง -
180 องศาเซลเซียส
ประโยชน์ของชัน้ บรรยากาศ
- กรองรังสีตางๆ จากแสงอาทิตย
- เปนแหลงออกซิเจน และ คารบอนได ออกไซด
ที่สําคัญ สําหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก
- คงไวซึ่งความสมดุลของอุณหภูมิ บนพื้นโลก
- ป้องกันไมใหโลกรอนและหนาวเย็นจนเกินไป
- รักษาระดับของน้ํา และปริมาณ ความรอนของโลก
ใหสม่ําเสมอ
ประมาณ 4.5 - 5 พันลานปมาแลว
โลกมี อุ ณ หภู มิ สู ง ถึ ง 8,000 องศา
เซลเซี ย ส ก๊ า ซต างๆ ที่ เ กิ ด จากความ
รอนของโลกมี ก ารฟุ ง กระจายออกไป
จากแรงดึ ง ดู ด ของโลกส วนหนึ่ ง และ
สลายไปในห้วงบรรยากาศ

เวลาผานไปพื้นผิวโลกเริ่มเย็นตัว กาซที่
แทรกตัว อยู ในหินหนืดของเปลือกโลกส เกิดพัฒนาการของ สวน
ว น ห นึ่ ง ไ ด ถู ก ขั บ อ อ ก ม า เ รี ย ก ประกอบของบรรยากาศ
กระบวนการดังกลาววา "การแยกกาซ" โดยมี กาซตางๆ ไดแก
(Degassing) ไนโตรเจน คาร บอนได
ออกไซด และอนุภาคของ
ละอองไอน้ํา
องคประกอบดังกลาวประกอบกั บ
การเย็นตัวของเปลือกโลก มีผลตอการ
พั ฒ นาการบรรยากาศของโลก ไดแก
การเกิดเมฆ เกิดฝนตก ซึ่งฝนในระยะแรก
ที่ ต กมายั ง โลกจะกลายเป นไอน้ํ า ก อน
เนื่องจากอุณหภูมิผิวโลกที่ยังคงสูงอยู
ตอมาเมื่อโลกเย็นตัวลงฝนที่ตกลง
มาจึ ง สามารถชะซึ ม ลงดิ น ได และเกิ ด
เปนแหลงน้ําแชขังอยู ปรากฏการณตางๆ
มีพัฒนาการอยางตอเนื่องมานาน และ
กระบวนการเกิ ด ก าซออกซิ เ จนบน
พื้ น ผิ ว โลกไดพั ฒ นาขึ้ น มาพรอมๆ กั น
ซึ่งจากการศึ กษาสามารถสรุป ไดเปน 2
แนวทางคือ
กรณีที่ 1 บรรยากาศในระยะแรกของโลก ประกอบ เนื่องจากไฮโดรเจนเปนกาซที่เ บากวาออกซิเ จน จึง สามารถ
ด วยก าซไนโตรเจน ก าซคาร บอนไดออกไซด ลอยสูงขึ้นและหลุดหายไปจากบรรยากาศได ตางจากกาซออกซิเจนซึ่ง
และละอองไอน้ํ า ซึ่ งจากหลั กการทางวิ ทยาศาสตร มีมวลมากกวา จึงยังคงตัวอยูในบรรยากาศตอไป
เมื่ อ โมเลกุ ล ของน้ํ า สลายตั ว ในบรรยากาศอั น อยางไรก็ตามการเกิดออกซิเจนจากกระบวนการดังกลาวนี้จะมี
เนื่องมาจากการกระทําของรังสีอัลตราไวโอเลต จะเกิด ปริมาณนอยมาก
อนุภาคของ กาซไฮโดรเจน และอนุภาคของออกซิเจน
กรณีที่ 2 กาซออกซิเจนบนผิวโลกเกิด
จากกระบวนการสังเคราะหแสงของพื ช
โดยมีสมมุติฐานวา
สิ่ ง มี ชี วิ ต ระยะแรกของโลก เป น
จําพวกแบคทีเรีย พืช และสัตวเซลลเดียว
ซึ่ ง สามารถดํ า รงชี พ อยู ไ ดโดยไมตอง
อาศัยออกซิเจน
ปจจุบันยังคงพบพืชชั้นต่ําสีเขียวอยู
สิ่ ง มี ชี วิ ต ดั ง กลาวมี พั ฒ นาการในการ
สั ง เคราะห แสง โดยอาศั ย แสงจา ก
ดวงอาทิต ยทํ า ใหมีวิวั ฒนาการเปนพื ช
ชั้นสูงในเวลาตอมา
เมื่อมีปริมาณกาซออกซิเจนมากพอ
ก็ จ ะก อให เกิ ด การพั ฒ นาการของ
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ตามมาดวยเชนกัน
บรรยากาศโลกประกอบดวยกาซ
ตาง ๆ มากมายหลายชนิ ดผสมกัน อยู
โดยที่ ไ มมี ปฏิ กิริย าทางเคมี สวนใหญ
กาซเหลานี้จะมีอัตราสวนคอนขางคงที่
ในบรรยากาศ
โดยกาซทั้งสี่ชนิดเปนสวนประกอบ
ที่ ถ าวร ซึ่ ง จากระดั บ พื้ น ดิ น ไปจนถึ ง
ระยะทาง 80 - 100 กิโลเมตร จะไมคอย
มี ก ารเปลี่ ย นแปลงของปริ ม าณก าซ
เหลานี้
นอกจากกาซที่ เ ปนองคประกอบ
หลั ก มี ก าซอื่ น ๆ ที่ น อยมาก เชน กาซ
นีออน กาซฮีเลียม กาซไฮโดรเจน กาซ สําหรับกาซโอโซนเราพบในระดับความสูงจากผิวโลกขึ้นไปมากๆ ซึ่งกาซโอโซน
โอโซน เปนตน จะทําหนาทีเ่ ปนเกราะปองกันรังสีบางชนิด
นอกจากนั้ น บรรยากาศยั ง คงมี ส วน
ประกอบอื่นๆ ไดแก อนุภาคแขวนลอยตางๆ
เชน ฝุ นละออง ผลึ กเกลื อ และสารอิ นทรี ย
เปนตน
นอกจากนั้นยังมีไอน้ํา เปนสวนประกอบซึ่ง
ไอน้ํา เปนสวนสําคัญในการชวยปองกันความ
รอนที่ โ ลกดู ดซั บไว และทํ า หนาที่ ค วบคุ มการ
คายความรอนของโลกออกสูบรรยากาศอยาง
ไมรวดเร็วเกิดไป
เราอาจกลาวไดวา กาซ และองคประกอบ
ตางๆ ของบรรยากาศโลกสวนใหญมีบทบาท
มากในการทําใหพัฒนาการของสิ่งมีชีวิตดํารง
อยูตอไป
การแบงชั้นบรรยากาศของโลกพิจารณาโดยการใชอุณหภูมิเปนเกณฑในการจําแนก สามารถแบงชั้นบรรยากาศออกไดเปน 5 ชั้นดังนี้
1. โทรโพสเฟียร์(Troposphere) สูงจากพื้นดินสูงขึ้นไป 10 กิโลเมตร
มีลักษณะดังนี้
– มีอากาศประมาณร้อยละ 80 ขออากาศทั้งหมด
– อุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 6.5 องศา
เซลเซียส ต่อ 1 กิโลเมตร
– มีความแปรปรวนมาก เนื่องจากเป็นบริเวณที่ไอน้ํา เมฆ ฝน พายุ
ต่างๆ ฟ้าแลบฟ้าร้องและฟ้าผ่า
2. สตราโทสเฟี ย ร์ (Mesosphere) อยู่ สู ง จากพื้ นดิ น 10-50
กิโ ลเมตร มีอากาศเบาบาง มี เมฆน้ อยมาก เนื่องจากมีปริมาณ
ไอน้ําน้อยอากาศไม่แปรปรวน เครื่องบินบินอยู่ในชั้นนี้ มีแก๊สโอโซน
มาก ซึ่ งอยู่ ที่ค วามสู งประมาณ 25 กิ โ ลเมตร ช่ ว ยดู ดกลื นรั ง สี
อัตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ไว้บางส่วน

3. มี โ ซสเฟี ย ร์ ( Mesosphere) สู ง จากพื้ น ดิ นประมาณ 50-80


กิโลเมตร อุณหภูมิลดลงตามระดับความสูงที่เพิ่มขึ้นสุ ดเขตของ
บรรยากาศชั้นนี้เรียกว่า มีโซพอส ซึ่งมีอุณหภูมิประมาณ -140 ๐
C เป็นบรรยากาศชั้นที่ส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลก
4. เทอร์โ มสเฟีย ร์ ( Thermosphere) อยู่สู งจากพื้ นดิ นประมาณ
80-500 กิโลเมตร
ดาวตกและอุ ก าบาต จะเริ่ ม ลุ ก ไหม้ ใ นบรรยากาศชั้ น นี้
อุ ณ หภู มิ จ ะสู ง ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว ในช่ ว ง 80-100 km จากนั้ น
อุ ณ หภู มิจ ะค่ อยๆ ลดลง โดยทั่ ว ไป อุ ณ หภู มิจ ะอยู่ ใ นช่ ว ง 227-
1,727 ๐C
บรรยากาศชั้นนี้มีความหนาแน่นของอนุภาคต่างๆ จางมาก
แต่แก๊สต่ างๆ ในชั้นนี้ จะอยู่ในลักษณะที่เป็ นอนุ ภาคที่ประจุไ ฟฟ้ า
เรียกว่า ไอออน สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุบางความถี่ได้ เรียกชื่อ
อีกอย่างหนึ่งว่า ไอโอโนสเฟียร์(Ionosphere)

5. เอกโซสเฟีย ร์ (Exosphere) อยู่ในระดับความสูงจากผิวโลก


500 กิโลเมตรขึ้นไป ไม่มีแรงดึงดูดของโลก ดาวตกและอุกบาตรจะ
ไม่ลุกไหม้ในชั้นนี้ เนื่องจากมีแก๊สเบาบางมาก จนไม่ถือว่าเป็นส่วน
หนึ่งของบรรยากาศ
รังสีจากดวงอาทิตย เกิดจากปฏิกิริยาการระเบิดของไฮโดรเจนแผมายังโลก พลังงานความรอนที่สงมาเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา
สวนพลังงานความรอนที่สงมาอยูในรูปรังสีของแสง มีทั้งคลื่นสั้น และคลื่นยาว สามารถแยกพิจารณาไดดังนี้
1. รั ง สี ค ลื่ น สั้ น ได แก รั ง สี แ กรมมา (Grammar Ray)
รังสีเอ็กซ (X-Ray) และรังสีอัลตรา- ไวโอเลต (Ultraviolet-
Ray) มี ค วามยาวคลื่ นนอยกวา 0.4 ไมครอน มี ประมาณ
รอยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด
2. รังสีที่เราสามารถมองเห็น ได (Visible Ray) มีความยาว
คลื่นระหวาง 0.4 - 0.7 ไมครอน ประมาณรอยละ 41 ของ Grammar Ray
พลั ง งานทั้ ง หมด คื อ รั ง สี ที่ ต กกระทบและเราสามารถ
มองเห็นไดดวยตาเปลา มี 7 สี ไดแก สีมวง คราม น้ําเงิน เขียว
เหลือง แสด และ แดง
3. รังสีคลื่นยาว ไดแก รังสีใตแดง (Infrared Ray) มีความ
ยาวคลื่ น มากกวา 0.7 ไมครอน ขึ้ น ไป พลั ง งานประมาณ
รอยละ 50 ของพลังงานทั้งหมด
โลกไดรับความรอนจากดวงอาทิตยโดยมีลักษณะของการสงถายความรอนทีเ่ ปนพลังงานรูปแบบหนึ่ง และสามารถถายโอนไปสูอีก
ที่หนึ่งได รูปแบบการสงถายความรอนที่สําคัญมี 3 ลักษณะ ไดแก

1 การแผรังสี (Radiation) 2 การนํา (Conduction)


เปนกระบวนการที่ความรอนจาก เปนลักษณะของการถายโอน
ดวงอาทิตยแผมายังโลก ทําใหมี ความรอนตามโมเลกุลที่อาศัย
ความรอนขึ้นโดยตรงโดยที่ ไมตอง ตัวกลาง
อาศัยตัวกลาง

3 การพา (Convection)
เปนกระบวนการเคลื่อนที่ของความรอนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งที่ต องอาศัยตัวกลางเปนสื่อ ในการพาความรอน
โดยความรอนเคลื่อนที่ไปกับโมเลกุลของวัตถุ
พลังงานความรอนที่ถูกสงผานมายังโลกมีปริมาณที่แตกตางกันไปตามเงื่อนไขและปจจัยดังตอไปนี้

ระยะห างระหว างโลกกั บ ดวงอาทิ ต ย ถ าระยะห างระหว างโลกกั บ มุม ของแสดงอาทิตยที่ตกกระทบ


ดวงอาทิตยมาก โลกจะไดรับพลังงานความรอนนอยกวาระยะหางที่มีคานอย มุมที่ แสงสองสู งรัง สีที่ส งผานมา
จะยิ่ งเปนแนวตรงและทํา ใหไดรับ
พลังงานความรอนสูง

ระยะเวลา เชน จํานวนชั่วโมง วั น


เดือน ของแสงที่ส องมายังโลก ถา
ระยะเวลานานก็ย อมไดรับพลังงาน
ความรอนมากขึ้น
พลังงานความรอนที่โลกไดรับจากดวงอาทิตยจะไมไดรับเต็มที่ 100 เปอรเซ็นต แตจะเกิดการสูญเสียพลังงานความรอน
โดยกระบวนการตอไปนี้

การสะทอน (Reflection)

การกระจาย (Scattering)

การดูดกลืน (Absorption)
การดูดกลืน (Absorption)
หมายถึ ง กระบวนการแผ
รั ง สี ที่ ต กกระทบไปยั ง สสาร
สวนหนึ่งของรังสี จะคงอยู ใน
สสาร อีกสวนหนึ่งจะเปลี่ย น
รูปเปนพลังงานรูปอื่น
ก า ร ดู ด ก ลื น รั ง สี ข อ ง
ดวงอาทิ ต ย มี ผ ลต อภาวะ
อุ ณ หภู มิ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป
เชน กาซคารบอนไดออกไซด
จะดู ด กลื น รั ง สี อิ น ฟาเรด
(Infrared) ส งผลต อภาวะ
อุ ณ หภู มิ ที่ สู ง ขึ้ น ทํ า ให เกิ ด
ภาวะอุ ณ หภู มิ เ รื อ นกระจก
ของโลกได
การกระจาย (Scattering) การกระจายรังสีของดวงอาทิตยที่
เป นกระบวนการที่ อ นุ ภ าคเล็ ก ๆ และโมเลกุ ล ของ เห็ น ได เด นชั ด คื อ สี น้ํ า เงิ น ของ
ก าซในอากาศมี ก ารแพร กระจายในส วนที่ ก ารแผ รั ง สี ทองฟา
ตกกระทบไดทุกทิศทาง เ นื่ อ ง จ า ก ค ลื่ น แ ส ง ที่ ส อ ง
ผานมาตกกระทบกั บ โมเลกุ ล ของ
อากาศ เกิดการกระจายออกไปใน
ทุกทิศทาง
แตที่ เ ห็ น ทองฟาเปนสี น้ํ า เงิ น
เนื่องมาจาก สีน้ําเงินของสเปกตรัม
(Spectrum) ซึ่งเปนความยาวคลื่น
แสงที่ สั้นกวาสีอื่นๆ จะกระจายได
ดี ก ว า เราจึ ง เห็ น ท องฟ าเป นสี
น้ําเงินนั่นเอง
สวนในเวลาที่ พระอาทิต ยขึ้นและตก ทองฟาจะมีสีแ สดถึ ง
สีแดง เนื่องจากแสงสองผานเฉียงเขามาสูบรรยากาศ การ
กระจายของความยาวคลื่นแสงที่เห็นไดดี คือสีแสด และสีแดง
การสะทอน (Reflection) การสะทอนเกิดขึ้นเมื่อรังสีดวงอาทิตยตกกระทบกับวัตถุ และถูกสะทอน จากพื้นผิว การสะทอนจะแตกตาง
กันไปตามพื้นผิว สี และวัสดุตางๆ ตลอดจนมุมตกกระทบของแสงดวย เชน สีขาวจะสะทอนแสงไดดีกวาสีดํา เปนตน

ในวั น ที่ ท องฟาแจมใส และแห ง


พลังงานความรอนที่โลกไดรับจากดวง
อ า ทิ ต ย จ ะ ถู ก ส ะ ท อ น ก ลั บ ไ ป ยั ง
บรรยากาศได รอยละ 5 สวนพลังงาน
ที่เหลือจะสงผานลงมาถึงชั้นบรรยากาศ
ในวั น ที่ ท องฟ ามี เ มฆมาก การ
ดูดกลืนพลังงานความรอนของเมฆจะสูง
ถึง รอยละ 20 และเมฆยั งสามารถชวย
สะทอนพลังงานความรอนในรูปของรังสี
คลื่ น สั้ น กลั บ ออกไปในอวกาศได อี ก
รอยละ 30 - 60
8.1 การรับและสงถายพลังงานความรอนของพื้นดินและพื้นน้ํา

เมื่อโลกไดรับพลังงานความรอนจากดวงอาทิตย 1. ความรอนจําเพาะ
แตพื้นผิวโลกมีทั้งสวนที่เปนพื้นดินและพื้นน้ํา จึง ทํา ความร้อนจําเพาะของน้ําสูงกวาพื้นดิน ในปริมาณที่เทากันน้ําจะรอน
ใหเกิดความแตกตางระหวางพื้นดินกับพื้นน้ํา ไดชากวาดิน
เนื่องจากความสามารถในการรับและคายความ
รอนระหวางพื้นดินและพื้นน้ํามีคุณสมบัติที่แตกตาง 2. ความโปรงแสง
กัน เมื่อโลกไดรับพลังงานความรอนจากดวงอาทิตย น้ําโปรงแสง สวนดินทึบแสง แสงทะลุน้ําไดดีกวาพื้นดิน ความรอนจึง
พื้นดินจะรอนไดเร็วและรอนไดมากกวาพื้นน้ํา สามารถแพรกระจายไดดีในน้ํามากกวาดิน ทําใหน้ํารอนชากวาดิน
แต เมื่ อ เกิ ด การคายความรอน พื้ น ดิ น จะคาย แตจะะรอนไดทั่วถึงกวาดินซึ่งดินจะรอนเฉพาะผิวหนาเทานั้น
ความรอนไดดีกวาพื้นน้ํา สามารถพิจารณาไดดังนี้
สาเหตุดังกลาว 3. การปนปวน
การเคลื่อนไหวของน้ํา กระแสน้ํา การเกิดน้ําขึ้น น้ําลง และเกิดจาก
การพาความรอนของน้ํา จะทําใหเกิดการกระจายความรอนลงไปใน
ระดับลางๆ ทําให้น้ํารอนขึ้นทีละนอย
6.00 - 12.00 น. ปริ ม าณรั งสี หรื อ พลั ง งาน
ความรอนที่ โ ลกไดรั บ จะ เพิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ยๆ จากนั้ น
ปริมาณรังสีจะคอยๆ ลดลงตามลําดับ
เมื่อโลกไดรับรังสีจากดวงอาทิตยโลกจะแผรังสี
ออกไปสู บรรยากาศในรูปของรังสีคลื่นยาว ทําให
อากาศชั้ น ล างๆ รอนขึ้ น ความรอนสวนใหญที่
อากาศไดรับเปนความรอนจากการแผรังสีของโลก
อยางไรก็ตามเวลาที่อุณหภูมิสูงสุด ประจําวัน
ไม ใช เวลาเดี ย วกั น ทั้ ง โลก แต จะอยู ในช วง
เวลาระหวาง 14.00 - 16.00 น. เนื่องจากระหวาง
เวลาดังกลาวโลกยังคงไดรับรังสีจากดวงอาทิตยอยู
แมจะนอยลงแลวก็ตาม
หลั ง 14.00 น. โลกจะมี ก ารสู ญ เสี ย พลั ง งาน
ความรอนโดยการคายความรอนหรื อการแผรังสี
ของผิวโลก อุณหภูมิของอากาศจะเริ่มลดลง จนถึง
ขีดต่ําสุดเวลา 6.00 น.
ความกดอากาศ คือ น้ําหนักของอากาศที่กดทับเหนือบริเวณนั้นๆ สามารถตรวจวัดความกดอากาศ ไดโดยเครื่องมือที่เรียกวา
"บาโรมิเตอร" (Barometer) มีหนวยของการตรวจวัดเปน มิลลิบาร หรือ ปอนด ตอตารางนิ้ว
ความกดอากาศยังมีความสัมพันธกันกับอุณหภูมิและระบบการเกิดลมบพื้นโลกของเรา โดยความกดอากาศแบ่งไดเปน 2 แบบคือ

บริเวณความกดอากาศสูง บริเวณความกดอากาศต่ํา
หรือ ความกดอากาศสูง (High Pressure) หรือ ความกดอากาศต่ํา (Low Pressure)
10.1 บริเวณความกดอากาศต่าํ หรือ ความกดอากาศต่าํ (Low Pressure)

บริ เ วณซึ่ ง มี ป ริ ม าณอากาศอยู นอย


ทํ า ใหน้ํ า หนั ก ของอากาศนอยลงตามไป
ดวย อากาศเบาจะลอยตัวสูงขึ้น เรียกวา
กระแสอากาศเคลื่อนขึ้น
เมื่อเกิดกระแสอากาศเคลื่อนขึ้นจะเกิด
การแทนที่ ข องอากาศ ปรากฏการณ
ดังกลาวทําใหเรารูสึกเย็น และเกิดลมขึ้น
ลั กษณะการพั ด หมุ นเวี ย นของลมใน
บริ เ วณศู น ย กลางความกดอากาศต่ํ า
ในซีกโลกเหนือจะมีทิศทางการพัดทวนเข็ม
นาฬิกา ซีกโลกใตจะพัดตามเข็มนาฬิกา
เนื่องจาการหมุนรอบตัวเองของโลกที่
มีทิศทางหมุนทวนเข็มนาฬิกา
10.1 บริเวณความกดอากาศต่าํ หรือ ความกดอากาศต่าํ (Low Pressure)

เราเรี ย กบริ เ วณความกดอากาศต่ํ า


ในแผนที่ อ ากาศว า "ไซโคลน" (Cyclone)
หรือ "ดีเปรสชั่น" (Depression) หมายถึง
บริ เ วณที่ มี ค วามกดอากาศต่ํ า และรอบๆ
บริเวณความกดอากาศต่ํา มีความกดอากาศ
สูงอยูรอบๆ
ความกดอากาศสูงจะเคลื่อนเขามาแทนที่
ศู น ย กลางความกดอากาศต่ํ า อากาศที่
ศู น ย กลางความกดอากาศต่ํ า จะลอยขึ้ น
อุณหภูมิจะลดต่ําลง ไอน้ําจะเกิดการกลั่นตัว
กลายเปนเมฆฝน หรื อ หิ มะ มี ฝ นตก และมี
พายุ
10.2 บริเวณความกดอากาศสูง หรือ ความกดอากาศสูง (High Pressure)
หมายถึง บริเวณที่มีค าความกดอากาศสูง
กว าบริ เ วณโดยรอบ เรี ย กอี ก อย างหนึ่ ง ว า
" แอ นติ - ไ ซ โ คล น " ( Anti Cyclone) เกิ ด จา ก
ศูนย์กลางความกดอากาศสูง อากาศจะเคลื่อนตัว
ออกมายังบริเวณโดยรอบ
โดยในซีกโลกเหนือจะมีทิศทางพัดตามเข็ม
นาฬิ ก า ในซี ก โลกใต จะมี ทิ ศ ทางพั ด ทวนเข็ ม
นาฬิกา เมื่ออากาศเคลื่อนที่ออกมาจากจุด ศูนย
กลาง อากาศขางบนก็จ ะเคลื่ อนตั ว จมลงแทนที่
ทําใหอุณหภูมิสูงขึ้น ไมเกิดการกลั่นตัวของไอน้ํา
สภาพอากาศโดยทั่ ว ไปจึ งปลอดโปรง ทองฟา
แจมใส
ลม หมายถึ ง อากาศที่ เ คลื่ อ นที่ ไ ปในทิ ศ ทางใน
แนวราบ เกิดจากการแทนที่ของอากาศ เนื่องจาก
อากาศในบริเวณที่ร อนจะลอยตัวสูงขึ้น ในขณะที่
อากาศบริ เ วณใกล เคี ย งที่ อุ ณ หภู มิ ต่ํ า กว าจะ
เคลื่อนที่เขามาแทนที่
เมื่ อมี การเคลื่ อนไหวของอากาศที่เ กิ ดจาก
การเปลี่ ย นแปลงและแตกต างกั น ของความ
กดอากาศ อากาศบริเวณที่มีความกออากาศสูงจะ
เคลื่ อนที่ เ ขามายั ง บริเ วณที่ มีค วามกดอากาศต่ํ า
มวลอากาศที่เคลื่อนที่เราเรียกวา "ลม"
ดั ง นั้ น การเกิ ด ลม เป นปรากฏการณ ที่
อากาศรอนลอยตัวสูงขึ้น และอากาศเย็นเคลื่อนที่ โดยการเคลื่อนที่ของลมจะเร็วหรือชาขึ้นอยูกับความแตกตางของความกด
เขามาแทนที่ อากาศสูง และความกดอากาศต่ํา ถามีความแตกตางกันนอยลมที่เกิดขึ้น
จะเปนลมเอื่อย และถามีความแตกตางกันมากจะกลายเปนพายุได
11.1 การหมุนเวียนของลมบนโลก
การหมุ น เวี ย นของลมบนโลกเป นกลไก
ในการช วยกระจายพลั ง งานความร อนจาก
ดวงอาทิตย ใหเฉลี่ยทั่วถึงโลก และชวยพัดพาเอา
ความชุมชื้นจากพื้นน้ํามาสูพื้นดินดวย
การเคลื่อนที่ของอากาศมี 2 ชนิด ดวยกันคือ
ถาเคลื่ อนที่ ข นานไปกั บผิ ว โลกเราเรี ย กวา "ลม"
(Wind) แตถาเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเราเรียกวา "กระแส
อากาศ" (Air current)
สําหรับระบบการพัดของลมบนพื้นโลกสวน
หนึ่งเกิดเนื่องมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลกทํา
ใหเกิดแรงที่มีผลตอการเคลื่อนที่ของกระแสอากาศ
เราเรียกแรงดังกลาววา "แรงคอริออลิส"
"แรงคอริออลิส" เปนแรงที่มีการเคลื่อนที่
ไปในแนวนอน มีลักษณะที่สําคัญคือ
หมุ น ทํ า มุ ม ตั้ ง ฉากกั บ ทิ ศ ทางการ
เคลื่ อ นที่ ข องอากาศ ในซี ก โลกเหนื อ
แรงเฉจะทําใหอากาศเคลื่อนที่ในแนวนอน
เฉไปจากเดิมไปทางขวา และทางซีกโลกใต
เฉไปจากเดิมทางซาย
แรงนี้จะมีค าสู งสุดที่ขั้ วโลกทั้งสอง
และมีค าเปนศูนยที่ศูนยสูตร และคาของ
แ ร ง นี้ จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น เ มื่ อ ล ะ ติ จู ด สู ง ขึ้ น
จนกระทั่ ง มี ค าสู ง สุ ด เท ากั บ หนึ่ ง หรื อ
100 เปอรเซ็นตที่ขั้วโลกทั้งสอง
11.2 ระบบลมทีพ
่ นื้ ผิวโลก
11.2.1 ลมสงบแถบศูนยสูตร
อยูระหวางละติจูดที่ 5 องศาเหนือ
และ 5 องศาใต ซึ่ ง อยู ใ นเขตความ
กดอากาศต่ําแถบศูนยสูตร
บ ริ เ ว ณ นี้ ไ ด รั บ แ ส ง อ า ทิ ต ย
มากกวาบริ เ วณละติ จู ดสู ง ๆ ขึ้ น ไป
ทํ า ให อากาศร อนลอยขึ้ น ข างบน
ไอน้ําในอากาศจะกลั่นตัวเปนเมฆและ
ฝน
สวนใหญลมจะสงบ แตอาจมีพายุ
ฝนฟาคะนองหรือลมแรงจัดเปนครั้ง
คราว
11.2.2 เขตลมคา (trade winds)
บริเ วณละติ จู ด ระหวา 5 - 30
องศาเหนือ และใต ลมค้าพัดจาก
เขตความกดอากาศสูงกึ่งโซนรอน
มา ยั ง เข ต ค ว า มกด อา ก า ศต่ํ า
แถบศูนยสูตร
ในซีกโลกเหนืออากาศเคลื่อนที่
ม า ท า ง เ ส น ศู น ย สู ต ร จ ะ เ บ น
ไปทางขวาของทิศทางที่ควรจะเปน
เกิดเปนลมคาตะวันออกเฉียงเหนือ
ในซีกโลกใต เปน ลมคาตะวันออก
เฉีย งใต้ มีค วามเร็วประมาณ 16 -
24 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ลมนี้พัดสม่ําเสมอและมีทิศทาง
ที่ ค อนขางแนนอน เขตนี้ ท องฟา
แจมใส
11.2.3 เขตละติจูดมา (horse latitude winds)
อยู ระหวางละติจูด 30 - 40 องศาเหนือ และใตเปนเขตความกดอากาศ สูงกึ่งโซนรอน อากาศบริเวณนี้จะจมลงและรอนขึ้น
ลักษณะทองฟาแจมใส ไมมีฝนหรือมีฝนตกนอย จึงมักเปนเขตทะเลทราย
11.2.4 เขตลมฝายตะวันตก (westerly wind)
อยู ร ะหวางละติ จู ด 35 - 60 องศา
เหนื อ และใต ลมฝายตะวันตกเปนลมที่
พั ด จากเขตความกดอากาศสู ง กึ่ ง โซน
รอนไปยังเขตความกดอากาศต่ํากึ่งขั้วโลก
ในซี ก โลกเหนื อ ลมนี้ พั ด จากทาง
ทิ ศ ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง ใ ต ไ ป ท า ง ทิ ศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ ในซีกโลกใตพัดจาก
ท า ง จ ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ ไ ป ท า ง
ทิ ศ ตะวั นออกเฉี ย งใต ในซี กโลกใตลมนี้
มีกําลังแรงมาก
เนื่ อ งจากเป นพื้ น น้ํ า เสี ย ส วนมาก
สวนใหญอยูในละติจูดที่ 40 - 60 องศาใต
ลมนี้มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา
"รอริง ฟอรตีส"
11.2.5 ลมเขตขัว้ โลก
อยูระหวางละติจูด 60 หรือ 65
องศา กับขั้วโลกเหนือ และใต ลมนี้
พัด จากเขตความกดอากาศสูงขั้ว
โลกมายังเขตความกดอากาศต่ํากึ่ง
ขั้ ว โ ล ก ใ น ซี ก โ ล ก ใ ต เ ป น ล ม
ตะวันออกเฉียงใต ในซีกโลกเหนื อ
เปนลมตะวันออกเฉียงเหนือ
11.3 ลมมรสุมในประเทศไทย (Thai Monsoon)
เนื่ อ งจากแกนโลกเอี ย งทํ า มุ ม 23
1/2 องศา และโลกมี ก ารหมุ น รอบ
ตั ว เ อ ง ร ะ ห ว า ง ก า ร โ ค จ ร ร อ บ
ดวงอาทิตย ซีกโลกทั้งสองจึงผลัดกัน
หันเขาหาดวงอาทิตยทําใหเกิดฤดูกาล
ตางๆ
สํ า หรั บ ประเทศไทยซึ่ ง อยู ใกล
เสนศูนยสูตร เปนเขตรอน อยู ภายใต
อิทธิพลของลมมรสุม หรือลมประจําฤดู
ซึ่ ง เปนลมที่ พั ด เปลี่ ย นทิ ศ ทางไปตาม
ฤดูกาลเปนชวงระยะเวลาประมาณทุก
ครึ่ ง ป และมี ทิ ศ ทางการพั ด ที่ แ นนอน
แยกพิจารณาไดเปนดังนี้

You might also like