You are on page 1of 4

2.

2 แนวปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรตามกรอบคุณวุฒิระดับอุ ด มศึ ก ษาแห ง ชาติ ในสว นที่ เ ป น ตั ว หลัก สูต รหรื อ เอกสาร
หลักสูตรจะมีแนวปฏิบัติไมแตกตางจากการพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษาที่ผานมามากนักเพียงแต ในเอกสารหลัก สูต ร
(มคอ. 2) จะมีหัวขอและรายละเอียดมากกวาเดิม สวนกระบวนการขั้นตอนจะใกลเคียงกัน กลาวคือสามารถจําแนกเป น 2
กรณี คือ การจัดทําหลักสูต รใหม และ การปรับปรุงหลักสูต ร ที่มีอยูเดิม ซึ่งแตละกรณีมีกระบวนการและขั้นตอนสําคัญ
ๆ ดังนี้

1) กรณีจัด ทําหลักสูต รใหม มีกระบวนการและขั้นตอนสําคัญ ๆ ดังนี้


1.1) แตงตั้งคณะกรรมการจัดทําหลักสูตร โดยทําเปนคําสั่งแตงตั้งของคณะหรือมหาวิทยาลัย ซึ่ ง โดย
ขอกําหนดสําหรับการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติกําหนดใหตองมีกรรมการอยาง
นอย 5 คน ประกอบดวยอาจารยผูรับผิดชอบหลั ก สู ต รอย า งน อ ย 2 คน ผู ท รงคุ ณ วุฒิ ห รื อ ผู เชี่ย วชาญในสาขา/
สาขาวิชานั้น ๆ ซึ่งเปน บุค คลภายนอกอยางนอย 2 คน และหากมี อ งค ก รวิ ชาชีพต อ งให มี อ งค ก รวิชาชีพ ร วมเป น
กรรมการดวยอยางนอย 1 คน (ถามีตัวแทนผูใชบัณฑิตเขามารวมดวยก็ จ ะยิ่ง ดี ) มี ก ารประชุม และจั ด ทํ ารายงานการ
ประชุมทุกครั้ง
1.2) สํารวจความตองการของผูเ รี ยน ผูใชบั ณฑิ ต ท อ งถิ่น และสัง คม โดยจั ด ทํ าเป น รายงาน
สรุปผลการสํารวจ อภิ ป รายประกอบกั บ แผน/นโยบายและ/หรื อ ทิ ศ ทางการพัฒ นามหาวิ ท ยาลัย จั ง หวั ด ภู มิ ภ าค
ประเทศ และโลก
1.3) ศึกษาหลักสูตรของมหาวิทยาลัยอื่น ๆ (ควรศึกษาทั้งในและตางประเทศ)
1.4) ศึกษามาตรฐานผลการเรียนรูที่คาดหวังที่กําหนดไวในมาตรฐานคุ ณวุ ฒิ ของระดั บ และสาขา/
สาขาวิชาที่จะพัฒนาจากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ(มคอ. 1 )และใชมาตรฐานผลการเรียนรูที่กําหนดไวนั้ น เป น หลัก ใน
การพัฒนาหลักสูตร ทั้งนี้คณะ/มหาวิทยาลัยอาจเพิ่มเติมผลการเรียนรูซึ่งคณะ/มหาวิทยาลัย ตองการใหบัณฑิต สาขา/
สาขาวิชาในระดับคุณวุฒิน ั้น มีค ุณลักษณะเดน หรือพิเศษกวาบัณฑิต ในสาขา/สาขาวิชาและระดับคุณวุฒเิ ดียวกันของ
สถาบัน ฯอื่นๆ เพื่อใหเปน ไปตามปรัชญาและปณิธานของคณะ/มหาวิทยาลัย และเปน ที่สนใจของบุ ค คลที่ จ ะเลื อ ก
เรียนหลักสูต รของสถาบัน ฯหรือผูใชบัณฑิต สนใจที่จะรับบัณฑิต เขาทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษา โดยใหแสดงแผนทีก่ าร
กระจายความรับผิดชอบตอผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping) เพื่อใหเห็น ว าแต ละรายวิ ชาใน
หลักสูตรมี ค วามรั บ ผิด ชอบหลัก หรื อ ความรั บ ผิด ชอบรองต อ มาตรฐานผลการเรี ยนรู ด านใด กรณีที่ ยัง ไม มี ป ระกาศ
กระทรวงศึกษาธิการวาดวยมาตรฐานคุณวุฒิสําหรับระดับและสาขา/สาขาวิชาที่ประสงคจะพัฒนาคณะกรรมการพั ฒ นา
หลักสูต รตองศึกษาทําความเขาใจมาตรฐานผลการเรียนรูแตละดานของระดับคุณวุฒิท ี่จะพัฒนา/ปรับ ปรุงหลักสูต ร
ลักษณะของหลักสูต รและคุณลักษณะของบัณฑิต ที่พึงประสงคของระดับคุณวุฒิน ั้น (มาตรฐานกลาง) เปนแนวในการ
พัฒนาหลักสูตร ทั้งนี้คณะ/มหาวิทยาลัยยังคงสามารถเพิ่มเติมผลการเรียนรูซึ่งคณะ/มหาวิทยาลัย ตองการให บั ณ ฑิ ต
สาขา/สาขาวิชาในระดับคุณวุฒิน ั้น มีค ุณลักษณะเดน หรื อ พิ เศษกวา บั ณ ฑิ ต ในสาขา/สาขาวิชาและระดั บ คุ ณ วุฒิ
เดียวกัน ของสถาบัน ฯอื่นๆ เพื่อใหเปน ไปตามปรัชญาและปณิธานของคณะ/มหาวิทยาลัย และเปนทีส่ นใจของบุคคลที่
จะเลือกเรียนหลักสูต รของสถาบัน ฯหรือผูใชบัณฑิต สนใจที่จะรับบัณฑิต เขาทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษา โดยให แสดง
แผนที่การกระจายความรับผิดชอบตอผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping) เพื่อ ให เ ห็ น ว าแต ละ
รายวิชาในหลักสูตรมีความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรองตอมาตรฐานผลการเรียนรูดานใด
1.5) จัดทําหลักสูตรตามเกณฑและแบบฟอรมของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(มคอ. 2)
1.6) จัดใหมีการวิพากษหลักสูตรโดยผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ผูใชบัณฑิต ตัวแทนของทองถิ่น ฯลฯ
จัดทําเอกสารสรุปการวิพากษและแนวทางการปรั บ ปรุ ง แก ไขตามขอ วิ พากษต าง ๆ พร อ มแนบหลัก ฐานหนั ง สือ เชิญ
รายชื่อและประวัติยอของผูเขารวมประชุม
1.7) จัดทําเอกสารหลักสูตร(ประมาณ 5 เลม) เสนอคณะ
1.8) คณะแตงตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรของคณะเพื่อพิจารณาตรวจสอบความถูกตองตาม
มาตรฐาน ความสมบูรณ และความสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัย ทองถิ่น ประเทศไทย และโลก
1.9) คณะกรรมการจั ด ทํ าหลัก สูต รพิ จ ารณาปรั บ ปรุ ง แก ไ ขหลัก สู ต รตามข อ เสนอแนะของ
คณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรของคณะ (ถามีขอเสนอใหปรับปรุงแกไข) แลวจัดทํ าเอกสาร(ประมาณ 5 เล ม)สงให คณะนํ าส ง
รองอธิการบดี(วิชาการ) เพื่อพิจารณากลั่นกรองหลักสูตร
1.10) มหาวิทยาลัยจัดทําคําสั่งแตงตั้งคณะอนุ ก รรมการกลั่น กรองหลัก สูต รของมหาวิ ท ยาลัยเพื่อ
พิจารณาตรวจสอบความถูก ต อ งตามมาตรฐาน ความสมบู รณ ความสอดคลองกั บทิ ศทางการพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัย
ทองถิ่น ประเทศไทย และโลก
1.11) คณะกรรมการจั ด ทํ า หลัก สูต รพิจ ารณาปรั บ ปรุ ง แก ไขหลัก สู ต รตามขอ เสนอแนะของ
คณะอนุกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรของมหาวิทยาลัย (ถามีขอเสนอใหปรับปรุงแกไข) จัดทําเอกสาร(ประมาณ 35 เลม )
สงใหรองอธิการบดี(วิชาการ) เพื่อเสนอสภาวิชาการ
1.12) สภาวิชาการพิจารณาตรวจสอบความถูก ต อ งตามมาตรฐาน ความสมบู ร ณและความเป น
ประโยชนตอการพัฒนาในระดับตาง ๆ และใหขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแกไข (ถามี)
1.13) คณะกรรมการจัดทําหลักสูตรพิจารณาปรับปรุงแกไขหลัก สูต รตามขอ เสนอแนะของของสภา
วิ ชาการ (ถามีขอเสนอให ปรั บปรุ งแก ไข) จั ดทํ าเอกสาร(ประมาณ 45 เล ม) ส งให รองอธิ การบดี (วิ ชาการ) เพื่อ เสนอสภา
มหาวิทยาลัย
1.14) สภามหาวิทยาลัยพิจารณาอนุมัติ/ไมอนุมัติ และ/หรือใหขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแกไข
1.15) กรณีที่สภามหาวิทยาลัยมีมติอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรที่เสนอ ใหคณะกรรมการจัดทําหลักสูตร
จัดทําเอกสารหลักสูตรที่ไดปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย(ถามี) จํานวน 10 เลม พร อ มแผน บั น ทึ ก ขอ มู ล
(เอกสารหลักสูตร) 2 แผน สงใหรองอธิการบดี(วิชาการ) ประสานสํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบี ยนจั ดทํ าหนั งสือราชการ
เสนอตอสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาภายใน 30 วัน (งานหลักสูตรและแผนการเรียนจะเก็ บ เอกสารหลัก สูต รไว 5
เลม และแผนบันทึกขอมูล 1 แผน สวนที่เหลือจะนําสงสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา)

หมายเหตุ
1) ควรตรวจสอบบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการประจําคณะหรือคณะกรรมการอํานวยการคณะดวยวา
มีบทบาทตองพิจารณาใหความเห็นชอบหลักสูตรของคณะหรือไม ถามี หลักสูตรของคณะนั้น ๆ ตองเสนอคณะกรรมการ
ชุดนี้กอนดําเนินการไปขั้นตอนที่ 1.9
2) กรณีที่หลักสูตรที่จัดทําใหมเปนหลักสูตรระดั บ บั ณฑิ ต ศึ ก ษา ก อ นถึง ขั้น ตอนที่ 1.9 คณะกรรมการ
จัดทําหลักสูตรจะตองจัดทําเอกสารหลักสูตรเสนอบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อเสนอคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาพิจารณาให ค วาม
เห็นชอบกอน แลวจัดทําเอกสาร(ประมาณ 5 เลม)สงใหคณะนําสงรองอธิการบดี(วิชาการ) เพื่อเสนอสภาวิชาการตามขั้น ตอนที่
1.9 และขั้นตอนตอ ๆ ไป

2) กรณีการปรับปรุงหลักสูต ร
การปรับปรุงหลักสูตรอาจจําแนกเปน 2 ลัก ษณะ ได แก ก ารปรั บ ปรุ ง ระดั บ มาก ซึ่ ง อาจเป น การ
ปรับปรุงตามเงื่อนไขของประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาติ ขอ 10 ที่อยูตอนที่
1 ของเอกสารตอนนี้จะพบวา หลักสูต รใหมท ี่จะใชใ นป ก ารศึ ก ษา 2553 จะต อ งเป น หลั ก สู ต รที่ เขา เกณฑ น ี้ สว น
หลักสูต รที่ ไ ด ใ ชม าแล วก็ จ ะต อ งดํ า เนิ น การปรั บ ปรุ ง ให เขา เกณฑ ใ หม ภ ายในป ก ารศึ ก ษา 2555 หรื อ ประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ฯ ที่ ว าให ทุ ก หลัก สูต รมี ก ารพัฒ นาหลัก สูต รให ทั น สมั ย แสดงการ
ปรับปรุงดัชนีดานมาตรฐานและคุณภาพการศึก ษาเปนระยะ ๆ อยางนอยทุก ๆ 5 ป หรือเปนการปรับปรุ ง ก อ นเวลา 5 ป
เนื่องจากคณะหรื อ คณะกรรมการบริ ห ารหลัก สูต รเห็ น ควรต อ งปรั บ ปรุ ง หลัก สูต รให เ หมาะสมและทั น สมั ยมากขึ้น
(ปรั บ เปลี่ยนเพิ่ม -ลด หน ว ยกิ ต และเพิ่ม -ลด รายวิ ชาในโครงสร างหลัก สูต ร มี ผลกระทบต อ โครงสร างหลัก สูต ร
วัตถุประสงค ปรัชญา และสาระเดิมของหลักสูตร ฯลฯ) และการปรับปรุงเล็กนอย ซึ่งอาจเปนการปรั บ ปรุ ง โดยการเพิ่ม
หรือปรับเปลี่ยนรายวิชาบางรายวิชาในหลักสูตร ที่ไมกระทบตอโครงสรางของหลักสูตร
ในกรณี ก ารปรั บ ป รุ ง หลั ก สู ต รที่ เ ป น การปรั บ ปรุ ง เล็ ก น อ ยนั้ น อาจดํ า เนิ น การโดยคณะ
กรรมการบริหารหลักสูตรสาขานั้น ๆ จัดทํารายละเอียดเฉพาะสวนที่ตองการปรั บ ปรุ ง แก ไข พร อ มเหตุ ผลประกอบการ
ปรับปรุงแกไข (ไม จํ าเป น ต อ งเสนอเป น เอกสารหลัก สูต รทั้ ง เลม ) เสนอต อ คณะ เพื่อ พิจ ารณาเสนอมหาวิ ท ยาลัยให
ดําเนินการเสนอตอสภาวิชาการ สภามหาวิทยาลัย และสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตอไป สวนการปรั บ ปรุ ง
หลักสูต รระดับมากนั้นจะตองจัดทําเอกสารเปนหลักสูตรปรับปรุงซึ่งจะตองดําเนินการตามขั้นตอนสําคัญ ๆ ดังนี้
2.1) แตงตั้งคณะกรรมการจัดทําหลักสูตร โดยทําเปนคําสั่งแตงตั้งของคณะหรือมหาวิทยาลัย ซึ่ ง โดย
ขอกําหนดสําหรับการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติกําหนดใหตองมีกรรมการอยาง
นอย 5 คน ประกอบดวยอาจารยผูรับผิดชอบหลั ก สู ต รอย า งน อ ย 2 คน ผู ท รงคุ ณ วุฒิ ห รื อ ผู เชี่ย วชาญในสาขา/
สาขาวิชานั้น ๆ ซึ่งเปน บุค คลภายนอกอยางนอย 2 คน และหากมี อ งค ก รวิ ชาชีพต อ งให มี อ งค ก รวิชาชีพ ร วมเป น
กรรมการดวยอยางนอย 1 คน (ถามีตัวแทนผูใชบัณฑิตเขามารวมดวยก็ จ ะยิ่ง ดี ) มี ก ารประชุม และจั ด ทํ ารายงานการ
ประชุมทุกครั้ง
2.2) รวบรวมปญหาและประเด็นเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงหลักสูตรจากรายงานผลการดํ าเนิ น การ
ของหลักสูตรที่ไดจัดทําสง สกอ. สํารวจความเห็นของอาจารยผูสอนรายวิ ชาต าง ๆ ในหลัก สูต ร และอาจสํารวจความ
ตองการของผูเรี ยน ผูใชบั ณฑิ ต ท อ งถิ่น และสัง คม โดยจั ด ทํ าเป น รายงานสรุ ป ผลการศึ ก ษาป ญ หาและประเด็ น
เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงหลักสูต ร อภิ ป รายประกอบกั บ แผน/นโยบายและ/หรื อ ทิ ศ ทางการพัฒ นามหาวิ ท ยาลัย
จังหวัด ภูมิภาค ประเทศ และโลก
2.3) ศึกษาหลักสูตรของมหาวิทยาลัยอื่น ๆ (ควรศึกษาทั้งในและตางประเทศ)
2.4) ศึกษามาตรฐานผลการเรียนรูที่คาดหวังที่กําหนดไวในมาตรฐานคุ ณวุ ฒิ ของระดั บ และสาขา/
สาขาวิชาที่จะพัฒนาจากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ(มคอ. 1 )และใชมาตรฐานผลการเรียนรูที่กําหนดไวนั้ น เป น หลัก ใน
การพัฒนาหลักสูตร ทั้งนี้คณะ/มหาวิทยาลัยอาจเพิ่มเติมผลการเรียนรูซึ่งคณะ/มหาวิทยาลัย ตองการใหบัณฑิต สาขา/
สาขาวิชาในระดับคุณวุฒิน ั้น มีค ุณลักษณะเดน หรือพิเศษกวาบัณฑิต ในสาขา/สาขาวิชาและระดับคุณวุฒเิ ดียวกันของ
สถาบัน ฯอื่นๆ เพื่อใหเปน ไปตามปรัชญาและปณิธานของคณะ/มหาวิทยาลัย และเปน ที่สนใจของบุ ค คลที่ จ ะเลื อ ก
เรียนหลักสูต รของสถาบัน ฯหรือผูใชบัณฑิต สนใจที่จะรับบัณฑิต เขาทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษา โดยใหแสดงแผนทีก่ าร
กระจายความรับผิดชอบตอผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping) เพื่อใหเห็น ว าแต ละรายวิ ชาใน
หลักสูตรมี ค วามรั บ ผิด ชอบหลัก หรื อ ความรั บ ผิด ชอบรองต อ มาตรฐานผลการเรี ยนรู ด านใด กรณีที่ ยัง ไม มี ป ระกาศ
กระทรวงศึกษาธิการวาดวยมาตรฐานคุณวุฒิสําหรับระดับและสาขา/สาขาวิชาที่ประสงคจะพัฒนาคณะกรรมการพั ฒ นา
หลักสูต รตองศึกษาทําความเขาใจมาตรฐานผลการเรียนรูแตละดานของระดับคุณวุฒิท ี่จะพัฒนา/ปรับ ปรุงหลักสูต ร
ลักษณะของหลักสูต รและคุณลักษณะของบัณฑิต ที่พึงประสงคของระดับคุณวุฒิน ั้น (มาตรฐานกลาง) เปนแนวในการ
พัฒนาหลักสูตร ทั้งนี้คณะ/มหาวิทยาลัยยังคงสามารถเพิ่มเติมผลการเรียนรูซึ่งคณะ/มหาวิทยาลัย ตองการให บั ณ ฑิ ต
สาขา/สาขาวิชาในระดับคุณวุฒิน ั้น มีค ุณลักษณะเดน หรื อ พิ เศษกวา บั ณ ฑิ ต ในสาขา/สาขาวิชาและระดั บ คุ ณ วุฒิ
เดียวกัน ของสถาบัน ฯอื่นๆ เพื่อใหเปน ไปตามปรัชญาและปณิธานของคณะ/มหาวิทยาลัย และเปนทีส่ นใจของบุคคลที่
จะเลือกเรียนหลักสูต รของสถาบัน ฯหรือผูใชบัณฑิต สนใจที่จะรับบัณฑิต เขาทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษา โดยให แสดง
แผนที่การกระจายความรับผิดชอบตอผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping) เพื่อ ให เ ห็ น ว าแต ละ
รายวิชาในหลักสูตรมีความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรองตอมาตรฐานผลการเรียนรูดานใด
2.5) ปรับปรุงดัชนีดานมาตรฐานและคุณภาพการศึก ษา และปรับปรุงเอกสารหลักสูตรใหสอดคลอ ง
กับดัชนีมาตรฐานคุณภาพที่ปรับปรุง และใหเปนไปตามเกณฑและแบบฟอรมของสํานักงานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา
(มคอ. 2)
2.6) จัดทําเอกสารรายงานรายละเอี ยดในการปรั บ ปรุ ง หลัก สูต ร ที่ มี ต ารางเปรี ยบเที ยบให เ ห็ น
ลักษณะสําคัญของหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง (สําหรับการปรับปรุงใหเขากรอบมาตรฐานคุณวุฒิในครั้ ง แรก เป น
การปรับใหญ ไมตองทําเอกสารชิ้นนี้)
2.7) จัดใหมีการวิพากษหลักสูตรโดยผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ผูใชบัณฑิต ตัวแทนของทองถิ่น ฯลฯ
จัดทําเอกสารสรุปการวิพากษและแนวทางการปรั บ ปรุ ง แก ไขตามขอ วิ พากษต าง ๆ พร อ มแนบหลัก ฐานหนั ง สือ เชิญ
รายชื่อและประวัติยอของผูเขารวมประชุม
2.8) จัดทําเอกสารหลักสูตร(มคอ. 2) (ประมาณ 5 เลม) เสนอคณะ
2.9) คณะแตงตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรของคณะเพื่อพิจารณาตรวจสอบความถูกตองตาม
มาตรฐาน ความสมบูรณ และความสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัย ทองถิ่น ประเทศไทย และโลก
2.10) คณะกรรมการปรั บ ปรุ ง หลัก สูต รพิจ ารณาปรั บ ปรุ ง แก ไขหลัก สูต รตามขอ เสนอแนะของ
คณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรของคณะ (ถามีขอเสนอใหปรับปรุงแกไข) แลวจัดทําเอกสารหลัก สูต ร (ประมาณ 5 เล ม)สงให
คณะนําสงรองอธิการบดี(วิชาการ) เพื่อพิจารณากลั่นกรองหลักสูตร
2.11) มหาวิทยาลัยจัดทําคําสั่งแตงตั้งคณะอนุ ก รรมการกลั่น กรองหลัก สูต รของมหาวิ ท ยาลัยเพื่อ
พิจารณาตรวจสอบความถูก ต อ งตามมาตรฐาน ความสมบู รณ ความสอดคลองกั บทิ ศทางการพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัย
ทองถิ่น ประเทศไทย และโลก
2.12) คณะกรรมการปรั บ ปรุ ง หลัก สูต รพิจ ารณาปรั บ ปรุ ง แก ไขหลัก สูต รตามขอ เสนอแนะของ
คณะอนุกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรของมหาวิทยาลัย (ถามีขอเสนอให ปรั บปรุ งแก ไข) จัดทํ าเอกสารหลัก สูต ร (ประมาณ 35
เลม) สงใหกรรมการและเลขานุการสภาวิชาการ เพื่อเสนอสภาวิชาการ
2.13) สภาวิชาการพิจารณาตรวจสอบความถูก ต อ งตามมาตรฐาน ความสมบู ร ณและความเป น
ประโยชนตอการพัฒนาในระดับตาง ๆ และใหขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแกไข (ถามี)
2.14) คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรพิจารณาปรับปรุงแกไ ขหลัก สูต รตามขอ เสนอแนะของของ
สภาวิชาการ (ถามีขอเสนอใหปรับปรุงแกไข) จัดทําเอกสารหลักสูตร (ประมาณ 45 เลม) สงใหรองอธิ การบดี (วิ ชาการ) เพื่อ เสนอ
สภามหาวิทยาลัย
2.15) สภามหาวิทยาลัยพิจารณาอนุมัติ/ไมอนุมัติ และ/หรือใหขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแกไข
2.16) กรณีที่สภามหาวิทยาลัยมีมติอนุมัติ/เห็น ชอบหลัก สูต รที่ เ สนอ ให ค ณะกรรมการปรั บ ปรุ ง
หลักสูตรจัดทําเอกสารหลักสู ตรที่ ได ปรั บปรุ งแก ไขตามข อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย(ถามี) หลัก สูต ร จํ านวน 10 เล ม
พรอมแผนบันทึกขอมูล(เอกสารหลักสูตร)จํานวน 2 แผน สงใหรองอธิการบดี(วิชาการ) ประสานสํานั ก สงเสริ มวิ ชาการและ
งานทะเบียนจัดทําหนังสือราชการสงสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาภายใน 30 วัน (งานหลัก สูต รและแผนการเรี ยนจะ
เก็บเอกสารหลักสูตรไว 5 เลม และแผนบันทึกขอมูล 1 แผน สวนที่เหลือจะนําสงสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา)

หมายเหตุ
1) ควรตรวจสอบบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการประจําคณะหรือคณะกรรมการอํานวยการคณะดวยวา
มีบทบาทตองพิจารณาใหความเห็นชอบหลักสูตรของคณะหรือไม ถามี หลักสูตรของคณะนั้น ๆ ตองเสนอคณะกรรมการ
ชุดนี้กอนดําเนินการไปขั้นตอนที่ 2.10
2) กรณีที่หลักสูตรที่จัดทําใหมเปนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ก อ นถึง ขั้น ตอนที่ 2.10 คณะกรรมการ
จัดทําหลักสูตรจะตองจัดทําเอกสารหลักสูตรเสนอบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อเสนอคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาพิจารณาให ค วาม
เห็นชอบกอน แลวจัดทําเอกสาร(ประมาณ 5 เลม)สงใหคณะนําสงรองอธิการบดี(วิชาการ) เพื่อเสนอสภาวิชาการตามขั้น ตอนที่
2.10 และขั้นตอนตอ ๆ ไป

You might also like