You are on page 1of 148

(พ.ศ.

2561 – 2564)
(ทบทวนปี พ.ศ.2560)
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564)

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา
ระยะ 4 ปี

(พ.ศ.2561 - 2564)
(ทบทวนปี พ.ศ.2560)

จัดทาในปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(4 กันยายน 2560)
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

สัญลักษณ์ประจาจังหวัด

รูปอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ประดิษฐานอยู่หน้า ประตูชุมพล ประตูเมืองทางด้านทิศตะวันตก


หมายถึง วีรกรรมอันกล้าหาญที่ท้าวสุรนารีได้กอบกู้เมืองนครราชสีมา จากกองทัพของเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ไว้ได้ ซึ่งตรา
ประจาจังหวัดนครราชสีมา ภาพนี้มีฐานะเป็นตราราชการ ตามประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กาหนดภาพเครื่องหมาย
ราชการ ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายราชการ พุทธศักราช 2482 (ฉบับที่ 214) [ว่าด้วยการกาหนดเครื่องหมายราชการ
ประจาจังหวัด 76 จังหวัด]

คาขวัญประจาจังหวัด
“เมืองหญิงกล๎า ผ๎าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินดํานเกวียน”
(คาขวัญเดิม โคราช ลือเลื่อง เมืองกํอนเกํา นกเขาคารม อ๎อยคันรํม ส๎มขี้ม๎า ผ๎าหางกระรอก)

อักษรย่อ : นม
สีประจาจังหวัด : สีแสด (สีส้ม)
ต้นไม้ประจาจังหวัด : ต้นสาธร (Millettia leucantha)
ดอกไม้ประจาจังหวัด : ดอกสาธร

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 1


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

คำนำ
คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) ได้มีมติ
ในการประชุม ครั้งที่ 2/2559เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2 559 เห็นชอบให้ จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ทบทวน
แผนพัฒนา จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) เพื่อให้แผนพัฒนา จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ฯ
ทันต่อสถานการณ์และมีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง
จังหวัดนครราชสีมา จึงได้ ทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 –
2564) โดยได้ดาเนินการประชุมคณะกรรมการอานวยการและคณะทางานจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา
ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ในวันที่ 29 สิงหาคม 2560 ตามกรอบและแนวทางของมติคณะ
กรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) กาหนด โดยยึด ยุทธศาสตร์ชาติ
20 ปี นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
ทิศทางการพัฒนาภาค แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 และปัญหาความต้องการของ
ประชาชนในพื้นที่ มาประกอบการพิจารณาจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด ฯ โดยพิจารณา ทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง และด้านบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อให้แผนพัฒนาจังหวัด
สามารถขับเคลื่อนไปได้ด้วยดีมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล รวมทั้งเป็นการแก้ไขปัญหาร่วมกันของจังหวัด
ให้เหมาะสมกับโอกาสและศักยภาพของจังหวัด และนาไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชนและ
สร้างรายได้ให้ จังหวัดนครราชสีมา และได้นาร่างแผนพัฒนาจังหวัด ฯ นาเสนอต่อที่ประชุมประชาคม เพื่อรับฟัง
ความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชน ทั้งนี้
คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) จังหวัดนครราชสีมา ได้ให้ความเห็นชอบ ในคราวประชุม
ครั้งที่ 4/2560 ในวันที่ 5 กันยายน 2559 แล้ว
จังหวัดนครราชสีมา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561
– 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560 ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ในการบูรณาการ แผนงาน/โครงการ เพื่อแปลงนโยบาย
ไปสู่การปฏิบัติ ในแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด ฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 – พ.ศ. 2564
ต่อไป

จังหวัดนครราชสีมา
4 กันยายน 2560
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

สำรบัญ
หน้า
คำนำ
สำรบัญ
1. ข้อมูลสภาพทั่วไปของจังหวัดนครราชสีมา 2
1.1 สภาพทั่วไป 3
1.2 ลักษณะทางกายภาพ 3
1.3 ข้อมูลการปกครอง/ประชากร 5
1.4 ข้อมูลทางเศรษฐกิจ 15
1.5 ลักษณะทางสังคม 17
1.6 โครงสร้างพื้นฐาน 30
1.7 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 31
1.8 ข้อมูลเชิงสถิติที่สาคัญเชิงพื้นที่ 39
1.9 ข้อมูลสรุปผลการดาเนินการตามแผน ฯ ที่ผ่านมา 40
2. การวิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพ 52
2.1 การวิเคราะห์ความต้องการและศักยภาพของประชาชนในพื้นที่ 53
2.2 ข้อมูลการวิเคราะห์ศักยภาพ 56
1) ด้านเศรษฐกิจ 56
2) ด้านเกษตร 57
3) ด้านอุตสาหกรรม 58
4) ด้านการท่องเที่ยว 60
5) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 60
6) ด้านความมั่นคง 61
7) ด้านอื่น ๆ 62
2.3 เครื่องมือการวิเคราะห์ทางการบริหาร SWOT 63
3. สรุปข้อมูลแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา 80
3.1 ตาแหน่งทางยุทธศาสตร์ 81
3.2 วิสัยทัศน์ 81
3.3 เป้าประสงค์รวม 81
3.4 ประเด็นยุทธศาสตร์ 81
3.5 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และกลยุทธ์ 82
4. แบบ จ. 1 (บัญชีชุดโครงการ) 88
แบบ จ. 1 (Project idea) 98
แบบ จ. 1 – 1 (Project idea รายโครงการ) 117
ภาคผนวก ก (รายการตรวจสอบการดาเนินงานตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัด 145
และกลุม่ จังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551)
ภาคผนวก ข (สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ.2561 – 2564) 147
ภาคผนวก ค (จุดเน้นทางยุทธศาสตร์ Positioning ของจังหวัดนครราชสีมา) 152
ภาคผนวก ง (คาสั่งจังหวัดนครราชสีมา ที่ 4850/2559 ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2559) 154
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ส่วนที่ 1
ข้อมูลสภาพทั่วไปของจังหวัด

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 2


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ส่วนที่ 1
ข้อมูลสภาพทั่วไปของจังหวัด
๑.๑ ความเป็นมา
จังหวัดนครราชสีมา เป็นเมืองโบราณเมืองหนึ่งในอาณาจักรไทย แตํเดิมตั้งอยูํในท๎องที่อาเภอสูงเนิน
หํางจากตัวเมืองปัจจุบัน 31 กิโลเมตร เรียกวํา “เมืองโคราฆะปุระ” หรือ โคราช กับ เมืองเสมา ซึ่งทั้ง 2 เมือง
เคยเจริญรุํงเรืองในสมัยขอม แตํในปัจจุบันเป็นเมืองร๎างตั้งอยูํริมลาตะคอง
สมัยอยุธยา ในแผํนดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.2199-2231) โปรดให๎สร๎างเมืองโดยเอา
ชื่อเมืองเสมากับเมืองโคราฆะปุระมาผูกเป็นนามเมืองใหมํเรียกวํา “เมืองนครราชสีมา ”แตํคนทั่วไป เรียกวํา
“เมืองโคราช”
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 โปรดเกล๎าฯ ให๎ยกฐานะเป็นเมืองชั้นเอก ผู๎สาเร็จราชการเมืองมียศ
เป็น เจ๎าพระยา โดย เจ๎าพระยานครราชสีมาคนแรกชื่อ ปิ่น ณ ราชสีมา และในรัชกาลนี้เมืองนครราชสีมาได๎นา
ช๎างเผือก 2 เชือก ขึ้นน๎อมเกล๎าถวาย ตํอมาในปี พ.ศ.2369 ในสมัยรัชกาลที่ 3 เจ๎าอนุวงศ์ ผู๎ครองเมือง
เวียงจันทน์กํอการกบฏ ยกกองทัพมาตีเมืองนครราชสีมาและกวาดต๎อน พลเมืองไปเป็นเชลย คุณหญิงโม
(ภรรยาปลัดเมืองนครราชสีมา (พระสุริยเดชวิเศษ ฤทธิ์ทศทิศวิชัย )) ผู๎รักษาเมืองแสร๎งทากลัวเกรงและประจบ
เอา ใจทหารลาว เมื่อถูกกวาดต๎อนมาถึงทุํงสัมฤทธิ์ในเขตอาเภอพิมาย ก็หยุดพักกลางทางพอได๎โอกาสคุณหญิงโม
ก็จัดกองทัพโจมตีกองทัพเวียงจันทน์แตกพํายไป วีรกรรมที่คุณหญิงโมได๎ประกอบขึ้นนี้ รัชกาลที่ 3 จึงทรง
พระกรุณาโปรดเกล๎าฯ สถาปนา คุณหญิงโม ดารงฐานันดรศักดิ์เป็น “ท๎าวสุรนารี ” ตํอมาในสมัยรัชกาลที่ 5
ได๎โปรดเกล๎า ฯ ให๎รวบรวมหัวเมืองในเขตที่ราบสูงให๎นครราชสีมาเป็นที่วําการมณฑลลาวกลาง ในปี พ.ศ. 2434
( ร.ศ. 110 )

๑.๒ ลักษณะทางกายภาพ
(๑) ที่ตั้ง
จังหวัดนครราชสีมาตั้งอยูํในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ
บนที่ราบสูงโคราช ละติจูด 15 องศาเหนือ ลองติจูด 102
องศาตะวันออก สูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 187 เมตร
ตัวจังหวัดอยูํ หํางจากกรุงเทพมหานคร โดยทางรถยนต์ 259
กิโลเมตร และโดยทางรถไฟ 264 กิโลเมตร มีพื้นที่
20,493.964 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 12,808,728
ไรํ คิดเป็นร๎อยละ 12.12 ของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เป็นพื้นที่ป่าไม๎ 1,929,491,.88 ไรํ โดยสํวนใหญํเป็นพื้นที่
อุทยานแหํงชาติ คือ อุทยานแหํงชาติเขาใหญํและอุทยาน
แหํงชาติทับลาน ร๎อยละ 61.4 และเป็นแหลํงน้า 280,313
ไรํ มีอาณาเขตติดตํอกับจังหวัดใกล๎เคียง ดังนี้

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 3


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

(๒) อาณาเขต

ทิศเหนือ ติดตํอกับ จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดขอนแกํน


ทิศใต๎ ติดตํอกับ จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดนครนายก และจังหวัดสระแก๎ว
ทิศตะวันออก ติดตํอกับ จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดขอนแกํน
ทิศตะวันตก ติดตํอกับ จังหวัดสระบุรี จังหวัดลพบุรี

จังหวัดนครราชสีมา

กลุ่มจังหวัด
“นครชัยบุรินทร์”

(๒) ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดนครราชสีมา มีทั้งที่เป็นภูเขาสูง ที่ราบลุํม พื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้นและ
พื้นที่ลูกคลื่นลอนลึก โดยสามารถแบํงออกเป็น 3 บริเวณ คือ
1) บริเวณเทือกเขาที่สูงทางตอนใต้ มีความสูงจากระดับน้าทะเลมากกวํา 250 เมตร อยูํในบริเวณ
อาเภอปากชํอง ปักธงชัย วังน้าเขียว ครบุรี และเสิงสาง มีเทือกเขานี้เป็นต๎นกาเนิดของแมํน้า และลาธารหลายสาย
ที่ไหลไปทางตะวันออกของภาค เชํน แมํน้ามูล ลาแชะ ลาพระเพลิง และลาปลายมาศ พื้นที่ระหวํางเทือกเขา
สํวนใหญํมีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลึก และลูกคลื่นลอนตื้นตอนลํางของหุบเขามีความลาดชันคํอนข๎างมาก ทาให๎
มีการชะล๎างและพังทลายของหน๎าดินในบริเวณนี้คํอนข๎างสูงเป็นพื้นที่ซึ่งจาเป็นต๎องสงวน และอนุรักษ์ให๎คงเป็น
สภาพตามธรรมชาติ เพื่อรักษาดุลยภาพของระบบนิเวศน์ และสถานทํองเที่ยวตามธรรมชาติ

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 4


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

2) บริเวณที่สูงทางตอนกลาง มีความสูงจากระดับน้าทะเลอยูํระหวําง 200 เมตร อยูํในเขต พื้นที่


อาเภอดํานขุนทด อาเภอเทพารักษ์ อาเภอสีคิ้ว อาเภอสูงเนิน อาเภอโนนไทย อาเภอพระทองคา อาเภอ
ขามทะเลสอ อาเภอเมือง นครราชสีมา อาเภอโชคชัย อาเภอหนองบุญมาก อาเภอจักราช และอาเภอเฉลิม
พระเกียรติ ลักษณะพื้นที่สํวนใหญํเป็นลูกคลื่นลอนตื้น ยกเว๎นบริเวณใกล๎เชิงเขามีลักษณะเป็นพื้น ที่ลูกคลื่น
ลอนลึก ที่ราบลุํมริมฝั่งแมํน้าไหลผํานหลายสาย ได๎แกํ ลาแชะ ลาพระเพลิง ลาตะคอง และแมํน้ามูล พื้นที่บางแหํง
เป็นพื้นที่ราบซึ่งเป็นป่าหมดสภาพ และปัจจุบันเป็นพื้นที่ทาการเกษตรแตํบางแหํงปลํอยทิ้งไว๎วํางเปลํา
ได๎กาหนดให๎เป็นเขตเตรียมการพัฒนาที่ดินใช๎เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ปศุสัตว์ อุตสาหกรรม และชุมชนเมือง ที่ดิน
ประเภทปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร
3) พื้นที่ลูกคลื่นและพื้นที่ราบลุ่มทางตอนเหนือ สูงจากระดับน้าทะเลไมํเกิน 200 เมตร อยูํในเขต
อาเภอแก๎งสนามนาง อาเภอบ๎านเหลื่อม อาเภอบัวใหญํ อาเภอสีดา อาเภอบัวลาย อาเภอโนนแดง อาเภอประทาย
อาเภอลาทะเมนชัย อาเภอเมืองยาง อาเภอชุมพวง อาเภอพิมาย อาเภอคง อาเภอขามสะแกแสง อาเภอโนนสูง
และอาเภอห๎วยแถลง มีลักษณะเป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้นที่สูงสลับที่นา บางตอนเป็นพื้นที่ราบลุํมบริเวณริมฝั่ง
แมํน้าลาเชียงไกร ลาปลายมาศ และมีที่ราบลุํมบริเวณริมฝั่งลาสะแทด เป็นพื้นที่ที่เหมาะสม เพื่อทาการเกษตร
และการพัฒนาเมือง การพัฒนาอุตสาหกรรม การประมง
(๓) ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพอากาศทั่วไปของจังหวัดนครราชสีมาอยูํภายใต๎อิทธิพลของมรสุม 2 ชนิด คือ มรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ (เริ่มตั้งแตํประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์) มรสุมนี้มีแหลํงกาเนิดจากบริเวณ
ความกดอากาศสูงในซีกโลกเหนือแถบประเทศมองโกเลียและจีนพัดพาเอามวลอากาศเย็นและแห๎งจากแหลํง
กาเนิดเข๎ามาปกคลุมประเทศไทย ทาให๎บริเวณจังหวัดนครราชสีมาประสบกับภาวะอากาศหนาวเย็นและแห๎งแล๎ง
โดยทั่วไป สํวนมรสุมอีกชนิดหนึ่งคือมรสุมตะวันตกเฉียงใต๎ (เริ่มตั้งแตํกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม)
มรสุมนี้มีแหลํงกาเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกใต๎ บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งพัดออกจาก
ศูนย์กลางเป็นลมตะวันออกเฉียงใต๎และเปลี่ยนเป็นลมตะวันตกเฉียงใต๎ เมื่อพัดข๎ามเส๎นศูนย์สูตร พัดพาเอามวล
อากาศชื้นจากมหาสมุทรอินเดียมาสูํประเทศไทย ทาให๎บริเวณจังหวัดนครราชสีมา มีเมฆมากและฝนตกชุก
โดยทั่วไป
๑.3 ข้อมูลการปกครอง/ประชากร
ข้อมูลการปกครอง จังหวัดนครราชสีมา มีการบริหารราชการ เป็น 3 สํวน ดังนี้
1) สํวนราชการ 258 หนํวย
1.1) สํวนกลางในภูมิภาค 196 หนํวย
1.2) สํวนภูมิภาค 35 หนํวย
1.3) รัฐวิสาหกิจ 27 หนํวย
2) หนํวยงานอิสระ 26 หนํวย
3) องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น 334 องค์กร
3.1) องค์การบริหารสํวนจังหวัด 1 แหํง
3.2) องค์การบริหารสํวนตาบล 243 แหํง
3.3) เทศบาล (ท.นคร 1/ท.เมือง 4/ ท.ตาบล 85 แหํง) 90 แหํง

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 5


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

จังหวัดนครราชสีมา แบํงเขตการปกครองออกเป็น 32 อาเภอ 289 ตาบล 3,743 หมูํบ๎าน ดังนี้


1) อาเภอเมืองนครราชสีมา 2) อาเภอครบุรี 3) อาเภอเสิงสาง
4) อาเภอคง 5) อาเภอบ๎านเหลือม 6) อาเภอจักราช
7) อาเภอโชคชัย 8) อาเภอหนองบุญมาก 9) อาเภอดํานขุนทด
10) อาเภอเทพารักษ์ 11) อาเภอโนนไทย 12) อาเภอพระทองคา
13) อาเภอโนนสูง 14) อาเภอขามสะแกแสง 15) อาเภอบัวใหญํ
16) อาเภอสีดา 17) อาเภอบัวลาย 18) อาเภอแก๎งสนามนาง
19) อาเภอประทาย 20) อาเภอโนนแดง 21) อาเภอปักธงชัย
22) อาเภอวังน้าเขียว 23) อาเภอพิมาย 24) อาเภอห๎วยแถลง
25) อาเภอสูงเนิน 26) อาเภอขามทะเลสอ 27) อาเภอสีคิ้ว
28) อาเภอปากชํอง 29) อาเภอชุมพวง 30) อาเภอเมืองยาง
31) อาเภอลาทะเมนชัย 32) อาเภอเฉลิมพระเกียรติ

ประชากร
จังหวัดนครราชสีมา ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕9 มีประชากร จานวน 2 ,631,435 คน เป็นชาย
1,295,824 คน เป็นหญิง ๑,332,055 คน จานวนครัวเรือน ๙๑8,646 ครัวเรือน
อาเภอที่มีประชากรมากที่สุด ได๎แกํ อาเภอเมืองนครราชสีมา รองลงมาคือ อาเภอปากชํอง
อาเภอที่มีประชากรน๎อยที่สุด ได๎แกํอาเภอบ๎านเหลื่อม
ขนาดสัดสํวนของประชากรเมืองและชนบท ในที่นี้ ประชากรเมืองหมายถึง ประชากรที่อยูํใน
เขตเทศบาลทุกระดับ และประชากรในชนบทหมายถึง ประชากรที่อยูํนอกเขตเทศบาลทุกระดับ โดยในปี
พ.ศ.2558 จังหวัดนครราชสีมา มีจานวนประชากรอยูํในเขตเมือง จานวนทั้งสิ้น 640,287 คน คิดเป็น
ร๎อยละ 24.36 เมื่อพิจารณาจากทิศทางย๎อนหลังลงไป 3 ปี พบวํา ประชากรในเขตเมืองลดลงอยําง
ตํอเนื่อง สาหรับประชากรที่อยูํในเขตชนบท จานวนทั้งสิ้น 1,988,531 คน คิดเป็นร๎อยละ 75.70 เมื่อ
พิจารณาจากทิศทางย๎อนหลังลงไป 3 ปี พบวํา ประชากรในเขตชนบทเพิ่มขึ้นอยํางตํอเนื่อง
ความหนาแนํนของประชากร 126 คนตํอตารางกิโลเมตร พื้นที่ที่มีความหนาแนํนของ
ประชากรมากที่สุด คือ อาเภอเมืองนครราชสีมา มีประชากร หนาแนํนมากที่สุด 576 คน ตํอตาราง
กิโลเมตร อาเภอที่มีประชาชนหนาแนํนน๎อยสุด ได๎แกํ อาเภอจักราช 16 คนตํอตารางกิโลเมตร
(ที่มา : ที่ทาการปกครองจังหวัดนครราชสีมา)
ประชากรจากการทะเบียน จาแนกตามเพศ เขตการปกครอง เป็นรายอาเภอ พ.ศ. 2556-2558
2556 (2013) 2557 (2014) 2558 (2015)
อาเภอ และ
เขตการปกครอง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
Total Male Female Total Male Female Total Male Female
รวมยอด 2,610,164 1,289,861 1,320,303 2,620,517 1,294,987 1,325,530 2,628,818 1,298,167 1,330,651
ในเขตเทศบาล 642,708 314,755 327,953 641,951 314,534 327,417 640,287 313,476 326,811

นอกเขตเทศบาล 1,967,456 975,106 992,350 1,978,566 980,453 998,113 1,988,531 984,691 1,003,840

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 6


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

2556 (2013) 2557 (2014) 2558 (2015)


อาเภอ และ
รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
เขตการปกครอง
Total Male Female Total Male Female Total Male Female
1. อาเภอเมือง 448,725 219,209 229,516 452,074 220,903 231,171 455,099 222,078 233,021
นครราชสีมา
ในเขตเทศบาล 246,391 121,944 124,447 245,321 121,608 123,713 244,158 120,851 123,307

เทศบาลนคร 136,153 64,019 72,134 134,440 63,189 71,251 133,005 62,548 70,457
นครราชสีมา
เทศบาลตาบล 7,132 3,405 3,727 7,192 3,441 3,751 7,195 3,429 3,766
โคกกรวด
เทศบาลตาบลจอหอ 16,399 8,096 8,303 16,527 8,202 8,325 17,556 9,101 8,455

เทศบาลตาบล 18,913 12,361 6,552 18,518 12,263 6,255 26,524 12,615 13,909
หัวทะเล
เทศบาลตาบล 25,716 12,233 13,483 26,111 12,443 13,668 17,122 11,132 5,990
หนองไผํล๎อม
เทศบาลตาบล 26,408 14,195 12,213 26,804 14,393 12,411 26,988 14,317 12,671
โพธิ์กลาง
เทศบาลตาบล 6,034 3,023 3,011 6,067 3,042 3,025 6,108 3,059 3,049
หนองไขํน้า
เทศบาลตาบล 9,636 4,612 5,024 9,662 4,635 5,027 9,660 4,650 5,010
ปรุใหญํ
นอกเขตเทศบาล 202,334 97,265 105,069 206,753 99,295 107,458 210,941 101,227 109,714

2. อาเภอครบุรี 95,262 46,961 48,301 95,673 47,105 48,568 96,032 47,317 48,715

ในเขตเทศบาล 16,259 7,794 8,465 16,235 7,760 8,475 16,262 7,779 8,483

เทศบาลตาบล 6,194 2,957 3,237 6,214 2,960 3,254 6,251 2,974 3,277
จระเข๎หิน
เทศบาลตาบลแชะ 6,392 3,021 3,371 6,345 2,981 3,364 6,333 2,981 3,352

เทศบาลตาบล 3,673 1,816 1,857 3,676 1,819 1,857 3,678 1,824 1,854
ไทรโยง-ไชยวาล
นอกเขตเทศบาล 79,003 39,167 39,836 79,438 39,345 40,093 79,770 39,538 40,232

3. อาเภอเสิงสาง 69,737 34,774 34,963 70,022 34,890 35,132 70,363 35,041 35,322

ในเขตเทศบาล 13,699 6,678 7,021 13,720 6,695 7,025 13,729 6,718 7,011

เทศบาลตาบล 5,982 2,947 3,035 5,964 2,950 3,014 5,986 2,977 3,009
โนนสมบูรณ์
เทศบาลตาบล 7,717 3,731 3,986 7,756 3,745 4,011 7,743 3,741 4,002
เสิงสาง
นอกเขตเทศบาล 56,038 28,096 27,942 56,302 28,195 28,107 56,634 28,323 28,311

4. อาเภอคง 81,661 40,374 41,287 81,756 40,429 41,327 81,569 40,291 41,278

ในเขตเทศบาล 5,315 2,578 2,737 5,350 2,591 2,759 5,302 2,563 2,739

เทศบาลตาบล 2,865 1,385 1,480 2,882 1,394 1,488 2,875 1,385 1,490
เทพาลัย
เทศบาลตาบล 2,450 1,193 1,257 2,468 1,197 1,271 2,427 1,178 1,249
เมืองคง
นอกเขตเทศบาล 76,346 37,796 38,550 76,406 37,838 38,568 76,267 37,728 38,539

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 7


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

2556 (2013) 2557 (2014) 2558 (2015)


อาเภอ และ
เขตการปกครอง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
Total Male Female Total Male Female Total Male Female
5. อาเภอบ้านเหลื่อม 21,017 10,436 10,581 21,099 10,455 10,644 21,190 10,485 10,705

ในเขตเทศบาล 3,693 1,758 1,935 3,698 1,755 1,943 3,688 1,755 1,933

เทศบาลตาบล 3,693 1,758 1,935 3,698 1,755 1,943 3,688 1,755 1,933
บ๎านเหลื่อม
นอกเขตเทศบาล 17,324 8,678 8,646 17,401 8,700 8,701 17,502 8,730 8,772

6. อาเภอจักราช 70,753 35,293 35,460 70,993 35,387 35,606 71,308 35,514 35,794
ในเขตเทศบาล 4,157 1,998 2,159 4,173 1,989 2,184 4,133 1,963 2,170

เทศบาลตาบล 4,157 1,998 2,159 4,173 1,989 2,184 4,133 1,963 2,170
จักราช
นอกเขตเทศบาล 66,596 33,295 33,301 66,820 33,398 33,422 67,175 33,551 33,624
7. อาเภอโชคชัย 80,646 39,249 41,397 81,221 39,564 41,657 81,632 39,738 41,894
ในเขตเทศบาล 32,739 15,941 16,798 32,963 16,108 16,855 33,084 16,149 16,935
เทศบาลตาบล 12,557 6,008 6,549 12,568 6,019 6,549 12,580 6,011 6,569
โชคชัย
เทศบาลตาบล 9,509 4,652 4,857 9,610 4,721 4,889 9,651 4,736 4,915
ดํานเกวียน
เทศบาลตาบล 10,673 5,281 5,392 10,785 5,368 5,417 10,853 5,402 5,451
ทําเยี่ยม
นอกเขตเทศบาล 47,907 23,308 24,599 48,258 23,456 24,802 48,548 23,589 24,959
8. อาเภอด่านขุนทด 127,938 63,429 64,509 128,257 63,554 64,703 128,513 63,698 64,815
ในเขตเทศบาล 19,422 9,390 10,032 19,372 9,349 10,023 19,328 9,343 9,985
เทศบาลตาบล 6,521 3,122 3,399 6,432 3,073 3,359 6,382 3,052 3,330
ดํานขุนทด
เทศบาลตาบล 4,109 1,986 2,123 4,103 1,977 2,126 4,103 1,982 2,121
หนองกราด
เทศบาลตาบล 8,792 4,282 4,510 8,837 4,299 4,538 8,843 4,309 4,534
หนองบัวตะเกียด
นอกเขตเทศบาล 108,516 54,039 54,477 108,885 54,205 54,680 109,185 54,355 54,830
9. อาเภอโนนไทย 72,085 35,456 36,629 72,021 35,419 36,602 72,039 35,380 36,659
ในเขตเทศบาล 16,877 8,209 8,668 16,870 8,228 8,642 16,828 8,198 8,630
เทศบาลตาบล 5,478 2,688 2,790 5,480 2,685 2,795 5,487 2,687 2,800
โคกสวาย
เทศบาลตาบล 3,414 1,583 1,831 3,433 1,594 1,839 3,413 1,580 1,833
โนนไทย
เทศบาลตาบล 7,985 3,938 4,047 7,957 3,949 4,008 7,928 3,931 3,997
บัลลังก์
นอกเขตเทศบาล 55,208 27,247 27,961 55,151 27,191 27,960 55,211 27,182 28,029

10. อาเภอโนนสูง 127,064 62,245 64,819 127,279 62,460 64,819 127,437 62,540 64,897
ในเขตเทศบาล 39,763 19,382 20,381 39,866 19,436 20,430 39,949 19,461 20,488
เทศบาลตาบล 9,847 4,751 5,096 9,828 4,738 5,090 9,843 4,739 5,104
โนนสูง
เทศบาลตาบล 3,603 1,730 1,873 3,602 1,727 1,875 3,569 1,705 1,864
ตลาดแค
เทศบาลตาบลมะคํา 1,900 922 978 1,898 926 972 1,915 938 977

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 8


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

2556 (2013) 2557 (2014) 2558 (2015)


อาเภอ และ
เขตการปกครอง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
Total Male Female Total Male Female Total Male Female
เทศบาลตาบล 3,548 1,682 1,866 3,568 1,692 1,876 3,565 1,686 1,879
ดอนหวาย
เทศบาลตาบลใหมํ 12,342 6,146 6,196 12,430 6,182 6,248 12,488 6,203 6,285
เทศบาลตาบล 8,523 4,151 4,372 8,540 4,171 4,369 8,569 4,190 4,379
ดํานคล๎า
นอกเขตเทศบาล 87,301 42,863 44,438 87,413 43,024 44,389 87,488 43,079 44,409
11. อาเภอขาม 43,435 21,635 21,800 43,403 21,655 21,748 43,348 21,599 21,749
สะแกแสง
ในเขตเทศบาล 10,280 5,061 5,219 10,250 5,052 5,198 10,154 4,994 5,160
เทศบาลตาบลขาม 5,424 2,612 2,812 5,385 2,612 2,773 5,338 2,583 2,755
สะแกแสง
เทศบาลตาบลหนอง 4,856 2,449 2,407 4,865 2,440 2,425 4,816 2,411 2,405
หัวฟาน
นอกเขตเทศบาล 33,155 16,574 16,581 33,153 16,603 16,550 33,194 16,605 16,589
12. อาเภอบัวใหญ่ 83,233 41,519 41,714 83,223 41,586 41,637 83,107 41,532 41,575
ในเขตเทศบาล 14,277 6,894 7,383 14,168 6,848 7,320 14,090 6,811 7,279
เทศบาลเมือง 14,277 6,894 7,383 14,168 6,848 7,320 14,090 6,811 7,279
บัวใหญํ
นอกเขตเทศบาล 68,956 34,625 34,331 69,055 34,738 34,317 69,017 34,721 34,296
13. อาเภอประทาย 77,878 38,783 39,095 77,944 38,897 39,047 77,927 38,861 39,066
ในเขตเทศบาล 6,310 3,079 3,231 6,273 3,059 3,214 6,213 3,024 3,189
เทศบาลตาบล 6,310 3,079 3,231 6,273 3,059 3,214 6,213 3,024 3,189
ประทาย
นอกเขตเทศบาล 71,568 35,704 35,864 71,671 35,838 35,833 71,714 35,837 35,877
14 .อาเภอปักธงชัย 117,271 57,311 59,960 117,466 57,362 60,104 117,629 57,464 60,165
ในเขตเทศบาล 24,422 11,784 12,638 24,385 11,762 12,623 24,351 11,758 12,593
เทศบาลตาบลตะขบ 5,406 2,662 2,744 5,397 2,661 2,736 5,365 2,642 2,723
เทศบาลเมือง 14,290 6,753 7,537 14,272 6,741 7,531 14,228 6,735 7,493
เมืองปัก
เทศบาลตาบล 4,726 2,369 2,357 4,716 2,360 2,356 4,758 2,381 2,377
ลานางแก๎ว
นอกเขตเทศบาล 92,849 45,527 47,322 93,081 45,600 47,481 93,278 45,706 47,572

15 .อาเภอพิมาย 130,053 64,024 66,029 130,299 64,090 66,209 130,333 64,128 66,205
ในเขตเทศบาล 8,779 4,090 4,689 8,696 4,038 4,658 8,573 3,992 4,581
เทศบาลตาบลพิมาย 8,779 4,090 4,689 8,696 4,038 4,658 8,573 3,992 4,581
นอกเขตเทศบาล 121,274 59,934 61,340 121,603 60,052 61,551 121,760 60,136 61,624

16. อาเภอห้วยแถลง 75,248 37,829 37,419 75,674 38,054 37,620 75,911 38,122 37,789
ในเขตเทศบาล 6,231 3,043 3,188 6,260 3,054 3,206 6,253 3,049 3,204
เทศบาลตาบล 3,419 1,616 1,803 3,431 1,621 1,810 3,425 1,617 1,808
ห๎วยแถลง

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 9


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

2556 (2013) 2557 (2014) 2558 (2015)


อาเภอ และ
เขตการปกครอง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
Total Male Female Total Male Female Total Male Female
เทศบาลตาบล 2,812 1,427 1,385 2,829 1,433 1,396 2,828 1,432 1,396
หินดาด
นอกเขตเทศบาล 69,017 34,786 34,231 69,414 35,000 34,414 69,658 35,073 34,585
17. อาเภอชุมพวง 82,828 41,365 41,463 83,096 41,574 41,522 83,113 41,525 41,588
ในเขตเทศบาล 9,308 4,549 4,759 9,265 4,534 4,731 9,189 4,486 4,703
เทศบาลตาบล 9,308 4,549 4,759 9,265 4,534 4,731 9,189 4,486 4,703
ชุมพวง
นอกเขตเทศบาล 73,520 36,816 36,704 73,831 37,040 36,791 73,924 37,039 36,885
18. อาเภอสูงเนิน 81,967 40,000 41,967 82,383 40,173 42,210 83,011 40,489 42,522
ในเขตเทศบาล 12,809 6,084 6,725 12,740 6,050 6,690 12,740 6,045 6,695
เทศบาลตาบลกุดจิก 2,688 1,301 1,387 2,679 1,285 1,394 2,655 1,268 1,387
เทศบาลตาบล 10,121 4,783 5,338 10,061 4,765 5,296 10,085 4,777 5,308
สูงเนิน
นอกเขตเทศบาล 69,158 33,916 35,242 69,643 34,123 35,520 70,271 34,444 35,827
19. อาเภอขามทะเลสอ 29,404 14,693 14,711 29,527 14,683 14,844 29,678 14,731 14,947
ในเขตเทศบาล 4,131 2,082 2,049 4,186 2,097 2,089 4,211 2,097 2,114
เทศบาลตาบล 4,131 2,082 2,049 4,186 2,097 2,089 4,211 2,097 2,114
ขามทะเลสอ
นอกเขตเทศบาล 25,273 12,611 12,662 25,341 12,586 12,755 25,467 12,634 12,833
20 .อาเภอสีคิ้ว 124,256 61,732 62,524 125,071 62,155 62,916 125,514 62,312 63,202
ในเขตเทศบาล 39,178 19,295 19,883 39,408 19,408 20,000 39,457 19,397 20,060
เทศบาลตาบล 3,838 2,097 1,741 3,858 2,107 1,751 3,872 2,117 1,755
คลองไผํ
เทศบาลตาบล 4,170 2,007 2,163 4,304 2,067 2,237 4,319 2,071 2,248
ลาดบัวขาว
เทศบาลตาบลสีคิ้ว 18,267 8,673 9,594 18,209 8,644 9,565 18,173 8,622 9,551
เทศบาลตาบล 12,903 6,518 6,385 13,037 6,590 6,447 13,093 6,587 6,506
หนองน้าใส
นอกเขตเทศบาล 85,078 42,437 42,641 85,663 42,747 42,916 86,057 42,915 43,142
21. อาเภอปากช่อง 190,982 94,663 96,319 192,080 95,099 96,981 193,197 95,592 97,605
ในเขตเทศบาล 73,368 35,738 37,630 73,379 35,722 37,657 73,340 35,737 37,603
เทศบาลเมือง 35,959 17,128 18,831 35,736 17,019 18,717 35,506 16,936 18,570
ปากชํอง
เทศบาลตาบล 5,157 2,534 2,623 5,158 2,536 2,622 5,139 2,533 2,606
กลางดง
เทศบาลตาบลวังไทร 11,375 5,619 5,756 11,420 5,632 5,788 11,435 5,645 5,790
เทศบาลตาบลหมูสี 12,519 6,294 6,225 12,639 6,339 6,300 12,759 6,378 6,381
เทศบาลตาบล 8,358 4,163 4,195 8,426 4,196 4,230 8,501 4,245 4,256
สีมามงคล
นอกเขตเทศบาล 117,614 58,925 58,689 118,701 59,377 59,324 119,857 59,855 60,002
22. อาเภอหนองบุญมาก 60,174 30,056 30,118 60,401 30,186 30,215 60,512 30,175 30,337
23. อาเภอแก๎งสนามนาง 37,217 18,554 18,663 37,206 18,546 18,660 37,264 18,572 18,692

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 10


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

2556 (2013) 2557 (2014) 2558 (2015)


อาเภอ และ
เขตการปกครอง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
Total Male Female Total Male Female Total Male Female
24. อาเภอโนนแดง 25,570 12,541 13,029 25,653 12,601 13,052 25,672 12,580 13,092
ในเขตเทศบาล 4,586 2,273 2,313 4,576 2,275 2,301 4,539 2,234 2,305

เทศบาลตาบล 4,586 2,273 2,313 4,576 2,275 2,301 4,539 2,234 2,305
โนนแดง
นอกเขตเทศบาล 20,984 10,268 10,716 21,077 10,326 10,751 21,133 10,346 10,787

25. อาเภอวังน้าเขียว 43,535 21,803 21,732 43,891 21,937 21,954 44,259 22,065 22,194
ในเขตเทศบาล 2,000 963 1,037 2,017 956 1,061 2,000 943 1,057
เทศบาลตาบล 2,000 963 1,037 2,017 956 1,061 2,000 943 1,057
ศาลเจ๎าพํอ
นอกเขตเทศบาล 41,535 20,840 20,695 41,874 20,981 20,893 42,259 21,122 21,137

26. อาเภอเทพารักษ์ 24,517 12,405 12,112 24,655 12,486 12,169 24,886 12,616 12,270
27. อาเภอเมืองยาง 28,114 14,150 13,964 28,126 14,142 13,984 28,150 14,177 13,973
ในเขตเทศบาล 8,217 4,088 4,129 8,235 4,084 4,151 8,238 4,098 4,140
เทศบาลตาบล 8,217 4,088 4,129 8,235 4,084 4,151 8,238 4,098 4,140
เมืองยาง
นอกเขตเทศบาล 19,897 10,062 9,835 19,891 10,058 9,833 19,912 10,079 9,833

28. อาเภอพระทองคา 42,552 21,135 21,417 42,655 21,204 21,451 42,767 21,217 21,550

ในเขตเทศบาล 4,499 2,172 2,327 4,504 2,181 2,323 4,490 2,164 2,326

เทศบาลตาบล 4,499 2,172 2,327 4,504 2,181 2,323 4,490 2,164 2,326
พระทองคา
นอกเขตเทศบาล 38,053 18,963 19,090 38,151 19,023 19,128 38,277 19,053 19,224

29. อาเภอลาทะเมนชัย 32,527 16,320 16,207 32,579 16,331 16,248 32,643 16,329 16,314
ในเขตเทศบาล 4,596 2,289 2,307 4,599 2,296 2,303 4,625 2,303 2,322
เทศบาลตาบล 4,596 2,289 2,307 4,599 2,296 2,303 4,625 2,303 2,322
หนองบัววง
นอกเขตเทศบาล 27,931 14,031 13,900 27,980 14,035 13,945 28,018 14,026 13,992

30. อาเภอบัวลาย 24,730 12,292 12,438 24,794 12,355 12,439 24,655 12,286 12,369
ในเขตเทศบาล 2,568 1,239 1,329 2,581 1,255 1,326 2,529 1,240 1,289
เทศบาลตาบล 2,568 1,239 1,329 2,581 1,255 1,326 2,529 1,240 1,289
หนองบัวลาย
นอกเขตเทศบาล 22,162 11,053 11,109 22,213 11,100 11,113 22,126 11,046 11,080

31. อาเภอสีดา 24,363 12,208 12,155 24,410 12,195 12,215 24,372 12,159 12,213
ในเขตเทศบาล 3,802 1,882 1,920 3,811 1,876 1,935 3,792 1,867 1,925
เทศบาลตาบลสีดา 3,802 1,882 1,920 3,811 1,876 1,935 3,792 1,867 1,925
นอกเขตเทศบาล 20,561 10,326 10,235 20,599 10,319 10,280 20,580 10,292 10,288

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 11


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

2556 (2013) 2557 (2014) 2558 (2015)


อาเภอ และ
เขตการปกครอง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
32. อาเภอเฉลิม 35,422 17,417 18,005 35,586 17,510 18,076 35,688 17,554 18,134
พระเกียรติ
ในเขตเทศบาล 5,032 2,478 2,554 5,050 2,468 2,582 5,042 2,457 2,585
เทศบาลตาบล 5,032 2,478 2,554 5,050 2,468 2,582 5,042 2,457 2,585
ทําช๎าง
นอกเขตเทศบาล 30,390 14,939 15,451 30,536 15,042 15,494 30,646 15,097 15,549

ที่มา: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

เนื่องจากสภาพภูมิประเทศและประชากรขนาดใหญํ จังหวัดจึงมีนโยบายการบริหารงานยุทธศาสตร์ “กลุม่


อาเภอ” เป็นรูปแบบใหมํของการบริหารงานแบบบูรณาการของจังหวัด เพื่อให๎มีความเหมาะสมมากขึ้นในรูปของ
การรวมกลุํมอาเภอที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงในด๎านตํางๆเข๎าด๎วยกัน ซึ่งจะชํวยให๎การวางกรอบการพัฒนาและ
การใช๎ประโยชน์ทรัพยากรเป็นไปอยํางมีระบบและรํวมกันแก๎ไขปัญหาระหวํางอาเภอได๎อยํางมีประสิทธิภาพ โดยมี
หลักเกณฑ์และแนวทางในการ คือ 1) ยึดลักษณะเขตพื้นที่มีเส๎นทางคมนาคมและรอยตํอระหวํางอาเภอเชื่อมโยง
ถึงกัน 2) มีศักยภาพในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาอาเภอที่สอดคล๎องเกื้อหนุนตํอกัน
3) มี ความเกี่ยวเนื่องทางเศรษฐกิจ การผลิต การค๎า และการลงทุนเพื่อมูลคําเพิ่มและการได๎เปรียบในการแขํงขัน
รํวมกัน รวมทั้งเป็นการแก๎ไขปัญหาเรํงดํวนที่ต๎องอาศัยความรํวมมือกัน โดยแบํงกลุํมอาเภอออกเป็น ๖ กลุํม ดังนี้
1) อาเภอเมืองนครราชสีม*า, อาเภอสีคิ้ว, อาเภอปากชํอง,อาเภอสูงเนิน,อาเภอเฉลิมพระเกียรติ,อาเภอขามทะเลสอ
2) อาเภอโชคชัย*, อาเภอปักธงชัย, อาเภอวังน้าเขียว, อาเภอครบุรี, อาเภอเสิงสาง
3) อาเภอพิมาย*, อาเภอชุมพวง, อาเภอโนนแดง, อาเภอประทาย,อาเภอลาทะเมนชัย, อาเภอเมืองยาง
4) อาเภอจักราช*,อาเภอโนนสูง, อาเภอห๎วยแถลง, อาเภอหนองบุญมาก,อาเภอโนนไทย
5) อาเภอดํานขุนทด*, อาเภอเทพารักษ์, อาเภอพระทองคา, อาเภอขามสะแกแสง,
6) อาเภอบัวใหญํ* ,อาเภอบัวลาย ,อาเภอแก๎งสนามนาง ,อาเภอสีดา ,อาเภอบ๎านเหลื่อม ,อาเภอคง
ชาติพันธุ์
ปัจจุบันจังหวัดนครราชสีมามีประชากรมากเป็นอันดับหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมากเป็น
อันดับสองของประเทศรองจากกรุงเทพมหานคร ประกอบด๎วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติหรือหลายชาติพันธุ์
แตํกลุํมชาติพันธุ์ในจังหวัดนครราชสีมาที่มีจานวนมากมีอยูํสองกลุํมใหญํคือ ไทย (หรือเรียกอีกอยํางวํา
ไทโคราช) และอีกกลุํมคือชาวไทยอีสาน และมีชนกลุํมน๎อยอีกได๎แกํ มอญ กุย (หรือสํวย) ชาวบน จีน ไทยวน ญวน
และแขก
ไทโคราช
กลุํมชาติพันธุ์ไทยที่อยูํในนครราชสีมาเรียกอีกอยํางวํา ไทโคราช เป็นคนกลุํมใหญํที่สุดในจังหวัด
นครราชสีมา คนกลุํมนี้ใช๎ภาษาคล๎ายคนไทยภาคกลาง เพียงแตํเสียงวรรณยุกต์เพี้ยนไปบ๎าง และมีคาศัพท์สานวน
บางอยํางที่มีลักษณะเป็นของตนเอง เดิมถิ่นนี้ชาวพื้นเมืองเป็นละว๎า ชาวไทยภาคกลางได๎อพยพเข๎ามาอยูํอาศัย
สมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ๎าอูํทองให๎ขุนหลวงพะงั่วยกกองทัพมารวบรวมดินแดนแถบนี้เข๎ากับกรุงศรีอยุธยา
พระเจ๎าอูํทองโปรดฯให๎กองทหารอยุธยาตั้งดํานอยูํประจา และสํงชํางชาวอยุธยามากํอสร๎างบ๎านเรือนและวัดวา
อารามเป็นอันมาก ชาวไทยอยุธยาได๎อพยพเข๎ามาอยูํอาศัยเพิ่มขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และ

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 12


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ได๎อพยพมาอยูํนครราชสีมาอีกระลอกหนึ่งคือ คราวเสียกรุงครั้งที่ 2 โดยมีชาวไทยชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก


ได๎อพยพเข๎ามาเพิ่มด๎วย ชาวไทยกลุํมนี้และชาวไทยพื้นเมืองเดิม (เข๎าใจวําเป็นชาวสยามลุํมน้ามูล) สืบเชื้อสาย
เป็นชาวไทยโคราชและรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีสืบทอดกันมา
กลุํมไทยโคราชเป็นกลุํมที่แสดงเอกลักษณ์ของเมืองนครราชสีมา เพราะสาเนียงแตกตํางจากกลุํมอื่น เป็น
กลุํมที่พูดภาษาไทยโคราชซึ่งคล๎ายคลึงภาษาไทยกลางแตํสาเนียงเพี้ยน เหนํอ ห๎วนสั้น เกิ่นเสียง มีคาไทยลาว
(อีสาน) ปะปนบ๎างเล็กน๎อย ชาวไทยโคราชแตํงกายแบบไทยภาคกลาง รับประทานข๎าวเจ๎า อาหารทั่วไปคล๎ายคลึง
ภาคกลาง ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมคล๎ายไทยภาคกลาง ปัจจุบัน กลุํมไทยโคราชอาศัยอยูํในทุก
อาเภอในจังหวัดนครราชสีมา ยกเว๎นบางอาเภอที่มีชาวไทยอีสานมากกวํา (อาเภอบัวใหญํ ปักธงชัย และสูงเนิน )
และยังพบชาวไทยโคราชในบางสํวนของจังหวัดสระบุรี จังหวัดลพบุรี จังหวัดชัยภูมิ (อาเภอบาเหน็จณรงค์และ
จัตุรัส) และจังหวัดบุรีรัมย์ (อาเภอเมืองบุรีรัมย์ นางรอง และหนองกี่)
ชาวไทอีสาน
ชาวไทอีสานเป็นกลุํมหนึ่งที่มีจานวนประชากรมากรองจากกลุํมไทโคราช อาศัยอยูํมากในบางอาเภอของ
จังหวัดนครราชสีมา เชํน อาเภอบัวใหญํ อาเภอบัวลาย อาเภอสีดา อาเภอแก๎งสนามนางอาเภอประทาย อาเภอ
โนนแดง อาเภอบ๎านเหลื่อม อาเภอเมืองยาง อาเภอลาทะเมนชัย อาเภอปักธงชัย อาเภอสูงเนิน และบางสํวน
ของอาเภอคง อาเภอห๎วยแถลง อาเภอชุมพวง อาเภอครบุรี อาเภอเสิงสาง และอาเภอสีคิ้ว เป็นต๎น ชาวไทยอีสาน
พูดภาษาอีสานท๎องถิ่นคล๎ายกับจังหวัดอื่นๆในภาคอีสาน และมีขนบธรรมเนียมประเพณีเหมือนชาวอีสานทั่วไป
กลุํมชาวไทยอีสานอพยพเข๎ามาอยูํในจังหวัดนครราชสีมาหลายรุํนตามความเจริญของเศรษฐกิจ ในบางข๎อสันนิฐาน
ให๎ข๎อมูลวํา เดิมชาวโคราชพูดภาษากลางแบบชาวสยาม และมีชาวไทยอีสานอพยพเข๎ามาอยูํปะปนกัน จึงเกิดการ
ผสมผสานเป็นภาษาไทโคราช แตํอยํางไรก็ดีชาวไทยอีสานดั้งเดิมมีถิ่นอาศัยอยูํในภาคอีสานมานานแล๎ว มิได๎อพยพ
มาจากฝั่งซ๎ายแมํน้าโขง มีความพัวพันกับอาณาจักรไทยในอดีต เชํน โคตรบูรณ์ ศรีจะนาศะ ซึ่งเป็นอาณาจักรของ
ศาสนาพุทธ มิใชํพราห์ม-ฮินดู แบบจักรวรรดิ์เขมร กลําวได๎วําชาวไทยอีสานเป็นชนพื้นเมืองเดิมของภาคอีสาน
มาช๎านานแล๎ว
ชาวไทยเชื้อสายลาว
อพยพเข๎ามาอยูํสมัยสงครามปราบปรามเมืองเวียงจันทน์ในสมัยกรุงธนบุรี และสมัยปราบเจ๎าอนุวงศ์
ในรัชกาลที3่ มีการกวาดต๎อนครอบครัวลาวเข๎ามาอยูํในหัวเมืองชั้นในหลายครั้ง และมีการอพยพเข๎ามาโดยสมัคร
ใจเพิ่มขึ้นในระยะหลัง คนกลุํมที่นี้มักเรียกกันวํา "ลาวเวียง" มีการใช๎ภาษาลาวสาเนียงเวียงจันทน์ซึ่งตํางกับภาษา
อีสานสาเนียงท๎องถิ่นอยํางสิ้นเชิง กระจายอาศัยกันอยูํทั่วไปในจังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันสืบหาแทบไมํได๎แล๎ว
เนื่อ งจากการเทครัวมีมานับ 200ปีและมีการแตํงงานกับคนพื้นเมือง มีจานวนน๎อยที่สืบหาได๎วํามีเชื้อสา ยลาว
เวียงจันทน์ตามคาบอกเลําของคนเฒําคนแกํ เชํน การเก็บรักษาผ๎าซิ่นแตํเดิมไว๎ และข๎าวของเครื่องใช๎ตํางๆ
เนื่องจากชาวลาวเวียงจันทน์อพยพมาจากเมืองที่มีวัฒนธรรมสูง มักจะมีของมีคําติดตัวมาด๎วย เชํน ผ๎าซิ่น ข๎าวของ
เครื่องใช๎ รวมถึงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบชาวเวียงจันทน์ที่ยังสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ชา วลาวเวียงจันทน์อพยพ
มากที่สุดในสมัยรัชกาลที่ 3เนื่องจากมีการทาสงครามกับเวียงจันทน์หลายครั้ง และเป็นครั้งใหญํที่ทาลาย
นครเวียงจันทน์อยํางราบคราบ จึงทาให๎ชาวลาวเวียงจันทน์ถูกเกณฑ์เป็นเชลยจานวนมาก โดยหัวเมืองใหญํ
อยํางนครราชสีมารับชาวเชลยไว๎เป็นจาหนึ่ง สํวนที่เหลือกระจายไปตามหัวเมืองตํางๆในภาคกลาง

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 13


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

มอญ
จากการสารวจสามะโนประชากรของจังหวัดนครราชสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2446 ในสมัยรัชกาลที่ 5 พบวํา
มีชาวมอญอยูํจานวน 2,249 คน จากจานวนประชากรของนครราชสีมา 402,668 คน ชาวมอญอพยพเข๎ามาอยูํ
บริเวณเมืองนครราชสีมา ตั้งแตํปี พ.ศ. 2318 ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ๎ากรุงธนบุรี พระราชทานครัวมอญ
ที่อพยพเข๎ามาสวามิภักดิ์ มีเจ๎าพระยามหาโยธา (พญาเจํง) ต๎นสกุล "คชเสนี" เป็นหัวหน๎า แบํงให๎พระยา
นครราชสีมานาขึ้นมาอยูํที่เมืองนครราชสีมา ตั้งครัวมอญที่ลาพระเพลิง เขตอาเภอปักธงชัยที่บ๎านพลับพลา อาเภอ
โชคชัย พระยาศรีราชรามัญผู๎เป็นหัวหน๎าพาญาติพี่น๎องมาอยูํในเมืองเป็นสายกองสํวยทอง ตั้งบ๎านเรือนเรียกวํา
บ๎านมอญ เมื่อเกิดกบฏเจ๎าอนุวงศ์ เมื่อปี พ.ศ. 2336 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล๎าเจ๎าอยูํหัวได๎โปรดเกล๎าฯ ให๎
เจ๎าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี) คุมกองมอญมาสมทบมารํวมรบกับกาลังฝ่ายไทย เมื่อเสร็จศึกแล๎ว พวก
มอญเห็นเมืองปักธงชัยอุดมสมบูรณ์จึงมาตั้งถิ่นฐาน ปัจจุบันชาวมอญในนครราชสีมายังรักษาวัฒนธรรมประเพณี
มอญ ไว๎ เชํน ภาษา การไหว๎ผี การเลํนสะบ๎าในเขตบ๎านทําโพธิ บ๎านสาราญเพลิง ตาบลนกออก อาเภอปักธงชัย
ประกอบอาชีพทานา ทาสวน ทาเครื่องปั้นดินเผา ภาษามอญจะใช๎พูดในชาวไทยมอญที่อายุเกิน 60 ปีขึ้นไป
คนรุํนหลังจากนี้จะพูดภาษาไทยโคราชทั้งสิ้น
ส่วย
ส่วย หรือ ข่า เป็นชนพื้นเมืองของหัวเมืองเขมรป่าดงและเมืองนครราชสีมา พูดภาษาตระกูลมอญ-เขมร
ได๎อยูํในพื้นที่นี้กํอนที่คนไทยจะเข๎ามามีอิทธิพลเหนือดินแดนบริเวณลุํมแมํน้ามูลตอนบน เมื่อปี พ.ศ. 2362
เจ๎าเมืองนครราชสีมา (ทองอินทร์) ตีขําได๎ แล๎วนามายังเมืองนครราชสีมา ภาษาสํวย เป็นภาษาของชาวสํวย
ที่อพยพมาจากจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดบุรีรัมย์ ที่มาตั้งหลักแหลํงอยูํที่ ตาบลห๎วยแถลง อาเภอ
ห๎ว ยแถลง ปัจจุบันมีเฉพาะผู๎ที่อายุเกิน 40 ปีขึ้นไป ที่ยังคงใช๎ภาษาสํวยในกลุํมของตนเอง นอกจากนั้นจะใช๎
ภาษาไทยโคราชเป็นพื้น
ญัฮกุร
ญัฮกุร หรือ เนียะกุล เป็นชนกลุํมน๎อยที่อาศัยอยูํตามไหลํเขาหรือเนินเขาเตี้ย ๆ บริเวณด๎านในของที่ราบสูง
โคราช ชาวบนอาจสืบเชื้อสายมาจากคนในสมัยทวารวดี อยูํในบางหมูํบ๎านของอาเภอปักธงชัย อาเภอครบุรี และ
อาเภอหนองบุญมาก ภาษาชาวบน เป็นภาษาตระกูลมอญ-เขมร ปัจจุบันชาวบนพูดภาษาชาวบนเฉพาะผู๎ที่อายุเกิน
60 ปีขึ้นไป นอกจากนั้นใช๎ภาษาไทยโคราช
ไทยวน
ไทยวน หรือ ไทยโยนก เป็นเผําไทยในภาคเหนือของไทย ได๎อพยพเข๎ามาอยูํที่อาเภอสีคิ้วสองทางด๎วยกัน
คือ พวกแรกอพยพจากทางเหนือมาอยูํที่อาเภอเสาไห๎ จังหวัดสระบุรี ตํอมาเจ๎าเมืองสระบุรีต๎องการตั้งกองเลี้ยง
โคนมที่เมืองนครจันทึก จึงได๎แบํงครอบครัวชาวไทยวนจากอาเภอเสาไห๎ไปอยูํที่อาเภอสีคิ้ว สํวนอีกพวกหนึ่งอพยพ
มาจากเวียงจันทน์ ชาวไทยวนยังรักษาประเพณีและวัฒนธรรมแบบโยนกไว๎ได๎ดีมาก ภาษาไทยวน ใช๎พูดในหมูํ
ไทยวนด๎วยกันเองซึ่งมีอยูํประมาณ 5,000 คน ในเขตอาเภอสีคิ้ว ในท๎องที่ตาบลลาดบัวขาว ตาบลสีคิ้ว และตาบล
บ๎านหัน
นอกจากนี้ยังมีกลุํมเชื้อสาย ชาวจีน, ชาวเวียดนาม, และแขก(อินเดีย, บังคลาเทศ, ปากีสถาน ฯลฯ)

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 14


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

๑.4 ข้อมูลเศรษฐกิจ
จังหวัดนครราชสีมามีมูลคําผลิตภัณฑ์จังหวัด (Gross Provincial Product : GPP) เพิ่มขึ้นอยําง
ตํอเนื่อง โดยในปีพ.ศ. 2558 มีมูลคํา GPP 264,964 ล๎านบาท เพิ่มขึ้นจากปีกํอน โดยมีมูลคําสูงเป็นลาดับที่ 1
ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และสูงเป็นลาดับที่ 11 ของประเทศ (กรุงเทพมหานคร มีมูลคําสูงเป็นลาดับที่ 1
ของประเทศ ที่มูลคํา 4 ,437,405 ล๎านบาท รองลงมา คือ จังหวัด ระยอง ที่มูลคํา 862,613 ล๎านบาท) อัตรา
การขยายตัว ร๎อยละ 3.2 จากปีกํอน
รายได๎ตํอหัว (GPP per capita) เทํากับ 106,000 บาท เป็น ลาดับที่ 2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เป็นลาดับที่ 33 ของประเทศ (จังหวัดระยอง เป็นลาดับที่ 1 ของประเทศ มีมูลคํา 982 ,500 บาท/คน/ปี
รองลงมา คือ กรุงเทพมหานคร มีมูลคํา 513,397 บาท/คน/ปี)
ข๎อมูล ฯ ณ สิ้นปี พ.ศ.
ที่ เรื่อง
2556 2557 2558
1 มูลคําผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) (ล๎านบาท) 255,465 253,974 264,964
2 รายได๎ผลิตภัณฑ์มวลรวม/คน/ปี GPP per capita (บาท) 101,870 101,449 106,000
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 15


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ภาพรวมผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) นครราชสีมา


ปี พ.ศ.
รายการ
2555 2556 2557 2558
ภาคเกษตร (ล้านบาท) 44,581 49,373 42,574 40,256
เกษตรกรรม การลําสัตว์ และ
44,218 48,974 42,179 39,838
การป่าไม๎
การประมง 363 400 395 419
ภาคนอกการเกษตร (ล้านบาท) 188,984 206,092 211,400 224,707
การทาเหมืองแรํและเหมืองหิน 1,931 1,916 1,916 2,396
อุตสาหกรรม 63,377 76,050 80,521 84,515
การไฟฟ้า แก๏สและการประปา 5,746 6,311 6,955 6,797
การกํอสร๎าง 14,436 13,888 12,878 12,946
การขนสํง การค๎าปลีก 26,933 29,161 30,690 33,436
โรงแรมและภัตตาคาร 2,564 2,917 3,075 3,854
การขนสํง สถานที่เก็บสินค๎าการ
7,890 7,723 7,533 7,713
คมนาคม
ตัวกลางทางการเงิน 10,051 12,410 13,470 14,480
บริการด๎านอสังหาริมทรัพย์ 9,602 7,517 8,334 8,796
การบริหารราชการและการ
ป้องกันประเทศ
19,974 19,459 16,310 17,210
การศึกษา 17,828 19,550 20,009 22,229
การบริการด๎านสุขภาพ งาน
5,297 5,622 6,120 6,600
สังคมสงเคราะห์
การให๎บริการชุมชน สังคม และ
2,488 2,654 2,602 2,659
บริการอื่นๆ
ลูกจ๎างในครัวเรือนสํวนบุคคล 867 894 985 1,075
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP)
233,565 255,465 253,974 264,964
(ล๎านบาท)
ผลิตภัณฑ์จังหวัดตํอหัว
92,951 101,870 101,449 106,000
(GPP per capita) (บาท)
ประชากร Population (1,000 คน) 2,513 2,508 2,503 2,500
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 16


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

๑.5 ลักษณะทางสังคม
(๑) ด้านการศึกษา
จังหวัดนครราชสีมามีสถาบันการศึกษาหลายแหํง โดยแบํงเป็นระดับประถมศึกษา ทั้งหมด 7 เขต และ
มัธยมศึกษา 1 เขต
การแบ่งเขตพื้นที่มัธยมศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 จานวน 51 แหํง
สังกัดองค์การบริหารสํวนจังหวัดนครราชสีมา จานวน 25 แหํง
การแบ่งเขตพื้นที่ประถมศึกษา
แบํงเป็นระดับประถมศึกษา ทั้งหมด 7 เขต
เขต 1 - อาเภอเมืองนครราชสีมาและอาเภอโนนสูง
เขต 2 - อาเภอจักราช อาเภอหนองบุญมาก อาเภอห๎วยแถลง อาเภอเฉลิมพระเกียรติ และ
อาเภอโชคชัย
เขต 3 - อาเภอปักธงชัย อาเภอครบุรี อาเภอเสิงสาง และอาเภอวังน้าเขียว
เขต 4 - อาเภอสีคิ้ว อาเภอสูงเนินและอาเภอปากชํอง
เขต 5 - อาเภอเทพารักษ์ อาเภอพระทองคา อาเภอขามสะแกแสง อาเภอขามทะเลสอ อาเภอ
โนนไทยและอาเภอดํานขุนทด
เขต 6 - อาเภอสีดา อาเภอบัวลาย อาเภอบ๎านเหลื่อม อาเภอแก๎งสนามนาง อาเภอคง และอาเภอ
บัวใหญํ
เขต 7 - อาเภอประทาย อาเภอเมืองยาง อาเภอชุมพวง อาเภอลาทะเมนชัย อาเภอพิมาย และ
อาเภอโนนแดง
สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (ศูนย์กลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา)
มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาประชาบดีเถรีวิทยาลัย และศูนย์การศึกษาโคราช
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด๎า สีคิ้ว)
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (วนศ.นครราชสีมา)
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล (มหาวิทยาลัยเอกชนแหํงแรกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
วิทยาลัยนครราชสีมา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท์
สถาบันรัชต์ภาคย์ ศูนย์วิทยบริการจังหวัดนครราชสีมา
สถาบันการเรียนรู๎เพื่อปวงชน ศูนย์การเรียนรู๎จังหวัดนครราชสีมา
วิทยาลัยพิชญบัณฑิต นครราชสีมา

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 17


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

วิทยาลัยในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นครราชสีมา 12 แหํง ปีการศึกษา 2557


วิทยาลัย 25,817
1 วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา 5,687
2 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมา 4,146
3 วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทํองเที่ยวนครราชสีมา 658
4 วิทยาลัยสารพัดชํางนครราชสีมา 1,988
5 วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี 1,429
6 วิทยาลัยเทคนิคหลวงพํอคูณ ปริสุทโธ 2,084
7 วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญํ 2,486
8 วิทยาลัยเทคนิคปักธงชัย 877
9 วิทยาลัยการอาชีพพิมาย 1693
10 วิทยาลัยการอาชีพชุมพวง 913
11 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา 990
12 วิทยาลัยการอาชีพปากชํอง 2,866
โรงเรียน จาแนกตามสังกัด เป็นรายอาเภอ ปีการศึกษา 2558
สังกัด
อาเภอ รวม สนง.คณะกรรมการ สานักบริหารงาน กรมสํงเสริมการ
(แหํง) การศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการสํงเสริม ปกครองสํวนท๎องถิ่น
(แหํง) การศึกษาเอกชน (แหํง) (แหํง)
รวมยอด 1,475 1,371 79 25
1. อาเภอเมืองนครราชสีมา 117 88 22 7
2. อาเภอครบุรี 53 51 2 -
3. อาเภอเสิงสาง 36 35 1 -
4. อาเภอคง 58 57 - 1
5. อาเภอบ๎านเหลื่อม 17 17 - -
6. อาเภอจักราช 48 46 1 1
7. อาเภอโชคชัย 45 40 4 1
8. อาเภอดํานขุนทด 91 89 2 -
9. อาเภอโนนไทย 47 46 1 -
10. อาเภอโนนสูง 77 70 3 4
11. อาเภอขามสะแกแสง 34 30 3 1
12. อาเภอบัวใหญํ 60 54 3 3
13. อาเภอประทาย 66 64 2 -
14. อาเภอปักธงชัย 78 76 1 1
15. อาเภอพิมาย 65 62 3 -
16. อาเภอห๎วยแถลง 51 49 2 -
17. อาเภอชุมพวง 47 47 - -
18. อาเภอสูงเนิน 52 49 3 -

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 18


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

สังกัด
อาเภอ รวม สนง.คณะกรรมการ สานักบริหารงาน กรมสํงเสริมการ
(แหํง) การศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการสํงเสริม ปกครองสํวนท๎องถิ่น
(แหํง) การศึกษาเอกชน (แหํง) (แหํง)
19. อาเภอขามทะเลสอ 20 19 1 -
20. อาเภอสีคิ้ว 68 63 5 -
21. อาเภอปากชํอง 92 75 15 2
22. อาเภอหนองบุญมาก 30 27 3 -
23. อาเภอแก๎งสนามนาง 27 26 1 -
24. อาเภอโนนแดง 24 22 - 2
25. อาเภอวังน้าเขียว 30 29 1 -
26. อาเภอเทพารักษ์ 16 16 - -
27. อาเภอเมืองยาง 19 19 - -
28. อาเภอพระทองคา 27 27 - -
29. อาเภอลาทะเมนชัย 23 23 - -
30. อาเภอบัวลาย 19 17 - 2
31. อาเภอสีดา 18 18 - -
32. อาเภอเฉลิมพระเกียรติ 20 20 - -
ที่มา : รายงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2559
จังหวัดนคราชสมา มีอัตราสํวนนักเรียนตํอห๎องเรียน รวม 15 : 1 แบํงเป็น ระดับกํอนประถมศึกษา
14 : 1 ระดับประถมศึกษา 17 : 1 ระดับมัธยมศึกษา 29 : 1 มีอัตราสํวนนักเรียนตํอครู รวม 19 : 1 แบํงเป็น
ระดับกํอนประถมศึกษาและประถมศึกษา 14 : 1 และระดับมัธยมศึกษา 17 : 1
อัตราส่วนนักเรียนต่อห้องเรียน และอัตราส่วนนักเรียนต่อครู จาแนกตามระดับการศึกษา เป็นรายอาเภอ ปีการศึกษา 2558
อัตราสํวนนักเรียนตํอห๎องเรียน อัตราสํวนนักเรียนตํอครู
อาเภอ กํอน กํอนประถมศึกษา
รวม ประถมศึกษา
ประถมศึกษา มัธยมศึกษา รวม
และประถมศึกษา
มัธยมศึกษา

รวมยอด 15 : 1 14 : 1 17 : 1 29 : 1 19 : 1 14 : 1 17 : 1
1 อาเภอเมืองนครราชสีมา 30 : 1 21 : 1 29 : 1 34 : 1 30 : 1 18 : 1 16 : 1
2 อาเภอครบุรี 17 : 1 15 : 1 17 : 1 21 : 1 17 : 1 16 : 1 11 : 1
3 อาเภอเสิงสาง 22 : 1 18 : 1 19 : 1 29 : 1 22 : 1 16 : 1 20 : 1
4 อาเภอคง 17 : 1 13 : 1 15 : 1 25 : 1 17 : 1 12 : 1 15 : 1
5 อาเภอบ๎านเหลื่อม 17 : 1 14 : 1 14 : 1 30 : 1 17 : 1 12 : 1 45 : 1
6 อาเภอจักราช 20 : 1 15 : 1 17 : 1 32 : 1 20 : 1 16 : 1 35 : 1
7 อาเภอโชคชัย 21 : 1 13 : 1 18 : 1 32 : 1 21 : 1 16 : 1 21 : 1
8 อาเภอดํานขุนทด 17 : 1 13 : 1 14 : 1 29 : 1 17 : 1 14 : 1 14 : 1
9 อาเภอโนนไทย 15 : 1 13 : 1 14 : 1 19 : 1 15 : 1 13 : 1 -
10 อาเภอโนนสูง 18 : 1 13 : 1 14 : 1 32 : 1 18 : 1 13 : 1 30 : 1
11 อาเภอขามสะแกแสง 16 : 1 11 : 1 13 : 1 28 : 1 16 : 1 11 : 1 28 : 1

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 19


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

อัตราสํวนนักเรียนตํอห๎องเรียน อัตราสํวนนักเรียนตํอครู
อาเภอ กํอน กํอนประถมศึกษา
รวม ประถมศึกษา
ประถมศึกษา มัธยมศึกษา รวม
และประถมศึกษา
มัธยมศึกษา

12 อาเภอบัวใหญํ 12 : 1 11 : 1 10 : 1 21 : 1 12 : 1 10 : 1 14 : 1
13 อาเภอประทาย 12 : 1 11 : 1 12 : 1 17 : 1 12 : 1 12 : 1 9 : 1
14 อาเภอปักธงชัย 17 : 1 12 : 1 14 : 1 31 : 1 17 : 1 14 : 1 18 : 1
15 อาเภอพิมาย 23 : 1 17 : 1 20 : 1 33 : 1 23 : 1 16 : 1 19 : 1
16 อาเภอห๎วยแถลง 18 : 1 13 : 1 15 : 1 30 : 1 18 : 1 15 : 1 16 : 1
17 อาเภอชุมพวง 20 : 1 16 : 1 18 : 1 27 : 1 20 : 1 15 : 1 14 : 1
18 อาเภอสูงเนิน 14 : 1 13 : 1 14 : 1 19 : 1 14 : 1 14 : 1 -
19 อาเภอขามทะเลสอ 16 : 1 13 : 1 14 : 1 23 : 1 16 : 1 13 : 1 16 : 1
20 อาเภอสีคิ้ว 17 : 1 14 : 1 17 : 1 25 : 1 17 : 1 14 : 1 27 : 1
21 อาเภอปากชํอง 23 : 1 19 : 1 19 : 1 34 : 1 23 : 1 17 : 1 19 : 1
22 อาเภอหนองบุญมาก 19 : 1 16 : 1 18 : 1 25 : 1 19 : 1 17 : 1 15 : 1
23 อาเภอแก๎งสนามนาง 15 : 1 12 : 1 14 : 1 21 : 1 15 : 1 12 : 1 12 : 1
24 อาเภอโนนแดง 15 : 1 10 : 1 12 : 1 24 : 1 15 : 1 12 : 1 16 : 1
25 อาเภอวังน้าเขียว 16 : 1 15 : 1 16 : 1 20 : 1 16 : 1 15 : 1 -
26 อาเภอเทพารักษ์ 16 : 1 15 : 1 16 : 1 15 : 1 16 : 1 12 : 1 -
27 อาเภอเมืองยาง 15 : 1 13 : 1 15 : 1 21 : 1 15 : 1 12 : 1 9 : 1
28 อาเภอพระทองคา 16 : 1 13 : 1 15 : 1 23 : 1 16 : 1 14 : 1 12 : 1
29 อาเภอลาทะเมนชัย 17 : 1 14 : 1 16 : 1 21 : 1 17 : 1 13 : 1 17 : 1
30 อาเภอบัวลาย 11 : 1 8 : 1 11 : 1 21 : 1 11 : 1 10 : 1 -
31 อาเภอสีดา 17 : 1 11 : 1 12 : 1 30 : 1 17 : 1 11 : 1 17 : 1
32 อาเภอเฉลิมพระเกียรติ 18 : 1 14 : 1 16 : 1 32 : 1 18 : 1 14 : 1 15 : 1
ที่มา : รายงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2559

จังหวัดนครราชสีมา มีผู๎เรียน/นักศึกษา ในสังกัดสานักงานสํงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม


อัธยาศัย โดยแบํงเป็นการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 42,573 คน เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต จานวน
8,138 คน และการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ จานวน 10,795 คน
ผู้เรียน/นักศึกษา ในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จาแนกตามกิจกรรมการศึกษา และเพศ เป็นรายอาเภอ ปีงบประมาณ 2558

อาเภอ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ


รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
รวมยอด 42,573 25,085 17,488 8,138 2,956 5,182 10,795 3,802 6,993
1 อาเภอเมืองนครราชสีมา 11,310 9,307 2,003 375 125 250 400 75 325
2 อาเภอครบุรี 1,796 834 962 420 112 308 545 177 368
3 อาเภอเสิงสาง 1,792 853 939 90 56 34 96 50 46
4 อาเภอคง 768 412 356 120 27 93 - - -
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 20
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ


อาเภอ
รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
5 อาเภอบ๎านเหลื่อม 468 261 207 60 38 22 40 7 33
6 อาเภอจักราช 1,501 855 646 308 125 183 - - -
7 อาเภอโชคชัย 1,991 1,058 933 300 172 128 700 351 349
8 อาเภอดํานขุนทด 2,094 892 1,202 560 220 340 1,815 600 1,215
9 อาเภอโนนไทย 1,363 739 624 350 125 225 846 195 651
10 อาเภอโนนสูง 2,150 1,144 1,006 480 120 360 1,056 422 634
11 อาเภอขามสะแกแสง 1,578 824 754 220 20 200 - - -
12 อาเภอบัวใหญํ 957 547 410 468 176 292 687 305 382
13 อาเภอประทาย 4,704 1,979 2,725 1,040 424 616 208 54 154
14 อาเภอปักธงชัย 1,765 986 779 600 326 274 2,060 791 1,269
15 อาเภอพิมาย 3,077 1,666 1,411 - - - 180 11 169
16 อาเภอห๎วยแถลง 1,588 867 721 1,991 490 1,501 960 240 720
17 อาเภอชุมพวง 2,294 1,142 1,152 360 230 130 310 170 140
18 อาเภอสูงเนิน 1,377 719 658 396 170 226 892 354 538
ที่มา : รายงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2559 สานักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา
(2) ด้านสาธารณสุข
จังหวัดนครราชสีมา มีโรงพยาบาลทั้งภาครัฐ ที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งที่สังกัด
มหาวิทยาลัย และกระทรวงกลาโหม ตลอดจนโรงพยาบาลเอกชน ดังนี้
โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา เป็นโรงพยาบาลขนาดใหญํที่สุดในประเทศ สังกัดสานักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลจังหวัดและอาเภอขนาดใหญํ
- โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา โรงพยาบาลปากชํองนานา โรงพยาบาลบัวใหญํ
และโรงพยาบาลพิมาย
โรงพยาบาลอาเภอ
- โรงพยาบาลหัวทะเล เครือขํายโรงพยาบาลมหาราช โรงพยาบาลดํานขุนทด
โรงพยาบาลหลวงพํอคูณ ปริสุทฺโธ(กาลังดาเนินการกํอสร๎าง) โรงพยาบาลปักธงชัย โรงพยาบาลครบุรี โรงพยาบาล
เสิงสาง โรงพยาบาลสูงเนิน โรงพยาบาลวังน้าเขียว โรงพยาบาลสีคิ้ว โรงพยาบาลขามทะเลสอ โรงพยาบาลโนนสูง
โรงพยาบาลขามสะแกแสง โรงพยาบาลพระทองคาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จยํา 100 ปี เมืองยาง โรงพยาบาลโนนไทย โรงพยาบาลคง โรงพยาบาลประทาย โรงพยาบาลบ๎านเหลื่อม
โรงพยาบาลแก๎งสนามนาง โรงพยาบาลบัวลาย โรงพยาบาลสีดา โรงพยาบาลชุมพวง โรงพยาบาลลาทะเมนชัย
โรงพยาบาลห๎วยแถลง โรงพยาบาลจักราช โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลหนองบุญมาก โรงพยาบาล
โชคชัย โรงพยาบาลโนนแดง

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 21


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ได๎แกํ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


โรงพยาบาลทหาร ได๎แกํ โรงพยาบาลคํายสุรนารี โรงพยาบาลกองบิน 1
โรงพยาบาลเอกชน ได๎แกํ โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา โรงพยาบาลกรุงเทพปากชํอง
โรงพยาบาลโคราชเมโมเรียล โรงพยาบาลเฉลิมชัย โรงพยาบาลเซนต์แมรี่ โรงพยาบาลดํานเมดิคอล โรงพยาบาล
เดอะโกลเด๎นท์เกต โรงพยาบาลบัวใหญํรวมแพทย์ โรงพยาบาล ป.แพทย์ โรงพยาบาล ป.แพทย์ 2 โรงพยาบาล
ปากชํองเมมโมเรียน โรงพยาบาลพิมายเมดิคอล โรงพยาบาลมิตรภาพโพลี่คลีนิค โรงพยาบาลมนตรี โรงพยาบาล
สาตรเวช โรงพยาบาลหมอสิน
โรงพยาบาลเฉพาะทาง ได๎แกํ โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์
โรงพยาบาลอื่นๆ ได๎แกํ โรงพยาบาลสํงเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 5 กรมอนามัย (โรงพยาบาล
แมํและเด็ก เดิม)
จังหวัดนครราชสีมา มีบุคลากรทางการแพทย์ทั้งภาครัฐ และเอกชน ในปี พ.ศ.2558 ได๎แกํ
แพทย์ 774 คน คิดเป็นอัตราสํวนตํอประชากรของจังหวัด เทํากับ 3,390 คน ทันตแพทย์ 169 คน คิดเป็น
สัดสํวนตํอประชากรของจังหวัด เทํากับ 15,527 คน เภสัชกร 347 คน คิดเป็นสัดสํวนตํอประชากรของจังหวัด
เทํากับ 7,562 คน พยาบาล 4,065 คน คิดเป็นสัดสํวนตํอประชากรของจังหวัด เทํากับ 646 คน พยาบาล
เทคนิค 59 คน คิดเป็นสัดสํวนตํอประชากรของจังหวัด เทํากับ 44,475 คน ปรากฏตามตารางข๎างท๎ายนี้
เจ๎าหน๎าที่ทางการแพทย์ ประชากรตํอเจ๎าหน๎าที่ทางการแพทย์ 1 คน
อาเภอ แพทย์ ทันต เภสัช พยาบาล พยาบาล แพทย์ ทันต เภสัชกร พยาบาล พยาบาล
แพทย์ กร เทคนิค แพทย์ เทคนิค
ยอดรวม 774 169 347 4,065 59 3,390 15,527 7,562 646 44,475
อาเภอเมืองนครราชสีมา 582 45 138 2,182 53 781 10,095 3,292 208 8,571
อาเภอครบุรี 9 5 10 81 - 10,650 19,171 9,585 1,183 -
อาเภอเสิงสาง 6 3 7 57 - 11,689 23,377 10,019 1,230 -
อาเภอคง 6 4 5 49 - 13,599 20,398 16,318 1,665 -
อาเภอบ๎านเหลื่อม 3 2 3 25 - 7,043 10,564 7,043 845 -
อาเภอจักราช 7 5 7 60 - 10,161 14,226 10,161 1,185 -
อาเภอโชคชัย 5 6 10 88 - 16,278 13,565 8,139 925 -
อาเภอดํานขุนทด 9 5 11 110 - 14,257 25,663 11,665 1,166 -
อาเภอโนนไทย 5 5 7 62 2 14,409 14,409 10,292 1,162 36,023
อาเภอโนนสูง 9 7 10 78 - 14,149 18,192 12,734 1,633 -
อาเภอขามสะแกแสง 4 2 4 48 - 10,846 21,691 10,846 904 -
อาเภอบัวใหญํ 12 6 10 97 - 6,923 13,847 8,308 856 -
อาเภอประทาย 5 5 6 63 - 15,575 15,575 12,979 1,236 -
อาเภอปักธงชัย 11 8 9 79 1 10,683 14,689 13,057 1,487 117,512
อาเภอพิมาย 15 8 13 83 - 8,681 16,277 10,017 1,569 -
อาเภอห๎วยแถลง 5 4 7 51 - 15,152 18,940 10,823 1,485 -
อาเภอชุมพวง 6 5 8 68 1 13,843 16,612 10,383 1,221 83,060
อาเภอสูงเนิน 7 5 8 78 - 11,809 16,532 10,333 1,060 -
อาเภอขามทะเลสอ 2 2 6 39 - 14,811 14,811 4,937 760 -

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 22


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

เจ๎าหน๎าที่ทางการแพทย์ ประชากรตํอเจ๎าหน๎าที่ทางการแพทย์ 1 คน
อาเภอ แพทย์ ทันต เภสัช พยาบาล พยาบาล แพทย์ ทันต เภสัชกร พยาบาล พยาบาล
แพทย์ กร เทคนิค แพทย์ เทคนิค
อาเภอสีคิ้ว 11 7 11 103 1 11,375 17,874 11,375 1,215 125,121
อาเภอปากชํอง 27 8 16 260 1 7,126 24,051 12,025 740 192,407
อาเภอหนองบุญมาก 4 4 7 63 - 15,106 15,106 8,632 959 -
อาเภอแก๎งสนามนาง 3 3 4 34 - 12,393 12,393 9,295 1,093 -
อาเภอโนนแดง 3 2 3 30 - 8,551 12,826 8,551 855 -
อาเภอวังน้าเขียว 4 3 5 41 - 11,008 14,677 8,806 1,074 -
อาเภอเทพารักษ์ 1 1 2 4 - 24,766 24,766 12,383 6,192 -
อาเภอเมืองยาง 2 2 3 27 - 14,077 14,077 9,384 1,043 -
อาเภอพระทองคา 4 2 4 36 - 10,663 21,326 10,663 1,185 -
อาเภอลาทะเมนชัย 3 2 4 26 - 10,859 16,289 8,144 1,253 -
อาเภอบัวลาย - - 2 8 - - - 12,348 3,087 -
อาเภอสีดา 1 1 2 7 - 24,391 24,391 12,196 3,484 -
อาเภอเฉลิมพระเกียรติ 3 2 5 28 - 11,877 17,816 7,126 1,273 -
ที่มา : รายงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2559 สานักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา

ลาดับโรคของผู๎ป่วยใน จาแนกตามสาเหตุการป่วย 298 กลุํมโรค จากสถานบริการสาธารณสุข


สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปี พ.ศ.2559 มีผู๎ป่วยเกี่ยวกับความผิดปกติกับตํอมไร๎ทํอ โภชนาการและเมตะ
บอลิสัมอื่น ๆ จานวน 89,099 คน สูงกวําปีกํอนที่มีจานวน 65,434 คน
สาเหตุของโรค 2554 2555 2556 2557 2558
1. ความผิดปกติเกี่ยวกับตํอมไร๎ทํอโภชนาการและ 61,151 67,851 85,516 65,434 89,099
เมตะบอลิสัมอื่น ๆ
2. โรคความดันโลหิตสูง 17,470 20,720 43,401 34,117 44,400
3. โลหิตจางอื่น ๆ 3,063 3,417 35,009 23,711 35,272
4. โรคเบาหวาน 18,816 22,238 29,411 23,641 30,413

5. ไตวาย 11,902 15,661 23,804 20,634 29,983


6. บุคคลขอรับบริการสุขภาพด๎วยเหตุผลอื่น - - 24,209 22,343 29,523

7. ปอดอักเสบ 14,018 15,228 18,285 17,085 23,015


8. การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่น ๆ , ไมํระบุเฉพาะและ 4,325 5,206 12,966 15,856 22,013
หลายบริเวณในรํางกาย
9. อาการ อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการ 27,253 32,574 34,551 17,344 21,530
ตรวจทางคลีนิกและตรวจทางห๎องปฏิบัติการ
ที่มิได๎มีรหัสระบุไว๎
10 การเกิดของทารกตามสถานที่เกิด 27,223 26,906 23,740 19,888 21,399
11. สาเหตุภายนอกอื่นๆของการเจ็บป่วย การตาย 308,709 331,687 473,833 - -
และผลที่ตามมา ที่มิได๎ระบุไว๎ที่อื่นใด
ที่มา : รายงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2559 สานักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 23


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

สาเหตุการตาย สูงที่สุดในปี พ.ศ.2559 คือ มะเร็ง และเนื้องอกทุกชนิด จานวน 2,708 คน


เป็นชาย 1,607 คน เป็นหญิง 1,101 คน ซึ่งสูงกวําปีกํอน
การตาย
สาเหตุตาย 2557 (2014) 2558 (2015)
รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
รวมยอด 17,449 9,777 7,672 18,317 10,480 7,837
1 มะเร็ง และเนื้องอกทุกชนิด 2,615 1,474 1,141 2,708 1,607 1,101

2
อุบัติเหตุ เหตุการณ์ที่ไมํสามารถระบุเจตนาและ 1,273 1,011 262 1,049 832 217
ปัจจัยเสริมที่มีความสัมพันธ์กับสาเหตุการตาย
3 ความดันเลือดสูง และโรคหลอดเลือดในสมอง 1,391 744 647 1,365 764 601
4 โรคหัวใจ 888 540 348 884 512 372
5 ปอดอักเสบและโรคอื่นๆ ของปอด 1,342 786 556 1,907 1,173 734
6 ไตอักเสบ กลุํมอาการของไตพิการ และไตพิการ 503 226 277 577 294 283
7 โรคเกี่ยวกับตับและตับอํอน 584 395 189 636 438 198
8 การฆําตัวตาย ถูกฆําตาย 246 194 52 58 47 11
9 เบาหวาน - - - 346 139 207
10 วัณโรคทุกชนิด 239 157 82 277 196 81
11 โรคภูมิคุ๎มกันบกพรํองเนื่องจากไวรัส 211 127 84 227 142 85
12 อื่น ๆ 8,155 4,122 4,033 8,283 4,336 3,947
ที่มา : รายงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2559 สานักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา

ในปี พ.ศ.2558 มีอัตราทารกตาย มารดาตาย เพิ่มขึ้นจากปีกํอน ปรากฏตามตารางข๎างท๎ายนี้


พ.ศ. อัตราทารกตาย (ต่อพันการเกิดมีชีพ) อัตรามารดาตาย (ต่อแสนการเกิดมีชีพ)
2555 5.30 21.40
2556 6.20 11.20
2557 6.00 11.60
2558 6.10 22.10
(๓) ด้านแรงงาน
ข๎อมูลผลการสารวจภาวการณ์ทางาน ในปี พ.ศ.2558 พบวํา จังหวัดนครราชสีมา มี ประชากรอายุ 15
ปีขึ้นไปจานวน 2,027,645 คน อยูํในกาลังแรงงาน 1,410,249 คน คิดเป็นร๎อยละ 69.55 ของจานวน
ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป โดยผู๎มีงานทา 1,389,717 คน ผู๎วํางงาน 20,349 คน คิดเป็นอัตราการวํางงาน
1.44 สูงกวําคําเฉลี่ยประเทศ ที่มีอัตราการวํางงานอยูํที่ร๎อยละ 0.88 ผลิตภาพแรงงาน เทํากับ 114,298
บาท/คน/ปี สูงกวําคําระดับประเทศ (110,895 บาท/คน/ปี) (ที่มา : ตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) แรงงานสํวนใหญํอยูํในภาคเกษตรและมีปัจจัย เชิงลบ
จากผลผลิตการเกษตรตํอไรํต่า ในอนาคตสํงผลตํอการเคลื่อนย๎ายแรงงานภาคเกษตรไปสูํภาคอุตสาหกรรมและ
ภาคบริการเพิ่มขึ้น

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 24


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

(๔) วัฒนธรรม เอกลักษณ์ เทศกาล ประเพณี


(๔.๑) เอกลักษณ์สาคัญของจังหวัด
1) อนุสาวรีย์ท๎าวสุรนารี
2) ภาษาโคราช
3) เพลงโคราช
4) ผ๎าไหมหางกระรอก
(๔.๒) เทศกาลประเพณีที่สาคัญ
1) ฉลองวันแหํงชัยชนะของท๎าวสุรนารี ระหวํางวันที่ 23 มีนาคม ถึงวันที่ 3 เมษายน ของทุกปี
2) งานประเพณีแหํเทียนพรรษาโคราช จัดขึ้นในชํวงวันเข๎าพรรษา
3) งานประเพณีกินเขําค่าของดีเมืองสูงเนิน จัดขึ้นในวันเสาร์ – อาทิตย์ สัปดาห์ที่ 2 ของเดือน
มีนาคมทุกปี ณ โบราณสถานปราสาทเมืองแขก อาเภอสูงเนิน ประเพณี “กินเขําค่า”
4) งานประเพณีแหํเทียนพิมาย มีการประกวดต๎นเทียนพรรษา การประกวดขบวนแหํเทียน
5) เทศกาลเที่ยวพิมาย และแขํงขันเรือยาวประเพณีชิงถ๎วยพระราชทานฯ ระหวํางสัปดาห์
ที่ 2 ของเดือนพฤศจิกายน ทุกปี ณ อุทยานประวัติศาสตร์พิมายและพิพิธภัณฑสถานแหํงชาติพิมาย
6) งานวันผ๎าไหมและของดีเมืองปักธงชัย ประมาณกลางเดือนธันวาคมของทุกปี ณ บริเวณลาน
อเนกประสงค์ หน๎าที่วําการอาเภอปักธงชัย
7) งานตรุษจีนนครราชสีมา จัด ในชํวง ปลายเดือนมกราคม –กุมภาพันธ์ บริเวณอนุสาวรีย์
ท๎าวสุรนารีสวนเมืองทอง สวนอนุสรณ์สถาน
8) งานประเพณีสงกรานต์ จัดขึ้นระหวํางวันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี บริเวณสนามหน๎า
ศาลากลางจังหวัด และลานอนุสาวรีย์ท๎าวสุรนารี
9) งานเอื้องกุหลาบเหลืองโคราช จัดขึ้นระหวํางวันที่ 8 - 11 พฤษภาคม บริเวณลานอนุสาวรีย์
ท๎าว สุรนารี สวนอนุสรณ์สถาน
10) งานวิสาขาบูชา พุทธบารมี จัดขึ้นระหวํางเดือนพฤษภาคม -มิถุนายน ณ ห๎อง MCC HALL
ชั้น 3 ห๎างสรรพสินค๎าเดอะมอลล์สาขานครราชสีมา
11) งานน๎อยหนําและของดีเมืองปากชํอง จัดขึ้นในเดือนกรกฎาคมของทุกปี บริเวณศูนย์การค๎า
จตุจักรปากชํอง อาเภอปากชํอง
12) งานประเพณีลอยกระทง พระประทีปพระราชทานฯ จัดขึ้นวันขึ้น 15 ค่า เดือน 12
บริเวณสวนน้าเฉลิมพระเกียรติ ร.9 (บุํงตาหลั่ว)
13) งานเทศกาลอาหารยํางโคราช จัดขึ้นเดือนพฤศจิกายน สนามหน๎าศาลากลางจังหวัด
14) งานเกษตรแฟร์ปากชํอง จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน ณ ศูนย์วิจัยข๎าวโพดและข๎าวฟ่าง
แหํงชาติ อาเภอปากชํอง จังหวัดนครราชสีมา
15) งานเบญจมาศบานในมํานหมอก จัดขึ้นในเดือนมกราคมของทุกปี บริเวณสานักงานองค์การ
บริหารสํวนตาบลไทยสามัคคี ตาบลไทยสามัคคี อาเภอวังน้าเขียว
16) งานปากชํองคาวบอยเฟสติวัล จัดขึ้นต๎นเดือนธันวาคม ณ ไรํทองสมบูรณ์ อ. ปากชํอง
17) งานปากชํองคาวบอยซิจัตดี้ ขึ้นปลายเดือนธันวาคม บริเวณสวนสาธารณเขาแคน เทศบาลเมืองปากชํอง

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 25


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

(5) ด้านความมั่นคง
5.1 ด้านความมั่นคง
หัวหน๎าคณะรักษาความสงบเรียบร๎อยแหํชาติ (คสช.) ได๎เห็นชอบแนวทางการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อเสริมสร๎างความมั่นคงของชาติ (พ.ศ.2556 – 2560) และเป็นไปตามที่ สภาความ
มั่นคงแหํงชาติ (สมช.) เสนอ โดยมีข๎อสั่งการให๎คณะกรมกรบริหารงานจังหวัดแบบูรณาการ (ก.บ.จ.) รํวมกับกอง
อานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัด ดาเนินการขับเคลื่อนให๎เป็นรูปธรรม โดยให๎คณะกรรมการบริหารงาน
จังหวัดแบบบูรณาการ รํวมกับหนํวยงานของรัฐในพื้นที่จัดทาแผนงานด๎านความมั่นคงในแผนพัฒนาจังหวัดและ
แผนงานหรือโครงการที่เกี่ยวข๎อง ตลอดจนจัดทาแผนปฏิบัติการ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาในพื้นที่เป้าหมาย เพื่อ
เสริมสร๎างความมั่นคงของชาติ
จังหวัดนครราชสีมา พิจารณาแล๎ว เพือ่ ให๎การกาหนดแผนงาน/โครงการของหนํวยงานด๎าน
ความมั่นคงที่เกี่ยวข๎องลงสูํพื้นที่เป้าหมายตามลาดับความสาคัญเรํงดํวนของพื้นที่เพื่อเสริมความมั่นคงของจังหวัด
เป็นไปด๎วยความเรียบร๎อย โดยจัดลาดับความสาคัญเรํงดํวนพื้นที่การพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงระดับตาบลของ
จังหวัด เพื่อให๎เป็นพื้นที่เป้าหมายในแผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) และแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปีของจังหวัด จากพื้นที่ 32 อาเภอ โดยกาหนดเป็นพื้นที่พัฒนาเพื่อเสริมสร๎างความมั่นคงระดับตาบล
ลาดับแรก จานวน 115 ตาบล และลาดับรอง จาวน 124 ตาบล ดังนี้
พื้นที่เป้าหมายลาดับแรก
รวม
ที่ อาเภอ ตาบล
(ตาบล)
1 เมืองนครราชสีมา ในเมือง โคกสูง จอหอ หนองกระทุํม หนองไขํน้า หนองบัวศาลา ปรุใหญํ 7
2 แก๎งสนามนาง แก๎งสนามนาง 1
3 ขามทะเลสอ พันดุง 1
4 ขามสะแกแสง ขามสะแกแสง ชีวึก พะงาด โนนเมือง 4
5 ครบุรี แชะ บ๎านใหมํ ลาเพียก อรพิมพ์ จระเข๎หิน มาบตะโกเอน โคกกระชาย 9
เฉลียง สระวํานพระยา
6 จักราช คลองเมือง สีสุก หนองขาม จักราช 4
7 เฉลิมพระเกียรติ ทําช๎าง หนองงูเหลือม 2
8 ชุมพวง สาหรําย ตลาดไทร โนนตูม โนนยํอ 4
9 โชคชัย กระโทก โชคชัย ดํานเกวียน 3
10 ดํานขุนทด ดํานขุนทด ตะเคียน หินดาด หนองกราด สระจระเข๎ ห๎วงบง บ๎านเกํา 13
พันชนะ โนนเมืองพัฒนา กุดพิมาน ดํานนอก หนองบัวละคร
หนองบัวตะเกียด
11 เทพารักษ์ สานักตะคร๎อ บึงปรือ 2
12 โนนแดง โนแดง โนนตาเถร 2
13 โนนสูง โนนสูง ใหมํ ธารปราสาท เมืองปราสาท จันอัด ดํานคร๎า ดอนทราย โตนด 16
ดอนชมพู ปิง ลามูล หลุมข๎าว พลสงคราม มะคํา ขามเฒํา ลาคอหงส์
14 บัวลาย โนนจาน 1
15 บัวใหญํ ห๎วยยาง บัวใหญํ หนองแจ๎งใหญํ ขุนทอง 4
16 บ๎านเหลื่อม โคกกระเบื้อง 1
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 26
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

รวม
ที่ อาเภอ ตาบล
(ตาบล)
17 ประทาย ตลาดไทร 1
18 ปักธงชัย เมืองปัก ตะคุ ตะขบ งิ้ว สะแกราช ลานางแก๎ว ภูหลวง ธงชัยเหนือ 10
สุขเกษม บํอปลาทอง
19 ปากชํอง จันทึก ขนงพระ คลองมํวง 3
20 พระทองคา พังเทียม สระพระ 2
21 พิมาย ในเมือง นิคมสร๎างตนเอง หนองระเวียง สัมฤทธิ์ กระเบื้องใหญํ โบสถ์ 6
22 เมืองยาง โนนอุดม เมืองยาง 2
23 ลาทะเมนชัย ชํองแมว บ๎านยาง 2
24 วังน้าเขียว วังน้าเขียว ไทยสามัคคี 2
25 สีคิ้ว หนองหญ๎าขาว หนองน้าใส มิตรภาพ คลองไผํ ดอนเมือง 5
26 สีดา หนองตาดใหญํ 1
27 สูงเนิน มะเกลือเกํา มะเกลือใหมํ สูงเนิน เสมอ 4
28 เสิงสาง โนนสมบูรณ์ สุขไพบูลย์ บ๎านราษฎร์ 3
รวม 28 อาเภอ 115 ตาบล 115
ที่มา : บัญชีการจัดลาดับความสาคัญเร่งด่วนพื้นที่การพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงระดับตาบลของจังหวัด ประจาปี 2561 – 2564
สานักงานเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเพื่อความมั่นคงในระดับพื้นที่ในเขตกองทัพภาคที่ 2
พื้นที่เป้าหมายลาดับรอง
รวม
ที่ อาเภอ ตาบล
(ตาบล)
1 เมืองนครราชสีมา โคกกรวด หนองไผํล๎อม ไชยมงคล ตลาด หนองจะบก หัวทะเล 18
หนองระเวียง บ๎านเกํา บ๎านโพธิ์ บ๎านใหมํ สุรนารี พะเนา พุดซา พลกรัง
โพธิ์กลาง มะเริง หมื่นไวย สีมุม
2 แก๎งสนามนาง แก๎งสนามนาง โนนสาราญ บึงพะไล สีสุก บึงสาโรง 4
3 ขามทะเลสอ หนองสรวง 1
4 ขามสะแกแสง เมือนาท หนองหัวฟาน เมืองเกษตร 3
5 คง เมืองคง 1
6 ครบุรี แชะ ครบุรีใต๎ เฉลียง ตะแบกบาน 4
7 จักราช หินโคน ศรีละกอ ทองหลาง หนองพลวง 5
8 เฉลิมพระเกียรติ ทําช๎าง ช๎างทอง หนองยาง พระพุทธ หนองงูเหลือม 5
9 ชุมพวง ประสุข โนนรัง หนองหลัก 3
10 โชคชัย ทุํงอรุณ ทําอําง ทําเยี่ยม 3
11 ดํานขุนทด ตะเคียน หินดาด หนองกราด สระจระเข๎ ห๎วยบง หนองไทร บ๎านเกํา 15
พันชนะ โนนเมืองพัฒนา กุดพิมาน ดํานนอก ดํานใน บ๎านแปรง
หนองบัวละคร หนองบัวตะเกียด
12 เทพารักษ์ หนองแวง 1
13 โนนแดง ดอนยาวใหญํ วังหิน ลาพะเนียง 3
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 27
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

รวม
ที่ อาเภอ ตาบล
(ตาบล)
14 โนนสูง โนนสูง ใหมํ ธารปราสาท เมืองปราสาท จันอัด ดํานคล๎า ดอนทราย 16
โตนด ดอนชมพู ปิง มูล หลุมข๎าว พลสงคราม มะคํา ขามเฒํา ลาคอหงษ์
15 บัวบาย บัวลาย เมืองพะโล หนองหว๎า 3
16 บัวใหญํ ดํานช๎าง โนนทองหลาง เสมาใหญํ 3
17 บ๎านเหลื่อม บ๎านเหลื่อม 1
18 ประทาย กระทุํมราย หันห๎วยทราย ประทาย 3
19 ปักธงชัย ธงชัยเหนือ สุขเกษม เกษมทรัพย์ 3
20 ปากชํอง ปากชํอง หมูสี 2
21 พระทองคา ทัพรั้ง หนองหอย มาบกราด 3
22 พิมาย รังกาใหญํ 1
23 เมืองยาง ละหานปลาค๎าว กระเบื้องนอก 2
24 ลาทะเมนชัย ขุย ไพล 2
25 วังน้าเขียว วังหมี อุดมทรัพย์ 2
26 สีคิ้ว สีคิ้ว กฤษณา ลาดบัวขาว 3
27 สีดา สีดา โพนทอง โนนประดูํ สามเมือง 4
28 สูงเนิน บุํงขี้เหล็ก โนนคํา นากลาง หนองตะไก๎ โค๎งยาง กุดจิก โคราช 7
29 เสิงสาง เสิงสาง สระตระเคียน กุดโบสถ์ 3
รวม 29 อาเภอ 124 ตาบล 124
ที่มา : บัญชีการจัดลาดับความสาคัญเร่งด่วนพื้นที่การพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงระดับตาบลของจังหวัด ประจาปี 2561 – 2564
สานักงานเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเพื่อความมั่นคงในระดับพื้นที่ในเขตกองทัพภาคที่ 2
(ด้านยาเสพติด)
จากรายงานผลการปราบปรามยาเสพติดทั่วประเทศ ปี 2555 – 2558 ของสานักงาน ป.ป.ส. ในปี
พ.ศ.2558 จังหวัดนครราชสีมา มีผลการปราบปรามยาเสพติดในพื้นที่ ในภาพรวมสามารถจับกุมได๎ทั้งสิ้น 9,300
คดี เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2557 ที่มีการจับกุมทั้งสิ้น 6,561 คดี คิดเป็นร๎อยละ 141.75 ผู๎ต๎องหารวม 9,511 คน
เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2557 ที่มีผู๎ต๎องหา 6,829 คน คิดเป็นร๎อยละ 139.27 น้าหนักรวมของยาเสพติด จานวน
755.08 กิโลกรัม ลดลงจากปี พ.ศ.2557 ที่มีน้าหนักรวม 1,356.57 กิโลกรัม
สารเสพติดทีจ่ ับกุม คิดเป็นคดีมากทีส่ ุด คือ เมทแอมเฟตามีน(ยาบ๎า) จานวน 8,506 คดี รองลงไป คือ
กัญชาแห๎ง จานวน 610 คดี ผู๎ต๎องหามากที่สุด คือ เมทแอมเฟตามีน (ยาบ๎า) จานวน 8,649 คน รองลงไป คือ
กัญชาแห๎ง จานวน 633 คน น้าหนักยาเสพติดมากที่สุด คือ กัญชาแห๎ง 657.82 กิโลกรัม รองลงไป คือ เมทแอม
เฟตามีน (ยาบ๎า) จานวน 82.51 กิโลกรัม
ข้อมูล ฯ สิ้นปี พ.ศ.
ที่ ประเภท
2555 2556 2557 2558
1 เฮโรอีน
จานวนคดี 3
จานวนผู๎ต๎องหา 3
น้าหนัก (กก.) 0.0003
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 28
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ข้อมูล ฯ สิ้นปี พ.ศ.


ที่ ประเภท
2555 2556 2557 2558
2 เอ็กซ์ตาซี
จานวนคดี 2 6
จานวนผู๎ต๎องหา 2 6
น้าหนัก (กก.) - 0.004
3 กัญชาแห๎ง
จานวนคดี 129 307 487 610
จานวนผู๎ต๎องหา 148 341 506 633
น้าหนัก (กก.) 352.39 1,585.09 1,262.47 657.82
4 เมทแอมเฟตามีน
จานวนคดี 5,979 9,537 5,882 8,506
จานวนผู๎ต๎องหา 6,149 9,816 6,112 8,679
น้าหนัก (กก.) 21.09 121.92 54.36 82.51
5 โคคาอีน (โคเคน)
จานวนคดี - 2 - -
จานวนผู๎ต๎องหา - 2 - -
น้าหนัก (กก.) - 0.002 - -
6 ไอซ์
จานวนคดี 145 170 149 110
จานวนผู๎ต๎องหา 160 212 168 122
น้าหนัก (กก.) 1.47 18.10 1.01 1.36
7 พืชกระทํอม
จานวนคดี 23 30 43 65
จานวนผู๎ต๎องหา 23 30 43 68
น้าหนัก (กก.) 29.72 5.40 38.83 13.39
รวมทั้งสิ้น
จานวนคดี 6,276.00 10,048.00 6,561.00 9,300.00
จานวนผู๎ต๎องหา 6,480.00 10,403.00 6,829.00 9,511.00
น้าหนัก (กก.) 404.67 1,730.51 1,356.67 755.08
ที่มา : รายงานผลการปราบปรามยาเสพติดทั่วประเทศ ปี 2555 – 2558 สานักงาน ป.ป.ส.
(ด้านคดีอาชญากรรม)
ในรอบปี พ.ศ.2559 จังหวัดนครราชสีมา มีสถิติคดีอาชญากรรม ดังนี้
1. รับแจ๎งคดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ จานวน 31 คดี ลดลงจากปีกํอน ๆ อยํางตํอเนื่อง โดยสามารถ
จับกุมได๎ 29 คดี คิดเป็นร๎อยละ 93.55 ของคดีที่รับแจ๎ง
2. รับแจ๎งคดีประทุษร๎ายตํอชีวิต รํางกาย และเพศ จานวน 698 คดี เพิ่มขึ้นจากปีกํอน โดยสามารถ
จับกุมได๎ 643 คดี คิดเป็นร๎อยละ 92.12 ของคดีที่รับแจ๎ง
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 29
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

3. รับแจ๎งคดีประทุษร๎ายตํอทรัพย์ จานวน 1,883 คดี เพิ่มขึ้นจากปีกํอน โดยสามารถจับกุมได๎ 1,615


คดี คิดเป็นร๎อยละ 85.77 ของคดีที่รับแจ๎ง
4. รับแจ๎งคดีที่นําสนใจ จานวน 1,402 คดี เพิ่มขึ้นจากปีกํอน โดยสามารถจับกุมได๎ 675 คดี คิดเป็น
ร๎อยละ 48.15 ของคดีที่รับแจ๎ง
5. รับแจ๎งคดีที่รัฐเป็นผู๎เสียหาย จานวน 9,299 คดี ลดลงจากปีกํอน โดยสามารถจับกุมผู๎ต๎องหาได๎
9,679 ราย
ตารางแสดงคดีที่รับแจ๎งและผลการจับกุมในรอบปี พ.ศ.2556 - 2559
ข๎อมูล ฯ สิ้นปี พ.ศ.
ที่ เรื่อง
2556 2557 2558 2559
1 รับแจ๎งคดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ (คดี) 74 67 52 31
2 รับแจ๎งคดีประทุษร๎ายตํอชีวิต รํางกาย และเพศ(คดี) 752 618 595 698
3 รับแจ๎งคดีประทุษร๎ายตํอทรัพย์ (คดี) 826 848 709 1,883
4 รับแจ๎งคดีที่นําสนใจ (คดี) 760 582 516 1,402
5 รับแจ๎งคดีที่รัฐเป็นผู๎เสียหาย (คดี) 13,326 13,426 14,945 9,299
6 จับกุมคดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ (คดี) 58 52 48 29
7 จับกุมคดีประทุษร๎ายตํอชีวิต รํางกาย และเพศ (คดี) 631 488 530 643
8 จับกุมคดีประทุษร๎ายตํอทรัพย์ (คดี) 637 608 605 1,615
9 จับกุมคดีที่นําสนใจ (คดี) 528 325 369 675
10 จับกุมผู๎ต๎องหาคดีที่รัฐเป็นผู๎เสียหาย (ราย) 20,182 20,110 22,885 9,679
๑.6 โครงสร้างพื้นฐาน
๑.6.๑ การคมนาคมขนส่ง
จังหวัดนครราชสีมาเป็นศูนย์กลางทางด๎านการคมนาคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดย
มีเส๎นทางติดตํอกับจังหวัดใกล๎เคียง และมีเส๎นทางการคมนาคม การขนสํงทางรถยนต์หลากหลายเส๎นทาง
(1) ทางหลวงแผํนดินสายหลัก : ทางหลวงแผํนดินหมายเลข 2(ถนนมิตรภาพ)ทางแยกตํางระดับ
มิตรภาพ อาเภอเมืองจังหวัดสระบุรี-ประเทศลาว (สะพานมิตรภาพไทย -ลาว)
(2) ทางหลวงแผํนดินสายรอง
- ทางหลวงแผํนดินหมายเลข24 (ถนนโชคชัย-เดชอุดม และถนนสถลมารค) จากทางแยกตําง
ระดับสีคิ้วอ. สีคิ้ว จ.นครราชสีมา- สะพานเสรีประชาธิปไตยอาเภอเมือง จังหวัด จ. อุบลราชธานี
- ทางหลวงแผํนดินหมายเลข201 จากอาเภอสีคิ้วนครราชสีมา- อาเภอเชียงคานจังหวัดเลย
- ทางหลวงแผํนดินหมายเลข204 (ถนนเลี่ยงเมือง) อ.เมืองนครราชสีมาจังหวัดนครราชสีมา
- ทางหลวงแผํนดินหมายเลข205 (ถนนสุรนารายณ์) จาก อ.บ๎านหมี่ จ.ลพบุ–รอ.เมื ี อง
- ทางหลวงแผํนดินหมายเลข206 ถนนมิตรภาพ อ. โนนสูง– อ. ห๎วยแถลง
- ทางหลวงแผํนดินหมายเลข207 (ถนนพาณิชย์เจริญ) จาก อ.คง จ.นม. – อ. พล จ.ขอนแกํน
- ทางหลวงแผํนดินหมายเลข224 จากอาเภอเมืองนครราชสีมา– อ. กาบเชิงจ. สุรินทร์
- ทางหลวงแผํนดินหมายเลข226 จาก อ. เมืองนครราชสีมา– อ. วาริน ชาราบจ.อุบลราชธานี
- ทางหลวงแผํนดินหมายเลข290 (ถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมอ.เมื า) องนครราชสีมา

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 30


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

(3) ทางหลวงชนบท : มีเส๎นทางหลวงชนบทรวม 66 เส๎นทาง ระยะทาง 1,395.790 กิโลเมตร


ด้านการขนส่ง : มีรถโดยสารประจาทางโดย สารธรรมดา และ รถปรับอากาศบริการจากกรุงเทพฯ มายังจังหวัด
นครราชสีมาทุกวัน การเดินทางระหวํางจังหวัด มีรถโดยสารประจาทางธรรมดา และปรับอากาศบริการผําน
จังหวัดนครราชสีมาที่สถานีขนสํงผู๎โดยสารแหํงที่ 2 (ถนนมิตรภาพ-หนองคาย) ทุกวัน รวมทั้งมีรถไฟสายภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ (กรุงเทพฯ - อุบลราชธานี) และ (กรุงเทพ - หนองคาย) ทั้งขบวนรถดํวนพิเศษ, รถดํวน,
รถเร็ว, รถธรรมดา วิ่งให๎บริการจากกรุงเทพฯ (หัวลาโพง) ผํานจังหวัดทุกวัน
๑.6.๒ บริการสาธารณะ
(๑) ไฟฟ้า : โรงไฟฟ้าพลังน้าลาตะคองแบบสูบกลับ ตั้งอยูํในเขตพื้นที่เขื่อนลาตะคอง ตาบลคลองไผํ
ผลิตพลังงานไฟฟ้าเสริมระบบในชํวงความต๎องการไฟฟ้าสูงสุด โดยการนาพลังงานไฟฟ้าที่เหลืออยูํ ในระบบมาใช๎
สูบน้าจานวนหนึ่งที่มีอยูํในอํางเก็บน้าเขื่อนลาตะคองเดิม (ของกรมชลประทาน) ขึ้นไปเก็บไว๎ในอํางเก็บน้าข๎างบน
(กฟผ.สร๎างขึ้นใหมํ) และเมื่อมีความต๎องการไฟฟ้ามากในชํวงหัวค่า ก็ปลํอยน้าจานวนเดียวกันนี้ให๎ไหลกลับคืน
ลงอํางเก็บน้าเขื่อนลาตะคองตามเดิมโดยผํานกังหันน้าเพื่อผลิตไฟฟ้าเสริมระบบ เป็นปัจจัยในการพัฒนา
อุตสาหกรรมในภูมิภาคอยํางมาก โดยหนํวยงานการไฟฟ้าสํวนภูมิภาค (นครราชสีมา)
(๒) น้าประปา : การประปาสํวนภูมิภาค จังหวัดนครราชสีมา โดยการประปาสํวนภูมิภาค เขต 2
มีหนํวยบริการ 22 แหํง ปริมาณน้าผลิต 31,999,140 ลบ.ม. น้าจาหนําย 24,353,330 ลบ.ม. ในเขตเทศบาล
นครนครราชสีมา ให๎บริการน้าประปาเฉพาะในเขตรับผิดชอบ มีผู๎ใช๎น้า 59,225 ราย ปริมาณการผลิต
38,938,090 ลบ./ปี แหลํงน้าดิบใช๎น้าจากอํางเก็บน้าลาตะคอง

1.7 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๑.7.๑ ดิน ลักษณะดิน
การใช้ที่ดิน จังหวัดนครราชสีมา

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 31


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ตารางที่ ๑ พื้นที่และประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดิน (ปี ๒๕๕8)


ประเภทการใช้ที่ดิน เนื้อที่ (ไร่) ร้อยละ
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร๎าง ๘๓๔,๐๔๕ ๖.82
พื้นทีช่ มุ ชนและสิ่งปลูกสร๎าง 861,96๕ ๖.82
พื้นที่เกษตรกรรม ๘,๘59,6๗0 ๖๙.09
นาข๎าว ๔,176,250 ๓2.60
พืชไรํ ๓,886,131 30.31
ไม๎ยนื ต๎น 388,912 ๓.03
ไม๎ผล 206,293 ๑.59
พืชสวน 28,422 ๐.๒2
ทุํงหญ๎าและโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ 151,579 ๑.17
พืชน้า ๖4 -
สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์นา้ ๑๒,626 ๐.๑๐
เกษตรผสมผสาน/ไรํนาสวนผสม ๙,413 ๐.๐๗
พื้นที่ป่า ๒,๒66,399 ๑๗.๗0
พื้นที่ป่า ๒,๒66,399 17.70
พื้นที่น้า ๓03,๕67 ๒.๓6
พื้นทีน่ า้ ๓03,567 ๒.๓6
พื้นที่เบ็ดเตล็ด 517,127 4.03
พื้นทีอ่ นื่ ๆ ๕๑๗,127 ๔.๐3
รวมทั้งหมด ๑๒,๘๐๘,๗๒๘ ๑๐๐.๐๐
ที่มา : สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดนครราชสีมา
สภาพของดินในจังหวัดนครราชสีมาสํวนใหญํเป็นดินรํวนปนทราย เก็บความชุํมชื้นได๎น๎อย มีความอุดม
สมบูรณ์ต่า และมีสํวนที่เป็นดินเค็มถึงร๎อยละ ๓๐ .๐๕ ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีพื้นที่เพียงบางสํวนที่เป็นดินเหนียว
มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางและคํอนข๎างสูง ซึ่งเหมาะแกํการเกษตรกรรมเพียงร๎อยละ ๓๐.๕ ของเนื้อที่ทั้งหมด
ลักษณะของดิน สามารถแบํงออกตามลักษณะกลุํมดินได๎เป็น ๔ กลุํมคือ
- กลุํมดินไรํ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร๎อยละ ๕๕ ของพื้นที่ทั้งหมด
- กลุํมดินนา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร๎อยละ ๒๐ ของพื้นที่ทั้งหมด
- กลุํมพื้นที่ภูเขา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร๎อยละ ๑๕ ของพื้นที่ทั้งหมด
- กลุํมดินคละ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร๎อยละ ๑๐ ของพื้นที่ทั้งหมด
จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ทั้งหมด ๑๒,๘๐๘,๗๒8 ไรํ มีพื้นที่บริเวณคราบเกลือบนผิวดิน น๎อยกวําร๎อยละ
๑ - มากกวําร๎อยละ ๕๐ ของพื้นที่ รวมจานวน ๓,๘๔๙,๒๕๔ ไรํ คิดเป็นร๎อยละ ๓๐ .๐๕ ของพื้นที่ทั้งจังหวัด
โดยแยกตามระดับความเค็มหรือคราบเกลือบนผิวดิน สรุปได๎ดังนี้
1) คราบเกลือบนผิวดิน มากกวํา ๕๐ % จานวน ๗๑,๐๗๐ ไรํ (ร๎อยละ ๑.๘๕)
2) คราบเกลือบนผิวดิน ๑๐-๕๐ % จานวน ๑๑๕,๘๗๒ ไรํ (ร๎อยละ ๓.๐๑)
3) คราบเกลือบนผิวดิน ๑-๑๐% จานวน ๑,๔๗๓,๖๓๖ ไรํ (ร๎อยละ ๓๘.๒๘)
4) คราบเกลือบนผิวดินน๎อยกวํา ๑% จานวน ๒,๑๘๘,๖๗๖ ไรํ (ร๎อยละ ๕๖.๘๖)

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 32


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

๑.7.๒ ป่าไม้ จานวนพื้นที่ป่าไม๎ (อุทยานแหํงชาติ วนอุทยาน ป่า สงวน)

ป่าไม๎ที่สาคัญในจังหวัดนครราชสีมา ได๎แกํ ป่าดิบแล๎ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง พรรณไม๎สาคัญ


ที่ขึ้นอยูํ ได๎แกํ ประดูํ แดง มะคําโมง ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง เป็นต๎น พื้นที่เขต ป่าอนุรักษ์ซึ่งยังคงความอุดม
สมบูรณ์ด๎วยทรัพยากรป่าไม๎และสัตว์ป่า สํวนใหญํอยูํด๎านทิศใต๎ของจังหวัด ได๎แกํ อุทยานแหํงชาติเขาใหญํ อุทยาน
แหํงชาติทับลาน และเขตห๎ามลําสัตว์ป่าเขาแผงม๎า
ปัจจุบันสถานการณ์การลักลอบตัดไม๎ทาลายป่าในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาทวีความรุนแรงมากขึ้น ได๎ถูก
จัดอันดับเป็นจังหวัดที่มีความวิกฤตรุนแรงด๎านการบุกรุกทาลายทรัพยากรป่าไม๎เป็น ๑ ใน ๓ จังหวัดของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็น ๑ ใน ๑๒ จังหวัดของประเทศ โดยเฉพาะปัญหาการลักลอบตัดไม๎พะยูง ซึง่
เป็นชนิดไม๎ที่ตลาดตํางประเทศมีความต๎องการสูงและมีราคาแพง พบมากในบริเวณเขตอุทยานแหํงชาติทับลาน
ท๎องที่อาเภอครบุรี และอาเภอเสิงสาง นอกจากนี้ยังมีปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่า เพื่อเป็นที่ทากินและใช๎ประโยชน์
อื่นๆ อีกด๎วย

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 33


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ภาพถํายดาวเทียมแสดงพื้นที่ป่าไม๎ท๎องที่จังหวัดนครราชสีมา

ที่มา : สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อมจังหวัดนครราชสีมา (๒๕๕๗)


ตารางแสดงพื้นที่ป่าไม๎ของจังหวัดนครราชสีมาจากผลการแปลภาพถํายดาวเทียม ปี ๒๕๔๖ – ๒๕๕๖
ปี พ.ศ. พื้นที่ (ตร.กม.) พื้นที่ (ไร่) % ของพื้นที่จังหวัด
๒๕๔๖ ๓,๒๗๒.๔๐ ๒,๐๔๕,๒๕๐.๐๐ ๑๕.๗๔
๒๕๔๗ ๓,๑๔๘.๙๒ ๑,๙๖๘,๐๗๕.๐๐ ๑๕.๓๗
๒๕๔๘ ๒,๙๒๒.๔๔ ๑,๘๒๖,๕๒๕.๐๐ ๑๔.๒๖
๒๕๔๙ ๒,๙๑๕.๐๔ ๑,๘๒๑,๙๐๐.๐๐ ๑๔.๒๒
๒๕๕๑ ๓,๑๓๒.๕๕ ๑,๙๕๗,๘๔๓.๗๕ ๑๕.๒๙
๒๕๕๒ ๓,๑๒๗.๕๔ ๑,๙๕๔,๗๑๒.๕๐ ๑๕.๒๖
๒๕๕๖ ๓,๐๗๐.๖๑ ๑,๙๑๙,๑๒๘.๕๐ ๑๔.๙๘
2557 3,072.80 1,920,535.40 14.99
2558 3,087.19 1,929,491.88 15.06
ที่มา : (ข๎อมูลปี ๒๕๕๑) สานักแผนงานและสารสนเทศ , กรมป่าไม๎ (๒๕๕๑). ข๎อมูลสถิติกรมป่าไม๎ ปี ๒๕๕๑.
(ข๎อมูลปี ๒๕๕๒) สานักแผนงานและสารสนเทศ , กรมอุทยานแหํงชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (๒๕๕๒).
(ข๎อมูลสถิติกรมป่าไม๎ปี ๒๕๕ 8) สานักจัดการที่ดิน กรมป่าไม๎

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 34


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

๑ .7.๓ แหล่งน้า
(๑) แหลํงน้าธรรมชาติ
แหลํงน้าธรรมชาติทีส่ าคัญ ๙ ลุํมน้า ได๎แกํ ลุํมน้ามูลตอนบน, ลุํมน้าลาพระเพลิง, ลุํมน้า
ลามูลตอนลําง, ลุํมน้าลาปลายมาศ, ลุํมน้าลาตะคอง,ลุํมน้าลาเชียงไกร,ลุํมน้าลาสะแทด ลุํมน้าลาชี และลุํมน้า
ลาจักราช รวมพื้นที่ลุํมน้า ๒๐,๙๐๕ ตร.กม. ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย ๑,๐๗๘.๖ มม./ปี ปริมาณน้าทําเฉลี่ย ๓,๕๑๒
ล๎าน ลบ.ม. / ปี มีพื้นที่ชลประทาน ๗๐๒,๔๕๘ ไรํ คิดเป็นร๎อยละ ๘.๕๗ ของพื้นที่จังหวัดทั้งหมด
(๒) อํางเก็บน้าสาคัญ
(๒.๑) อํางเก็บน้าขนาดใหญํ
- อํางเก็บน้าลาตะคลอง ความจุ 314.49 ล๎าน ลบ.ม.เมตร/ ๑๒๗,๕๔๐ ไรํ
- อํางเก็บน้าลาพระเพลิง - ลาสาลาย ความจุ ๑๔๙.๘๐ ล๎านลบ.ม./๘๔,๙๖๐ ไรํ
- อํางเก็บน้ามูลบน - ลาแชะ ความจุ ๔๑๖ ล๎าน ลบ./๑๓๕,๔๐๐ ไรํ
- อํางเก็บน้าลาปลายมาศ -ห๎วยเตย ความจุ ๑๐๒.๑๐ ล๎านลบ.ม./๖๐,๘๐๐ ไรํ
(๒.๒) อํางเก็บน้าขนาดกลาง
- อํางเก็บน้าห๎วยซับประดูํ ความจุ ๒๘ ล๎านลูกบาศก์เมตร
- อํางเก็บน้าห๎วยบ๎านยาง ความจุ ๗ ล๎านลูกบาศก์เมตร
- อํางเก็บน้าลาเชียงไกร ความจุ ๒๑ ล๎านลูกบาศก์เมตร
- อํางเก็บน้าห๎วยตะคร๎อ ความจุ ๑๐ ล๎านลูกบาศก์เมตร
(๒.๓) อํางเก็บน้าขนาดเล็ก
- อํางเก็บน้าชลประทานขนาดเล็กที่มีอยูํในเขต มีทั้งสิ้น ๔๗๓ แหํง
(๓) ปริมาณฝนและปริมาณน้าทํา
ปริมาณฝนคําเฉลีย่ รายปีเทํากับ ๑ ,๐๓๕ มม. โดยคําปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชํวง
ฤดูฝน ๘๗๓ มม. หรือคิดเป็นร๎อยละ ๘๔ ของทั้งหมดและมีคําปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชํวงฤดูแล๎ง ๑๖๓
มม. หรือคิดเป็นร๎อยละ ๑๖ ของทั้งหมด
(๔) ปริมาณน้าบาดาล
น้าทีส่ ูบขึน้ มาใช๎จากบํอบาดาลและบํอน้าตื้นของพืน้ ทีล่ ุมํ น้าในจังหวัดนครราชสีมา มีปริมาณ
รวมทั้งสิ้น ๕๐ ล๎าน ลบ.ม./ปี หรือคิดเป็นร๎อยละ ๓๐ ของปริมาณน้าบาดาลที่สามารถพัฒนาได๎ในพื้นที่ลุํมน้ามูล
โดยไมํเกิดผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อม ซึ่งมีคําประมาณ ๑๗๐ ล๎าน ลบ.ม./ปี การพัฒนาน้าบาดาลขึ้นมาใช๎ไมํควร
พัฒนาจนใกล๎เคียงกับศักยภาพ เนื่องจากอาจมีความเสี่ยงในเชิงปริมาณและคุณภาพโดยเฉพาะเรื่องความเค็ม และ
อาจทาให๎เกิดการแพรํกระจายของความเค็มด๎วย
(๕) คุณภาพน้าผิวดิน
คุณภาพน้าในแมํน้ามูลมีแนวโน๎มคุณภาพต่าลง เมือ่ มีระยะทางหํางจากปากแมํน้ามากขึน้
ซึ่งบริเวณที่ผํานจังหวัดนครราชสีมา จะมีแนวโน๎มคุณภาพน้าต่าลง โดยมีคําเฉลี่ย DO ลดลง และมีคําความสกปรก
เพิ่มมากขึ้น เข๎าเกณฑ์แหลํงน้าประเภทที่ ๔ และประเภทที่ ๕
 แหลํงน้าผิวดิน (แมํน้า ลาคลอง เขื่อน อํางเก็บน้า บึง ฯ)
แหลํงน้าธรรมชาติที่สาคัญของจังหวัดนครราชสีมามี ๙ ลุํมน้าโดยมีพื้นที่ลุํมน้าที่อยูํในจังหวัด
นครราชสีมาประมาณ ๒๐,๙๐๕ ตารางกิโลเมตร อาเภอที่ได๎รับน้าจากลุํมน้า ได๎แกํ อาเภอชุมพวง พิมาย
ห๎วยแถลง จักราช โนนสูง เมือง เสิงสาง ครบุรี โชคชัย ปักธงชัย สูงเนิน ปากชํอง ขามทะเลสอ สีคิ้ว โนนไทย

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 35


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ประทาย โนนแดง บัวใหญํ ขามสะแกแสง คง แก๎งสนามนาง บ๎านเหลื่อม หนองบุญมาก รวม ๒๓ อาเภอ


มีรายละเอียดลุํมน้าตําง ๆ ดังนี้
พื้นที่ลุ่มน้าย่อยที่สาคัญในเขตจังหวัดนครราชสีมา
พื้นที่ลุ่มน้า
ลุ่มน้าย่อย อาเภอในเขตลุ่มน้า
ตร.กม ไร่
1. ลาน้ามูลตอนบน ๒,๕๒๑ ๑,๕๗๕,๖๒๕ ครบุรี โชคชัย เมือง เฉลิมพระเกียรติ
2. ลาพระเพลิง ๒,๓๑๐ ๑,๔๔๓,๗๕๐ ปากชํอง วังน้าเขียว ปักธงชัย โชคชัย
3. ลาตะคอง ๓,๙๐๕ ๒,๔๔๐,๖๒๕ ปากชํอง สีคิ้ว สูงเนิน ขามทะเลสอ และ
เมืองนครราชสีมา
4. ลาเชียงไกร ๓,๗๕๒ ๒,๓๔๕,๐๐๐ ดํานขุนทด สีคิ้ว เทพารักษ์ โนนไทย เมืองนครราชสีมา
พระทองคา โนนสูง ขามสะแกแสง
5. ลาน้าชี ๖๘๐ ๔๒๕,๐๐๐ แก๎งสนามนาง บ๎านเหลื่อม คง
6. ลาสะแทด ๒,๔๕๗ ๑,๕๓๕,๖๒๕ บัวใหญํ บัวลาย สีดา คง โนนแดง พิมาย ประทาย
โนนสูง ขามสะแกแสง เมืองยาง
7. ลาน้ามูลตอนลําง ๑,๕๖๕ ๙๗๘,๑๒๕ โนนสูง เฉลิมพระเกียรติ จักราช พิมาย ชุมพวง
ลาทะเมนชัย เมืองยาง
8. ลาจักราช ๑,๓๘๘ ๘๖๗,๕๐๐ เสิงสาง หนองบุญมาก จักราช พิมาย เฉลิมพระเกียรติ
9. ลาปลายมาศ ๑,๙๑๕ ๑,๑๙๖,๘๗๕ ครบุรี เสิงสาง ห๎วยแถลง ชุมพวง
รวม ๒๐,๔๙๓ ๑๒,๘๐๘,๑๒๕
ที่ : โครงการชลประทานจังหวัดนครราชสีมา (๒๕๕8)

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 36


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

๑.7.๔ สถานการณ์ด้านขยะมูลฝอย
- มีปริมาณขยะเกิดขึ้น 2,264 ตัน/วัน เก็บขนขยะไปกาจัด 1,173 ตัน/วัน (ร๎อยละ 51.81)
- มีการกาจัดถูกต๎องตามหลักวิชาการ 435 ตัน/วัน (ร๎อยละ 19.21) ( ศูนย์กาจัดขยะของ
เทศบาลนครนครนครราชสีมา ,ศูนย์กาจัดขยะเทศบาลตาบลสูงเนิน และขนไปกาจัดที่บริษัทปูนซีเมนต์ TPI
- มีปริมาณขยะสะสม 760,825 ตัน ได๎รับการจัดการ 238,991 ตัน ( ร๎อยละ 31.41)
1.7.5 การจัดการที่ดินทากิน (สปก.)
การจัดที่ดินทากินและคุ๎มครองพื้นที่เกษตรกรรม (สปก) แบํงเป็นพื้นที่ NOS รังวัด 11,662 ไรํ
สอบสิทธิ 777 ราย พื้นที่ปิด รังวัด 16,275 ไรํ สอบสิทธิ 1,085 ราย พื้นที่แบํงแปลง รังวัด 13,902 ไรํ การ
จัดที่ดินชุมชน 99 ชุมชน 5,000 ราย จากการสารวจข๎อมูลพื้นที่ สปก. รายอาเภอ จานวน 2,392,496 ไรํ มี
การปรับปรุงระบบแผนที่รายแปลง 275,488 ไรํ การสร๎างและพัฒนาเกษตรรุํนใหมํ โดยจัดตั้งศูนย์การเรียนรู๎เพิ่ม
ประสิทธิภาพการใช๎ประโยชน์ที่ดิน (ศูนย์ใหมํ) 5 ศูนย์ ขยายองค์ความรู๎ 400 ราย พัฒนาธุรกิจชุมชน ( SMES)
245 ราย/ไตรภาคี 120 ราย สํงเสริมเกษตรกรปราดเปรื่อง 21 กลุํม 249 ราย
1.7.6 ทรัพยากรสัตว์ป่า
จังหวัดนครราชสีมามีทรัพยากรสัตว์ปา่ ทีส่ าคัญหลายชนิด เชํน ช๎างเก๎ง กวาง ลิง และนก
ชนิดตํางๆ สํวนสัตว์ป่าชนิดหายากหรือใกล๎จะสูญพันธุ์ ได๎แกํ กระทิง แมวหลายหินอํอน เลียงผา และนกเงือก
สัตว์ป่าใหญํพบในพื้นที่อุทยานแหํงชาติเขาใหญํ และอุทยานแหํงชาติทับลาน และพื้นที่ป่าสงวน แหํงชาติ
1.7.7 ทรัพยากรธรณี
จังหวัดนครราชสีมามีผลผลิตแรํและยํอยหินที่สาคัญ ซึ่งได๎แกํ หินบะซอลต์ หินปูน และ เกลือหิน
มีผู๎ถือประทานบัตร จานวน 30 ราย ครอบคลุมพื้นที่ 2,982 ไรํ 41 งาน 1,198 ตารางวา จาแนกเป็นพื้นที่แรํ
เกลือหิน 959 ไรํ 5 งาน 277 ตารางวา พื้นที่แรํหิน ดินหรือทรายอุตสาหกรรม 233 ไรํ 3 งาน 80 ตารางวา
พื้นที่แรํหินประดับชนิดหินทราย 110 ไรํ 14 งาน 412 ตารางวา พื้นที่แรํหินอํอน 290 ไรํ 7 งาน 134 ตาราง
วา พื้นที่แรํหินอํอน หินอุตสาหกรรมชนิดหินปูน 717 ไรํ 6 งาน 146 ตารางวา พื้นที่แรํหินอุตสาหกรรมชนิด
หินบะซอลต์ 673 ไรํ 6 งาน 149 ตารางวา มีมูลคําผลผลิตแรํรวมเฉลี่ย 612.72 ล๎านบาท ผลผลิตแรํที่ผลิตได๎
สูงสุด ในปี 2552 คือ หินปูน – หินอุตสาหกรรมชนิดกํอสร๎าง ผลิตได๎ 501,287 เมตริกตัน หินอํอน ผลิตได๎
408,333.63 เมตริกตัน หินบะซอลต์ ผลิตได๎ 347,071 เมตริกตัน
๑.7.8 สถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ
๑.7.8.1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์/ธรรมชาติ
1) อุทยานแหํงชาติเขาใหญํ ตั้งอยูํที่อาเภอปากชํอง และยังอยูํในเขตพื้นที่ของอีก 3
จังหวัดนครนายก สระบุรี และปราจีนบุรี
2) น้าตกมวกเหล็ก อยูํที่อาเภอปากชํอง และอยูํในเขตพื้นที่ของจังหวัดสระบุรี
3) น้าตกปักธงชัย หํางจากตัวจังหวัดประมาณ 55 กิโลเมตร
4) น้าตกวะภูแก๎ว อยูํในเขตอาเภอสูงเนิน แยกจากถนนมิตรภาพที่ตาบลมะเกลือใหมํ
ไปประมาณ 15 กิโลเมตร
5) อํางเก็บน้าลาตะคอง เป็นโครงการอํางเก็บน้าขนาดใหญํ อยูํริมถนนมิตรภาพบริเวณ
ตาบลลาดบัวขาว อาเภอสีคิ้ว เริ่มสร๎างเมื่อปี พ.ศ. 2507 เสร็จในปี พ.ศ. 2515 เงินงบประมาณ 249 ล๎านบาท
จุน้าได๎ 310 ลูกบาศก์เมตร สามารถสํงไปยังพื้นที่นาได๎ 238,000 ไรํ
6) อํางเก็บน้าลาพระเพลิง อยูํในเขตอาเภอปักธงชัย

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 37


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

7) ไทรงาม (อาเภอพิมาย) เป็นต๎นไทรขนาดใหญํซึ่งงดงามมาก มีอายุประมาณ 350 ปี


เหมาะกับการพักผํอนชมทิวทัศน์ ตั้งอยูํฝั่งแมํน้ามูล หํางจากที่วําการอาเภอพิมาย 2 กิโลเมตร
8) อํางเก็บน้าซับประดูํ ตั้งอยูํหมูํที่ 6 ถนนมิตรภาพ ตาบลมิตรภาพ อาเภอสีคิ้ว
9) สวนสัตว์นครราชสีมา ลักษณะเป็นแบบซาฟารี พื้นที่ 545 ไรํ ตั้งอยูํที่ ตาบล
ไชยมงคลอาเภอเมือง ถนนสายนครราชสีมา – ปักธงชัย ระยะทาง 18 กิโลเมตร
10) อุทยานไม๎กลายเป็นหิน ตั้งอยูํที่บ๎านโกรกเดือนห๎า หมูํที่ 7 ตาบลสุรนารี อาเภอเมือง
เส๎นผําศูนย์กลางมากกวํา 50 ซนติเมตร จานวนกวํา 10,000 ชิ้น อายุประมาณ1 – 70 ล๎านปี
11) ศูนย์วัฒนธรรมผ๎าไหมปักธงชัย อยูํในเขตตาบลเมืองปัก อาเภอปักธงชัย
12) หาดชมตะวัน อยูํในอาเภอเสิงสาง
13) หาดจอมทอง อยูํเหนืออํางเก็บน้าเขื่อนลามูลบน ชายหาดมีความยาวประมาณ 400
เมตร และกว๎างประมาณ 100 เมตร
๑.7.8.๒ แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และอารยธรรม
จังหวัด แหล่งท่องเที่ยวหลัก แหล่งท่องเที่ยวรอง แหล่งท่องเที่ยวรอง แหล่งท่องเที่ยวเสริม
ประเภทศิลปะวัฒนธรรม
นครราชสีมา 1.ปราสาทหินพนมวัน 1. ปรางค์พะโค 1. แหลํงโบราณคดีบ๎านปราสาท 1. อนุสาวรีย์ท๎าวสุรนารี
( 35 แห่ง) 2.ปราสาทหินพิมาย 2. กูํพราหมณ์จาศีล 2. พิพิธภัณฑ์สถานแหํงชาติพิมาย 2. อนุสรณ์สถานวีรกรรมบ๎านทุํง
3. ปราสาทนางรา 3. พิพิธภัณฑ์สถานแหํงชาติมหาวีร สัมฤทธิ์
4. กุฏิฤาษีน๎อย วงศ์ 3. วัดเขาจันทร์งาม
5. แหลํงหินดัดสีคิ้ว 4. หมูํบ๎านดํานเกวียน (ภาพเขียนสีโบราณ
6. ปราสาทโนนกูํ บนเพิงผาหิน)
7. ปราสาทเมืองแขก 4. วัดธรรมจักรเสมาราม
8. ปราสาทเมืองเกํา (พระพุทธรูปปางไสยยาสน์)
9. โบราณสถานเมืองเสมา 5. วัดศาลาลอย (อุโบสถแบบศิลปะ
10. ปราสาทหินบ๎านถนนหัก ไทยประยุกต์)
11. ปราสาทห๎วยแคน 6. ศูนย์วัฒนธรรมสถาบันราชภัฏ
นครราชสีมา
7. สวนน้าบุํงตาหลั่ว
เฉลิมพระเกียรติ
8. หมูํบ๎านปลูกหมํอน
เลี้ยงไหมบ๎านหลุํงประดูํสามัคคี
9. พิพิธภัณฑ์ไม๎
กลายเป็นหิน ช๎างดึก
ดาบรรพ์และไดโนเสาร์
10. ประตูชุมพล
11. วัดบ๎านไรํ
12. วัดโนนกุํม
(วิหารหลวงพํอโต)
13. ศูนย์วัฒนธรรมผ๎าไหมปักธงชัย
14. อุทยานแหํงชาติ
เขาใหญํ
15. เขื่อนลาตะคลอง
16. โฮมสเตย์บ๎านปราสาท
17. สวนสัตว์นครราชสีมา
18 ฟาร์มโชคชัย
ที่มา : สานักงานทํองเที่ยวและกีฬาจังหวัดในกลุํมจังหวัด พ.ศ.2557

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 38


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

1.8 ข้อมูลเชิงสถิติที่สาคัญเชิงพื้นที่
ตัวชี้วัด 2554 2555 2556 2557 2558
1 อัตราเพิ่มของประชากร 0.1 0.6 0.4 0.4 0.3
2 ความหนาแนํนของประชากรตํอ ตร.กม. 126.2 126.9 127.3 127.9 128.3
3 อัตราสํวนเพศ 97.8 97.8 97.7 97.7 97.6
4 อัตราเจริญพันธุ์ 1.6 1.6 1.6 1.6 -
5 อัตราเกิดตํอประชากร 1,000 คน 11.1 10.8 10.2 9.9 8.6
6 อัตราตายตํอประชากร 1,000 คน 6.5 6.3 6.6 6.8 7.0
7 อัตราการตายของทารกตํอการเกิดมีชีพ 1,000 คน 6.1 5.3 6.2 6.0 6.1
8 อัตราการตายของมารดาตํอการเกิดมีชีพ 100,000คน 14.0 21.4 11.2 11.6 22.1
9 อัตราสํวนประชากรตํอแพทย์ 1 คน 4,726 - 3,115 4,524
10 อัตราการวํางงาน 0.6 1.0 1.1 1.5 1.67
11 อัตราการวํางงานตามฤดูกาล 1.6 1.3 0.7 0.7 0.28
12 อัตราการมีงานทา 97.8 97.7 98.2 97.7 98.04
13 อัตราเพิ่มของผู๎มีงานทา 0.5 2.3 0.9 -10.1 -1.5
14 อัตราการมีสํวนรํวมในกาลังแรงงาน 70.4 71.9 72.1 70.7 69.1
15 อัตราคําจ๎างรายวัน 183 300 300 300 300
16 รายได๎เฉลี่ยตํอเดือน 19,399 - 22,479 - 26,376
(
17 คํา4 ใช๎จํายเฉลี่ยตํอเดือน 14,251 15,397 15,618 18,645
)
18 สัมประสิทธิ์ของความไมํเสมอภาคด๎านคําใช๎จําย(5 กลุํม ) 0.22 0.23 0.21 0.25 0.26
19 สัดสํวนคนจนด๎านรายได๎ 0.3 - 0.3 - -
20 สัดสํวนคนจนด๎านคําใช๎จําย 14.6 16.1 17.4 17.1 -
21 อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปี 2545 8.3 9.5 -0.9 -0.6 -
22 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดตํอหัว 83,420 92,122 96,690 -
23 สัดสํวนของเนื้อที่ถือครองทาการเกษตรตํอเนื้อที่ทั้งหมด 0.7 0.7 0.7 0.7 -
24 อัตราเพิ่มของรถจักรยานยนต์ที่จดทะเบียน 0.8 4.3 -21.7 35.3 1.4
25 สัดสํวนของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช๎คอมพิวเตอร์ 30.8 32.2 33.5 35.0 32.3
26 สัดสํวนของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่ใช๎อินเทอร์เน็ต 22.4 22.7 27.8 31.5 36.5
27 สัดสํวนของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่มีโทรศัพท์มือถือ 63.1 68.3 71.5 75.3 77.4
28 อัตราสํวนคอมพิวเตอร์ตํอประชากร 100 คน 30.8 32.2 33.5 35.0 32.4
29 อัตราสํวนผู๎ใช๎อินเทอร์เน็ตตํอประชากร 100 คน 22.4 22.7 27.8 31.5 36.5
30 จานวนโรงแรม/รีสอร์ท 300 312 360 312 312
31 อัตราการขยายตัวของนักทํองเที่ยวไทยที่เดินทางมายังจังหวัด 6.8 9.2 2.6 2.7 11.3
32 อัตราการขยายตัวของนักทํองเที่ยวตํางประเทศที่เดินทางมายัง
จังหวัด -8.0 37.4 7.1 3.6 10.8
ที่มา : รายงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2559 สานักงานสถิติจังหวัดนครราชสีมา

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 39


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

1.9 ข้อมูลสรุปผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ที่ผ่านมา ระยะ 4 ปี


(พ.ศ.2557 - 2560)
การดาเนินงานตาม แผนพัฒนาของจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2557 – 2560
ซึ่งประกอบด๎วย 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ จาแนกเป็นประเด็นยุทธศาสตร์ด๎านเศรษฐกิจ ด๎านสังคม และด๎าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม มีความสอดคล๎องกับทิศทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหํงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) เมื่อพิจารณาจากตัวชี้วัดที่สาคัญ พบวําจังหวัดนครราชสีมามีอัตรา
การขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 5 ปีย๎อนหลัง เพิ่มขึ้นร๎อยละ 9.28 ตํอปี โดยโครงสร๎างเศรษฐกิจที่สาคัญ
ประกอบด๎วยภาคเกษตรร๎อยละ 21 ภาคอุตสาหกรรมร๎อยละ 28 และภาคบริการและอื่นๆ ร๎อยละ 51 โดยมี
พื้นที่เพื่อการเกษตรประมาณ 8 ล๎านไรํ มีสินค๎าเกษตรสาคัญของจังหวัด ได๎แกํ ข๎าว ด๎านอุตสาหกรรมมีจานวน
โรงงานอุตสาหกรรมรวมกวํา 7 ,700 โรงงาน รายได๎เฉลี่ยของจังหวัดเทํากับ 96 ,690 บาท/คน/ปี ซึ่งต่ากวํา
รายได๎เฉลี่ยของประเทศ ด๎านการทํองเที่ยวแม๎ไมํใชํสาขาเศรษฐกิจหลักของจังหวัดแตํมีรายได๎จากการทํองเที่ยว
เพิ่มขึ้น โดย ณ ปี 2557 มีรายได๎รวม 13 ,511 ล๎านบาท อยํางไรก็ตามยังพบปัญหาความเหลื่อมล้าทางสังคม
โดยมีสัดสํวนคนจนร๎อยละ 17.43 เส๎นความยากจนอยูํที่ระดับ 2 ,214 บาท/คน/ปี ด๎านแรงงานยังมีอัตราการ
วํางงานอยูํที่ร๎อยละ 1.53 ซึ่งสูงกวําคําเฉลี่ยของประเทศ ด๎านทรัพยากรธรรมชาติมีพื้นที่ป่าเพิ่มขึ้นเล็กน๎อย
มีปริมาณน้าต๎นทุนที่เพียงพอตํอความต๎องการใช๎น้า ด๎านสิ่งแวดล๎อมมีการบริหารจัดการที่ดีทาให๎ปริมาณขยะลดลง
แตํมีสัดสํวนปริมาณขยะที่นากลับมาใช๎ใหมํเพียงร๎อยละ 2.99 ซึ่งลดลงจากปีกํอนหน๎ามาก คุณภาพน้าอยูํในระดับ
พอใช๎ พร๎อมทั้งมีสัดสํวนปริมาณการปลํอยก๏าซเรือนกระจกตํอมูลคําเศรษฐกิจจังหวัดลดลง ซึ่งต่ากวําคําเฉลี่ยของ
ประเทศ
จากข๎อมูลลการวัดระดับการพัฒนาดังกลําวนี้ จังหวัด จะได๎ ให๎ความสาคัญ ในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ด๎านการเกษตรอยํางตํอเนื่อง โดยเฉพาะปัจจัยหลัก คือ ดิน น้า และเส๎นทางคมนาคมขนสํงสินค๎าเกษตร เพราะ
เป็นสาขาหลักที่สร๎างรายได๎ให๎กับคนในจังหวัด และ จะให๎ความสาคัญในการแก๎ไขปัญหาด๎านความเหลื่อมล้าที่มี
เกิดขึ้นลดสัดสํวนคนจน ลดอัตราการวํางทั้งรักษาระดับความอุดมสมบูรณ์ ไมํให๎พื้นที่ป่าลดลง เพื่อให๎มีปริมาณน้า
เพียงพอตํอไป และเพิ่มสัดสํวนการนาขยะกลับไปใช๎ใหมํให๎สูงขึ้น เพื่อให๎คุณภาพชีวิตของคนในจังหวัดก๎าวหน๎า
ควบคูํความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
สรุปผลระดับการพัฒนาตามทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11
ดัชนีการพัฒนา (Composite Index) ปี 2557 จังหวัดนครราชสีมา

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 40


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

จังหวัด ดัชนีรวม
นครราชสีมา 3.33
ค่ากลาง 76 จังหวัด 3.21
ช่วงคะแนนการพัฒนา :
4.50 – 5.00 : ดีมาก
4.00 – 4.49 : ดี
3.00 – 3.99 : ปานกลาง
2.50 – 2.99 : ต้องพัฒนา
0 – 2.49 : ต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วน

การวัดระดับการพัฒนาของจังหวัดตามทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติฉบับที่
11 ใน 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ เมื่อนามาคานวณดัชนีการพัฒนา ( Composite Index) ณ ปี 2557 จังหวัด
นครราชสีมา ได๎คะแนนรวมเทํากับ 3.33 ซึ่งอยูํในระดับปานกลาง ทั้งนี้ หากพิจารณารายประเด็นยุทธศาสตร์
สามารถสรุปได๎ดังนี้
ยุทธ์ศาสตร์ที่ 1 : การสร๎างความเป็นธรรมในสังคม ได๎คะแนนเทํากับ 3.64 อยูํในระดับปานกลาง
โดยตัวชี้วัดที่ต๎องให๎ความสาคัญในการพัฒนา คือ สัดสํวนคนยากจนด๎านอาหาร ตํอคนยากจนทั้งหมด
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาคนสูํสังคมแหํงการเรียนรู๎ตลอดชีวิตอยํางยั่งยืน ได๎คะแนนเทํากับ 3.60
อยูํในระดับปานกลาง โดยตัวชี้วัดที่ต๎องให๎ความสาคัญในการพัฒนา คือ จานวนศูนย์การเรียนรู๎ชุมชนตํอจานวน
หมูํบ๎าน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ความเข๎มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ได๎คะแนนเทํากับ
3.33 อยูํในระดับปานกลาง โดยตัวชี้วัดที่ต๎องให๎ความสาคัญในการพัฒนา คือ อัตราการเพิ่มของผลผลิตเฉลี่ย
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การปรับโครงสร๎างเศรษฐกิจสูํการเติบโตอยํางมีคุณภาพและยั่งยืน ได๎คะแนน
เทํากับ 3.30 อยูํในระดับปานกลาง โดยตัวชี้วัดที่ต๎องให๎ความสาคัญในการ คือ สัดสํวนมูลคําผลิตภัณฑ์มวลรวม
สาขาเกษตรตํอผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด
ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อมอยํางยั่งยืน ได๎คะแนนเทํากับ 2.78
อยูํในระดับต๎องพัฒนา โดยตัวชี้วัดที่ต๎องให๎ความสาคัญในการพัฒนา คือ ปริมาณขยะมูลฝอย

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 41


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ระดับการพัฒนาตามทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11
รายตัวชี้วัด ปี 2557 ของจังหวัดนครราชสีมา
ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด ( * : ตัวชี้วัดอ่านค่าแบบผกผัน : ตัวชี้วัดร่วมระดับจังหวัดของ สศช.) ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลีย่ 76 จว. นครราชสีมา หน่วย
ค่าสถิติ ค่าลาดับ
 * ค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคด้านรายได้ (Gini coefficient) ลดลง 0.298 0.336 55 คะแนน Gini (0-1)
สัดส่วนแรงงานเพศหญิงต่อประชากรวัยแรงงาน เพิม่ ขึ้น 44.64 44.40 42 ร้อยละ
* อัตราพึ่งพิง ลดลง 48.42 48.45 36 ร้อยละ
การสร้างความเป็นธรรมในสังคม

คนอายุ 15-60 ปีเต็ม มีอาชีพและมีรายได้ (ตัวชีว้ ัด จปฐ) 95 97.94 97.91 40 ร้อยละ


คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึน้ ไป มีอาชีพและมีรายได้ (ตัวชีว้ ัด จปฐ) 90 93.65 93.47 34 ร้อยละ
สัดส่วนประชากรในการเข้าถึงสวัสดิการ (ความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพ) 99.84 99.90 23 ร้อยละ
ยุทธศาสตร์ที่ 1:

เพิม่ ขึ้น
สัดส่วนประชากรผูไ้ ปใช้สิทธิประกันสุขภาพ เพิม่ ขึ้น 18.70 19.29 27 ร้อยละ
สัดส่วนผูห้ ญิงในระดับบริหารหรือในระดับการตัดสินใจ เพิม่ ขึ้น 29.07 26.09 41 ร้อยละ
* จานวนคดีที่รับแจ้งต่อประชากรแสนคน ลดลง 100 52 14 คดีตอ่ ปชก.แสนคน
สัดส่วนจานวนคดีที่จับกุมได้ต่อคดีที่รับแจ้ง เพิม่ ขึ้น 58.63 87.07 3 ร้อยละ
* สัดส่วนคนยากจนด้านอาหาร ต่อคนยากจนทั้งหมด ลดลง 6.60 8.76 68 ร้อยละ
* สัดส่วนนักเรียนด้อยโอกาสต่อนักเรียนทั้งหมด ลดลง 75.76 77.68 43 ร้อยละ
จานวนนักเรียนพิการเรียนร่วมเฉลีย่ ต่อโรงเรียน เพิม่ ขึ้น 5.93 7.08 20 คนต่อโรงเรียน
คนพิการได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน ชุมชน หรือภาครัฐ (ตัวชีว้ ดั จปฐ) 100 99.69 99.55 46 ร้อยละ
* อัตรามารดาที่มีอายุนอ้ ยกว่า 15 ปี ลดลง 0.63 0.70 46 ต่อหญิงวัยเดียวกันพันคน
อัตราการเกิดมีชีพ เพิม่ ขึ้น 11.60 10.24 43 ต่อปชก.พันคน
สัดส่วนอายุยืน (ตั้งแต่ 80 ปีขนึ้ ไป) เพิม่ ขึ้น 2.00 2.10 35 ร้อยละ
* อัตราผูป้ ่วยทางสุขภาพจิต ลดลง 2,370.74 3,247.61 57 ต่อปชก.แสนคน
การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยัง่ ยืน

คะแนนเฉลีย่ สติปัญญา (IQ) เด็กนักเรียน 100 98.77 95.69 63 คะแนน


 ปีการศึกษาเฉลีย่ ของคนไทย 12 7.94 8.10 27 ปี
ระดับคะแนนเฉลีย่ O-Net 50 40.37 39.73 49 ร้อยละ
จานวนองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิน่ ไทยเฉลี่ยต่อหมู่บ้าน (ตัวชีว้ ดั กชช.2ค.) เพิม่ ขึ้น 42 31 45 คนต่อหมู่บ้าน
* อัตราเพิม่ ของการเจ็บป่วยด้วยโรคหัวใจ เบาหวาน หลอดเลือดสมอง ความดันโลหิตสูง และมะเร็ง ลดลง 3.38 7.29 64 ร้อยละ
ยุทธศาสตร์ที่ 2:

* อัตราการบริโภคยาสูบ (ตัวชีว้ ัด จปฐ) ไม่เกิน 10 6.99 7.18 48 ร้อยละ


* อัตราการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ตัวชีว้ ัด จปฐ) ไม่เกิน 10 4.87 5.61 54 ร้อยละ
คนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน(ตัวชีว้ ัด จปฐ) 95 98.04 99.15 28 ร้อยละ
คนในครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบาบัดบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม(ตัวชี้วัดจปฐ) 100 98.44 99.07 32 ร้อยละ
คนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพประจาปีเพือ่ ตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคฯ (ตัวชี้วดั จปฐ) 75 96.81 98.20 46 ร้อยละ
คนอายุ 6 ปีขึ้นไปออกกาลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที (ตัวชี้วัด จปฐ) 90 99.58 99.64 39 ร้อยละ
* อัตราเด็กที่อยู่ในการคุมประพฤติ ลดลง 1.09 0.47 11 ต่อเด็กเยาวชนพันคน
* อัตราเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว ลดลง 3.69 1.59 35 อัตราต่อแสนครัวเรือน
จานวนศูนย์การเรียนรู้ชุมชนต่อจานวนหมู่บ้าน (ตัวชีว้ ัด กชช. 2ค.) เพิม่ ขึ้น 55.72 35.18 73 ร้อยละ
จานวนศูนย์พฒ
ั นาเด็กเล็กต่อจานวนหมู่บ้าน (ตัวชีว้ ัด กชช. 2ค.) เพิม่ ขึ้น 41.65 33.60 51 ร้อยละ
คนอายุ 6 ปีขึ้นไปปฏิบัตกิ จิ กรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (ตัวชี้วัด จปฐ) 100 99.21 99.16 44 ร้อยละ
คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทากิจกรรมเพื่อประโยชน์ชุมชน(ตัวชีว้ ัด จปฐ) 100 98.60 98.67 44 ร้อยละ
สัดส่วนมูลค่าสินค้าเกษตรต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ไม่ต่ากว่า 16 10.91 13.13 58 ร้อยละ
ยุทธศาสตร์ที่ 3: ความเข้มแข็งภาคเกษตร

สัดส่วนมูลค่าสินค้าอุตสาหกรรมเกษตรต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ไม่ต่ากว่า 16 12.84 19.40 48 ร้อยละ


ความมั่นคงของอาหาร และพลังงาน

ผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญต่อไร่ เพิม่ ขึ้น 1,709 2,509 17 กก.ต่อไร่


อัตราการเพิ่มของผลผลิตเฉลีย่ เพิม่ ขึ้น 2.44 (2.77) 62 ร้อยละ
สัดส่วนฟาร์มทีไ่ ด้รับการรับรองมาตรฐานฟาร์ม (GAP) ต่อจานวนฟาร์มทัง้ หมด เพิม่ ขึ้น 1.56 1.06 44 ร้อยละ
จน.โรงงาน/สปก.ผลิตสินค้าเกษตรและอาหารทีไ่ ด้รับการรับรองมาตรฐาน GMP/HACCP เพิม่ ขึ้น 13 38 4 แห่ง
สัดส่วนรายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรต่อรายได้เงินสดสุทธิของครัวเรือนเกษตร เพิม่ ขึ้น 33.57 23.71 48 ร้อยละ
* สัดส่วนหนีเ้ สียต่อปริมาณเงินให้กยู้ ืม (NPLs/ Loan) ลดลง 3.04 2.24 27 ร้อยละ
* สัดส่วนปริมาณเงินกูย้ ืมต่อรายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตร ลดลง 128.67 191.69 49 ร้อยละ
สัดส่วนหนีใ้ นระบบต่อหนีท้ งั้ หมด เพิม่ ขึ้น 97.82 98.93 29 ร้อยละ
อัตราการเพิ่มของจานวนเกษตรกรในพืน้ ที่ เพิม่ ขึ้น (0.52) 0.20 35 ร้อยละ
สัดส่วนปริมาณพืชพลังงานต่อสินค้าเกษตรทัง้ หมด เพิม่ ขึ้น 79.32 91.63 9 ร้อยละ
สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาเกษตรต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ไม่ต่ากว่า 16 10.91 13.13 58 ร้อยละ
ยุทธศาสตร์ที่ 4: การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาอุตสาหกรรมต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ไม่ต่ากว่า 16 37.08 29.53 18 ร้อยละ


ุ ภาพและยั่งยืน

 อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด เพิม่ ขึ้น 1.34 (0.07) 47 ร้อยละ


อัตราเงินเฟ้อ ไม่เกิน 3.5 2.312 3.342 10 ร้อยละ
ผลิตภาพแรงงานเฉลีย่ เพิม่ ขึ้น 379,406 184,195.11 24 บาท/คน/ปี
สูก่ ารเติบโตอย่างมีคณ


สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาบริการต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ไม่ต่ากว่า 50 24.09 23.80 38 ร้อยละ
สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์สาขาขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าและคมนาคมต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด เพิม่ ขึ้น 5.17 3.23 28 ร้อยละ
ปริมาณการใช้นา้ มันดีเซล เพิม่ ขึ้น 192,398 765,322.47 3 พันลิตร
ปริมาณการใช้พลังงานทดแทน เพิม่ ขึ้น 74,709 223,773 4 พันลิตร
* ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลีย่ ต่อราย ลดลง 7,058.93 6,605.23 57 กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ราย
พืน้ ที่ป่าไม้ต่อพืน้ ที่จังหวัด เพิม่ ขึ้น 31.71 14.82 45 ร้อยละ
ทรัพยากรธรรมชาติแ ละสิง่ แวดล้อมอย่างยั่งยืน

พืน้ ที่ป่าอนุรักษ์ คงที่/เพิม่ ขึ้น 544,915 5,000 57 ไร่


ครัวเรือนมีนา้ ใช้เพียงพอตลอดปี (ตัวชีว้ ัด จปฐ.) 95 99.55 99.80 24 ร้อยละ
หมู่บ้านมีนา้ ใช้เพื่อการเกษตรเพียงพอตลอดปี (ตัวชีว้ ัด กชช. 2ค.) 47.19 31.17 66 ร้อยละ
ยุทธศาสตร์ที่ 6: การจัดการ

เพิม่ ขึ้น
พืน้ ที่ชลประทาน เพิม่ ขึ้น 398,126 936,574 7 ไร่
ปริมาณน้าต้นทุนเพียงพอต่อประชากร เพิม่ ขึ้น 171.54 323.00 11 ล้าน ลบ.ม.
* สัดส่วนประชากรผูป้ ระสบอุทกภัย ลดลง 10.02 3.04 36 ร้อยละ
ผลการตรวจวัดคุณภาพน้าผิวดิน (WQI) มากกว่า 60 66 67 23 คะแนน WQI (0-100)
* AQI ดัชนีคุณภาพอากาศ ไม่เกิน 100 139 111 7 คะแนน AQI
 * ปริมาณขยะมูลฝอย ลดลง 802.36 2,264.00 75 ตันต่อวัน
สัดส่วนขยะมูลฝอยที่นากลับมาใช้ใหม่ ไม่น้อยกว่า 30 19.06 2.99 73 ร้อยละ
* ร้อยละของมูลค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจทีเ่ กิดจากภัยธรรมชาติตอ่ GPP ลดลง 0.10 0.132 59 ร้อยละ
* สัดส่วนการปล่อยก๊าชเรือนกระจกต่อ GPP ลดลง 20.60 29.14 46 ตันต่อล้านบาท
หมายเหตุ: จังหวัดนครราชสีมาไม่มีขอ้ มูลตัวชีว้ ดั พืน้ ที่ป่าชายเลน และคุณภาพน้าทะเลชายฝั่ง

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 42


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

สรุปผลการดาเนินงานที่ผ่านมาเปรียบเทียบกับเป้าประสงค์แต่ละยุทธศาสตร์
ของจังหวัดนครราชสีมา
************
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาปัจจัยแวดล้อมทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมการเกษตรและเชื่อมโซ่อุปทาน
เพือ่ พัฒนาไปสูค่ รัวของโลก และฐานการผลิตพลังงานสะอาด
เป้าประสงค์
ตัวชี้วัด ผลการเปรียบเทียบ ปัญหาอุปสรรค ข๎อเสนอแนะ
เชิงยุทธศาสตร์
- ผลผลิตข๎าวหอม - เป็นศูนย์กลาง - ยังไมํสามารถเป็น - เนื่องจากพื้นดิน เห็นสมควรดาเนินการ
มะลิเฉลี่ยตํอไรํ อุตสาหกรรมอาหาร ศูนย์กลาง สํวนใหญํเป็นดินเค็ม ตํอ แตํปรับปรุง ดังนี้
เพิ่มขึ้นเป็น 480 แปรรูปของประเทศ อุตสาหกรรมอาหาร - ขาดน้าในการ - เน๎นการปรับปรุง
กก./ไรํ และของภูมิภาค แปรรูป ฯ ตาม เพาะปลูก บารุงดินเพื่อแก๎ไข
- ผลผลิตมัน อินโดจีนสูํการเป็น เป้าประสงค์ ฯ - ขาดเส๎นทาง ปัญหาดินเค็ม
สาปะหลังตํอไป “ครัวของโลก” - ยังไมํสามารถ คมนาคมขนสํง - สร๎างและปรับปรุง
เพิ่มขึ้นเป็น 4,200 - มีปัจจัยแวดล๎อม มีปัจจัยแวดล๎อม สินค๎า/ผลผลิต แหลํงน้าให๎เพียงพอ
กก./ไรํ ที่เข๎มแข็งและ ที่เข๎มแข็งและ ที่เพียงพอ ตํอการเพาะปลูก
- ร๎อยละที่เพิ่มขึ้น ศักยภาพสูงตลอด มีศักยภาพสูง - ขาดการใช๎ - สร๎างและปรับปรุง
ของพลังงานชีวมวล หํวงโซํการผลิต - ยังไมํสามารถเป็น นวัตกรรมเพื่อ ถนน เพื่อการคมนาคม
จากผลผลิตมัน - เป็นฐานการผลิต การผลิตพลังงาน เพิ่มผลผลิต ขนสํงสินค๎า/ผลผลิต
สาปะหลัง คิดเป็น พลังงานสะอาด สะอาดขนาดใหญํ - ขาดชํองทาง ที่เพียงพอ
ร๎อยละ 60 ขนาดใหญํที่สุด ที่สุดในอาเซียน การตลาด - นานวัตกรรม มาใช๎
ในอาเซียน - สภาพอากาศ ในการเพิ่มผลผลิต
แปรปรวน - แนะนาชํองทาง
การตลาด
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบโลจิสติกส์และการค้าเพื่อเป็นศูนย์กลางความเจริญของภาคอีสานและ
รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เป้าประสงค์ ผลการ ปัญหา
ตัวชี้วัด ข๎อเสนอแนะ
เชิงยุทธศาสตร์ เปรียบเทียบ อุปสรรค
- โครงขํายการ - เป็นศูนย์กลางการค๎าการ - โครงขํายการ - โครงขําย - ควรเตรียมการ
คมนาคมขนสํง ลงทุนของอีสานและภูมิภาค คมนาคมที่ได๎รับ การคมนาคม กํอสร๎างโครงขํายไว๎
ที่ได๎รับการพัฒนา อินโดจีน ที่มีระบบโลจิสติกส์ การพัฒนาและ ที่ได๎รับการ รองรับความเจริญ
และปรับปรุง ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ปรับปรุง ยังไมํ พัฒนาและ ที่จะมาพร๎อมกับ
จานวน 50 เส๎นทาง บุคลากร และเทคโนโลยี สามารถทาให๎ ปรับปรุง เป็น เส๎นทางคมนาคม
- บุคลากรได๎รับการ เพื่อรองรับการเจริญเติบโต จังหวัดเป็น เพียงเส๎นทาง สายหลัก ทั้งทางหลวง
พัฒนาสมรรถนะ ทางเศรษฐกิจและสังคม ศูนย์กลางการค๎า สายรอง ไมํใช๎ สายพิเศษ และรถไฟ
ด๎านระบบโลจิสติกส์ อยํางสมดุล การลงทุน ฯ ได๎ สายหลัก ทางคูํที่จะกํอสร๎างผําน
จานวน 400 คน จังหวัดนครราชสีมา

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 43


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อสร้างและกระจายรายได้
สูป่ ระชาชนในพืน้ ที่
ตัวชี้วัด เป้าประสงค์ ผลการเปรียบเทียบ ปัญหาอุปสรรค ข๎อเสนอแนะ
เชิงยุทธศาสตร์
- ร๎อยละที่เพิ่มขึ้น - เป็นศูนย์กลาง - ยังไมํสามารถ เนื่องจากการวัด - หากยังมี
ของรายได๎จากการ การทํองเที่ยวสีเขียว บรรลุเป้าประสงค์ เพียงร๎อยละที่ เป้าประสงค์เดิม
ทํองเที่ยว คิดเป็น แหลํงทํองเที่ยว เพิ่มขึ้นของรายได๎ จะต๎องปรับตัวชี้วัด
ร๎อยละ 16 ในปี เชิงนิเวศ สุขภาพ และจานวน และมีการ
2559 ประวัติศาสตร์ นักทํองเที่ยว เปรียบเทียบตัวชี้วัด
- ร๎อยละของ อารยธรรมขอม ไมํสามารถระบุได๎ชัด กับจังหวัดอื่น ๆ
นักทํองเที่ยวที่ ที่เกําแกํ เชื่อมโยง วํา เป็นศูนย์กลาง ด๎วย เพื่อแสดง
เพิ่มขึ้นในปี 2559 มรดกโลกและ การทํองเที่ยวสีเขียว ให๎เห็นวํา จังหวัด
คิดเป็น ร๎อยละ 11 ประเทศเพื่อนบ๎าน หรือแหลํงทํองเที่ยว เป็นศูนย์กลาง ฯ
- ร๎อยละที่เพิ่มขึ้น สูํสากล ด๎านอื่น ๆ แตํอยําง
ของมูลคําการ ใด
จาหนํายสินค๎า/
ผลิตภัณฑ์ไหม/
OTOP เทียบปี
ที่ผํานมา เทํากับ
ร๎อยละ 14

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาสังคมคุณภาพที่ทั่วถึงและยั่งยืนเพื่อสู่การเป็นเมืองน่าอยู่
ผลการ ปัญหา
ตัวชี้วัด เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ข๎อเสนอแนะ
เปรียบเทียบ อุปสรรค
- มีระบบบริการสาธารณสุข - เป็นเมืองนําอยูํ วัฒนธรรม ยังไมํบรรลุ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์
ร๎อยละ 90 ของหมูํบ๎านใน โคราช สังคมคุณภาพ เป้าประสงค์ กว๎าง และ ต๎องชัดเจน
จังหวัด สิ่งแวดล๎อม คนมีคุณภาพ มีหลาย ไมํต๎องหลาย
- ประชาชนในหมูํบ๎านได๎รับ คุณธรรม มีความสัมพันธ์ดี ประเด็น อยําง และ
การถํายทอดความรู๎และเข๎าถึง ทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน ไมํกว๎างมาก
ข๎อมูล ร๎อยละ 80 ของ และสังคม เพื่อสามารถ
หมูํบ๎าน/เป้าหมาย - ลดความเหลื่อมล้าทาง วัดได๎
- ประชาชนมีอาชีพและมี เศรษฐกิจอยํางเป็นธรรม
รายได๎เพียงพอตํอการดารงชีวิต ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยูํ
ร๎อยละ 80 ของหมูํบ๎าน ที่ดีขึ้นจากการมีงานทาและ
เป้าหมาย มีรายได๎และแก๎ไขปัญหาความ
- หมูํบ๎าน มีสํวนรํวมในการ ยากจนอยํางยั่งยืน
ประชาคมแผนชุมชน ร๎อยละ
80 ของหมูํบ๎านในจังหวัด
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 44
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการน้าอย่างบูรณาการ


ผลการ ปัญหา
ตัวชี้วัด เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ข๎อเสนอแนะ
เปรียบเทียบ อุปสรรค
- ร๎อยละของหมูํบ๎าน/ชุมชน - เป็นศูนย์กลางบริหาร ยังไมํบรรลุ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์
ที่มีสํวนรํวมในการบริหาร จัดการน้าอยํางเป็นระบบ เป้าประสงค์ ฯ ใหญํมาก คือ กับตัวชี้วัด
จัดการน้าแบบบูรณาการ เพื่อป้องกันปัญหาภัยแล๎ง เป็นศูนย์กลาง ควร
ร๎อยละ 80 ของหมูํบ๎าน อุทกภัย และน้าเสีย ของอะไร สอดคล๎อง
เป้าหมาย - ภาคีทุกภาคสํวนมีสํวนรํวม อยํางไร กัน และวัด
- จานวนระบบชลประทาน ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแล ได๎ทั้งในเชิง
ขนาดเล็ก กลาง ใหญํ ที่ รักษาแหลํงน้าในพื้นที่อยําง คุณภาพและ
กํอสร๎างเพิ่มขึ้น จานวน 70 เป็นระบบตํอเนื่อง ปริมาณ
แหํง
- ร๎อยละของหมูํบ๎าน/ชุมชน
ที่มีสํวนรํวมในการปลูก
ต๎นไม๎ ร๎อยละ 80 ของ
หมูํบ๎านเป้าหมาย

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมการปกครองระบบประชาธิปไตยและความมั่นคงของบ้านเมือง
ผลการ ปัญหา
ตัวชี้วัด เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ข๎อเสนอแนะ
เปรียบเทียบ อุปสรรค
- ร๎อยละหมูํบ๎านที่ - เป็นศูนย์กลางกองกาลัง ยังไมํบรรลุ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์
ประชาชนมีสํวนในการ เสริมสร๎างความมั่นคง เป้าประสงค์ ฯ ใหญํมาก คือ กับตัวชี้วัด
ดาเนินกิจกรรมสร๎างความ ทางการทหารที่สาคัญ เป็นศูนย์กลาง ควร
ปรองดอง ร๎อยละ 80 ของ ในภูมิภาคและประเทศ กองกาลัง ฯ สอดคล๎อง
หมูํบ๎านเป้าหมาย - เป็นศูนย์ประสานเครือขําย เป็นศูนย์ กัน และ
- อัตราร๎อยละของผู๎ใช๎สิทธิ การบริหารจัดการป้องกัน ประสาน วัดได๎ ทั้งใน
เลือกตั้ง ร๎อยละ 80 และแก๎ไขปัญหายาเสพติด เครือขําย ฯ เชิงคุณภาพ
และปัญหาสังคมความมั่นคง แตํไมํ และปริมาณ
ในพื้นที่และภูมิภาคและ สอดคล๎องกับ
ประเทศเพื่อนบ๎าน ตัวชี้วัด หรือ
กิจกรรม
แตํอยํางใด

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 45


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

สรุปผลสัมฤทธิ์ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดนครราชสีมา
************
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาปัจจัยแวดล้อมทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมการเกษตรและเชื่อมโยง
ห่วงโซ่อปุ ทานเพือ่ พัฒนาไปสูค่ รัวของโลก และฐานการผลิตพลังงานสะอาด
ผลสัมฤทธิ์ ข๎อเสนอแนะ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาปัจจัย เห็นสมควรดาเนินการตํอ โดยกาหนดแนวทางพัฒนาให๎
แวดล๎อมทางการแขํงขันของอุตสาหกรรม ชัดเจนยิ่งขึ้น ในประเด็นตําง ๆ ดังนี้
การเกษตรและเชื่อมโยงหํวงโซํอุปทานเพื่อ - เน๎นการปรับปรุงบารุงดินเพื่อแก๎ไขปัญหาดินเค็ม
พัฒนาไปสูํครัวของโลก และฐานการผลิต - สร๎างและปรับปรุงแหลํงน้าให๎เพียงพอตํอการเพาะปลูก
พลังงานสะอาด จัดเป็นยุทธศาสตร์ทางด๎าน - สร๎างและปรับปรุงเส๎นทางคมนาคม เพื่อการคมนาคม
เศรษฐกิจ ดังนั้น จังหวัดจึงได๎นามูลคําผลิตภัณฑ์ ขนสํงสินค๎า/ผลผลิตที่เพียงพอ
มวลรวมจังหวัด (GPP) เป็นเครื่องชี้วัดผลสัมฤทธิ์ - นานวัตกรรม มาใช๎ในการเพิ่มผลผลิต
ของยุทธศาสตร์นี้ ซึ่งจากข๎อมูลพบวําผลิตภัณฑ์ - เพิ่มชํองทางการตลาด
มวลรวมของจังหวัด เพิ่มขึ้นอยํางตํอเนื่อง โดยใน
ปีพ.ศ. 2558 มีมูลคํา GPP จานวน 264,964
ล๎านบาท เพิ่มขึ้นจากปีกํอน โดยมีมูลคําสูงเป็น
ลาดับที่ 1 ของภาคตะวันออก เฉียงเหนือ และ
สูงเป็นลาดับที่ 11 ของประเทศ อัตราการ
ขยายตัว ร๎อยละ 3.2 จากปีกํอน เป็นผลมาจาก
ภาค อุตสาหกรรม และภาคการเกษตร
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบโลจิสติกส์และการค้าเพื่อเป็นศูนย์กลางความเจริญของภาคอีสานและ
รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ผลสัมฤทธิ์ ข๎อเสนอแนะ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบ - ยังมีความจาเป็นต๎องดาเนินการอยํางตํอเนื่อง โดยควร
โลจิสติกส์และการค๎าเพื่อเป็นศูนย์กลางความ เตรียมการกํอสร๎างโครงขํายไว๎รองรับความเจริญที่จะมา
เจริญของภาคอีสานและรองรับประชาคม พร๎อมกับเส๎นทางคมนาคมสายหลัก ทั้งทางหลวงสายพิเศษ
เศรษฐกิจอาเซียน จัดเป็นยุทธศาสตร์ทาง และรถไฟทางคูํที่จะกํอสร๎างผํานจังหวัดนครราชสีมา
ด๎านเศรษฐกิจ ดังนั้น จังหวัดจึงได๎นามูลคํา ตลอดจนการลงทุนของห๎างสรรพสินค๎าขนาดใหญํ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) สาขาการค๎า
การลงทุน มาเป็นเครื่องชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของ
ยุทธศาสตร์นี้ โดยในภาพรวมของ GPP จังหวัด
นครราชสีมา มีมูลคําจากการค๎าการลงทุน
คิดเป็นมูลคํา 30,011 ล๎านบาท คิดเป็นร๎อยละ
12.24 ของ GPP จังหวัดนครราชสีมา โดยมี
สัดสํวนเป็นลาดับที่ 3 ของ GPP ทั้งจังหวัด
และมีมูลคํา เพิ่มขึ้นอยํางตํอเนื่อง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อสร้างและกระจายรายได้
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 46
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

สูป่ ระชาชนในพืน้ ที่


ผลสัมฤทธิ์ ข๎อเสนอแนะ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาศักยภาพ ประเด็นการทํองเที่ยว ฯ ยังมีความจาเป็นต๎องดาเนินการ
การทํองเที่ยวและผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อสร๎างและ อยํางตํอเนื่อง โดยเน๎นสํงเสริมการทํองเที่ยวของ
กระจายรายได๎สูํประชาชนในพื้นที่ จัดเป็น นักทํองเที่ยวภายในประเทศ เพื่อเป็นกลุํมหลัก
ยุทธศาสตร์ทางด๎านเศรษฐกิจ ดังนั้น จังหวัดจึง ขณะเดียวกันก็ต๎องประชาสัมพันธ์ไปยังนักทํองเที่ยว
ได๎นามูลคําผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ตํางประเทศ เพราะรายได๎ตํอหัวจะสูงกวําคนไทย ทั้งนี้
สาขาโรงแรมและภัตตาคาร มาเป็นเครื่องชี้วัด หากยังมีเป้าประสงค์เดิม จะต๎องปรับตัวชี้วัด และมีการ
ผลสัมฤทธิ์ของยุทธศาสตร์นี้ โดยในภาพรวมของ เปรียบเทียบตัวชี้วัดกับจังหวัดอื่น ๆ ด๎วย เพื่อแสดงให๎เห็น
GPP จังหวัดนครราชสีมา สาขาโรงแรมและ วํา จังหวัดเป็นศูนย์กลาง ฯ
ภัตตาคาร มีมูลคํา 2,724 ล๎านบาท คิดร๎อยละ
1.11 ของ GPP จังหวัดนครราชสีมา ลดลงจาก
ปีกํอน ถือวํา ไมํสํงผลตํอมูลคํา GPP เทําใดนัก
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาสังคมคุณภาพที่ทั่วถึงและยั่งยืนเพื่อสู่การเป็นเมืองน่าอยู่
ผลสัมฤทธิ์ ข๎อเสนอแนะ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาสังคม ประเด็นยุทธศาสตร์ด๎านสังคม ยังจาเป็นต๎องดาเนินการ
คุณภาพที่ทั่วถึงและยั่งยืนเพื่อสูํการเป็นเมือง ตํอไป แตํเป้าประสงค์ ต๎องชัดเจนไมํควรให๎มีหลาย
นําอยูํ การดาเนินโครงการมุํงเน๎นเพียงผลผลิต เป้าหมาย และต๎องจัดให๎มีตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ของโครงการ/กิจกรรม ทาให๎เกิดผลสัมฤทธิ์ ที่สอดคล๎องด๎วย
ที่ไมํชัดเจน แตํหากจะพิจารณาจากตัวชี้วัดด๎าน
เศรษฐกิจ ซึ่งเป็นสํวนหนึ่งของสังคม จะพบวํา
ในภาพรวมของ GPP จังหวัดนครราชสีมา
สาขาการบริการด๎านสุขภาพ งานสังคม
สงเคราะห์ และสาขาการให๎บริการชุมชน
สังคมและบริการอื่นๆ มีมูลคํารวม 8,310
ล๎านบาท คิดเป็นร๎อยละ 3.39 ของ GPP
จังหวัด และเพิ่มขึ้นจากปีกํอน โดยยังไมํสํงผล
ตํอมูลคํา GPP เทําใดนัก

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการน้าอย่างบูรณาการ

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 47


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ผลสัมฤทธิ์ ข๎อเสนอแนะ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนา ประเด็นยุทธศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม และการ สิ่งแวดล๎อม ยังมีความจาเป็นต๎องดาเนินการโดยเรํงดํวน
บริหารจัดการน้าอยํางบูรณาการ นั้น จังหวัด และตํอเนื่อง มุํงเน๎นที่จะบริหารจัดการน้าในชํวงฤดูฝน
นครราชสีมา มีพื้นที่ป่าไม๎เพิ่มขึ้นอยํางตํอเนื่อง เพื่อเก็บกักน้า และแจกจํายน้าเพื่อการอุปโภคบริโภค และ
ถือวํา จังหวัดมีผลสัมฤทธิ์ในเรื่องการพัฒนา การเกษตร ตามหลักวิชาการและความเหมาะสม ทั้งนี้
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม แตํในเรื่อง เป้าประสงค์กับตัวชี้วัด ควรสอดคล๎องกัน และวัดได๎ทั้งใน
ขยะ นั้น จังหวัดมีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นทุกปี แตํ เชิงคุณภาพและปริมาณ เชํนเดียวกับปัญหาขยะ จะต๎อง
ความสามารถในการกาจัดมีเทําเดิม ผลสัมฤทธิ์ สํงเสริมตั้งแตํต๎นทาง กลางทาง และปลายทาง คือ รณรงค์
จึงยังไมํเกิด เชํนเดียวกับการบริหารจัดการน้า สร๎างจิตสานึก การคัดแยกขยะ ความสามารถในการกาจัด
จังหวัดมีโครงการชลประทานขนาดใหญํ
เขื่อนกักเก็บน้า 5 โครงการ มีความจุน้ารวม
938.12 ล๎าน ลบ.ม. ปัจจุบันสามารถกักเก็บน้า
ได๎ปริมาณ 489.86 ล๎าน ลบ.ม. คิดเป็นร๎อยละ
51.67 ของความจุซึ่งสถานการณ์น้าในอํางเก็บ
น้า ลดลงจากปีที่ผํานมา โดยอํางเก็บน้าลาแชะ
และลาตะคอง มีภาวะวิกฤติมากที่สุด
เชํนเดียวกัน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมการปกครองระบบประชาธิปไตยและความมั่นคงของบ้านเมือง
ผลสัมฤทธิ์ ข๎อเสนอแนะ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 สํงเสริมการ ประเด็นยุทธศาสตร์ด๎านความมั่นคง ยังจาเป็นต๎อง
ปกครองระบบประชาธิปไตยและความมั่นคงของ ดาเนินการอยํางตํอเนื่องและจริงจัง เพื่อให๎เกิดผลสัมฤทธิ์ที่
บ๎านเมือง จังหวัดนคราชสีมา มีสํวนราชการที่มี ยั่งยืน โดยกาหนดเป้าประสงค์กับตัวชี้วัด ให๎สอดคล๎องกัน
สํวนรํวมในการเสริมสร๎างความมั่นคง ทั้งจาก และสามารถวัดได๎ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ
สํวนกลาง สํวนภูมิภาค และเข๎าถึงมวลชนใน
ระดับหมูํบ๎าน และตาบล ทาให๎เกิดความสามัคคี
ปรองดอง และมีความมั่นคงในทุกด๎าน

สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดนครราชสีมา
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 48
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560
ข้อมูล ณ วันที่ 4 กันยายน 2560
************
รัฐบาล กาหนดมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช๎จํายงบประมาณรายจํายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2560 เพื่อให๎สํวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ถือปฏิบัติ โดยรัฐบาลตั้งเป้าหมายในการ
เบิกจํายรายจํายภาพรวมเมื่อสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ไมํน๎อยกวําร๎อยละ 96 และรายจํายลงทุนไมํน๎อยกวํา
ร๎อยละ 87 ทั้งนี้ ได๎กาหนดเป็นไตรมาส ดังนี้
รายการ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
(หนํวย : ร๎อยละ) (ต.ค. – ธ.ค.) (ม.ค. –มี.ค.) (เม.ย. – มิ.ย.) (ก.ค. – ก.ย.)
1. ภาพรวม 30 52 73 96
2. งบประจา (งบดาเนินงาน และงบรายจํายอื่น) 33 55 76 98
3. งบลงทุน 19 40 61 87
จังหวัดนครราชสีมา ได๎รับการจัดสรรงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 418,818,900 บาท (สี่ร๎อยสิบแปดล๎าน
แปดแสนหนึ่งหมื่นแปดพันเก๎าร๎อยบาทถ๎วน) ณ วันที่ 4 กันยายน 2560 เบิกจํายงบประมาณแล๎วทั้งสิ้น
260,813,943 บาท (สองร๎อยหกสิบล๎านแปดแสนหนึ่งหมื่นสามพันเก๎าร๎อยสี่สิบสามบาทถ๎วน) คิดเป็นร๎อยละ
62.27 ยังไมํเบิกจําย จานวน 141,813,943 บาท (หนึ่งร๎อยสี่สิบเอ็ดล๎านแปดแสนหนึ่งหมื่นสามพันเก๎าร๎อยสี่
สิบสามบาทถ๎วน) คิดเป็นร๎อยละ 33.88 เหลือจําย 16,099,162 บาท (สิบหกล๎านเก๎าหมื่นเก๎าพันหนึ่งร๎อยหก
สิบสองบาทถ๎วน) คิดเป็นร๎อยละ 3.84 รายละเอียดปรากฏตามตารางข๎างท๎ายนี้
หนํวย
งบประมาณ ยังไมํเบิกจําย เหลือจําย
ที่ โครงการ เบิกจํายแล๎ว (บาท) ดาเนิน
(บาท) (บาท) (บาท)
โครงการ
1. โครงการสํงเสริม 4,500,000 2,685,600 1,314,400 500,000 สนง.
ความรํวมมือจัด พช.นม.
แสดงนิทรรศการ
และจาหนํายสินค๎า
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
และผลิตภณฑ์ไหม
ในประเทศกลุํม
อาเซียน
2. โครงการเสริมสร๎าง 5,133,280 5,043,129 90,151 0 สนง.พณ.
ศักยภาพ นม.
ผู๎ประกอบการ

/3. โครงการ ...

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 49


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

งบประมาณ เบิกจํายแล๎ว ยังไมํเบิกจําย เหลือจําย หนํวยดาเนิน


ที่ โครงการ
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) โครงการ
3. โครงการยกระดับ 20,000,000 8,141,600 358,400 11,500,000 สานักงาน
การพัฒนาหมูํบ๎าน พัฒนาชุมชน
เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัด
นครราชสีมา
สูํเศรษฐกิจ
สร๎างสรรค์
แบบบูรณาการ
4. โครงการ 5,000,000 1,788,931 3,211,069 0 สนง.เกษตร
ปรับเปลี่ยนพื้นที่ และสหกรณ์
ปลูกข๎าว มัน จังหวัด
นครราชสีมา
สาปะหลัง ข๎าวโพด
เลี้ยงสัตว์ ไมํ
เหมาะสมเป็นการ
ทาไรํนาสวนผสม
จังหวัด
นครราชสีมา
5. โครงการปรับ 189,194,771 126,573,286 61,634,090 1,743,825 สนง.เกษตร
โครงสร๎างพื้นฐาน และสหกรณ์
ทางการเกษตรเพื่อ จังหวัด
นครราชสีมา
ลดต๎นทุนการผลิต
6. โครงการปรับปรุง 81,189,571 59,017,170 19,816,000 2,355,971 ขทช.นม./
เส๎นทางคมนาคม ปค.อ.
เพื่อการคมนาคม
ขนสํงสินค๎า
การเกษตร
7. โครงการพัฒนา 75,568,178 34,220,178 41,348,000 0 ปค.อ.
เส๎นทางคมนาคม
และการขนสํงเพื่อ
อานวยความ
สะดวกและแก๎ไข
ปัญหาความ
เดือดร๎อนของ
ประชาชน

/8. โครงการ ...

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 50


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

งบประมาณ เบิกจํายแล๎ว ยังไมํเบิกจําย เหลือจําย หนํวยดาเนิน


ที่ โครงการ
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) โครงการ
8. โครงการเสริมสร๎าง 3,333,700 3,333,700 0 0 กอ.รมน./
อุดมการณ์รักชาติ มทบ.21
ศาสนา และ
เทิดทูนสถาบัน
พระมหากษัตริย์
9. โครงการสนับสนุน 8,000,000 6,784,265 1,215,735 0 สนง.ทสจ.
การดาเนินงานตาม
Roadmap การ
จัดการขยะมูลฝอย
และของเสีย
อันตราย
10. โครงการสํงเสริม 1,500,000 1,077,300 422,700 0 สนง.ทสจ.
การอนุรักษ์ฟื้นฟู
ลาตะคอง
11. โครงการเพิ่ม 15,399,400 4,950,300 9,693,000 0 สนง.เกษตร,
ประสิทธิภาพการ พาณิชย์,สถิติ,
บริหารจัดการน้า สจ.นม.,
อ.โนนแดง
และการผลิตสินค๎า อ.วังน้าเขียว
เกษตรจังหวัด อ.โนนไทย
นครราชสีมา เพื่อ
แก๎ไขผลกระทบ
จากภัยแล๎งอยําง
ยั่งยืน
12. คําใช๎จํายในการ 10,000,000 7,198,384 2,801,606 0 สนจ.นม.
บริหารงานจังหวัด
แบบบูรณาการ
รวมทั้งสิ้น (บาท) 418,818,900 260,813,943 141,905,162 16,099,796
ร๎อยละ 100 62.27 33.88 3.84

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 51


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ส่วนที่ 2
การวิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพ

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 52


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ส่วนที่ 2
2. การวิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพ
2.1 ข้อมูลการวิเคราะห์ความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่นจังหวัดนครราชสี มา
จังหวัดนครราชสีมา ได๎มอบหมายให๎อาเภอทัง้ 32 อาเภอ จัดการประชุมประชาคมเพื่อรับทราบ
ข๎อมูลสภาพปัญหา ความต๎องการของพื้นที่ โดยใช๎หลักการบริหารงานยุทธศาสตร์ “กลุ่มอาเภอ” เป็นรูปแบบใหมํ
ของการบริหารงานแบบบูรณาการของจังหวัด เพื่อให๎มีความเหมาะสมมากขึ้นในรูปของการรวมกลุํมอาเภอที่มี
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงในด๎านตํางๆเข๎าด๎วยกัน ซึ่งจะชํวยให๎การวางกรอบการพัฒนาและการใช๎ประโยชน์ทรัพยากร
เป็นไปอยํางมีระบบและรํวมกันแก๎ไขปัญหาระหวํางอาเภอได๎อยํางมีประสิทธิภาพ โดยมีหลักเกณฑ์และแนวทาง
ในการรวมกลุํมอาเภอ ๓ ประการ คือ
1) ยึดลักษณะเขตพื้นที่มีเส๎นทางคมนาคมและรอยตํอระหวํางอาเภอเชื่อมโยงถึงกัน
2) มีศักยภาพในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาอาเภอที่สอดคล๎องเกื้อหนุนกัน
3) มีความเกี่ยวเนื่องทางเศรษฐกิจ การผลิต การค๎า และการลงทุนเพื่อมูลคําเพิ่มและ
การได๎เปรียบในการแขํงขันรํวมกัน รวมทั้งเป็นการแก๎ไขปัญหาเรํงดํวนที่จาเป็นต๎องอาศัยความรํวมมือกันระหวําง
อาเภอ โดยแบํงกลุํมอาเภอออกเป็น ๖ กลุํม ดังนี้
1) อาเภอเมืองนครราชสีมา*, อาเภอสีคิ้ว, อาเภอปากชํอง, อาเภอสูงเนิน,อาเภอเฉลิมพระเกียรติ,
อาเภอขามทะเลสอ
2) อาเภอโชคชัย*, อาเภอปักธงชัย, อาเภอวังน้าเขียว, อาเภอครบุรี, อาเภอเสิงสาง
3) อาเภอพิมาย*, อาเภอชุมพวง, อาเภอโนนแดง, อาเภอประทาย,อาเภอลาทะเมนชัย, อาเภอเมืองยาง
4) อาเภอจักราช*,อาเภอโนนสูง, อาเภอห๎วยแถลง, อาเภอหนองบุญมาก,อาเภอโนนไทย
5) อาเภอดํานขุนทด*, อาเภอเทพารักษ์, อาเภอพระทองคา, อาเภอขามสะแกแสง,
6) อาเภอบัวใหญํ* ,อาเภอบัวลาย ,อาเภอแก๎งสนามนาง ,อาเภอสีดา ,อาเภอบ๎านเหลือม ,อาเภอคง

รวมทั้งจัดประชุมประชาคมในแตํละอาเภอด๎วย เพื่อรับทราบสถานการณ์ปัญหา ความต๎องการ และแนวทางการ


พัฒนาพื้นที่ โดยแบํงเป็นด๎านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม และความมั่นคง สรุปผลดังนี้
(1) ด้านเศรษฐกิจ
1.1 จัดหาแหลํงกักเก็บน้า ทั้งในเขตและนอกเขตชลประทาน เพื่อการเกษตรกรรมให๎เพียงพอ
ทุกฤดูกาล
1.2 พัฒนาปรับปรุงระบบชลประทานให๎ครอบคลุมพื้นที่การเกษตร
1.3 จัดรูปที่ดินให๎เหมะสมกับพื้นที่เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์
1.4 ปรับพื้นที่นาและพัฒนาที่ดิน
1.5 ปรับปรุงเส๎นทางคมนาคมขนสํงในหมูํบ๎าน/ชุมชนให๎สะดวก ปลอดภัย และรวดเร็วในการ
ขนสํงผลผลิตทางการเกษตร ให๎ครอบคลุมพื้นที่
1.6 บริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า และพลังงานทดแทน ให๎เพียงพอตํอความต๎องการของ
ประชาชน
1.7 พัฒนาน้าประปาให๎มีคุณภาพ สามารถดื่มได๎อยํางทั่วถึง และเพียงพอตํอความต๎องการ
ของประชาชน

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 53


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

1.8 พัฒนาระบบโทรคมนาคม การสื่อสารแบบไร๎สายให๎ครอบคลุมทุกพื้นที่


1.9 พัฒนาระบบ ขนสํงสาธารณะ เพื่อรองรับการขนสํงจากรถไฟทางคูํ และทางหลวงสายพิเศษ
ที่จะเข๎ามาในพื้นที่ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแขํงขัน
1.10 พัฒนาถนนเชื่อม ภายในจังหวัดให๎ครอบคลุมทั่วถึง สร๎างลานจอดรถสาหรับนักทํองเที่ยว
และห๎องสุขา
1.11 สนับสนุนการใช๎พลังงานทดแทน/ชีวมวลเพื่อลดต๎นทุนการผลิต
1.13 สนับสนุนปัจจัยการผลิตสินค๎าการเกษตร/ปศุสัตว์ที่มีคุณภาพ
1.14 สร๎างความเข๎มแข็งให๎แกํเกษตรกรและเครือขํายผู๎ปลูกข๎าวคุณภาพดี ด๎วยนวัตกรรมใหมํ
ที่ทันสมัย
1.15 สํงเสริมการรวมกลุํมเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนและสหกรณ์การเกษตร
1.16 อบรมพัฒนาชาวนาให๎เป็นวิทยากรและมืออาชีพด๎านการผลิต
1.17 สนับสนุนศูนย์ข๎าวชุมชน พัฒนาเครือขํายสมาชิกให๎เชื่อมโยงทุกระดับ
1.18 สํงเสริมเกษตรกรเลี้ยงปลาในนาข๎าว เพิ่มอินทรีย์วัตถุ
1.19 สํงเสริมการนานวัตกรรมใหมํที่มีความทันสมัย และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช๎ในการเกษตร
1.20 พัฒนาเกษตรกรให๎มีความรู๎ มีทักษะ เพิ่มมากขึ้นและให๎ความรู๎การพัฒนาการปลูก
ป้องกันศัตรูพืช พัฒนาด๎านการผลิตพืชให๎ได๎มาตรฐาน GAP วิทยาการกํอนและหลังการเก็บเกี่ยว
1.21 เพิ่มประสิทธิภาพระบบด๎านการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร เชํน มันสาปะหลัง
ข๎าว และอ๎อยโรงงาน ควรสนับสนุนเกษตรกรรายยํอยเพิ่มมากขึ้น
1.22 หาชํองทางการตลาดเพื่อเป็นเป้าหมายแกํการสํงออก
1.23 การทาตารางการปลูกพืชผลแตํละฤดูกาลของเกษตรกร เพื่อเป็นแนวทางให๎เกษตรกร
1.24 จัดทาระบบข๎อมูลขําวสารให๎เป็นปัจจุบัน และประชากรเข๎าถึงได๎งําย
1.25 สํงเสริมการแปรรูปอาหาร ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรให๎มีมาตรฐานในการสํงออก
1.26 สํงเสริมการนาหลักเกษตรอินทรีย์ และเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎
1.27 จัดอบรมทักษะฝีมือแรงงานและการใช๎ด๎านภาษาให๎กับแรงงาน ผู๎ประกอบการ
1.28 สร๎างเครือขํายและพัฒนาคุณภาพสินค๎า เพื่อยกระดับสูํสากล
1.29 ให๎ความรู๎เรื่องหลักธรรมาภิบาล และมีแนวทางในการจัดระเบียบ เพื่อให๎สังคมของ
ประเทศทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชน และภาคประชาชน สามารถอยูํรํวมกันได๎อยํางสงบสุข
1.30 ทบทวนเรื่องนโยบายของรัฐ ปริญญาตรี 15,000 บาท เพราะ SMEs ขนาดกลางได๎รับ
ผลกระทบทาให๎ต๎นทุนการผลิตสูงขึ้น
1.31 เปิดโอกาสในการบริการ One Stop Service ด๎านการสํงออก-นาเข๎าในเขตภาคตํางๆ
1.32 สํงเสริมจัดตั้งศูนย์จาหนํายสินค๎าในตัวจังหวัด เพื่อให๎โอกาสเข๎าถึงผู๎บริโภค
1.33 สร๎างโอกาสในการเพิ่ม Value Chain กับกลุํมตํางๆ
1.34 เรํงการปรับตัวให๎เร็วตํอการเคลื่อนไหวของสินค๎าในการจัดซื้อของใช๎
1.35 เพิ่มทักษะความรู๎การจัดการด๎านโลจิสติกส์
1.36 สนับสนุนการเข๎าไปลงทุนอุตสาหกรรมในประเทศเพื่อนบ๎าน เพราะยังมีพื้นที่ที่นําลงทุน
จานวนมากและมีแรงงาน
1.37 สนับสนุนให๎เกิดศูนย์กลางเกษตรและอาหารปลอดภัย Food Valley
1.38 สํงเสริมและสนับสนุนให๎เกิดกลุํม Start Up
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 54
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

(2) ด้านสังคม
2.1 แก๎ไขปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้าของรายได๎
2.2 แก๎ไขปัญหาการกระจายรายได๎ให๎ทั่วถึงทั้งจังหวัด
2.3 จัดระบบประกันสังคมให๎ครอบคลุมผู๎อยูํในวัยทางาน
2.4 จัดให๎มีระบบการศึกษาอยํางทั่วถึง ตลอดชํวงชีวิต
2.5 จัดให๎มีการพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อให๎คําเฉลี่ย O-net ผํานเกณฑ์มาตรฐาน
2.6 จัดให๎มีบุคลากรทางการแพทย์ให๎เพียงพอตํอความต๎องการของประชาชน
2.7 จัดให๎มีการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนอยํางทั่วถึง
2.8 จัดให๎มีศูนย์ชํวยเหลือสัตว์เรํรํอน
2.9 การขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
(3) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.1 จัดให๎มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ป้องกัน และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อมอยํางทั่วถึง
และจริงจัง ตํอเนื่อง
3.2 จัดให๎มีระบบการกาจัดขยะอยํางทั่วถึง มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเพียงพอ
3.3 ลดการใช๎พลังงานเชื้อเพลิง
3.4 ลดการใช๎พลังงานไฟฟ้า
(4) ด้านความมั่นคง
4.1 เสริมสร๎างความมั่นคงเพื่อปกป้องสถาบันหลักของชาติ
4.2 การป้องกันและปราบปรามปัญหายาเสพติด แรงงานตํางด๎าว การค๎ามนุษย์ การบุกรุก
ทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม การกํอการร๎ายและอาญากรรมข๎ามชาติ การป้องกันภัยคุกคามรูปแบบ
ใหมํ การป้องกันและแก๎ไขปัญหาภัยพิบัติ การป้องกันและรักษาความสงบเรียบร๎อยภายในจังหวัด การป้องกันและ
แก๎ไขปัญหาสาธารณภัย
(5) ด้านบริหารจัดการภาครัฐ
5.1 เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการของข๎าราชการ พนักงาน ลูกจ๎าง ของรัฐ
5.2 เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาองค์กร เพื่อให๎เกิดความพึงพอใจของประชาชน

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 55


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

2.2 ข้อมูลการวิเคราะห์ศักยภาพของจังหวัดนครราชสีมา
(1) ด้านเศรษฐกิจ
จังหวัดนครราชสีมามีมูลคําผลิตภัณฑ์ มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product : GPP) เพิ่มขึ้น
อยํางตํอเนื่อง โดยในปีพ.ศ. 2558 มีมูลคํา GPP สูงถึง 264,964 ล๎านบาท เพิ่มขึ้นจากปีกํอน โดยมีมูลคําสูงเป็น
ลาดับที่ 1 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และสูงเป็นลาดับที่ 11 ของประเทศ (กรุงเทพมหานคร มีมูลคําสูงเป็น
ลาดับที่ 1 ของประเทศ ที่มูลคํา 4,437,408 ล๎านบาท รองลงมา คือ จังหวัด ระยอง ที่มูลคํา 862,613
ล๎านบาท) อัตราการขยายตัว ร๎อยละ 3.2 จากปีกํอน

เมื่อพิจารณาจากโครงสร๎างผลิตภัณฑ์มวลรวม จะเห็นได๎วํา ภาคอุตสาหกรรม มีมูลคําสูงสุดที่


84,515 ล๎านบาท คิดเป็นร๎อยละ 31.89 รองลงไป คือ ภาคเกษตรกรรม มีมูลคํา 39,838 ล๎านบาท คิดเป็น
ร๎อยละ 15.03 รองลงไป คือ การขายสํง ขายปลีก มีมูลคํา 33,436 ล๎านบาท คิดเป็นร๎อยละ 12.61 รวมทั้ง
ปัจจัยความเจริญทางเศรษฐกิจที่กาลังจะเข๎ามาในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ในชํวงของแผนพัฒนาจังหวัด ฯ
ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทั้งจากรถไฟทางคูํ ทางหลวงสายพิเศษ และการลงทุนของห๎างสรรพสินค๎า
หลายแหํง
จังหวัดนครราชสีมา จึงมุํงเน๎นให๎ความสาคัญกับการเกษตรเพื่ออุตสาหกรรม และการขนสํง การค๎า
ปลีก และที่จะทาให๎เศรษฐกิจของจังหวัดมีมูลคําเพิ่มขึ้นอยํางตํอเนื่อง
ภาพรวมผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) นครราชสีมา
ปี พ.ศ.
รายการ
2555 2556 2557 2558
ภาคเกษตร (ล้านบาท) 44,581 49,373 42,574 40,256
เกษตรกรรม การลําสัตว์ และ
การป่าไม๎
44,218 48,974 42,179 39,838
การประมง 363 400 395 419
ภาคนอกการเกษตร (ล้านบาท) 188,984 206,092 211,400 224,707
การทาเหมืองแรํและเหมืองหิน 1,931 1,916 1,916 2,396
อุตสาหกรรม 63,377 76,050 80,521 84,515
การไฟฟ้า แก๏สและการประปา 5,746 6,311 6,955 6,797
การกํอสร๎าง 14,436 13,888 12,878 12,946
การขนสํง การค๎าปลีก 26,933 29,161 30,690 33,436
โรงแรมและภัตตาคาร 2,564 2,917 3,075 3,854
การขนสํง สถานที่เก็บสินค๎าการ
7,890 7,723 7,533 7,713
คมนาคม
ตัวกลางทางการเงิน 10,051 12,410 13,470 14,480
บริการด๎านอสังหาริมทรัพย์ 9,602 7,517 8,334 8,796
การบริหารราชการและการ
19,974 19,459 16,310 17,210
ป้องกันประเทศ
การศึกษา 17,828 19,550 20,009 22,229

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 56


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ปี พ.ศ.
รายการ
2555 2556 2557 2558
การบริการด๎านสุขภาพ งาน
สังคมสงเคราะห์
5,297 5,622 6,120 6,600
การให๎บริการชุมชน สังคม และ
บริการอื่นๆ
2,488 2,654 2,602 2,659
ลูกจ๎างในครัวเรือนสํวนบุคคล 867 894 985 1,075
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP)
233,565 255,465 253,974 264,964
(ล๎านบาท)
ผลิตภัณฑ์จังหวัดตํอหัว
92,951 101,870 101,449 106,000
(GPP per capita) (บาท)
ประชากร Population (1,000 คน) 2,513 2,508 2,503 2,500

สาหรับ รายได๎ตํอหัว ( GPP per capita) เทํากับ 97,963 บาท เป็น ลาดับที่ 2 ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ เป็นลาดับที่ 38 ของประเทศ (จังหวัดระยอง เป็นลาดับที่ 1 ของประเทศ มีมูลคํา 1,008,615
บาท/คน/ปี รองลงมา คือ กรุงเทพมหานคร มีมูลคํา 481,118 บาท/คน/ปี) เมื่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด
เพิ่มขึ้น ยํอมสํงผลให๎รายได๎ตํอหัวเพิ่มขึ้นตามไปด๎วย
(2) ด้านเกษตรกรรม
จากการวิเคราะห์สัดสํวนมูลคํา GPP ด๎านเกษตรกรรม มีมูลคํา 41,712 ล๎านบาท คิดเป็นร๎อยละ
17.01 ลดลงจากปีกํอน เนื่องจากพื้นที่ทาการเกษตรกรรมลดลง รวมทั้งผลผลิตตํอไรํลดลง แตํก็มี ความสาคัญ
รองจากด๎านอุตสาหกรรม แตํสํงผลกระทบตํอประชาชนสํวนใหญํของจังหวัด เนื่องจากประชาชนสํวนใหญํ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
จังหวัดนครราชสีมา จึงมุงํ เน๎นทีจ่ ะสํงเสริมและปรับปรุงการเพาะปลูก พืชเศรษฐกิจที่สาคัญ ได๎แกํ
ข๎าว มันสาปะหลัง ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว์ และอ๎อย โรงงาน รวมทั้ง สัตว์เศรษฐกิจได๎แกํ โคเนื้อ ไกํพื้นเมือง สุกร ฯลฯ
โดยใช๎นวัตกรรมใหมํ รวมทั้งปรับปรุง และจัดหาแหลํงน้าเพื่อการเกษตร ตลอดจนปรับปรุงและกํอสร๎างเส๎นทาง
คมนาคมขนสํงผลผลิต ทางการเกษตร เพื่ออานวยความสะดวกในการขนสํงผลผลิต และลดระยะเวลาในการขนสํง
พืชเศรษฐกิจสาคัญ
1) ข๎าว มีพื้นที่ปลูกข๎าวทั้งหมด 4,319,122 ไรํ แยกเป็น
1.1) ข๎าวนาปี 3,614,313 ไรํ ผลผลิต 1.177 ล๎านตัน ผลผลิตเฉลี่ย 413.65 กก.ตํอไรํ
1.2) ข๎าวนาปรัง 429,421 ไรํ ผลผลิต 263,758 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 617 กก.ตํอไรํ
2) พืชไรํ มีพื้นที่ปลูกทั้งหมด 3,736,595 ไรํ แยกเป็น
2.1) มันสาปะหลัง 1,708,835 ไรํ ผลผลิต 5.58 ล๎านตัน ผลผลิตเฉลี่ย 3,799 กก.ตํอไรํ
2.2) อ๎อยโรงงาน 828,429 ไรํ ผลผลิต 9.318 ล๎านตัน ผลผลิตเฉลี่ย 36,847 กก.ตํอไรํ
2.3) ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว์ 398,705 ไรํ ผลผลิต 286,729 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 817 กก.ตํอไรํ
2.4) พืชไรํชนิดอื่นๆ 536,791 ไรํ

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 57


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

สัตว์เศรษฐกิจสาคัญ
สัตว์เศรษฐกิจสาคัญทีส่ ร้างรายได้ในจังหวัดนครราชสีมา ได๎แกํ โคเนื้อ โคนม กระบือ ไกํเนื้อ/ไกํ
พื้นเมือง และสุกร มีเกษตรกรผู๎เลี้ยงสัตว์ 216,511 ครัวเรือน สัดสํวนมูลคําเพิ่ม ณ ราคาประจาปี สาขา ปศุสัตว์
6,965 ล๎านบาท
1) โคเนื้อ (พันธุ์โคราชวากิว/ลูกผสม) ปริมาณผลิตเพิ่มขึ้นอยํางตํอเนื่องทุกปี ในปี 2558 จานวน
303,777 ตัว ราคาผลิต 15,004 บาท/ตัว ผลผลิตอันดับ 1 ของประเทศ
2) โคนม/น้านมดิบ ปริมาณผลิตโคนม ในปี 2558 จานวน 97,778 ตัว ผลิตน้านมดิบ จานวน
164,053,199 ลิตร ผลผลิตอันดับ 2 ของประเทศ
3) ไกํ (ไกํเนื้อ/ไกํพื้นเมือง) ผลผลิตเพิ่มขึ้นอยํางตํอเนื่องทุกปี ในปี 2558 จานวน 35.33 ล๎านตัว
ราคาผลิต 76 บาท/ตัว ผลผลิตอันดับ 4 ของประเทศ
4) สุกร (สุกรขุน/พันธุ์) ปริมาณผลิตปี 2558 จานวน 544,902 ตัว ราคาผลิต 7,952 บาท/ตัว
ผลผลิตอันดับ 5 ของประเทศ
5) กระบือ ปริมาณผลิตเพิ่มขึ้น ในปี 2558 จานวน 31,461 ตัว ราคาผลิต 17,067 บาท/ตัว
ผลผลิตอันดับ 9 ของประเทศ
(3) ด้านอุตสาหกรรม
จากการวิเคราะห์สัดสํวนมูลคํา GPP ด๎านอุตสาหกรรมตํอมูลคํา GPP โดยรวมของจังหวัด พบวํา
กิจกรรมทางอุตสาหกรรมของจังหวัดนครราชสีมา มีมูลคํา 84,515 ล๎านบาท คิดเป็นร๎อยละ 31.89 ของ GPP
ของจังหวัด โดยมีมูลคําเพิ่มขึ้นอยํางตํอเนื่อง จึง มีความสาคัญตํอจังหวัด เป็นอยํางยิ่ง เพราะมี ศักยภาพในการ
พัฒนาให๎เติบโตขึ้นเพื่อเป็นแรงขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจของจังหวัด
จังหวัดนครราชสีมา จึงเน๎นที่จะสํงเสริมอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล๎อม
ณ สิ้นปี พ.ศ.2559 จังหวัดมีโรงงานอุตสาหกรรม 2,632 โรง เงินลงทุน 174,075.57 ล๎านบาท
คนงาน 146,657 คน
จานวนโรงงาน เงินลงทุน และคนงาน แยกตามประเภทโรงงาน
จาพวก จานวนโรงงาน (โรง) จานวนเงินลงทุน (ล้านบาท) จานวนคนงาน (คน)
2 624 1,620.93 5,032
3 1,990 172,454.64 141,657
รวม 2,632 174,075.57 146,689

ขนาดการลงทุน
ขนาดการลงทุน จานวนโรงงาน จานวนเงินลงทุน จานวนคนงาน
(โรง) (ล้านบาท) (คน)
ขนาดเล็ก (เงินทุน < 10 ล๎านบาท) 1,673 4,224.73 18,003
ขนาดกลาง (เงินทุน 10-100 ล๎านบาท) 692 23,346.83 29,404
ขนาดใหญํ (เงินทุน > 100 ล๎านบาท) 267 146,504.01 99, 282
รวม 2,632 174,075.57 146,689

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 58


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

อุตสาหกรรมที่มีการลงทุน ได๎แกํ
1) อุตสาหกรรมการเกษตร มีโรงงานอุตสาหกรรมการเกษตร จานวน ทั้งสิ้น 399 โรง เงินลงทุน
11,658.63 ล๎านบาท มีการจ๎างแรงงาน 7,712 คน คิดเป็นร๎อยละ17.22 ของโรงงานทั้งหมด
2) อุตสาหกรรมขนสํง มีโรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับการขนสํง จานวน 292 โรง เงินลงทุน
7,495.85 ล๎านบาท มีการจ๎างแรงงาน 7,337 คน ร๎อยละ12.60 ของโรงงานทั้งหมด มีการขยายตัวคงที่
3) อุตสาหกรรมอโลหะ มีโรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับอโลหะ จานวน 284 โรง เงินลงทุน
3,196.96 ล๎านบาท มีการจ๎างแรงงาน 4,322 คน คิดเป็นร๎อยละ 12.26 ของโรงงานทั้งหมด โดยอุตสาหกรรม
อโลหะมีการขยายตัวคงที่
4) อุตสาหกรรมอาหาร มีโรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับอาหาร จานวน 229 โรง เงินลงทุน
18,382.13 ล๎านบาท มีการจ๎างแรงงาน 14 ,956 คน คิดเป็นร๎อยละ 9.88 ของโรงงานทั้งหมดโดย
อุตสาหกรรมอาหาร มีการขยายตัวคงที่
5) อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล มีโรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องจักรกล จานวน 188 โรง
เงินลงทุน 6 ,057.93 ล๎านบาท มีการจ๎างแรงงาน 11 ,595 คน คิดเป็นร๎อยละ 8.11 ของโรงงานทั้งหมด
โดยอุตสาหกรรมอาหาร มีการขยายตัวคงที่
อาเภอที่มีการลงทุนมากที่สุด ได๎แกํ อา เภอเมืองนครราชสีมา 800 โรงงาน เงินลงทุน 45,409.27
ล๎านบาท คนงาน 50,932 คน รองลงมา ได๎แกํ อาเภอปากชํอง 359 โรงงาน เงินลงทุน 21,340.02 ล๎ านบาท
คนงาน 15,831 คน อาเภอสูงเนิน 133 โรง เงินลงทุน 15,935.35 ล๎านบาท คนงาน 27,467 คน อา เภอ
ดํานขุนทด 126 โรง เงินลงทุน 12,922.02 ล๎านบาท คนงาน 1,837 คน ตามลาดับ
ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดนครราชสีมามีความโดดเดํนในประเด็นด๎านกลยุทธ์การแขํงขัน โดยเฉพาะ
ด๎านความรวดเร็วในการจัดสํง และประเด็นด๎านปัจจัยการผลิตโดยเฉพาะด๎านปริมาณ คุณภาพ และระดับราคา
ของวัตถุดิบ อยํางไรก็ดียังสามารถเพิ่มขีดศักยภาพการแขํงขันของตนเองได๎ตามประเด็นดังตํอไปนี้
 ด๎านปัจจัยการผลิต - ควรมีการลงทุนในสํวนการวิจัยและพัฒนาเพิ่มเติม
 ด๎านอุตสาหกรรมสนับสนุน - จาเป็นต๎องเพิ่มจานวนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข๎องทั้งในเชิงปริมาณและ
คุณภาพ และพัฒนาความเชื่อมโยงซึ่งกันและกันตลอดหํวงโซํอุตสาหกรรม
 ด๎านรัฐบาล - ควรมีการให๎ข๎อมูลและการสนับสนุนนโยบายที่เกี่ยวข๎องกับการทา FTA โดยตรง
พร๎อมยกระดับมาตรฐานการผลิตโดยรวม
 ด๎านการแขํงขันและกลยุทธ์ - ควรมีการลงทุนเพื่อสร๎างมูลคําเพิ่มจากตราสินค๎า การพัฒนาสินค๎า
และการขยายตลาด
 ด๎านอุปสงค์ - ควรมีการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข๎องกัน (Cluster)

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 59


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

( 4) ด้านการท่องเที่ยว
จังหวัดนครราชสีมา มีรายได๎จากการทํองเที่ยว ในปี พ.ศ.2559 จานวน 17,418.41 ล๎านบาท
เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2558 ที่มีรายได๎ จานวน 15,818.21 ล๎านบาท จานวนนักทํองเที่ยว 8,321.239 คน
เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2558 ที่มีนักเที่ยว รวม 7,879,571 คน เป็นนักทํองเที่ยวชาวไทย จานวน 8,173,786 คน
และนักทํองเที่ยวชาวตํางประเทศ จานวน 147,453 คน คําใช๎จํายเฉลี่ย จานวน 2,131 บาท/คน/วัน
ปี พ.ศ. จานวนนักทํองเที่ยว นักทํองเที่ยวชาวไทย นักทํองเที่ยวชาวตํางชาติ รายได๎จากนักทํองเที่ยว
(รวม) (คน) (คน) (ล๎านบาท)
2557 7,063,059 6,930,725 132,334 13,511.26
2558 7,879,571 7,737,834 141,737 15,818.21
2559 8,321,239 8,173,786 147,453 17,418.41
จากสถิติจานวนนักทํองเที่ยว คําใช๎จํายตํอวันตํอคน และรายได๎จากการทํองเที่ยว สามารถวิเคราะห์
ประเด็นทิศทางการพัฒนาการทํองเที่ยวของจังหวัดนครราชสีมาได๎ดังนี้
 จังหวัดมีจานวนนักทํองเที่ยวและรายได๎จากนักทํองเที่ยวไทยเป็นหลัก นโยบายการทํองเที่ยว
 จังหวัดขาดจานวนนักทํองเที่ยวตํางชาติ จึงควรมีนโยบายด๎านการประชาสัมพันธ์และการสร๎าง
ความตระหนักการทํองเที่ยวตํอนักทํองเที่ยวตํางชาติให๎เพิ่มมากขึ้น
(5) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5.1 ด้านทรัพยากรน้า
จังหวัดนครราชสีมามีโครงการชลประทานขนาดใหญํ เขื่อนกักเก็บน้า 5 โครงการ ได๎แกํ
เขื่อนลาตะคอง เขื่อนลาพระเพลิง เขื่อนมูลบน เขื่อนลาแชะ เขื่อนลาประมาศ มีความจุน้า 938.12 ล๎าน ลบ.ม.
ปัจจุบันกักเก็บน้าได๎ปริมาณ 489.86 ล๎าน ลบ.ม. คิดเป็นร๎อยละ 51.67 ซึ่งสถานการณ์น้าในอํางลดลงจาก
ปีที่ผํานมา (สภาพน้าปีที่แล๎วมีปริมาณ 955.78 ล๎านลบ.ม.คิดเป็นร๎อยละ 100.82) อํางเก็บน้าลาแชะ
ลาตะคอง มีภาวะวิกฤติมากที่สุด
นอกจากนี้ มีโครงการชลประทานขนาดกลาง 22 แหํง มีความจุ 226.73 ล๎าน ลบ.ม.
ปัจจุบันกักเก็บน้าได๎ 116.80 ล๎านลบ.ม คิดเป็นร๎อยละ 51.52 ในขณะปีที่ผํานมาสามารถกักเก็บน้าได๎
218.58 ล๎าน ลบ.ม. คิดเป็นร๎อยละ 96.40
จังหวัดนครราชสีมา จึงมุํงเน๎นที่จะบริหารจัดการน้าในชํวงฤดูฝน เพื่อเก็บกักน้า และแจกจําย
น้าเพื่อการอุปโภคบริโภค และการเกษตร ตามหลักวิชาการและความเหมาะสมตํอไป
5.2 ด้านป่าไม้
จากการวิเคราะห์ข๎อมูลของประเทศพบวํา จังหวัดนครราชสีมามีพื้นที่ป่าไม๎ทั้งหมด
1,929,491.88 ไรํ คิดเป็นร๎อยละ 14.89 ของพื้นที่ ทั้งจังหวัด โดยพื้นที่ป่าไม๎เพิ่มขึ้นทุกปี แตํก็ต๎องเฝ้าระวัง
การลักลอบตัดไม๎ทาลายป่าอยํางจริงจังและตํอเนื่อง
ปี พ.ศ. พื้นที่ (ตร.กม.) พื้นที่ (ไร่) % ของพื้นที่จังหวัด
๒๕๕๒ ๓,๑๒๗.๕๔ ๑,๙๕๔,๗๑๒.๕๐ ๑๕.๒๖
๒๕๕๖ ๓,๐๗๐.๖๑ ๑,๙๑๙,๑๒๘.๕๐ ๑๔.๙๘
2557 3,072.80 1,920,535.40 14.99
2558 3,087.19 1,929,491.88 15.06

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 60


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

5.3 ด้านขยะ
ตัวชี้วัดที่บํงชี้ข๎อมูลปัญหาสาคัญซึ่งมีผลกระทบอยํางรุนแรงตํอสิ่งแวดล๎อมในอนาคต คือ
ปริมาณขยะ โดยพบวําจังหวัดนครราชสีมา มีปริมาณขยะสูง ถึง 837,310 ตัน/ปี หรือ 2,264 ตัน/วัน แตํ
ปริมาณที่เก็บขนไปกาจัดได๎ เพียง 1,173 ตัน/วัน เทํานั้น
จังหวัดนครราชสีมา จึงมุงํ เน๎นทีจ่ ะเพิม่ ความสามารถในการกาจัดปริมาณขยะ ขณะเดียวกัน
ก็ต๎องรณรงค์ให๎ประชาชนมีการคัดแยกขยะ เพื่องํายตํอการกาจัดด๎วย
5.4 ด้านภัยธรรมชาติ
- ปัญหาอุทกภัย ในปี พ.ศ.2559 ประชาชนประสบอุทกภัย จานวน 3,061 คน สูงขึ้นจากปี
กํอน ที่มีจานวนผู๎ประสบอุทกภัย จานวน 1,299 คน อีกทั้งเกิดปัญหาน้ากัดเซาะตลิ่ง ในพื้นที่ลาน้าสายหลัก เชํน
ลาน้ามูล ในพื้นที่อาเภอปากชํอง อาเภอสีคิ้ว อาเภอสูงเนิน อาเภอเมืองนครราชสีมา อาเภอเฉลิมพระเกียรติ
อาเภอพิมาย อาเภอชุมพวง ฯลฯ
- ปัญหาวาตภัย ในปี พ.ศ.2559 ประชาชนประสบวาตภัย จานวน 5,782 คน สูงกวําปีกํอน
ที่มีจานวนผู๎ประสบวาตภัย จานวน 5,755 คน
- ปัญหาภัยแล๎ง ในปี พ.ศ.2559 ประชาชนประสบภัยแล๎ง จานวน 64,942 คน สูงกวําปี
กํอนที่มีผู๎ประสบภัยแล๎ง จานวน 62,403 คน
(6) ด้านความมั่นคง
จังหวัดนครราชสีมา เป็นศูนย์กลางในการป้องกันภัยคุกคาม และเสริมสร๎างความมั่นคง เพื่อปกป้อง
สถาบันหลักของชาติ โดยเป็นที่ตั้งของกองบัญชาการกองทัพภาคที่ 2 กองทัพน๎อยที่ 2 กรมทหารปืนใหญํที่ 3
กองบัญชาการมณฑลทหารบกที่ 21 กองบัญชาการตารวจภูธรภาค 3 และหนํวยงานที่มีภารกิจด๎านความมั่นคง
อื่น ๆ จึงมีศักยภาพในการดาเนินภารกิจด๎านความมั่นคง เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ
ประชาชน ตลอดจนเสริมสร๎างความมั่นคงเพื่อปกป้องสถาบันหลักของชาติในทุกสถานการณ์
(6.1) ด๎านความมั่นคงระดับตาบล จังหวัดนครราชสีมา เน๎นให๎เกิดความมั่นคงในระดับตาบล และ
แบํงกลุํมเป้าหมายออกเป็น 2 กลุํม โดยกลุํมแรก คือ ตาบลที่ต๎องให๎ความสาคัญเป็นลาดับที่ 1 มีด๎วยกัน จานวน
115 หมูํบ๎าน และลาดับที่รองลงไป มีด๎วยกัน จานวน 124 หมูํบ๎าน ซึ่งจะทาให๎จังหวัดนครราชสีมา มีความมั่นคง
ในทุกมิติ ทั้งด๎านเศรษฐกิจ สังคม อาหารและพลังงาน
(6.2) ด๎านปัญหายาเสพติด
จากรายงานผลการปราบปรามยาเสพติดทัว่ ประเทศ ปี 2555 – 2558 ของสานักงาน
ป.ป.ส. ในปี พ.ศ.2558 จังหวัดนครราชสีมา มีผลการจับกุม ทั้งสิ้น 9,300 คดี เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2557 ที่มีการ
จับกุมทั้งสิ้น 6,561 คดี คิดเป็นร๎อยละ 141.75 ผู๎ต๎องหารวม 9,511 คน เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2557 ที่มี
ผู๎ต๎องหา 6,829 คน คิดเป็นร๎อยละ 139.27 แสดงให๎เห็นวํา จังหวัดนครราชสีมา ยังคงประสบกับปัญหายาเสพ
ติดอยูํ โดยเฉพาะ เมทแอมเฟตามีน(ยาบ๎า) และกัญชาแห๎ง ทั้งนี้ มีแนวโน๎มเพิ่มขึ้น สํงผลตํอไปยังปัญหาความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
(6.3) ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
ในรอบปี พ.ศ.2558 จังหวัดนครราชสีมา มีสถิติคดีอาชญากรรม เพิ่มขึ้น อยูํ 3 กลุํม
ประกอบด๎วย
6.3.1 กลุํมคดีประทุษร๎ายตํอชีวิต รํางกาย และเพศ จานวน 698 คดี เพิ่มขึ้นจากปี
กํอน โดยสามารถจับกุมได๎ 643 คดี คิดเป็นร๎อยละ 92.12

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 61


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

6.3.2 กลุํมคดีประทุษร๎ายตํอทรัพย์ จานวน 1,883 คดี เพิ่มขึ้นจากปีกํอน โดย


สามารถจับกุมได๎ 1,615 คดี คิดเป็นร๎อยละ 85.77 ของคดีที่รับแจ๎ง
6.3.4 กลุํมคดีที่นําสนใจ จานวน 1,402 คดี เพิ่มขึ้นจากปีกํอน โดยสามารถจับกุมได๎
675 คดี คิดเป็นร๎อยละ 48.15 ของคดีที่รับแจ๎ง
ขณะเดียวกันกลุํมคดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ และกลุํมคดีที่รัฐเป็นผู๎เสียลงลดลง แตํ
ยังอยูํในระดับที่สูงพอสมควร แสดงให๎เห็นวํา ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนยังอยูํในระดับที่นํา
เป็นหํวง
(6.4) ปัญหาภัยพิบัติ
จังหวัดนครราชสีมา มีผู๎เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ในปี พ.ศ.2559 จานวน 500
คน ลดลงจากปีกํอนที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน จานวน 524 คน
ด๎านอุทกภัย ในปี พ.ศ.2559 ประชาชนประสบอุทกภัย จานวน 3,061 คน สูงขึ้นจาก
ปีกํอน ที่มีจานวนผู๎ประสบอุทกภัย จานวน 1,299 คน
ด๎านวาตภัย ในปี พ.ศ.2559 ประชาชนประสบวาตภัย จานวน 5,782 คน สูงกวําปี
กํอน ที่มีจานวนผู๎ประสบวาตภัย จานวน 5,755 คน
ด๎านภัยแล๎ง ในปี พ.ศ.2559 ประชาชนประสบภัยแล๎ง จานวน 64,942 คน สูงกวําปี
กํอนที่มีผู๎ประสบภัยแล๎ง จานวน 62,403 คน
ตารางแสดงข๎อมูลสาธารณภัย
ข๎อมูล ฯ สิ้นปี พ.ศ.
ที่ เรื่อง
2556 2557 2558 2559
1 ผู๎เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน (คน) 490 544 524 500
2 อุทกภัย (คน) 43,860 144,344 1,299 3,061
3 วาตภัย (คน) 2,902 963 5,755 5,782
4 ภัยแล๎ง (คน) 284,968 3,069 62,403 64,942
ที่มา : สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครราชสีมา
(7) ด้านอื่น ๆ
ผลิตภัณฑ์ไหม
จังหวัดนครราชสีมา มีมูลคําจากการจาหนํายผลผลิตผลิตภัณฑ์ไหม ในปี พ.ศ.2560 จานวน
4,424,251,830 บาท เพิ่มขึ้นจากปีกํอนที่มีมูลคํา 4,291,532,900 บาท เนื่องมากจากอัตราการขยายของ
จังหวัดนครราชสีมา สูงขึ้นร๎อยละ 3.2 ประกอบกับสินค๎าผ๎าไหมของจังหวัดนครราชสีมา มีคุณภาพดีเป็นที่ต๎องการ
ของตลาด จังหวัดนครราชสีมา ยังคงมีนโยบายที่จะสนับสนุนและสํงเสริมการจาหนํายผลผลิตผลิตภัณฑ์ไหม
เนื่องจากจังหวัดนครราชสีมา เป็นแหลํงผลิตไหม และจาหนํายผลผลิตผลิตภัณฑ์ไหมโดยมีพื้นที่ปลูกหมํอนเลี้ยงไหม
รวม 19 อาเภอ จานวน 3,850 ไรํ เกษตรกร จานวน 3,725 ราย
ตารางแสดงมูลคําการจาหนํายผลิภัณฑ์จากไหม ระหวํางปี พ.ศ. 2556 - 2560
ปี พ.ศ. 2556 2557 2558 2559 2560
มูลคําการจาหนํายผ๎าไหม 3,534,440 2,853,910 3,624,993 4,291,532 4,424,251
(ล๎านบาท)
ที่มา : สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 62


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

2.3) เครื่องมือการวิเคราะห์ทางการบริหาร
จังหวัดนครราชสีมา วิเคราะห์สภาพแวดล๎อมขององค์กร หรือหนํวยงานในปัจจุบัน ทั้งภายในองค์กรและ
ภายนอกองค์กร เพื่อค๎นหาจุดแข็ง จุดอํอน โอกาส หรือปัญหาอุปสรรคสาคัญ ในการดาเนินงานสูํสภาพที่ต๎องการ
ในอนาคต โดยใช๎เครื่องมือ SWOT Analysis โดยได๎นาวิสัยทัศน์ประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นโยบายของ
รัฐบาล รํางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับที่ 12 แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แผนพัฒนา
กลุํมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลําง 1 และแผนพัฒนาที่เกี่ยวข๎องมารํวมในการวิเคราะห์ศักยภาพของ
จังหวัด ดังนี้
นโยบายภาครัฐที่เกี่ยวข๎อง
วิสัยทัศน์ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”
- ความมั่นคง
1) มั่นคงจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ ในทุกระดับ
ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล
2) มั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล๎อม และการเมือง
3) ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ที่เข๎มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน
4) ระบบการเมืองที่มั่นคง
5) ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้า
- ความมั่งคั่ง
1) ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยํางตํอเนื่อง
2) เศรษฐกิจมีความสามารถในการแขํงขนสูง
3) ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร๎างการพัฒนาตํอเนื่อง
- ความยั่งยืน
1) การพัฒนาที่สามารถสร๎างความเจริญ รายได๎ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให๎เพิ่มขึ้น
2) การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล๎อม
3) มุํงประโยชน์สํวนรวมอยํางยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)
1) การสร๎างความมั่นคง
2) การสร๎างความสามารถในการแขํงขัน
3) การพัฒนาและเสริมสร๎างศักยภาพคน
4) การสร๎างโอกาสความเสมอภาคและเทําเทียมกันทางสังคม
5) การสร๎างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรตํอสิ่งแวดล๎อม
6) การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ทั้งนี้ เพื่อให๎บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล๎ว ด๎วยการพัฒนาตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นาไปสูํการพัฒนาให๎คนไทยมีความสุขและตอบสนองตํอการบรรลุซึ่งผลประโยชน์
แหํงชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร๎างรายได๎ระดับสูง เป็นประเทศพัฒนาแล๎ว และสร๎างความสุขของคน
ไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแขํงขันได๎ในระบบเศรษฐกิจ

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 63


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

นโยบายรัฐบาล จานวน 11 ข๎อ


1) ปกป้องเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์
2) ลดเหลื่อมล้า/โอกาสเข๎าถึงบริการของรัฐ
3) ยกระดับคุณภาพบริการสาธารณสุข
4) สํงเสริมบทบาท/ใช๎โอกาสในอาเซียน
5) รักษาความมั่นคง/สร๎างความสมดุลทรัพยากร
6) ปรับปรุงกฎหมาย/กระบวนการยุติธรรม
7) รักษาความมั่นคง/การตํางประเทศ
8) ศึกษาเรียนรู๎/ทะนุบารุงศาสนา/ศิลปวัฒนธรรม
9) เพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจ
10) พัฒนา/ใช๎ประโยชน์วิทยาศาสตร์/วิจัย/นวัตกรรม
11) ราชการแผํนดินมีธรรมาภิบาล/ป้องกันทุจริต
ประเด็นปฏิรูปคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (คสช.) จานวน 11 ด๎าน
1) แก๎ปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่น
2) ใช๎อานาจ (รวมอานาจ/กระจายอานาจ)
3) แก๎ปัญหาพลังงาน
4) การศึกษา/การเรียนรู๎/ภูมิปัญญา
5) พัฒนาคุณธรรม/จริยธรรม
6) การเข๎าสูํอานาจฝ่ายนิติบัญญัติ/บริหาร
7) ควบคุมอานาจ (ยุติธรรม/องค์กรอิสระ)
8) พัฒนาโครงสร๎างพื้นฐาน
9) พัฒนาสื่อสารมวลชน
10) แก๎ปัญหาเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ/สังคม
11) จัดสรรทรัพยากรที่ดิน/น้า/ป่าไม๎
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 25 64) ได๎กาหนดแนวทางการ
พัฒนาประเทศ โดยแบํงตามประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้
1) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร๎างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
2) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร๎างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าในสังคม
3) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร๎างความเข๎มแข็งทางเศรษฐกิจและแขํงขันได๎อยํางยั่งยืน
4) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล๎อมเพื่อการพัฒนาอยํางยั่งยืน
5) ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร๎างความมั่นคงแหํงชาติเพื่อการพัฒนาประเทศ สูํความมั่นคง และยั่งยืน
6) ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล
ในสังคมไทย
7) ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร๎างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
8) ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
9) ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนา เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
10) ยุทธศาสตร์ที่ 10 ความรํวมมือระหวํางประเทศเพื่อการพัฒนา
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 64
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ทิศทางการพัฒนาภาตะวันออกเฉียงเหนือ ในชํวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับที่ 12


(พา.ศ.2560 – 2564)
1) บริหารจัดการน้าให๎เพียงพอตํอการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตอยํางยั่งยืน ได๎แกํ การพัฒนา
ประสิทธิภาพการกักเก็บน้าในแหลํงน้าเดิม และแหลํงน้าธรรมชาติ การสร๎างอํางเก็บน้า ฝาย และแหลํงน้าขนาด
เล็กระดับไรํนา พัฒนาระบบกระจายน้า เชํน อาคารบังคับน้า ระบบสูบน้า คลองสํงน้า และพัฒนาแหลํงน้าใหมํ
ในลุํมน้าเลย ชี มูล
2) แก๎ปัญหาความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู๎มีรายได๎น๎อย เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม ได๎แกํ
การพัฒนาอาชีพและรายได๎ของคนยากจน พัฒนาคุณภาพชีวิตและสวัสดิการให๎แกํผู๎สูงอายุ ผู๎พิการ ผู๎ด๎อยโอกาส
3) สร๎างความเข๎มแข็งของฐานเศรษฐกิจภายในควบคูํกับการแก๎ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล๎อม
4) ใช๎โอกาสจากการพัฒนาโครงขํายคมนาคมขนสํงที่เชื่อมโยงกับพื้นที่เศรษฐกิจหลักในภาคกลางและ
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) เพื่อพัฒนาเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจใหมํ ๆ ของภาค
5) พัฒนาความรํวมมือและใช๎ประโยชน์จากข๎อตกลงกับประเทศเพื่อนบ๎านในการสร๎างความเข๎มแข็งทาง
เศรษฐกิจตามแนวทางชายแดนและแนวระเบียงเศรษฐกิจ
วิสัยทัศน์ (Vision) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1
“ศูนย์กลางเกษตรอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ไหม ท่องเที่ยวอารยธรรมขอม และการค้าชายแดน”
พันธกิจ (Mission)
1) สํงเสริมการผลิตและแปรรูปข๎าวหอมมะลิ
2) สํงเสริมและพัฒนาการผลิตมันสาปะหลังเพื่ออุตสาหกรรมอาหารและพลังงานทดแทน
3) สํงเสริมการเลี้ยงโคเนื้อกระบือ และแพะ และแปรรูปเชิงคุณภาพ
4) สํงเสริมการเรียนรู๎สูํการปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5) สํงเสริมศักยภาพการผลิตและการตลาดผลิตภัณฑ์ไหม
6) สํงเสริมการทํองเที่ยว ให๎ได๎รับความนิยม และบริหารจัดการให๎มีศักยภาพ
7) สํงเสริมและพัฒนาการค๎าการลงทุน และค๎าชายแดน
เป้าประสงค์รวม (Obgective)
1) ผลิตภัณฑ์มวลรวมกลุํมจังหวัดภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น
2) รายได๎จากการทํองเที่ยวเพิ่มขึ้น
3) รายได๎จากการจาหนํายผลิตภัณฑ์ไหมเพิ่มขึ้น
4) มูลคําการสํงออกสินค๎าชายแดนเพิ่มขึ้น

ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategics Issues)


1) การพัฒนาขีดความสามารถในการแขํงขันเกษตรอุตสาหกรรมและแปรรูป
2) การยกระดับอุตสาหกรรมการทํองเที่ยว และผลิตภัณฑ์ไหม
3) การสํงเสริมและพัฒนาการค๎าการลงทุน และการค๎าชายแดน

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 65


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

การวิเคราะห์ประเด็นการพัฒนาที่เชื่อมโยงกับกรอบทิศทางการพัฒนาประเทศ
จังหวัดนครราชสีมา ได๎วิเคราะห์ประเด็นการพัฒนาที่สาคัญของจังหวัดนครราชสีมา ใน 4 มิติ คือ
1) มิติการพัฒนาแบบทั่วถึง แสดงการกระจายผลการพัฒนาและโอกาสสูํคนสํวนใหญํของสังคม โดยวัด
จาก 3 ประเด็นสาคัญ ประกอบด๎วย ความยากจนและความเหลื่อมล้า โครงขํายความคุ๎มครองทางสังคม และการ
เข๎าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม มีชํวงคะแนนคําต่าสุดที่ 11.88 และคําสูงสุดที่ 72.41 คําเฉลี่ยกลางของ
ประเทศ เทํากับ 27.14 โดยจังหวัดนครราชสีมา ได๎คะแนนที่ 25.73 เป็นลาดับที่ 42 ของประเทศ แตํคะแนน
ต่ากวําคํากลางของประเทศ ดังนั้น จังหวัดจึงต๎องพิจารณาตัวชี้วัดที่เกี่ยวข๎อง รวม 6 ตัวชี้วัด เพื่อพัฒนาระดับการ
พัฒนาในมิตินี้ ซึ่งจะได๎กลําวในลาดับถัดไป

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 66


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

2) มิติการเติบโตทางเศรษฐกิจ และการเพิ่มขีดความสามารถในการแขํงขัน แสดงระดับการพัฒนาด๎าน


เศรษฐกิจและขีดความสามารถในการแขํงขันโดยวัดจากประเด็นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความมี
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจระดับครัวเรือน และขีดความสามารถในการแขํงขัน มีชํวงคะแนนคําต่าสุดที่ 14.42 และ
คําสูงสุดที่ 47.09 คําเฉลี่ยกลางของประเทศเทํากับ 29.73 โดยจังหวัดนครราชสีมา ได๎คะแนน 30.29 เป็น
ลาดับที่ 36 ของประเทศ และสูงกวําคําเฉลี่ยกลางของประเทศ แตํยังต๎องพิจารณาตัวชี้วัดที่เกี่ยวข๎อง จานวน 6
ตัวชี้วัด เพื่อยกระดับการพัฒนาในมิตินี้ให๎สูงยิ่งขึ้น ซึ่งจะได๎กลําวในลาดับถัดไป

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 67


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

3) การเติบโตทางเศรษฐกิจสีเขียว แสดงระดับการพัฒนาด๎านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม โดย


พิจารณาจากประเด็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล๎อมและทรัพยากรธรรมชาติ และการใช๎พลังงานอยํางมีประสิทธิภาพ
มีชํวงคะแนนต่าสุดที่ 4.19 ลําสูงสุดที่ 59.97 คําเฉลี่ยกลางของประเทศอยูํที่ 22.53 โดยจังหวัดนครราชสีมา
ได๎คะแนน 11.39 คะแนน ต่ากวําคําเฉลี่ยกลางของประเทศ และเป็นลาดับที่ 65 ของประเทศ จึงต๎องพิจารณา
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข๎อง จานวน 6 ตัวชี้วัด เพื่อแก๎ไขการพัฒนาให๎ดีขึ้น ซึ่งจะได๎กลําวในลาดับถัดไป

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 68


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

4) ประสิทธิภาพ การดาเนินงานของภาครัฐ แสดงระดับการพัฒนาความสามารถของภาครัฐในการ


ให๎บริการสาธารณะ การจัดเก็บรายได๎ของท๎องถิ่น และการริหารงบประมาณของจังหวัด มีชํวงคะแนนต่าสุดที่
23.69 และชํวงคะแนนสูงสุดที่ 72.99 คําเฉลี่ยคะแนนของประเทศ อยูํที่ 45.68 คะแนน โดยจังหวัด
นครราชสีมา ได๎คะแนน 46.51 คะแนน สูงกวําคําเฉลี่ยคะแนนของประเทศ และจัดเป็นลาดับที่ 35 ของประเทศ
แตํยังต๎องพิจารณาตัวชี้วัดจานวน 6 ตัวชี้วัด เพื่อยกระดับคะแนนให๎สูงยิ่งขึ้น ซึ่งจะได๎กลําวในลาดับถัดไป

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 69


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

สรุป ระดับการพัฒนา ของจังหวัดนครราชสีมา ในภาพรวมใกล้เคียงกับค่ากลางของประเทศและ


มีระดับใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา โดยสํวนใหญํมีแนวโน๎มดีขึ้น ยกเว๎นมิติการเติบโตทางเศรษฐกิจสีเขียวมีปัญหา
ปริมาณขยะและการใช๎ไฟฟ้าในภาคที่ไมํใชํครัวเรือน และการใช๎น้ามันในภาคอุตสาหกรรมคํอนข๎างมาก และยังมี
ตัวชี้วัดที่ควรให๎ความสาคัญ เชํน มูลคําผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด อัตราการวํางงาน หนี้สินครัวเรือน ความยากจน
การลดปริมาณขยะ และการเข๎าถึงประปา
ประเด็นที่จังหวัดควรให้ความสาคัญ คือ
 การแก๎ไขปัญหาความยากจน การเพิ่มประสิทธิภาพและแปรรูปสินค๎าเกษตรไปสูํสินค๎าชนิดใหมํที่มี
มูลคําสูง สํงเสริมอาชีพตํางๆ พัฒนาทักษะฝีมือแรงงานและ สนับสนุน SME
การมีสํวนรํวมทุกภาคสํวนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล๎อม การประหยัดพลังงาน และสํงเสริมพลังงาน
ทดแทน การบริหารจัดการขยะระหวําง องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น

นอกจากนี้ ยังมีการเชื่อมโยงแผนพัฒนาจังหวัด ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) กับวิสัยทัศน์ประเทศ


ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) นโยบายรัฐบาล รํางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับที่
12 (พ.ศ.2560 – 2564) ตลอดจนแผนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข๎องลงมาจนถึงแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา
ขณะเดียวกันก็นาปัญหาความต๎องการของประชาชน และข๎อมูลจากแผนพัฒนาตาบล แผนชุมชน/หมูํบ๎าน ที่บรรจุ
อยูํในแผนพัฒนาอาเภอ ของทุกอาเภอ มาเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 –
2561) ฉบับนี้ด๎วย ดังปรากฏตามแผนผังข๎างท๎ายนี้

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 70


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

การเชื่อมโยงแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ภายใต้แนวทางประชารัฐ
วิสัยทัศน์ประเทศ
ยุทธศาสตร์ชาติ ปี นโยบายรัฐบาล ร่างแผนพัฒนา ฯ ฉบับที่

แผนพัฒนาจังหวัด ตามกรอบการพัฒนาจังหวัด : สอดคล้องและเชื่อมโยงกับ


แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

นาปัญหา ความต้องการของอาเภอ มาเชื่อมโยง กับแผนพัฒนาจังหวัด


ตามหลักเกณฑ์ที่ ก น จ กาหนด

นาปัญหาความต้องการของประชาชน และข้อมูลจากแผนตาบล แผนชุมชน หมู่บ้าน มา


บรรจุไว้ในแผนพัฒนาอาเภอ

ทั้งนี้ เมื่อจังหวัดนครราชสีมา ได๎วิเคราะห์สภาพแวดล๎อมทั้งภายในและภายนอกจังหวัด รวมทั้งนาปัญหา


ความต๎องการของประชาชนในพื้นที่มาประกอบด๎วยแล๎ว จึงสามารถกาหนดเป็นจุดแข็ง จุดอํอน โอกาส และ
อุปสรรค ของจังหวัดนครราชสีมา ได๎ดังนี้
จุดแข็ง (Strengths)
1) เป็นประตูเชื่อมโยงระบบ Logistic และกระจายสินค๎าสาคัญในภูมิภาค
2) เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมทํองเที่ยวสีเขียว ประวัติศาสตร์/อารยธรรมขอม และภูมิปัญญาท๎องถิ่น
3) เป็นแหลํงอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยี
4) เป็นศูนย์กลางเกษตรและอาหารปลอดภัย Food Valley
5) เป็นศูนย์กลางการศึกษาและสาธารณสุข
6) เป็นแหลํงทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์และยั่งยืน
7) เป็นที่ตั้งกองกาลังเสริมสร๎างความมั่นคงทางการทหารที่สาคัญในภูมิภาคและประเทศ
8) ข๎าวหอมมะลิทุํงสัมฤทธิ์ (GI) ได๎รับการจดทะเบียนข๎อชี้ทางภูมิศาสตร์
9) มี Agri Map แสดงความเหมาะสม/ไมํเหมาะสมในการทาการเกษตร
10) เป็นพื้นที่ต๎นแบบนาแปลงใหญํที่บ๎านกระสังข์ อาเภอพิมาย
11) กลุํมมันสาปะหลังมีความเข๎มแข็งในการบูรณาการทั้งภาครัฐและเอกชน
12) กลุํมสหกรณ์และกลุํมเกษตรกรมีความเข๎มแข็ง สามารถเป็นต๎นแบบของกลุํมสหกรณ์และ
กลุํมเกษตรกร
13) มีแมํน้ามูล แมํน้าชี ไหลผํานจังหวัด จากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก มีแหลํงเก็บน้าขนาดใหญํ
5 แหํง
14) เป็นจังหวัดที่มีสถาบันการศึกษาที่หลากหลาย ทุกระดับ รองรับประชากรในวัยเรียนได๎อยํางเพียงพอ
เป็นฐานการผลิตพืชเศรษฐกิจอาหารและพลังงานที่สาคัญของประเทศ โดยเฉพาะข๎าวและมันสาปะหลัง ทีเป็นพืช
เพื่อการบริโภคและสามารถแปรรูปเพื่อสร๎างมูลคํา

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 71


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

15) มีศูนย์พันธุ์ข๎าวชุมชน เป็นแหลํงเมล็ดพันธุ์คุณภาพดีที่เกิดจากความรํวมมือของทุกฝ่าย ชํวยแบํงเบา


ภาระปัจจัยการผลิตแกํเกษตรกรและชํวยให๎ถึงพันธุ์ข๎าวคุณภาพ
16) มีการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมเพื่อสร๎างมูลคําเพิ่ม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเกษตร และอุตสาหกรรม
อาหารแปรรูป
17) ภาคการผลิตมีความแข็งแกรํงในด๎านปริมาณ คุณภาพ และราคาวัตถุดิบ และด๎านความรวดเร็ว
ในการขนสํง
18) ภาคการผลิตมีการริเริ่มเพื่อรํวมมือกับสถาบันการศึกษาเพื่อสร๎างนวัตกรรมการผลิต และการเตรียม
บุคลากรผู๎เชี่ยวชาญในอนาคต
19) สถานประกอบการอยูํในจุดยุทธศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภูมิภาคอินโดจีน และเป็น
พื้นที่ที่ได๎รับผลกระทบจากน้าทํวมน๎อย
20) จังหวัดมีความแข็งแกรํงในด๎านการศึกษา ชีวิตครอบครัวและชุมชน และสภาพสังคมสิ่งแวดล๎อม
อยูํสูงกวําคําเฉลี่ยของประเทศ
21) จังหวัดมีความปลอดภัยสูง เนื่องจากสถิติคดีอาชญากรรมและยาเสพติดต่ากวําคําเฉลี่ยประเทศ
ถึง 3 เทํา
22) มีแหลํงทํองเที่ยวที่นําดึงดูดใจ โดยเฉพาะการทํองเที่ยวธรรมชาติ (อุทยานแหํงชาติ เขื่อน) และ
การทํองเที่ยวประวัติศาสตร์ (ปราสาทหินพิมาย) และการทํองเที่ยวนันทนาการ (ฟาร์ม, ไรํ)
23) ชุมชนและองค์กรภาครัฐมีการรํวมมือเพื่อพัฒนาสินค๎าและยกระดับมาตรฐานสินค๎า OTOP อยําง
ตํอเนื่อง
24) ทุกภาคสํวนเห็นความสาคัญและต๎องการรํวมมือกันเพื่อบริหารจัดการและจัดสรรทรัพยากรแหลํงน้า
25) การขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริอยํางจริงจังและตํอเนื่อง
26) ร๎อยละผู๎อยูํในระบบประกันสังคมตํอกาลังแรงงานสูงกวําระดับประเทศ
27) จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยประชากรไทยอายุ 15 – 59 ปี สูงกวําระดับประเทศ
28) อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได๎เฉลี่ยของครัวเรือนในจังหวัด สูงกวําระดับประเทศ
29) อัตราสํวนการออมเฉลี่ยตํอรายได๎เฉลี่ยของครัวเรือน สูงกวําระดับประเทศ
30) ผลิตภาพแรงงาน สูงกวําระดับประเทศ
31) อัตราการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าไม๎ (เพิ่มขึ้น) ในจังหวัด สูงกวําระดับประเทศ
32) สัดสํวนปริมาณการใช๎ไฟฟ้าภาคครัวเรือนตํอประชากร ต่ากวําระดับประเทศ (คําผกผัน)
33) ร๎อยละของประชากรที่เข๎าถึงอินเตอร์เน็ต สูงกวําระดับประเทศ
34) ร๎อยละภาษีท๎องถิ่นจัดเก็บได๎ตํอรายได๎รวมที่ไมํรวมเงินอุดหนุนและเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
สูงกวําระดับประเทศ
35) ความสามารถในการเบิกจํายงบปราณของจังหวัด สูงกวําคําเฉลี่ยของประเทศ

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 72


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

จุดอ่อน (Weakness)
1) ขาดแคลนแหลํงน้าเพื่อการเกษตรในหน๎าแล๎ง การพัฒนาพื้นที่ชลประทานอยูํในลักษณะการจัดการ
ปริมาณน้าในฤดูฝนเทํานั้น สํวนฤดูแล๎งไมํสามารถทาการเพาะปลูกได๎ นอกจากนี้ขนาดของแหลํงน้าในชุมชนมีไมํ
เพียงพอตํอภาคการผลิต ภาคเกษตรกรรมยังมีผลิตภาพตํอไรํยังต่ากวําระดับคําเฉลี่ยของประเทศ แสดงถึงการขาด
ผลิตภาพทางการเพาะปลูก (Productivity)
2) คนรุํนใหมํขาดความตระหนักในความสาคัญของอาชีพเกษตรกรรม และหันเหไปประกอบอาชีพ
กลุํมการให๎บริการ ทาให๎มีจานวนแรงงานภาคเกษตรกรรมลดลงอยํางตํอเนื่อง
3) มีพื้นที่ดินเค็มกระจายในวงกว๎าง มีความอุดมสมบูรณ์ต่า เนื้อดินเป็นทราย ดินตื้น มีปัญหาการดูดซับ
น้าและแรํธาตุ เพราะใช๎ประโยชน์ติดตํอกันยาวนานโดยไมํมีการปรับปรุงดิน และ มีการใช๎ปุ๋ยเคมีอยํางตํอเนื่อง
5) เส๎นทางการคมนาคมขนสํงและผลผลิตทางการเกษตรไมํเพียงพอ ขาดการเชื่อมโยงระหวํางภาค
การผลิต ศูนย์และรวบรวมกระจายสินค๎า รวมถึงมีปัญหากฏระเบียบและเอกสารที่ทาให๎การดาเนินการขนสํง
เป็นไปด๎วยความลําช๎า
6) แรงงานในภาคอุตสาหกรรมขาดแคลน เนื่องจากคนถํายเทไปในภาคการให๎บริการ และมีทัศนคติตํอ
การเลือกงานสูงขึ้น ต๎องจ๎างแรงงานตํางด๎าวเข๎ามาทดแทน
7) การวางผังเมืองแบบใหมํมีการจากัดพื้นที่อุตสาหกรรม ทาให๎ไมํสามารถขยายตัวสถานประกอบการ
และโรงงานได๎
8) ภาคการผลิตขาดปัจจัยด๎านอุตสาหกรรมสนับสนุน โดยขาดอุตสาหกรรมที่เขื่อมโยงทั้งในเชิงปริมาณ
และคุณภาพ และขาดด๎านการรวบรวมองค์ความรู๎ การสร๎างนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลคํา
9) การทํองเที่ยวยังไมํสามารถดึงดูดนักทํองเที่ยวที่มีรายได๎ตั้งแตํระดับปานกลางจนถึงสูงได๎ และ
ผลประเมินการทํองเที่ยวมีข๎อตาหนิเกี่ยวกับความไมํสะอาด ความไมํซื่อสัตย์ของการให๎บริการ และความ
ไมํสะดวกสบายของบริการขนสํงภายในจังหวัด
10) การทํองเที่ยวยังไมํพัฒนาศักยภาพได๎เต็มรูปแบบ เพราะขาดการประชาสัมพันธ์อยํางตํอเนื่อง ขาด
การประสานและสร๎างเครือขํายเชื่อมโยงระบบการบริหารจัดการการทํองเที่ยวกับจังหวัดอื่นๆ และกลุํมประเทศใน
อนุภูมิภาคลุํมน้าโขง จึงยังไมํเป็นที่รู๎จักตํอชาวตํางชาติที่เป็นเป้าหมายการประชาสัมพันธ์และการสร๎างรายได๎
11) การเข๎าถึงอินเทอร์เน็ตเพื่อรับข๎อมูลขําวสารอยูํในระดับต่า ทั้งที่เป็นปัจจัยสาคัญตํอการปรับตัวตํอ
ความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคม
12) แม๎จะมีสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพหลายแหํง ประชากรสํวนใหญํจบการศึกษาภาคบังคับ แตํยัง
ขาดการตํอยอดการเรียนรู๎ในระดับอุดมศึกษา ทาให๎เกิดแรงงานขาดทักษะ มากกวําแรงงานเชี่ยวชาญทักษะ ที่จะ
ชํวยสร๎างมูลคําการผลิตและสร๎างรายได๎มากขึ้น
13) ประสบปัญหามลภาวะและของเสียจากภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคประชาชน โดย
สํวนที่ได๎รับผลกระทบจากมลภาวะสูงสุดคือพื้นที่แถบลุํมน้า คู คลองในเมือง
14) ปัญหาขาดศูนย์ชํวยเหลือสัตว์เรํรํอน
15) จานวนพื้นที่และประชากรมีจานวนมาก อาจไมํได๎รับบริการพื้นฐานจากภาครัฐยังไมํทั่วถึง เชํน เรื่อง
แหลํงน้า ถนน ไฟฟ้า น้าประปา ฯลฯ
16) ประชากรสูงวัย พํอแมํที่อายุน๎อย เยาวชนไมํสนใจศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท๎องถิ่น การประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม เพิ่มขึ้น
17) ประชากรขาดทักษะในการใช๎เทคโนโลยีสมัยใหมํ การสื่อสารภาษาตํางประเทศ ทาให๎ขาดความมั่นใจ
และลดขีดความสามารถในการแขํงขัน
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 73
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

18) ประชากรสํวนใหญํเลือกเรียนสายสามัญ ไมํตรงกับความต๎องการของตลาดที่ขาดแคลนแรงงานสาย


วิชาชีพ ตลอดจนไมํสามารถผลิตแรงงานได๎ทันตํอความต๎องการของตลาดสายวิชาชีพ
19) สํวนราชการในพื้นที่ยังบูรณาการการทางานไมํครอบคลุมทุกด๎าน ทาให๎ภาพรวมขาดเอกภาพ
20 ) มีการบุกรุกพื้นที่ของรัฐ การลัดลอบตัดไม๎ ดูดน้าเกลือ ขุดสินแรํ ทิ้งขยะ และของเสียอันตราย
21 ) สภาพพื้นที่สํวนใหญํเป็นดินเค็ม
22) การบริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดล๎อม มีประสิทธิภาพไมํเพียงพอ ทาให๎เกิดปัญหาขยะ น้าเสีย
มลพิษทางอากาศ
23 ) ในบางพื้นที่มีความคิดที่ไมํตรงกัน ทาให๎ขาดความสามัคคี ปรองดอง
24) การบังคับใช๎กฎหมาย บางอยํางไมํเข๎มงวด
25) บุคลากรทั้งราชการสํวนกลาง สํวนภูมิภาค สํวนท๎องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม
และภาคประชาชนที่มีความรู๎ความสามารถ ที่หลากหลายสาขาอาชีพ แตํก็ไมํเพียงพอตํอการให๎บริการประชาชนที่
มีจานวนมาก ถึง 2.6 ล๎านคนเศษ
26) แรงงานตํางด๎าวที่ได๎รับอนุญาตทางานตามมติ ครม. ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ณ วันที่ 26
กรกฎาคม 2559 มีเพียง 11,643 คน ซึ่งนําจะน๎อยกวําความเป็นจริง
27) ร๎อยละของประชากรที่อยูํใต๎เส๎นความยากจน สูงกวําคําเฉลี่ยของประเทศ
28) สัมประสิทธิ์การกระจายรายได๎ (Gini Coefficient) ต่ากวําคําเฉลี่ยของประเทศ (คําผกผัน)
29) อัตราสํวนแพทย์ตํอประชากร ต่ากวําคําเฉลี่ยของประเทศ
30) คําเฉลี่ยคะแนน O-net ม.3 ต่ากวําระดับประเทศ
31) อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด ต่ากวําคําเฉลี่ยของประเทศ
32) อัตราการวํางงาน ต่ากวําคําเฉลี่ยของประเทศ
33) อัตราสํวนหนี้เฉลี่ยตํอรายได๎เฉลี่ยของครัวเรือน สูงกวําคําเฉลี่ยของประเทศ
34) ปริมาณขยะในจังหวัด สูงกวําคําเฉลี่ยในระดับประเทศ
35) สัดสํวนปริมาณการใช๎น้ามันเชื้อเพลิงเพื่อยานพาหนะตํอประชากร สูงกวําคําเฉลี่ยของประเทศ
36) สัดสํวนปริมาณการใช๎ไฟฟ้าในภาที่ไมํใช๎ครัวเรือนตํอ GPP สูงกวําคําเฉลี่ยของประเทศ
37) ร๎อยละของสถานพยาบาลที่ได๎รับการรับรองคุณภาพ HA ต่ากวําคําเฉลี่ยของประเทศ
38) ร๎อยละของครัวเรือนที่เข๎าถึงน้าประปา ต่ากวําคําเฉลี่ยระดับประเทศ
39) ร๎อยละของครัวเรือนที่เข๎าถึงไฟฟ้า ต่ากวําคําเฉลี่ยของประเทศ
40) ปัญหาทางการเมืองในชํวงที่ผํานมาทาให๎สังคมขาดความสามัคคี ปรองดอง
โอกาส (Opportunities)
1) โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัว ฯ สมเด็จพระนางเจ๎าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ และพระบรมวงศานุวงษ์
2) ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) กาหนดวิสัยทัศน์ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”
ประกอบด๎วย 6 ประเด็นยุทธศาสตร์
3 ) นโยบายรัฐบาล 11 ข๎อ ซึ่งได๎แปลงเป็นแนวทางปฏิบัติผํานกระทรวง และกรม
4 ) รําง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับที่ 12 กาหนดยุทธศาสตร์ 10 ยุทธศาสตร์ เพื่อ
เป้าหมาย ให๎คนมีคุณภาพ ความเหลื่อมล้าน๎อยลง เศรษฐกิจที่เข๎มแข็ง แข็งขันได๎ รักษาทุนทางธรรมชาติ มั่นคง
ในเอกราชและอธิปไตย ภาครัฐมีประสิทธิภาพทันสมัยโปรํงใส

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 74


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

5) แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช๎ศักยภาพ เป็นฐานการผลิตข๎าวหอมมะลิคุณภาพสูง มาตรฐาน


ปลอดภัยและอินทรีย์ เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร และเอทานอลของประเทศ เป็นแหลํงทํองเที่ยว
ทางโบราณคดียุคกํอนประวัติศาสตร์อารยธรรมขอม วัฒนธรรมประเพณี แหลํงทํองเที่ยวธรรมชาติ และแหลํง
ทํองเที่ยว เชิงกีฬาระดับนานาชาติ และเป็นประตูของประเทศ เชื่อมโยงไปสูํอนุภูมิภาคลุํมน้าโขงและเอเชีย
ตะวันออก เป้าหมาย “อีสานพึ่งตนเอง”
6) แผนรายสาขา เชํน แผนพัฒนาการเกษตร นโยบายโซนนิ่งภาคเกษตร แผนพัฒนาการทํองเที่ยวแหํงชาติ
แผนแมํบทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล๎อม แผนแมํบทการบริหารจัดการน้า
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อเสริมสร๎างความมั่นคงของชาติ ฯลฯ
7) รัฐบาลมีแนวทางในการกํอสร๎างโครงสร๎างพื้นฐานเชื่อมจากกรุงเทพมหานคร มายังจังหวัดนครราชสีมา
เชํน ทางหลวงสายพิเศษ บางปะอิน – นครราชสีมา รถไฟทางคูํ จากมาบกะเบา – ชุมทางจิระ, ชุมทางจิระ –
ขอนแกํน และ ชุมทางขอนแกํน – อุบล ฯ
8) จังหวัดนครราชสีมา เป็นที่ตั้งของ สํวนราชการด๎านความมั่นคง หลายสํวนราชการ สามารถเป็นกอง
กาลังที่สาคัญในการพิทักษ์รักษา ความมั่นคงของสถาบันหลักของประเทศ
9) สังคมของโลก มีการเปลี่ยนแปลงเข๎าสูํสังคมสูงวัยมากขึ้น
10) ความนิยมเกษตรอินทรีย์ที่ผู๎บริโภคซื้อผลผลิตอินทรีย์มากขึ้นและสํงผลตํออุปสงค์เปลี่ยนวิถีการเกษตร
จากเกษตรเคมีสูํเกษตรปลอดสารพิษ ซึ่งชํวยลดสารเคมี ลดต๎นทุน และสร๎างมูลคําเพิ่มแกํเกษตรกร และชํวยให๎
เกษตรกรมีสุขภาพที่ดีขึ้น
11) รัฐสนับสนุนการยกระดับผลผลิตสูํมาตรฐาน GAP ทาให๎สํงขายตํอห๎างสรรพสินค๎าชั้นนาในราคาสูงได๎
12) โครงการ Food Valley ที่จะเป็น ศูนย์กลางเกษตร อุตสาหกรรมปลอดภัย พร๎อมทั้งการผลิตสินค๎า
และโรงงานต๎นแบบ
13) กรมปศุสัตว์มีมาตรการในการป้องกันและชํวยเหลือสัตว์เรํรํอนให๎พ๎นจากการโดนทารุณกรรม และ
เพื่อให๎สังคมปลอดภัยจากโรคระบาดสัตว์
14) กลุํมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลําง 1 วิสัยทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ที่จังหวัด
นครราชสีมา สามารถเชื่อมโยงได๎
อุปสรรค (Threats)
1) ประสบปัญหาภัยธรรมชาติบํอยครั้ง ทั้งหน๎าแล๎งและน้าทํวม ทาให๎เป็นอุปสรรคตํอการผลิตสินค๎า
ภาคเกษตรกรรม
2) ข๎อจากัดทางกฎหมายของภาครัฐยังไมํเอื้อตํอการค๎าระหวํางประเทศ (ผลิตภัณฑ์แปรรูปจาก
มันสาปะหลัง) เชํน การคิดอัตราภาษีแอลกอฮอล์ในอัตราภาษีสุรา
3) การใช๎มาตรการกีดกันทางการค๎าที่ไมํใชํภาษี (Non tariff barrier) จากตํางประเทศเชํน มาตรฐาน
ด๎านสิ่งแวดล๎อมสุขภาพอนามัย ซึ่งผลกระทบตํอการสํงออกสินค๎าสาคัญประเภทสินค๎าเกษตรแปรรูป
4) นโยบายการขึ้นอัตราแรงงานขั้นต่าของรัฐบาล ซึ่งหากขาดการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพ
ของแรงงานในอัตราที่เทําเทียมกัน จะทาให๎เกิดสภาวะสินค๎าแพงและไร๎คุณภาพ
5) การเข๎าสูํประชาคมเศรษฐกิจเสรีอาเซียน จะมีการแขํงขันด๎านแรงงานขาดทักษะ (unskilled) ราคา
ถูกจากประเทศเพื่อนบ๎าน ในขณะที่ประเทศไทยจะเสียเปรียบจากการมีแรงงานขาดทักษะ ในอัตราคําจ๎างที่สูงกวํา
6) โครงสร๎างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกตามเมืองและดํานชายแดนยังไมํเอื้อตํอการค๎า การลงทุน
และการทํองเที่ยวที่เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ๎านได๎อยํางมีประสิทธิภาพ โดยปัจจุบันมีเส๎นทางหลักสาหรับขนสํง

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 75


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

สินค๎าออกตํางประเทศได๎เพียงเส๎นทางเดียว โดยใช๎ถนนมิตรภาพผํานนครราชสีมา ไปสูํทําเรือน้าลึกชายฝั่งทะเล


ตะวันออก พื้นที่ที่อยูํลึกเข๎าไปตอนในของภาคต๎องขนสํงอ๎อมผํานจังหวัดนครราชสีมา
7) ยุทธศาสตร์การทํองเที่ยวขาดการสํงเสริมการจัดการทํองเที่ยวที่เป็นระบบ ขาดการเชื่อมโยงโครงขําย
การทํองเที่ยวระหวํางจังหวัด และประเทศเพื่อนบ๎าน
8) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอาจนามาซึ่ง ปัญหาแรงงานตํางด๎าวในสํวนที่เป็นแรงงานผิดกฏหมาย
มีคุณภาพชีวิตต่า กํอให๎เกิดโรคระบาด และปัญหาอาชญากรรมตามมา

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 76


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก
**************
1. ยุทธศาสตร์ เชิงรุก (มีปัจจัยภายในที่เป็นจุดแข็งและปัจจัยภายนอกมีโอกาสพัฒนา - Strength &
Opportunity) เป็นประเด็นที่มีศักยภาพการพัฒนาสูง เนื่องจากกลุํมจังหวัดมีความเข๎มแข็งภายในตนเองและเป็น
ประเด็นที่ได๎รับการสนับสนุนจากปัจจัยภายนอก ได๎แกํ
1) การเป็นตัวกลางเพื่อการรวบรวมและกระจายสินค๎า เนื่องจากจังหวัดมีทาเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์
ที่เหมาะสมตํอการเป็นศูนย์กลางการรวบรวมและกระจายสินค๎า อยูํตรงกลางระหวํางวัตถุดิบและการตลาด
ที่หลากหลาย สามารถเชื่อมโยงต๎นทางและปลายทางของสินค๎าหลายประเภทได๎อยํางสะดวก อีกทั้งปัจจัยภายนอก
ยังให๎ความสาคัญกับต๎นทุนคําขนสํงเป็นอยํางมาก
2) กลุํมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปอาหารปลอดภัยเพื่อเป็นครัวของโลก เนื่องจากมีศักยภาพสูง
ในการเป็นแหลํงผลิตอาหารที่สาคัญของประเทศ นโยบายของภาครัฐให๎ความสาคัญกับการผลิตสินค๎าเกษตรเพื่อ
เป็นอาหาร ภายใต๎นโยบาย “ครัวไทย ครัวโลก ” จึงมีการสนับสนุนนโยบาย Food Valley โดยนา Model
จากประเทศเนเธอร์แลนด์มาประยุกต์ในการพัฒนาคลัสเตอร์กลุํม Product Champion เชํน ข๎าวหอมมะลิ
มันสาปะหลัง อ๎อย ข๎าวโพด โคเนื้อ ไกํ และสุกร โดยประสาน/สนับสนุน/รํวมมือกับภาคธุรกิจเอกชน ในการ
พัฒนาให๎จังหวัดเป็นผู๎นาในด๎านการผลิต แปรรูป และการตลาดแบบครบวงจร
3) การทํองเที่ยวเชิงธรรมชาติเป็นจุดขายการทํองเที่ยว เนื่องจากมีเขาใหญํซึ่งเป็นมรดกโลกและ
มีมูลคําสูง รวมถึงเส๎นทางการทํองเที่ยวเมืองที่มีอากาศบริสุทธิ์ เชํน วังน้าเขียว เชื่อมตํอไปถึงแหลํงทํองเที่ยว
ธรรมชาติใน อ.เสิงสาง ครบุรี นอกจากนี้ยังรวมถึงการทํองเที่ยวทางประวัติศาสตร์แบบครบวงจร กระแสการ
ทํองเที่ยวในปัจจุบันได๎ให๎ความสาคัญกับการทํองเที่ยวเชิงการเรียนรู๎เป็นอยํางมาก สํงผลให๎แหลํงทํองเที่ยว
เชิงประวัติศาสตร์ได๎รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นอยํางตํอเนื่อง
4) อุตสาหกรรมผ๎าไหมจากภูมิปัญญาท๎องถิ่นเป็นฐานการผลิตสินค๎าที่มีองค์ประกอบทางวัฒนธรรม
และภูมิปัญญาท๎องถิ่นได๎รับการคาดหมายวําจะเป็นสินค๎าที่มีศักยภาพในการพัฒนาในอนาคต และกลุํมจังหวัดมี
ฐานการผลิตผ๎าไหมที่ได๎รับการยอมรับระดับสากลอยูํหลายแหํง จึงควรได๎รับการสนับสนุนเชิงพื้นที่ให๎เกิดการ
พัฒนาอยํางเหมาะสมตํอไป
5) อุตสาหกรรมพลังงานทดแทนจากพืช การจัดหาพลังงานสาหรับความต๎องการในอนาคตเป็น
ประเด็นที่กาลังได๎รับการสนับสนุนเป็นอยํางมาก โดยเฉพาะอยํางยิ่งพลังงานจากพืชไรํ เชํน อ๎อย และมันสาปะหลัง
ซึ่งกลุํมจังหวัดเป็นฐานการผลิตพืชดังกลําว มีพื้นที่เพาะปลูกอยูํเป็นจานวนมาก และมีการแปรรูปเพื่อการผลิต
ตํอเนื่องในเชิงอุตสาหกรรมอยูํแล๎ว
6) การปศุสัตว์ที่ได๎มาตรฐานในระดับสากล โดยจังหวัดมีฐานการผลิตด๎านปศุสัตว์ที่มีมาตรฐานสูง อยูํที่
อาเภอปากชํอง จังหวัดนครราชสีมา และได๎มีการพัฒนาเพื่อเป็นแหลํงทํองเที่ยวเชิงเรียนรู๎ด๎านการเกษตรและ
ผจญภัย ซึ่งเป็นรูปแบบการทํองเที่ยวที่ได๎รับความนิยมอยูํในปัจจุบัน
7) กลุํมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสูง กลุํมยานยนต์ เครื่องใช๎ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ เป็นกลุํม
อุตสาหกรรมที่กํอให๎เกิดมูลคําสูง ต๎องการแรงงานที่มีทักษะ และเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่ต๎องการของตลาดหลาย
ระดับ ซึ่งกลุํมจังหวัดมีตาแหนํงที่ตั้งอยูํบนแกนอุตสาหกรรมหลักของประเทศ ( Industrial Corridor) อยูํในระยะ
ไมํหํางจากภาคมหานครซึ่งเป็น ศูนย์กลางการคมนาคมขนสํงระดับโลกและเป็นศูนย์ค๎นคว๎าและวิจัยในระดับ
สากลในพื้นที่กลุํมจังหวัดเองก็มี สถาบันการศึกษาที่สามารถผลิตบุคลากรทักษะสูงที่สามารถตอบสนองความ
ต๎องการแรงงานของอุตสาหกรรมกลุํมดังกลําวได๎เป็นอยํางดี

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 77


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

8) การน๎อมนาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ฯ มาขยายผลการดาเนินงานในพื้นจังหวัด
นครราชสีมา
2. ยุทธศาสตร์ การแก้ไข ปัญหา (มีปัจจัยภายในที่เป็นจุดอํอน แตํปัจจัยภายนอกมีโอกาสในการพัฒนา –
Weakness & Opportunity) เป็นประเด็นที่มีโอกาสในการพัฒนา ด๎วยการแก๎ปัญหาที่เป็นจุดอํอนภายใน
จังหวัด เมื่อสามารถแก๎ไขจุดอํอนนั้นได๎แล๎ว ก็จะสามารถสร๎างการพัฒนาที่ได๎อยํางเหมาะสม ได๎แกํ
1) การเกษตรกรรมเพื่อเป็นแหลํงผลิตอาหารที่สาคัญของประเทศ แตํระบบชลประทาน และการ
คมนาคมขนสํงผลผลิตยังขาดคุณภาพและไมํเพียงพอ จึงต๎องมีการแก๎ไขปัญหาเพื่อเสริมศักยภาพของการผลิต ด๎วย
การจัดหาแหลํงน้า เพิ่มเส๎นทางคมนาคมขนสํง และเพิ่มผลผลิตด๎วยนวัตกรรมใหมํ ๆ
2) การทํองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ขาดการบริหารจัดการและการพัฒนาบุคลากรด๎านภาษาและ
ความรู๎อ๎างอิงเกี่ยวกับเรื่องราวประวัติศาสตร์ที่ถูกต๎องชัดเจน
3) จัดให๎มีศูนย์ชํวยเหลือสัตว์เรํรํอน โดยเฉพาะสุนัขจรจัด เพื่อป้องกันการทารุณกรรมสัตว์ และลด
ปัญหาโรคพิษสุนัขบ๎า
3. ยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยน (มีปัจจัยภายในที่เป็นจุดแข็ง แตํปัจจัยภายนอกมีภัยคุกคามไมํเอื้ออานวยตํอ
การพัฒนา – Strength & Threat) เป็นประเด็นการพัฒนาที่กลุํมจังหวัดมีศักยภาพอยูํในปัจจุบัน แตํปัจจัย
ภายนอกไมํเอื้ออานวยตํอการขยายตัว จึงควรมีการวางแผนพัฒนาเชิงพื้นที่เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบหรือ
กระบวนการผลิตเพื่อให๎สามารถตอบสนองกับกระแสที่เป็นปัจจัยนอกได๎อยํางเหมาะสม ได๎แกํ
1) การปศุสัตว์แบบดั้งเดิม กลุํมจังหวัดมีการเพาะเลี้ยงสัตว์เพื่อการพาณิชย์อยูํเป็นจานวนมาก
ทั้งการเพาะเลี้ยง ด๎วยเกษตรกรรายยํอย และเพาะเลี้ยงด๎วยบริษัทขนาดใหญํ กระแสความต๎องการสินค๎าปศุสัตว์
เพื่อเป็นอาหารในปัจจุบันและอนาคต จะให๎ความสาคัญกับคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์เป็นอยํางมาก สํงผลให๎
การปศุสัตว์แบบดั้งเดิมที่เคยเป็นฐานการผลิตหลักของกลุํมจังหวัดไมํสามารถตอบสนองกับความต๎องการของตลาด
ได๎อยํางมีประสิทธิภาพจึงต๎องมีการปรับเปลี่ยนให๎มีความสามารถตรงกับความต๎องการตํอไป
2) อุตสาหกรรมที่กํอให๎เกิดผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อมและชุมชนสูง ได๎แกํ อุตสาหกรรมเหมืองแรํ และ
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ ซึ่งจังหวัดเป็นแหลํงทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นวัตถุดิบของกลุํมอุตสาหกรรมดังกลําว จึงมี
ยํานโรงงานอุตสาหกรรมอยูํในบางพื้นที่ และการประกอบการได๎สํงผลกระทบกับประชาชนและสิ่งแวดล๎อมเป็น
อยํางมาก ไมํสอดคล๎องกับแนวทางอุตสาหกรรมสะอาดและปลอดมลพิษของรัฐบาล
3) การทํองเที่ยวเชิงนิเวศน์กระแสหลัก จังหวัดมีแหลํงทํองเที่ยวเชิงนิเวศน์ที่มีชื่อเสียงทั้งในระดับชาติ
และระดับนานาชาติอยูํหลายแหํง แตํมักเป็นพื้นที่รองรับนักทํองเที่ยวกระแสหลักที่มีแนวโน๎มจะใช๎
ทรัพยากรธรรมชาติอยํางสิ้นเปลืองและไมํเป็นมิตรกับสิ่งแวดล๎อม ในขณะที่ทิศทางการทํองเที่ยวในระดับสากล
หันมาให๎ความสาคัญกับการทํองเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล๎อมมากขึ้นให๎ความสาคัญกับการเรียนรู๎คูํขนานไปกับ
การพักผํอนหยํอนใจ

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 78


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

4. ยุทธศาสตร์แนวโน้มถดถอย (มีปัจจัยภายในที่เป็นจุดอํอน และมีภัยคุกคามไมํเอื้ออานวยตํอการพัฒนา –


Weakness & Threat) เป็นประเด็นที่เป็นจุดอํอนของจังหวัดและปัจจัยภายนอกก็ไมํเอื้ออานวยตํอการประกอบ
กิจการดังกลําว จึงเป็นประเด็นที่จะมีการถดถอยในอนาคต และจะต๎องมีการเตรียมการเพื่อรองรับแรงงานและ
พื้นที่กิจกรรมที่ลดลงอยํางเหมาะสม ได๎แกํ
1) เกษตรกรรมนอกเขตพื้นที่ที่เหมาะสมตํอการทาการเกษตร จังหวัดมีพื้นที่เกษตรกรรมขนาด
ใหญํ แตํมีพื้นที่ เกษตรกรรมในปัจจุบันบางสํวนที่อยูํบนพื้นที่ที่ไมํเหมาะสมตํอการเพาะปลูกสํงผลให๎ผลผลิตที่ได๎มี
คุณภาพและปริมาณน๎อย อีกทั้งยังสํงผลกระทบตํอสิ่งแวดล๎อมเป็นอยํางมากอีกด๎วย จึงต๎องมีการวางผังพัฒนาเพื่อ
การปรับปรุงพื้นที่เหลํานั้น ให๎สามารถใช๎งานได๎อยํางเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ตํอไป

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 79


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ส่วนที่ 3
สรุปข้อมูลแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 80


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ตาแหน่งทางยุทธศาสตร์
1. เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม การเกษตร การทํองเที่ยว Logistics และพลังงานสะอาด
ในภูมิภาค
2. เป็นศูนย์กลางการศึกษา ศาสนา กีฬา ศิลปวัฒนธรรม และสาธารณสุขที่มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานสากล ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
3. เป็นแหลํงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม
4. เป็นศูนย์กลางในการป้องกันภัยคุกคาม และเสริมสร๎างความมั่นคง เพื่อปกป้อง
สถาบันหลักของชาติ
5. เป็นที่ตั้งของสํวนราชการที่มีการบริหารจัดการภาครัฐแบบบูรณาการอยางยั่งยืน
วิสัยทัศน์ จังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564)

“โคราชเมืองน่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย”

เป้าประสงค์รวม
1) เพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขํงขันด๎านเศรษฐกิจของจังหวัด
2) ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีความปลอดภัยในชีวิต
และทรัพย์สิน
3) มีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์และมีสภาพแวดล๎อมที่เหมาะสมตํอการดาเนินชีวิต
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
4) เพื่อเสริมสร๎างความมั่นคง ในการป้องกันและแก๎ไขปัญหาภัยคุกคาม และปกป้อง
สถาบันหลักของชาติ
5) เพื่อให๎หนํวยงานภาครัฐมีสมรรถนะสูงอยํางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อสนับสนุน
การบริหารจัดการทุกด๎าน
ประเด็นยุทธศาสตร์
1) การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการแขํงขันเศรษฐกิจ
2) ยกระดับสังคมให๎เป็นเมืองนําอยูํ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
3) บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อมให๎มีความสมบูรณ์อยํางยั่งยืน
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
4) การเสริมสร๎างความมั่นคงทุกมิติ เพื่อปกป้องสถาบันหลักของชาติ และความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
5) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 81


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และกลยุทธ์


ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันเศรษฐกิจ
เป้าประสงค์
ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์
1. เพื่อขยาย 1. อัตราการเปลี่ยนแปลงของ 1. สํงเสริมการสร๎างมูลคําสินค๎าและบริการทั้งในและนอก
อัตราการ รายได๎เฉลี่ยของครัวเรือนใน ภาคการเกษตร (ต๎นทาง กลางทาง และปลายทาง)
เจริญเติบโต จังหวัด (%) 2. สํงเสริมการนานวัตกรรมการเกษตร อุตสาหกรรม และ
ทางเศรษฐกิจ อาหารปลอดภัย (Food Valley) มาใช๎เพิ่มศักยภาพ
ในการผลิต
2. อัตราการเปลี่ยนแปลงของ 3. สํงเสริมและพัฒนาโครงสร๎างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด เพือ่ รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
(%) 4. สํงเสริมและพัฒนาสินค๎าและบริการการทํองเที่ยวและ
การพัฒนาขีดความสามารถในการแขํงขันด๎านการทํองเที่ยว
ของจังหวัด
2. เพื่อสร๎าง 3. อัตราการวํางงาน (%) 5. นาองค์ความรู๎สูํผู๎ปฏิบัติอยํางยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจ
เสถียรภาพทาง 4. อัตราสํวนหนี้เฉลี่ยตํอ พอเพียง หรือโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
เศรษฐกิจ รายได๎เฉลี่ยของครัวเรือน
(เทํา)
5. จานวนครัวเรือนที่ได๎รับ
การสํงเสริมอาชีพในพื้นที่
เพิ่มขึ้น (ครัวเรือน/ปี)
6. อัตราสํวนการออมเฉลี่ย 6. สํงเสริมการออมของครัวเรือน
ตํอรายได๎เฉลี่ยของครัวเรือน
(%)
3. เพื่อเพิ่มขีด 7. ผลิตภาพแรงงาน 7. สร๎างโอกาสและพัฒนาฝีมือให๎กับผู๎อยูํในวัยแรงงานและ
ความสามารถ (บาท/คน) ผู๎ประกอบการ
ในการแขํงขัน 8. จานวนผู๎ประกอบการ 8. สนับสนุนการผลิตและสร๎างผลงานนวัตกรรมการเกษตร
ด๎านนวัตกรรมและเทคโนโลยี อุตสาหกรรม และอาหารปลอดภัยที่สอดคล๎องกับการพัฒนา
เพิ่มขึ้น (ราย) จังหวัด

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 82


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และกลยุทธ์


ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับสังคมให้เป็นเมืองน่าอยู่ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
เป้าประสงค์
ตัวชี้วัด กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์
1. เพื่อลดความ 1. ร๎อยละของประชากร ที่อยูํใต๎ 1. สํงเสริมอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได๎ลดรายจําย ตาม
ยากจนและ เส๎นความยากจน (%) แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และการขยายผลตาม
ความเหลื่อมล้า โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
2. สัมประสิทธิ์การกระจาย 2. สํงเสริมการกระจายรายได๎อยํางทั่วถึง และได๎รับ
รายได๎ (Gini Coefficient) สิ่งอานวยความสะดวกจากโครงสร๎างพื้นฐานของภาครัฐ
รวมทั้งระบบป้องกันภัยที่เอื้อตํอการกระจายเศรษฐกิจ
2. เพื่อพัฒนา 3. ร๎อยละผู๎อยูํในระบบ 3. สํงเสริมการเข๎าถึงระบบประกันสังคมของแรงงาน
โครงขํายความ ประกันสังคมตํอกาลังแรงงาน ในจังหวัด
คุ๎มครองทาง (%) 4. สํงเสริมการจัดบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพและ
สังคม สามารถบริการได๎อยํางครอบคลุม
5. สํงเสริมให๎สังคมปราศจากโรคระบาดจากสัตว์เรํรํอน
สูํคน
3. เพื่อสร้าง 4. ระดับความสาเร็จของ 6. สํงเสริมให๎สังคมมีภูมิคุ๎มกันทางสังคม
ภูมิคุ้มกันให้กับ หนํวยงานที่จัดกิจกรรมสํงเสริม 7. สํงเสริมและประชาสัมพันธ์ให๎ประชาชนที่ประสบ
สังคม ด๎านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ปัญหาทางสังคมขอรับบริการจากสํวนราชการที่
(ครั้ง) รับผิดชอบตามภารกิจที่กฎหมายกาหนด
4. เพื่อให๎ 5. อัตราสํวนแพทย์ตํอประชากร 8. สํงเสริมให๎มีการผลิตบุคลากรด๎านสาธารณสุขเพิ่มขึ้น
ประชาชน (แพทย์/คน) (ปี 2559 แพทย์ (แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล แพทย์เวชศาสตร์)
เข๎าถึงโอกาสทาง 626 คน ประชากร
เศรษฐกิจและ 2,629,979 คน)
สังคม 6 .ประชาชน นักศึกษาและ 9. สํงเสริมการสร๎างทักษะ ด๎านเทคโนโลยีดิจิทัล
บุคลากรด๎านดิจิทัลได๎รับความรู๎ แกํประชาชนทุกสาขาอาชีพ
และประโยชน์จากเทคโนโลยี
ดิจิทัล (คน)
7. จานวนปีการศึกษาเฉลี่ย 10. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาแกํประชากรอายุ
ประชากรไทยอายุ 15-59 ปี 15 - 59 ปี
(ปี)
8. คําเฉลี่ยคะแนน O-net ม.3 11. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู๎เรียน
(คะแนน) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให๎สูงขึ้น

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 83


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และกลยุทธ์


ยุทธศาสตร์ที่ 3 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความสมบูรณ์อย่างยั่งยืน
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
เป้าประสงค์
ตัวชี้วัด กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์
1. เพื่ออนุรักษ์ 1. อัตราการเปลี่ยนแปลงของ 1. อนุรักษ์ ฟื้นฟู และให๎ความรู๎ สร๎างจิตสานึก
สิ่งแวดล๎อมและ พื้นที่ป่าไม๎ในจังหวัด (จานวน ประชาชน ได๎ตระหนักถึงคุณคํา และประโยชน์
ทรัพยากร 1,920,525 ไรํ) ของทรัพยากรป่าไม๎ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ธรรมชาติ 2. ปริมาณขยะในจังหวัด (ตัน) 2. เพิ่มความสามารถในการจัดการขยะ และรณรงค์
ให๎ทุกภาคสํวนสานึกรับผิดชอบตํอสังคมเกี่ยวกับการ
ลดปริมาณขยะ
3.การจัดการน้าเสีย (แหํง) 3. สํงเสริมให๎องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่นดาเนินการ
จัดการน้าเสีย
4. พื้นที่บริหารจัดการน้าเพิ่มขึ้น 4. สํงเสริมให๎มีการบริหารจัดการน้าทั้งในเขต
(ไรํ) ชลประทาน และนอกเขตชลประทาน ตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง และการขยายผลตามโครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดาริ
5. พัฒนาระบบป้องกันน้าทํวมในพื้นที่ชุมชนเมือง และ
เพิ่มสิ่งกํอสร๎างเพื่อลดการพังทลายของตลิ่งตามแมํน้า
ลาคลองสายหลักของจังหวัด
2. เพื่อใช๎ 5. สัดสํวนปริมาณการใช๎น้ามัน 6. รณรงค์การใช๎พลังงานอยํางมีประสิทธิภาพในระดับ
พลังงานอยําง เชื้อเพลิงเพื่อยานพาหนะตํอ ครัวเรือน อุตสาหกรรม และภาครัฐ
มีประสิทธิภาพ ประชากร (ลิตร/คน)
6. สัดสํวนปริมาณการใช๎ไฟฟ้า
ภาคครัวเรือนตํอประชากร
(ล๎านกิโลวัตต์/คน/ปี)
7. สัดสํวนปริมาณการใช๎ไฟฟ้า
ในภาคที่ไมํใชํครัวเรือนตํอ GPP
(กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ล๎านบาท)
8. สัดสํวนปริมาณการใช๎น้ามัน
เชื้อเพลิงในภาคอุตสาหกรรม
ตํอ GPP ภาคอุตสาหกรรม
(ลิตร/ล๎านบาท)

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 84


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และกลยุทธ์


ยุทธศาสตร์ ที่ 4 การเสริมสร้างความมั่นคง ทุกมิติ เพื่อปกป้องสถาบันหลักของชาติ และความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
เป้าประสงค์
ตัวชี้วัด กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์
1. เสริมสร๎าง 1.จานวนตาบลที่เข๎า 1. สร๎างความรู๎ความเข๎าใจถึงความสาคัญของสถาบันหลักของ
ความมั่นคง รํวมกิจกรรม ชาติให๎ประชาชนได๎รับรู๎รับทราบ
เพื่อปกป้อง เสริมสร๎างความรู๎ 2.สํงเสริม พัฒนาอาชีพตามแนวทางโครงการอันเนื่องมาจาก
สถาบันหลัก ความเข๎าใจถึง พระราชดาริ
ของชาติ ความสาคัญของ 3.สํงเสริมการเรียนรู๎หลักการทรงงานและแนวพระราชดาริ
สถาบันหลักของชาติ
(ตาบล)
2. เป็นศูนย์ 2. จานวนตาบลที่เข๎า 4. การป้องกันและแก๎ไขปัญหายาเสพติด
บริหารจัดการ รํวมโครงการ/ 5. การป้องกันและแก๎ไขปัญหาแรงงานตํางด๎าวผิดกฎหมาย
เครือขํายการ กิจกรรมเครือขําย และการค๎ามนุษย์
ป้องกัน และ การป้องกันและแก๎ไข 6. การป้องกันและแก๎ไขปัญหาการบุกรุกทาลาย
แก๎ไขปัญหา ปัญหาทุกมิติ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม
ด๎านความมั่นคง (ตาบล)
ทุกมิติ 7. การป้องกันและแก๎ไขปัญหาภัยกํอการร๎ายและ
อาชญากรรมข๎ามชาติ
8.การป้องกันและแก๎ไขปัญหาภัยคุกคามรูปแบบใหมํ
9. การสํงเสริม ป้องกันและแก๎ไขปัญหาสาธารณภัย
10. การป้องกันและรักษาความสงบเรียบร๎อยภายในจังหวัด
11. สํงเสริมและสร๎างเครือขําย
3. เสริมสร๎าง 3.สร๎างการรับรู๎ที่ 12. สํงเสริมการสร๎างความปรองดองสมานฉันท์
ความปรองดอง ถูกต๎อง (ตาบล) ของประชาชน หรือนักเรียน นักศึกษา ในจังหวัด
และความ
สมานฉันท์ 4.สร๎างการมีสํวนรํวม 13. สํงเสริมการมีสํวนรํวมของทุกภาคสํวน
ในชาติ (ตาบล)

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 85


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และกลยุทธ์


ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
เป้าประสงค์
ตัวชี้วัด กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์
1. เพิ่ม 1. ร๎อยละของสถานพยาบาลที่ได๎รับการรับรอง 1. เพิ่มขีดความสามารถการให๎บริการ
ประสิทธิภาพ คุณภาพ HA (%) ภาครัฐ
การปฏิบัติ 2. ร๎อยละของครัวเรือนที่เข๎าถึงน้าประปา (%)
ราชการ
3. ร๎อยละของครัวเรือนที่เข๎าถึงไฟฟ้า (%)
4. ร๎อยละของประชากรที่เข๎าถึงอินเตอร์เน็ต
(%)
5. การให้บริการภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน
5.1 จานวนครั้ง
5.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
6. ร๎อยละความสาเร็จของการเบิกจําย
งบประมาณ (%)
7. ร๎อยละของภาษีท๎องถิ่นที่จัดเก็บรายได๎ ไมํ 2. เพิ่มขีดความการจัดเก็บรายได๎ของ
รวมเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (%) (ปี 58 จานวน องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น
1,855,699,358 บาท)
2. เพิ่ม 8. ร้อยละความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการ 3. การพัฒนาบุคลากร
ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร 4 การปรับปรุงระบบสารสนเทศ
การพัฒนา 8.1 ประชาชน 5. การปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กร
องค์กร 8.2 บุคลากรภายในองค์กร
6. การสร๎างความโปรํงใสในองค์กร

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 86


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

สรุป
วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์รวม ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และกลยุทธ์

-
วิสัยทัศน์ :
โคราชเมืองน่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย
เพื่อเพิ่มศักยภาพ ประชาชนมีคุณภาพ มีทรัพยากร ธรรมชาติ เพื่อเสริมสร้างความ เพื่อให้หน่วยงาน
และขีดความ สามารถ ชีวิตที่ดี ตามแนวทาง ที่สมบูรณ์และมีสภาพ มั่นคง ในการป้องกันและ ภาครัฐมีสมรรถนะสูง
เป้าประสงค์ ในการแข่งขันด้าน เศรษฐกิจพอเพียง และ แวดล้อมที่เหมาะสม แก้ไขปัญหาภัยคุกคาม อย่างมีประสิทธิภาพ
รวม เศรษฐกิจของจังหวัด มีความปลอดภัยในชีวิต ต่อการดาเนินชีวิต และปกป้องสถาบันหลัก และประสิทธิผล เพือ่
และทรัพย์สนิ ตามแนวทางเศรษฐกิจ ของชาติ สนับสนุนการบริหาร
พอเพียง จัดการทุกด้าน
การพัฒนาและ ยกระดับสังคม บริหารจัดการ การเสริมสร้างความ การพัฒนาระบบ
เพิ่มศักยภาพ ให้เป็นเมืองน่าอยู่ ทรัพยากรธรรมชาติและ มั่นคงทุกมิติ เพื่อปกป้อง การบริหารจัดการ
ประเด็น การแข่งขัน ตามแนวทาง สิ่งแวดล้อม สถาบันหลักของชาติ ภาครัฐ
ให้มีความสมบูรณ์อย่าง และความปลอดภัยใน
ยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพียง
ยั่งยืน ตามแนวทาง ชีวิตและทรัพย์สนิ ของ
เศรษฐกิจพอเพียง ประชาชน
เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ 2 เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์
เชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด
กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 87


แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560

ส่วนที่ 4
แบบ จ.1

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2561 - 2564 หน้า 88


แบบฟอร์มการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560
วิสัยทัศน์ : โคราชเมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย แบบ จ.1
ค่าฐาน ค่าเป้าหมาย (พ.ศ.)
เป้าประสงค์ (ปี 60/ปีลา่ สุด)
ยุทธศาสตร์ที่ ตัวชี้วดั 2561 2562 2563 2564 2564 - กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์ (Baseline) 2564
ยุทธศาสตร์ที่ 1. เพือ่ ขยายอัตราการ 1. อัตราการเปลีย่ นแปลงของ 8.67 8.95 9.10 9.20 9.30 9.14 1. ส่งเสริมการสร้างมูลค่าสินค้าและบริการ ทัง้ ในและนอก
เจริญเติบโตทาง รายได้เฉลีย่ ของครัวเรือนใน ภาคการเกษตร (ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง)
1 การพัฒนา เศรษฐกิจ จังหวัด (%) 2. ส่งเสริมการนานวัตกรรมการเกษตร อุตสาหกรรม และ
และเพิ่ม อาหารปลอดภัย (Food Valley) มาใช้เพิม่ ศักยภาพในการผลิต
ศักยภาพการ
แข่งขัน 2. อัตราการเปลีย่ นแปลงของ - 0.58 1.00 1.10 1.15 1.20 1.11 3. ส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบโลจิสติกส์
เศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (%) เพือ่ รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
4. ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าและบริการการท่องเทีย่ วและการ
พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเทีย่ วของ
จังหวัด
2. เพือ่ สร้าง 3. อัตราการว่างงาน (%) 1.67 1.65 1.63 1.61 1.59 1.57 5. นาองค์ความรู้สผู่ ปู้ ฏิบัติอย่างยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจ
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ พอเพียง หรือโครงการ อันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ

4. อัตราส่วนหนีเ้ ฉลีย่ ต่อ 9.32 9.00 8.90 8.70 8.60 8.80


รายได้เฉลีย่ ของครัวเรือน (เท่า)
5. จานวนครัวเรือน ทีไ่ ด้รับ 320 320 320 320 320 320
การส่งเสริมอาชีพในพืน้ ที่
เพิม่ ขึน้ (ครัวเรือน/ปี)
6. อัตราส่วนการออมเฉลีย่ ต่อ 29.31 30.00 30.10 30.20 30.30 30.15 6. ส่งเสริมการออมของครัวเรือน
รายได้เฉลีย่ ของครัวเรือน (%)
3. เพือ่ เพิม่ 7. ผลิตภาพแรงงาน (บาท/คน) 114,298 120,013 126,014 132,314 138,930 129,318 7. สร้างโอกาสและพัฒนาฝีมือให้กับผูอ้ ยู่ในวัยแรงงานและ
ขีดความสามารถ ผูป้ ระกอบการ
ในการแข่งขัน
8. จานวนผูป้ ระกอบการ 150 ๒๐๐ ๒๒๐ ๒๔๐ ๒๕๐ ๒๒๘ 8. สนับสนุนการผลิตและสร้างผลงานนวัตกรรมการเกษตร
ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี อุตสาหกรรม และอาหารปลอดภัยทีส่ อดคล้องกับการพัฒนา
เพิม่ ขึน้ (ราย) จังหวัด
แบบฟอร์มการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560
วิสัยทัศน์ : โคราชเมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย แบบ จ.1
ค่าฐาน ค่าเป้าหมาย (พ.ศ.)
เป้าประสงค์ (ปี 60/ปีลา่ สุด)
ยุทธศาสตร์ที่ ตัวชี้วดั 2561 2562 2563 2564 2564 - กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์ (Baseline) 2564
ยุทธศาสตร์ที่ 1. เพื่อลดความ 1. ร้อยละของ 17.06 17.00 16.80 16.60 16.40 16.70 1. ส่งเสริมอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ลดรายจ่าย
2 ยกระดับ ยากจนและความ ประชากร ที่อยูใ่ ต้เส้น ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และการขยายผล
สังคมให้เป็น เหลือ่ มล้า ความยากจน (%) ตามโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ
เมืองน่าอยู่ 2. สัมประสิทธิ์การ 0.44 0.40 0.38 0.36 0.34 0.37 2. ส่งเสริมการกระจายรายได้อย่างทั่วถึง และ
ตามแนวทาง กระจายรายได้ ได้รับสิง่ อานวยความสะดวกจากโครงสร้างพื้นฐาน
เศรษฐกิจ (Gini Coefficient) ของภาครัฐ รวมทั้งระบบป้องกันภัยที่เอือ้ ต่อการ
พอเพียง กระจายเศรษฐกิจ
2. เพื่อพัฒนา 3. ร้อยละผูอ้ ยูใ่ น 22.88 29.00 30.00 31.00 31.00 30.25 3. ส่งเสริมการเข้าถึงระบบประกันสังคมของ
โครงข่ายความ ระบบประกันสังคม แรงงานในจังหวัด
คุม้ ครองทาง ต่อกาลังแรงงาน (%) 4. ส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ
สังคม และสามารถบริการได้อย่างครอบคลุม
5. ส่งเสริมให้สังคมปราศจากโรคระบาดจากสัตว์
เร่ร่อนสูค่ น
3. เพื่อสร้าง 4. ระดับความสาเร็จ 70 75 80 85 90 83 6. ส่งเสริมให้สังคมมีภูมิคมุ้ กันทางสังคม
ภูมิคมุ้ กันให้กบั ของหน่วยงานที่จดั 7. ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนที่
สังคม กิจกรรมส่งเสริมด้าน ประสบปัญหาทางสังคมขอรับบริการจากส่วน
ศาสนา ศิลปะ ราชการที่รับผิดชอบตามภารกิจที่กฎหมายกาหนด
วัฒนธรรม (ครั้ง)
ค่าฐาน ค่าเป้าหมาย (พ.ศ.)
เป้าประสงค์ (ปี 60/ปีลา่ สุด)
ยุทธศาสตร์ที่ ตัวชี้วดั 2561 2562 2563 2564 2564 - กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์ (Baseline) 2564
4. เพื่อให้ 5. อัตราส่วนแพทย์ 1 : 4,201 1 : 4,150 1 : 4,100 1 : 4,050 1 : 4,000 4,125 8. ส่งเสริมให้มีการผลิตบุคลากรด้านสาธารณสุข
ประชาชน ต่อประชากร เพิ่มขึน้ (แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล แพทย์เวช
เข้าถึงโอกาส (แพทย์/คน) (ปี ศาสตร์)
ทางเศรษฐกิจ 2559 แพทย์ 626
และสังคม คน ประชากร
2,629,979 คน)
6 .ประชาชน นักศึกษา 8,000 ๑๐,๐๐๐ ๑๒,๐๐๐ ๑๔,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐ ๑๒,๗๕๐ 9. ส่งเสริมการสร้างทักษะ ด้านเทคโนโลยีดิจทิ ัล
และบุคลากรด้านดิจิทัล แก่ประชาชนทุกสาขาอาชีพ
ได้รับความรูแ้ ละ
ประโยชน์จากเทคโนโลยี
ดิจิทัล (คน)

7. จานวนปีการศึกษา 9.20 9.25 9.30 9.35 9.40 9.33 10. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรอายุ


เฉลีย่ ประชากรไทย 15-59 ปี
อายุ 15-59 ปี (ปี)

8. ค่าเฉลีย่ คะแนน 34.43 35.00 36.00 37.00 38.00 36.50 11. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียน
O-net ม.3 (คะแนน) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้สูงขึน้
แบบฟอร์มการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560
วิสัยทัศน์ : โคราชเมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย แบบ จ.1
ค่าฐาน ค่าเป้าหมาย (พ.ศ.)
เป้าประสงค์ (ปี 60/ปีลา่ สุด)
ยุทธศาสตร์ที่ ตัวชี้วดั 2561 2562 2563 2564 2564 - กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์ (Baseline) 2564
ยุทธศาสตร์ที่ 1. เพื่ออนุรักษ์ 1. อัตราการ 0.07 0.08 0.09 0.10 0.11 0.10 1. อนุรักษ์ ฟื้นฟู และให้ความรู้ สร้างจิตสานึก
3 บริหาร สิง่ แวดล้อมและ เปลีย่ นแปลงของ ประชาชน ได้ตระหนักถึงคุณค่า และประโยชน์
จัดการ ทรัพยากร พื้นที่ป่าไม้ในจังหวัด ของทรัพยากรป่าไม้
ทรัพยากร ธรรมชาติ (ปี 58 จานวน
ธรรมชาติและ 1,920,525 ไร่)
สิง่ แวดล้อม 2. ปริมาณขยะ 837,310 800,000 770,000 740,000 710,000 755,000 2. เพิ่มความสามารถในการจัดการขยะ และ
ให้มีความ ในจังหวัด (ตัน) รณรงค์ให้ทุกภาคส่วนสานึกรับผิดชอบต่อสังคม
สมบูรณ์อย่าง เกีย่ วกับการลดปริมาณขยะ
ยัง่ ยืน ตาม
แนวทาง 3.การจัดการน้าเสีย 6 2 2 2 2 2 3. ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
เศรษฐกิจ (แห่ง) ดาเนินการจัดการน้าเสีย
พอเพียง
4. พื้นที่บริหาร 12,808,125 100 100 100 100 100 4. ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้าทั้งในเขต
จัดการน้าเพิ่มขึน้ (ไร่) ชลประทาน และนอกเขตชลประทาน

5. พัฒนาระบบป้องกันน้าท่วมในพื้นที่ชุมชน
เมือง และเพิ่มสิง่ ก่อสร้างเพื่อลดการพังทลาย
ของตลิง่ ตามแม่น้าลาคลองสายหลักของจังหวัด
ค่าฐาน ค่าเป้าหมาย (พ.ศ.)
เป้าประสงค์ (ปี 60/ปีลา่ สุด)
ยุทธศาสตร์ที่ ตัวชี้วดั 2561 2562 2563 2564 2564 - กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์ (Baseline) 2564
2. เพื่อใช้ 5. สัดส่วนปริมาณ 404.00 400.00 395.00 390.00 385.00 392.50 6. รณรงค์การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
พลังงานอย่างมี การใช้น้ามันเชือ้ เพลิง ในระดับครัวเรือน อุตสาหกรรม และภาครัฐ
ประสิทธิภาพ เพื่อยานพาหนะต่อ
ประชากร (ลิตร/คน)
6. สัดส่วนปริมาณ 462.00 455.00 450.00 445.00 440.00 447.50
การใช้ไฟฟ้าภาค
ครัวเรือนต่อประชากร
(ล้านกิโลวัตต์/คน/ปี)

7. สัดส่วนปริมาณ 15,942 15,500 15,000 14,500 14,000 14,750


การใช้ไฟฟ้าในภาคที่
ไม่ใช่ครัวเรือนต่อ
GPP (กิโลวัตต์-
ชัว่ โมง/ล้านบาท)
8. สัดส่วนปริมาณ 331.00 327.00 323.00 318.00 314.00 320.50
การใช้น้ามันเชือ้ เพลิง
ในภาคอุตสาหกรรม
ต่อ GPP
ภาคอุตสาหกรรม
(ลิตร/ล้านบาท)
แบบฟอร์มการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560
วิสัยทัศน์ : โคราชเมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย แบบ จ.1
ค่าฐาน ค่าเป้าหมาย (พ.ศ.)
เป้าประสงค์ (ปี 60/ปีลา่ สุด)
ยุทธศาสตร์ที่ ตัวชี้วดั 2561 2562 2563 2564 2564 - กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์ (Baseline) 2564
ยุทธศาสตร์ 1. เสริมสร้าง 1.จานวนตาบลที่เข้า 32 32 32 32 32 32 1. สร้างความรู้ความเข้าใจถึงความสาคัญของ
ที่ 4 การ ความมัน่ คงเพื่อ ร่วมกิจกรรม สถาบันหลักของชาติให้ประชาชนได้รับรู้รับทราบ
เสริมสร้าง ปกป้องสถาบัน เสริมสร้างความรู้ 2. ส่งเสริมพัฒนาอาชีพตามแนวทางโครงการ
ความมัน่ คง หลักของชาติ ความเข้าใจถึง อันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ
ทุกมิติ เพื่อ ความสาคัญของ
3. ส่งเสริมการเรียนรู้หลักการทรงงานและ
ปกป้อง สถาบันหลักของชาติ
แนวพระราชดาริ
สถาบันหลัก (ตาบล)
ของชาติ และ 2. เป็นศูนย์ 2. จานวนตาบลที่เข้า 32 32 32 32 32 32 4. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ความ บริหารจัดการ ร่วมโครงการ/ 5. การป้องกันและแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว
ปลอดภัยใน เครือข่ายการ กิจกรรมเครือข่าย ผิดกฎหมาย และการค้ามนุษย์
ชีวติ และ ป้องกัน และ การป้องกันและแก้ไข
ทรัพย์สินของ แก้ไขปัญหา 6. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการบุกรุก
ปัญหาทุกมิติ (ตาบล) ทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ประชาชน ด้านความมัน่ คง 7. การป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยก่อการร้าย
ทุกมิติ และอาชญากรรมข้ามชาติ
8. การป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคาม
รูปแบบใหม่
9. การส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา
สาธารณภัย
10. การป้องกันและรักษาความสงบเรียบร้อย
ภายในจังหวัด
11. ส่งเสริมและสร้างเครือข่าย
ค่าฐาน ค่าเป้าหมาย (พ.ศ.)
เป้าประสงค์ (ปี 60/ปีลา่ สุด)
ยุทธศาสตร์ที่ ตัวชี้วดั 2561 2562 2563 2564 2564 - กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์ (Baseline) 2564
3. เสริมสร้าง 3.สร้างการรับรู้ที่ 32 32 32 32 32 32 12. ส่งเสริมการสร้างความปรองดองสมานฉันท์
ความปรองดอง ถูกต้อง (ตาบล) ของประชาชน หรือนักเรียน นักศึกษา ในจังหวัด
และความ
สมานฉันท์ในชาติ 4.สร้างการมีส่วนร่วม 32 32 32 32 32 32 13. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
(ตาบล)
แบบฟอร์มการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ทบทวนปี พ.ศ.2560
วิสัยทัศน์ : โคราชเมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย แบบ จ.1
ค่าฐาน ค่าเป้าหมาย (พ.ศ.)
เป้าประสงค์ (ปี 60/ปีลา่ สุด)
ยุทธศาสตร์ที่ ตัวชี้วดั 2561 2562 2563 2564 2564 - กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์ (Baseline) 2564
ยุทธศาสตร์ที่ 1. เพิ่ม 1. ร้อยละของ 66.00 72.00 82.00 90.00 100.00 86.00 1. เพิ่มขีดความสามารถการให้บริการ
5 การพัฒนา ประสิทธิภาพ สถานพยาบาลที่ ภาครัฐ
ระบบการ การปฏิบัติ ได้รับการรับรอง
บริหารจัดการ ราชการ คุณภาพ HA (%)
ภาครัฐ 2. ร้อยละของ 13.24 15.00 17.00 20.00 23.00 18.75
ครัวเรือนที่เข้าถึง
น้้าประปา (%)
3. ร้อยละของ 86.95 87.20 87.40 87.60 87.80 87.50
ครัวเรือนที่เข้าถึง
ไฟฟ้า (%)
4. ร้อยละของ 36.52 40.00 42.00 44.00 46.00 43.00
ประชากรที่เข้าถึง
อินเตอร์เน็ต (%)
5. การให้บริการ
ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ
และเอกชน
5.1 จ้านวนครั้ง 24.00 24.00 24.00 24.00 24.00 24.00
5.2 ร้อยละความ 80.00 82.00 84.00 86.00 88.00 85.00
พึงพอใจของ
ผูร้ ับบริการ
ค่าฐาน ค่าเป้าหมาย (พ.ศ.)
เป้าประสงค์ (ปี 60/ปีลา่ สุด)
ยุทธศาสตร์ที่ ตัวชี้วดั 2561 2562 2563 2564 2564 - กลยุทธ์
เชิงยุทธศาสตร์ (Baseline) 2564
6. ร้อยละ 93.50 94.00 94.50 95.00 95.50 94.75 1. เพิ่มขีดความสามารถการให้บริการ
ความส้าเร็จของการ ภาครัฐ (ต่อ)
เบิกจ่ายงบประมาณ
(%)
7. ร้อยละของภาษี 13.13 14.00 14.30 14.60 14.90 14.45 2. เพิ่มขีดความการจัดเก็บรายได้ของ
ท้องถิน่ ที่จดั เก็บ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
รายได้ ไม่รวมเงิน
อุดหนุนเฉพาะกิจ (%)
(ปี 58
จ้านวน
1,855,699,358
บาท)
2. เพิ่ม 8. ร้อยละความ 3. การพัฒนาบุคลากร
ประสิทธิภาพ พึงพอใจต่อ 4 การปรับปรุงระบบสารสนเทศ
การพัฒนาองค์กร ประสิทธิภาพ 5. การปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กร
การพัฒนาองค์กร 6. การสร้างความโปร่งใสในองค์กร
8.1 ประชาชน 80.00 82.00 84.00 86.00 88.00 85.00
8.2 บุคลากร 80.00 82.00 84.00 86.00 88.00 85.00
ภายในองค์กร
งบหน้าแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2564)
ข้อมูล ณ วันที่ 4 กันยายน 2560
งบประมาณ พ.ศ.2561 - 2564 (บาท)
ประเด็นยุทธศษศาสตร์/แหล่งงบประมาณ
พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 พ.ศ.2561 - 2564
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันเศรษฐกิจ
รวมงบประมาณจังหวัด (1) 1,137,781,804 2,563,786,000 828,901,404 828,901,404 3,624,486,016
รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 7,087,107,900 36,450,000 6,269,148,915 4,935,836,552 27,380,513,917
รวมงบประมาณเอกขน (3) 800,000 - 800,000 800,000 3,200,000
รวมงบประมาณ อปท. (4) - - 40,000,000 - 40,000,000
รวม 2 โครงการ งบประมาณรวม 8,225,689,704 2,600,236,000 7,138,850,319 5,765,537,956 31,048,199,933
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับสังคม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รวมงบประมาณจังหวัด (1) 535,000,000 1,555,000,000 405,000,000 385,000,000 1,960,000,000
รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 1,200,000,000 2,891,000,000 200,000,000 10,000,000 1,071,000,000
รวมงบประมาณเอกขน (3) - - - - -
รวมงบประมาณ อปท. (4) - - - - -
รวม 1 โครงการ งบประมาณรวม 1,735,000,000 4,446,000,000 605,000,000 395,000,000 3,031,000,000
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความสมบูรณ์อย่างยั่งยืน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
รวมงบประมาณจังหวัด (1) 86,000,000 310,000,000 70,000,000 70,000,000 296,000,000
รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 4,539,166,000 4,222,500,000 110,000,000 70,000,000 4,941,666,000
รวมงบประมาณเอกขน (3) 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 200,000,000
รวมงบประมาณ อปท. (4) -
รวม 1 โครงการ งบประมาณรวม 4,675,166,000 4,582,500,000 230,000,000 190,000,000 5,437,666,000
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การเสริมสร้างความมั่นคงทุกมิติ เพื่อปกป้องสถาบันหลักของชาติและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
รวมงบประมาณจังหวัด (1) 80,000,000 80,000,000 80,000,000 80,000,000 320,000,000
รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 200,000,000
รวมงบประมาณเอกขน (3) - - - - -
รวมงบประมาณ อปท. (4) - - - - -
รวม 1 โครงการ งบประมาณรวม 130,000,000 130,000,000 130,000,000 130,000,000 520,000,000
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
รวมงบประมาณจังหวัด (1) 40,000,000 60,000,000 20,000,000 20,000,000 100,000,000
รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 20,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 80,000,000
รวมงบประมาณเอกขน (3) 80,000,000 100,000,000 100,000,000 100,000,000 380,000,000
รวมงบประมาณ อปท. (4) - - - - -
รวม 1 โครงการ งบประมาณรวม 140,000,000 180,000,000 140,000,000 140,000,000 560,000,000
ค่าใช้จ่ายในการบริหารงานจังหวัด/กลุ่ม 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 40,000,000
จังหวัดแบบูรณาการ
รวม 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ และค่าใช้จ่ายในการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
รวมงบประมาณจังหวัด (1) 1,878,781,804 4,568,786,000 1,403,901,404 1,383,901,404 6,300,486,016
รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 12,896,273,900 7,219,950,000 6,649,148,915 5,085,836,552 33,673,179,917
รวมงบประมาณเอกขน (3) 130,800,000 150,000,000 150,800,000 150,800,000 583,200,000
รวมงบประมาณ อปท. (4) - - 40,000,000 - 40,000,000
ค่าใช้จรวม
่ายในการบริ หารงาน6ฯโครงการ
5 ยุทธศาสตร์
งบประมาณรวม 14,905,855,704 11,938,736,000 8,243,850,319 6,620,537,956 40,596,865,933

กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด
สานักงานจังหวัดนครราชสีมา
โทรศัพท์/โทรสาร 0 4424 3129
หน ้าที่ 1

วิสัยทัศน์ : โคราชเมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย แบบ จ.1 ฟอร์ม 2
บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
กลยุทธ์
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 พ.ศ.2561 - 2564
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาและเพิม่ ศักยภาพการแข่งขันเศรษฐกิจ 8,316,689,704 3,393,332,000 7,118,850,319 5,745,537,956 24,574,409,979
1 โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการเกษตรและ 1-8 1,2 1 7,896,189,704 2,580,236,000 6,698,350,319 5,685,037,956 22,859,813,979
อุตสาหกรรมปลอดภัย Food Valley เว้น 4
1.1 กิจกรรมหลัก จัดตั้งศูนย์วิจยั และ 2 2 1 มรฎ.นม./มทส. 396,740,500 7,000,000 64,175,000 19,740,000 487,655,500
พัฒนาการเกษตรและอาหาร และหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
1.2 กิจกรรมหลัก จัดตั้ง Northeastern 2 2 1 มทส. 448,700,000 12,000,000 151,600,000 612,300,000
Food Valley จังหวัดนครราชสีมา
1.3 กิจกรรมหลัก การพัฒนา ปรับปรุง และ 1 1 1 พด.นม. และ 22,198,804 - 22,198,804 22,198,804 66,596,412
เพิม่ ศักยภาพและคุณภาพของดิน รวมทัง้ หน่วยงานอื่นที่
การป้องกันการ ชะล้างพังทลายของดิน เกี่ยวข้อง
ตามแนวทางโครงการอันเนือ่ งมาจาก
พระราชดาริ
1.4 กิจกรรมหลัก การพัฒนา ปรับปรุง และ 1 1 1 อาเภอ และ 347,435,400 481,671,000 238,555,000 238,555,000 1,306,216,400
ก่อสร้างแหล่ง กักเก็บน้าทัง้ ในเขต และ หน่วยงานอื่นที่
นอกเขตชลประทาน รวมทัง้ ระบบผันน้า/ เกี่ยวข้อง
ส่งน้า ทางและสะพานข้ามลาน้าและ
สิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวเนือ่ ง
คป.นม./คป. ลาตะคอง/ 5,665,881,000 - 5,472,900,000 4,692,921,735 15,831,702,735
1 2 1 คป.ลาพระเพลิง/คป.ลา
ปลายมาศ/คป.ทุ่ง
สัมฤทธิ์/คป. มูลบน-ลา
แชะ/คป.มูลกลาง/
ก่อสร้าง 8

1.5 กิจกรรม เพิม่ ผลผลิตพัฒนาคุณภาพและ 1 1 1 ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว/ 60,000,000 288,317,000 60,000,000 60,000,000 468,317,000
ลดต้นทุนการปลูกพืชเศรษฐกิจ และ ศูนย์วจิ ัยข้าว/ศูนย์
กิจกรรมเพือ่ Food Valley หม่อนไหมฯ/ปศ.นม.
หน ้าที่ 2

แบบ จ.1 ฟอร์ม 2


บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
กลยุทธ์
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 พ.ศ.2561 - 2564
1.6 กิจกรรม เพิม่ ผลผลิตและคุณภาพสัตว์ 2 1 1 ปศ.นม./ปม.นม./ 50,000,000 139,742,000 50,000,000 50,000,000 289,742,000
เศรษฐกิจ และกิจกรรมเพือ่ Food Valley มทส. และ
ด้วยนวัตกรรม หน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
2 2 1 ปศ.นม. และ 22,571,500 - 27,259,015 29,959,917 79,790,432
หน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
1.7 กิจกรรมหลัก การพัฒนาศักยภาพ 5,7,8 1 1 กส.นม./กษ.นม./ 34,147,600 36,279,000 34,147,600 34,147,600 138,721,800
บุคลากรของรัฐ เกษตรกร ผู้อยู่ในวัย สหก.นม./มรฎ.นม.
แรงงาน และผู้ประกอบการ ตามหลัก และหน่วยงานอื่น
เศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปัญญาชาวบ้าน ทีเ่ กี่ยวข้อง
หลักวิชาการ นวัตกรรมใหม่ ในยุคดิจทิ ัล
2 1 มทส. 172,360,400 - 172,360,400 172,360,400 517,081,200
1.8 กิจกรรมหลัก การแปรรูปผลผลิต 1 1 1 พช.นม./สหก.นม./ 90,000,000 182,078,000 74,000,000 74,000,000 420,078,000
การเกษตรและสร้างมูลค่าเพิม่ ด้วย กส.นม/กษ.นม./
นวัตกรรมใหม่ พลังงานทดแทน อก.นม./พณ.นม./
มรฎ.นม./พลง.นม.
และหน่วยงานอื่น
ทีเ่ กี่ยวข้อง
1.9 กิจกรรมหลัก การแปรรูปผลผลิตสัตว์ 1 4 1 ปศ.นม. และ - - 40,000,000 - 40,000,000
เศรษฐกิจ หน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
1.10 กิจกรรมหลัก ก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง 3 1 1 ขทช.นม./อาเภอ 560,000,000 1,388,499,000 250,000,000 250,000,000 2,448,499,000
พัฒนา ยกระดับเส้นทางคมนาคมขนส่ง และหน่วยงานอื่นที่
และ การบริหารจัดการ (โลจิสติกส์) เกี่ยวข้อง
สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม 3 2 1 มทส. 10,354,500 17,450,000 10,354,500 10,354,500 48,513,500
หน ้าที่ 3

แบบ จ.1 ฟอร์ม 2


บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
กลยุทธ์
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 พ.ศ.2561 - 2564
1.11 กิจกรรมหลัก พัฒนาระบบการตลาดสินค้า 1 1 1 พณ.นม./กส.นม./กษ. 15,000,000 27,200,000 30,000,000 30,000,000 102,200,000
เกษตร อุตสาหกรรมทีแ่ ปรรูปและ นม./ปศ.นม. และ
ไม่แปรรูป หน่วยงานอืน่ ที่
เกีย่ วข้อง

1 3 1 ปศ.นม. และ 800,000 - 800,000 800,000 2,400,000


หน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
1.12 กิจกรรมหลัก การเกษตรครบวงจร 1 1 1 สนจ.นม./พด.นม/ 20,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 80,000,000
คป.นม./กษ.นม./
กส.นม./ปม.นม./
ปศ.นม./สหก.
นม./พช.นม./อก.
นม./พณ.นม./
อาเภอ และ
หน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง

รวมงบประมาณจังหวัด (1) 1,198,781,804 2,563,786,000 778,901,404 778,901,404 5,320,370,612


รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 6,716,607,900 36,450,000 5,898,648,915 4,925,336,552 17,577,043,367
รวมงบประมาณองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) 800,000 - 800,000 800,000 2,400,000
รวมงบประมาณ เอกชน (4) - - 40,000,000 - 40,000,000
รวมงบประมาณโครงการที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 7,916,189,704 2,600,236,000 6,718,350,319 5,705,037,956 22,939,813,979
หน ้าที่ 4

แบบ จ.1 ฟอร์ม 2


บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
กลยุทธ์
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 พ.ศ.2561 - 2564
2 โครงการพัฒนาศักยภาพและยกระดับสินค้าและ 4 1 1 420,500,000 813,096,000 420,500,000 60,500,000 1,714,596,000
บริการการท่องเทีย่ วและกีฬา
2.1 กิจกรรหลัก ทบทวนแผนการท่องเทีย่ ว 4 1 1 ทกจ.นม./ททท.นม./ 2,000,000 - 2,000,000 2,000,000 6,000,000
กีฬา และเครือข่าย กกท.นม./พช.นม./
อปท. และหน่วยงาน
อืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง
2.2 กิจกรรมหลัก การพัฒนาระบบบริหาร 4 1 1 ทกจ.นม./ททท. 2,000,000 497,000 2,000,000 2,000,000 6,497,000
จัดการการท่องเทีย่ ว กีฬา และเครือข่าย นม./กกท.นม./
พช.นม. และ
หน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
2.3 กิจกรรมหลัก การพัฒนาปัจจัยพืน้ ฐาน 4 1 1 ทกจ.นม./ททท. 10,000,000 111,800,000 10,000,000 10,000,000 141,800,000
ด้านการท่องเทีย่ ว กีฬา และเครือข่าย นม./กกท.นม./
พช.นม./อปท.
และหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
2.4 กิจกรรมหลัก การพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว 4 1 1 ทกจ.นม./ททท. 24,000,000 200,000,000 24,000,000 24,000,000 272,000,000
และกิจกรรมท่องเทีย่ ว นม./กกท.นม./
ทสจ.นม./อุทยานฯ
ในพืน้ ที่ และ
หน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
4 2 1 มทร.อีสาน และ 60,000,000 63,550,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000
หน่วยงานอืน่ ที่
เกีย่ วข้อง
หน ้าที่ 5

แบบ จ.1 ฟอร์ม 2


บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
กลยุทธ์
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 พ.ศ.2561 - 2564
2.5 กิจกรรมหลัก การพัฒนาธุรกิจบริการการ 4 1 1 ทกจ.นม./ททท.นม./ 2,000,000 - 2,000,000 2,000,000 6,000,000
ท่องเทีย่ ว กีฬา และเครือข่าย กกท.นม./พช.นม.
และหน่วยงานอืน่ ที่
เกีย่ วข้อง

4 2 1 มทส./มรฎ.นม. และ 10,500,000 9,949,000 10,500,000 10,500,000 41,449,000


หน่วยงานอืน่ ที่
เกีย่ วข้อง
2.6 กิจกรรหลัก การพัฒนาการตลาดและ 4 1 1 ทกจ.นม./ททท.นม./ 10,000,000 10,850,000 10,000,000 10,000,000 40,850,000
ประชาสัมพันธ์การท่องเทีย่ ว กีฬา และ กกท.นม./ทสจ.นม./
เครือข่าย อุทยานฯ ในพืน้ ที/่
พช.นม./อปท. และ
หน่วยงานอืน่ ที่
เกีย่ วข้อง

2.7 กิจกรรมหลัก ก่อสร้างศูนย์ประชุมและจัด 4 2 1 มทส. 360,000,000 480,000,000 360,000,000 1,200,000,000


แสดงนิทรรศการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนล่าง 1
รวมงบประมาณจังหวัด (1) 50,000,000 323,147,000 50,000,000 50,000,000 473,147,000
รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 370,500,000 489,949,000 370,500,000 10,500,000 1,241,449,000
รวมงบประมาณองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) - - - - -
รวมงบประมาณ เอกชน (4) - - - - -
รวมงบประมาณโครงการที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 1 420,500,000 813,096,000 420,500,000 60,500,000 1,714,596,000
รวมงบประมาณจังหวัด (1) 1,248,781,804 2,886,933,000 828,901,404 828,901,404 5,793,517,612
รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 7,087,107,900 526,399,000 6,269,148,915 4,935,836,552 18,818,492,367
รวมงบประมาณเอกขน (3) 800,000 - 800,000 800,000 2,400,000
รวมงบประมาณ อปท. (4) - - 40,000,000 - 40,000,000
รวมยุทธศาสตร์ที่ 1 จานวน 2 โครงการ งบประมาณรวม 8,336,689,704 3,413,332,000 7,138,850,319 5,765,537,956 24,654,409,979
วิสัยทัศน์ : โคราชเมืองน่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย แบบ จ.1 ฟอร์ม 2
บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ กลยุทธ์ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564
(8) (9) (10) (11) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) พ.ศ.2561 - 2564
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับสังคม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
1 โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ 1-11 1-2 2 1,735,000,000 4,446,000,000 605,000,000 395,000,000 5,351,000,000
คุณภาพชีวิต ทุกช่วงวัย
1.1 กิจกรรมหลัก การขยายผล 1 1 2 กส.นม./กษ.นม./พด. 100,000,000 50,000,000 60,000,000 60,000,000 270,000,000
โครงการตามแนวทางอันเนื่อง นม./ปศ.นม./ปค.นม./
มาจากพระราชดาริ สนจ.นม. และหน่วยงาน
อื่นที่เกี่ยวข้อง

1.2 กิจกรรมหลัก การขยายผล 1 1 2 กส.นม./กษ.นม./พด. 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 200,000,000


โครงการตามแนวทางเศรษฐกิจ นม./ปศ.นม./ปค.นม./
พอเพียง สนจ.นม. และหน่วยงาน
อื่นที่เกี่ยวข้อง

1.3 กิจกรรมหลัก การพัฒนาคุณภาพ 3,4,5, 1 2 สสจ./รพ.สังกัด สธ./ 55,000,000 200,000,000 55,000,000 55,000,000 365,000,000
ชีวิต ด้านสุขภาพ อนามัย และ 8 และหน่วยงานอืน่ ที่
การสาธารณสุข เกีย่ วข้อง
แบบ จ.1 ฟอร์ม 2
บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ กลยุทธ์ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564
(8) (9) (10) (11) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) พ.ศ.2561 - 2564
3,4,5, 2 2 สสจ./รพ.สังกัด สธ./ 600,000,000 200,000,000 600,000,000 600,000,000 2,000,000,000
8 และหน่วยงานอืน่ ที่
เกีย่ วข้อง

1.4 กิจกรรมหลัก การป้องกัน 5 1 2 สนจ.นม./ปศ.นม./ 200,000,000 25,000,000 25,000,000 25,000,000 275,000,000


โรคระบาดจากสัตว์สู่คน ยผ.นม. และ
หน่วยงานอืน่ ที่
เกีย่ วข้อง

1.5 กิจกรรมหลัก การพัฒนา 10,11 1 2 ศธ.นม./สพม.31/ 50,000,000 200,000,000 25,000,000 25,000,000 300,000,000
การศึกษา ตลอดช่วงชีวิต สพป.1-7/มทส./
มรฎ. และหน่วยงาน
อืน่ ที่เกีย่ วข้อง
10, 11 2 2 มทส. และหน่วยงาน 130,000,000 100,000,000 130,000,000 130,000,000 490,000,000
อืน่ ที่เกีย่ วข้อง
1.6 กิจกรรมหลัก การเสริมสร้าง 7 1 2 พมจ.นม. และหน่วยงาน 20,000,000 100,000,000 10,000,000 10,000,000 140,000,000
คุณค่าและความมั่นคงทางสังคม อื่นที่เกี่ยวข้อง
1.7 กิจกรรมหลัก การอนุรักษ์ ศิลปะ 6 1 2 วธ.นม./สนง.พระพุทธฯ 10,000,000 80,000,000 10,000,000 10,000,000 110,000,000
วัฒนธรรม และทานุบารุงศาสนา นม./อปท. และ
หน่วยงานอื่น ที่
เกี่ยวข้อง
1.8 กิจกรรมหลัก การพัฒนา 2 1 2 ยผ.นม./ขทช. นม./ขส. - 800,000,000 800,000,000 800,000,000 2,400,000,000
โครงสร้างพื้นฐาน เพื่ออานวย นม.อาเภอ และ
ความสะดวกและรองรับความ หน่วยงานอื่น ที่
เกี่ยวข้อง
เจริญของเมืองน่าอยู่
แบบ จ.1 ฟอร์ม 2
บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ กลยุทธ์ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564
(8) (9) (10) (11) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) พ.ศ.2561 - 2564
1.8 กิจกรรมหลัก การพัฒนา 2 2 2 ยผ.นม./ขทช. นม./ขส. 200,000,000 2,000,000,000 120,000,000 100,000,000 2,420,000,000
โครงสร้างพื้นฐาน เพื่ออานวย นม.อาเภอ และ
ความสะดวกและรองรับความ หน่วยงานอื่น ที่
เกี่ยวข้อง
เจริญของเมืองน่าอยู่
1.9 กิจกรรมหลัก การพัฒนาระบบ 2 2 2 ยผ.นม../สนง.ชป.ที่ 8/ 270,000,000 591,000,000 200,000,000 10,000,000 1,071,000,000
ป้องกันน้าท่วมในพื้นที่ชุมชนเมือง อปท. และหน่วยงานอื่น
ที่เกี่ยวข้อง
1.10 กิจกรรมหลัก การรักษาความ 7 1 2 (ภ.จว.นม./กอ.รมน./ปค. 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 200,000,000
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน นม.) และหน่วยงานอื่นที่
ของประชาชน เกี่ยวข้อง

รวมงบประมาณจังหวัด (1) 535,000,000 1,555,000,000 405,000,000 385,000,000 4,280,000,000


รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 1,200,000,000 2,891,000,000 200,000,000 10,000,000 1,071,000,000
รวมงบประมาณองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (3) - - - - -
รวมงบประมาณ เอกชน (4) - - - - -
รวมยุทธศาสตร์ที่ 2 จานวน 1 โครงการ งบประมาณรวม 1,735,000,000 4,446,000,000 605,000,000 395,000,000 5,351,000,000
วิสัยทัศน์ : โคราชเมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย แบบ จ.1 ฟอร์ม 2
บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ กลยุทธ์ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564
(8) (9) (10) (11) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) พ.ศ.2561 - 2564
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้มคี วามสมบูรณ์อย่างยั่งยืน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
1 โครงการบริหารจัดการทรัพยากร 1-6 4,675,166,000 4,582,500,000 4,230,000,000 4,190,000,000 17,677,666,000
ธรรมชาติสงิ่ แวดล้อม และพลังงาน
อย่างมีประสิทธิภาพ
1.1 กิจกรรมหลัก การอนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟู 1 1 3 ทสจ.นม./ 15,000,000 70,000,000 15,000,000 15,000,000 115,000,000
ทรัพยากรป่าไม้ หน่วยงานสังกัด
กทส. และ
1 2 3 หน่วยงานอืน่ ที่ 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 200,000,000
เกีย่ วข้อง

1 3 3 อปท. และ 100,000,000 100,000,000 100,000,000 100,000,000 400,000,000


หน่วยงานอื่น
ทีเ่ กี่ยวข้อง
1.2 กิจกรรมหลัก การบริหารจัดการ 2,3 1 3 ทสจ.นม./ 25,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 85,000,000
สิ่งแวดล้อมทีม่ ีประสิทธิภาพและ หน่วยงานสังกัด
ยั่งยืน กทส./มทส.
และหน่วยงาน
อืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง

5 2 3 ยผ.นม. 117,000,000 172,500,000 60,000,000 20,000,000 369,500,000


2,3 3 3 อปท. 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 200,000,000

1.3 กิจกรรมหลัก การบริหารจัดการน้า 4 1 3 ทสจ.นม./ 26,000,000 200,000,000 15,000,000 15,000,000 256,000,000


อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานสังกัด
กทส. และ
หน่วยงานอืน่ ที่
เกีย่ วข้อง
บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ กลยุทธ์ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564
(8) (9) (10) (11) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) พ.ศ.2561 - 2564
4 2 3 กรมทรัพยากร 4,372,166,000 4,000,000,000 4,000,000,000 4,000,000,000 16,372,166,000
น้า กระทรวง
ทส. กรมโยธา ฯ
กรมชลประทาน

1.4 กิจกรรมหลัก การใช้พลังงาน 6 1 3 พลง.นม. 20,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 80,000,000


อย่างมีประสิทธิภาพ และ
หน่วยงานอื่น
ทีเ่ กี่ยวข้อง
รวมงบประมาณจังหวัด (1) 86,000,000 310,000,000 70,000,000 70,000,000 536,000,000
รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 4,539,166,000 4,222,500,000 4,110,000,000 4,070,000,000 16,941,666,000
รวมงบประมาณองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 200,000,000
รวมงบประมาณ เอกชน (4)
รวมยุทธศาสตร์ที่ 3 จานวน 1 โครงการ งบประมาณรวม 4,675,166,000 4,582,500,000 4,230,000,000 4,190,000,000 17,677,666,000
วิสัยทัศน์ : โคราชเมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย แบบ จ.1 ฟอร์ม 2
บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ กลยุทธ์ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564
(8) (9) (10) (11) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) พ.ศ.2561 - 2564
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การเสริมสร้างความมัน่ คงทุกมิติ เพือ่ ปกป้องสถาบันหลักของชาติและความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สินของประชาชน
1 โครงการเสริมสร้างความมัน่ คงทุกมิติ 1 - 13 130,000,000 130,000,000 130,000,000 130,000,000 520,000,000
1.1 กิจกรรมหลัก การปกป้อง 1-3 1 4 กอ.รมน.จว. 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 40,000,000
สถาบันหลักของชาติ นม.
1.2 กิจกรรมหลัก การเป็นศูนย์ 4 - 11 1 4 กอ.รมน.จว.นม./ 60,000,000 60,000,000 60,000,000 60,000,000 240,000,000
ภ.จว.นม./หน่วยงาน
บริหารจัดการเครือข่ายการ สังกัด กระทรวง
ป้องกันและแก้ไปญหาด้านความ แรงงาน/ปภ.นม./
หน่วยงานสังกัด กทส.
มัน่ คงทุกมิติ
4 - 11 2 4 กอ.รมน.จว.นม./ 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 200,000,000
ภ.จว.นม./หน่วยงาน
สังกัด กระทรวง
แรงงาน/ปภ.นม./
หน่วยงานสังกัด กทส.

1.3 กิจกรรมหลัก การเสริมสร้าง 12 - 1 4 กอ.รมน.จว. 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 40,000,000


ความปรองดองและความ 13 นม./ปค.นม.
สมานฉันท์ในชาติ
รวมงบประมาณจังหวัด (1) 80,000,000 80,000,000 80,000,000 80,000,000 320,000,000
รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 200,000,000
รวมงบประมาณองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) - - - - -
รวมงบประมาณ เอกชน (4) - - - - -
รวมยุทธศาสตร์ที่ 4 จานวน 1 โครงการ งบประมาณรวม 130,000,000 130,000,000 130,000,000 130,000,000 520,000,000
วิสัยทัศน์ : โคราชเมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย แบบ จ.1 ฟอร์ม 2
บัญชีรายการชุดโครงการ (Project Idea)
แหล่ง หน่วย งบประมาณดาเนินการ (บาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการ กลยุทธ์ งปม. ผลผลิต ดาเนินการ พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564
(8) (9) (10) (11) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) พ.ศ.2561 - 2564
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
1 โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 140,000,000 180,000,000 140,000,000 140,000,000 600,000,000
1.1 กิจกรรมหลัก การเพิม่ 1 1 5 ทุกส่วน 20,000,000 30,000,000 10,000,000 10,000,000 70,000,000
ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 1 2 5 ราชการ/ 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 40,000,000
รัฐวิสาหกิจ
1-2 3 5 /อปท 40,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 190,000,000
1.2 กิจกรรมหลัก การเพิม่ 3-6 1 5 ทุกส่วน 20,000,000 30,000,000 10,000,000 10,000,000 70,000,000
ประสิทธิภาพการพัฒนาองค์กร ราชการ/
รัฐวิสาหกิจ/
อปท.
3-6 2 5 ทุกส่วน 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 40,000,000
ราชการ/
รัฐวิสาหกิจ
3-6 3 5 /อปท 40,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 190,000,000
รวมงบประมาณจังหวัด (1) 40,000,000 60,000,000 20,000,000 20,000,000 140,000,000
รวมงบประมาณกระทรวง/กรม (2) 20,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 80,000,000
รวมงบประมาณองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) 80,000,000 100,000,000 100,000,000 100,000,000 380,000,000
รวมงบประมาณ เอกชน (4) - - - - -
รวมยุทธศาสตร์ที่ 5 จานวน 1 โครงการ งบประมาณรวม 140,000,000 180,000,000 140,000,000 140,000,000 600,000,000
แบบ จ.๑-๑
(Project idea รายโครงการ)
การจัดทาแบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea) ของทุกโครงการภายใต้งบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea)
ส่วนราชการ จังหวัดนครราชสีมา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑. การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันเศรษฐกิจ
กลยุทธ์ที่เกี่ยวข้อง
1. ส่งเสริมการสร้างมูลค่าสินค้าและบริการทั้งในและนอกภาคการเกษตร (ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง)
2. ส่งเสริมการนานวัตกรรมการเกษตร อุตสาหกรรม และอาหารปลอดภัย (Food Valley) มาใช้เพิ่มศักยภาพ
ในการผลิต
3. ส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์เพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
5. นาองค์ความรู้สู่ผู้ปฏิบัติอย่างยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง หรือโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
6. ส่งเสริมการออมของครัวเรือน
7. สร้างโอกาสและพัฒนาฝีมือให้กับผู้อยู่ในวัยแรงงานและผู้ประกอบการ
8. สนับสนุนการผลิตและสร้างผลงานนวัตกรรมการเกษตรอุตสาหกรรม และอาหารปลอดภัยที่สอดคล้อง
กับการพัฒนาจังหวัด
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ (โครงการที่ 1) 1) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเกษตรและอุตสาหกรรม
ปลอดภัย Food Valley
๒. ความสาคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล จังหวัดนครราชสีมา กาหนดวิสัยทัศน์ ว่า “โคราชเมืองน่าอยู่
มุ่งสู่นวัตกรรมใหม่ เกษตร อุตสาหกรรม ปลอดภัย” และเพื่อให้
บรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว จาเป็นที่ภาคการเกษตรของจังหวัด
นครราชสีมา ซึ่งเป็นแหล่งผลิตและจาหน่ายสินค้าเกษตรที่สาคัญ
แต่ยังประสบปัญหาในเรื่องสภาพของดิน ขาดแหล่งน้าเพื่อการเกษตร
ขาดเส้นทางการคมนาคมขนส่งสินค้าที่ดีและเพียงพอ ผลผลิตต่อไร่
ไม่สูงเท่าที่ควร จาเป็นต้องมีการปรับปรุง และจัดหาปัจจัยการผลิต
ที่ดีและเพียงพอ โดยใช้การวิจัย และนวัตกรรมใหม่ เพื่อเพิ่มผลผลิต
และขีดความสามารถในการแข่งขัน เพื่อประชาชนจะได้รับประโยชน์
จากการดาเนินโครงการ เป็นการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย อย่างทั่วถึง
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อขยายอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
2. เพื่อสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
3. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 1. อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้เฉลี่ยของครัวเรือนในจังหวัด (%)
2. อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (%)
3. อัตราการว่างงาน (%)
4. อัตราส่วนหนี้เฉลี่ยต่อรายได้เฉลี่ยของครัวเรือน (เท่า)
5. จานวนครัวเรือน ที่ได้รับการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่เพิ่มขึ้น
(ครัวเรือน/ปี)
6. อัตราส่วนการออมเฉลี่ยต่อรายได้เฉลี่ยของครัวเรือน (%)
7. ผลิตภาพแรงงาน (บาท/คน)
8. จานวนผู้ประกอบการด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น (ราย)
/5. ผลผลิต ...
-2-
หัวข้อ รายละเอียด
5. ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดขยายตัว
2. เศรษฐกิจของจังหวัดเกิดเสถียรภาพ
3. จังหวัดนครราชสีมามีขีดความสามารถในการแข่งขัน
เพิ่มขึ้น
6. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ข้อ 2
การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ข้อ 3 การพัฒนาและ
เสริมสร้างศักยภาพคน นโยบายรัฐบาล ข้อ 4 ส่งเสริม
บทบาทและการใช้โอกาสในอาเซียน ข้อ 9 เพิ่มศักยภาพ
ทางเศรษฐกิจ ข้อ 10 การพัฒนาการใช้ประโยชน์
วิทยาศาสตร์ การวิจัย และนวัตกรรมใหม่ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3
การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขัยได้อย่าง
ยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิจัย และนวัตกรรม แผนพัฒนาพัฒนาภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ คือ หลุดพ้นความยากจนสู่เป้าหมายการ
พึ่งตนเอง แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนล่าง 1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาขีดความสามารถ
ในการแข่งขันเกษตรอุตสาหกรรมและแปรรูป
7. ระยะเวลา ภายในปี พ.ศ.2561 – 2564
8. กิจกรรมหลักของโครงการ
8.1 กิจกรรมหลัก จัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาการ จัดสร้างโครงสร้างพื้นฐานศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร
เกษตรและอาหาร งบประมาณ 487,655,500 บาท และอาหาร
หน่วยงานรับผิดชอบ มรฎ.นม./มทส. และหน่วยงานอื่น
8.2 กิจกรรมหลัก จัดตั้ง Northeastern Food จัดสร้างโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการพัฒนาสถานี
Valley จังหวัดนครราชสีมา งบประมาณ วิจัยและพัฒนาด้านการเกษตรเพื่อการพัฒนาชุมชน
612,300,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ มทส. มทส.
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8.3 กิจกรรมหลัก การพัฒนา ปรับปรุง และเพิ่ม จัดให้มีการปรับปรุงบารุงดิน เพื่อเพิ่มศักยภาพของดิน
ศักยภาพและคุณภาพของดิน รวมทั้งการป้องกันการ
ชะล้างพังทลายของดิน 66,596,412 บาท หน่วยงาน
ที่รับผิดชอบ พด.นม. มทส. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8.4 กิจกรรมหลัก การพัฒนา ปรับปรุง และก่อสร้าง จัดให้มีการพัฒนา ปรับปรุง และก่อสร้างแหล่งกักเก็บน้า
แหล่งกักเก็บน้าทั้งในเขต และนอกเขตชลประทาน ทั้งในเขต และนอกเขต ชลประทาน เพื่อสนับสนุน
รวมทั้งระบบผันน้า/ส่งน้า ทางและสะพานข้ามลาน้า การเกษตรในพื้นที่
และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง งบประมาณ
17,137,919,135 บาท หน่วยงานที่รับผิดชอบ
อาเภอ/สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
นครราชสีมา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
/8.5 กิจกรรม ...
-3-
หัวข้อ รายละเอียด
8.5 กิจกรรม เพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลด จัดให้มีการอบรมสัมมนาเกษตรกร และปรับปรุงคุณภาพ
ต้นทุนการปลูกพืชเศรษฐกิจ และกิจกรรมเพื่อ Food พืชเศรษฐกิจ เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการปลูกพืช
Valley งบประมาณ 468,317,000 บาท หน่วยงาน เศรษฐกิจ และการจัดกิจกรรมสนับสนุน Food Valley
รับผิดชอบ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว/ศูนย์วิจัยข้าว/ศูนย์หม่อน
ไหมฯ/ปศ.นม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8.6 เพิ่มผลผลิตและคุณภาพสัตว์เศรษฐกิจ และ จัดให้มีการอบรมสัมมนาเกษตรกร และปรับปรุงคุณภาพ
กิจกรรมเพื่อ Food Valley งบประมาณ สัตว์เศรษฐกิจ เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการปลูกพืช
369,532,432 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ เศรษฐกิจ และการจัดกิจกรรมสนับสนุน Food Valley
ปศ.นม./มทส. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8.7 กิจกรรมหลัก การพัฒนาศักยภาพบุคลากรของรัฐ จัดให้มีการอบรมสัมมนาบุคลากรของรัฐ เกษตรกร และ
เกษตรกร และผู้ประกอบการ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ผู้ประกอบการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ภูมิปัญญาชาวบ้าน หลักวิชาการ นวัตกรรมใหม่ ในยุค
ดิจิทัล งบประมาณ 655,803,000 บาท หน่วยงาน
รับผิดชอบ กส.นม./กษ.นม./สหก.นม./มรฎ.นม./มทส.
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8.8 กิจกรรมหลัก การแปรรูปผลผลิตการเกษตรและ จัดให้มีการแปรรูปผลผลิตการเกษตรและสร้างมูลค่าเพิ่ม
สร้างมูลค่าเพิ่ม ด้วยนวัตกรรมใหม่ พลังงานทดแทน ด้วยนวัตกรรมใหม่ และพลังงานทดแทน
งบประมาณ 420,078,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ
พช.นม./สหก.นม./กส.นม/กษ.นม./อก.นม./พณ.นม./
มรฎ.นม./พลง.นม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8.9 กิจกรรมหลัก การแปรรูปผลผลิตสัตว์เศรษฐกิจ จัดให้มีการแปรรูปผลผลิตสัตว์เศรษฐกิจ เพื่อสร้าง
งบประมาณ 40,000,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ มูลค่าเพิ่ม
ปศ.นม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8.10 กิจกรรม ก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง พัฒนา จัดให้มีการก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง พัฒนา ยกระดับ
ยกระดับเส้นทางคมนาคมขนส่ง และการบริหารจัดการ เส้นทางคมนาคมขนส่ง และการบริหารจัดการสินค้าเกษตร
(โลจิสติกส์) สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม งบประมาณ และอุตสาหกรรม
2,497,012,500 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ ขทช.นม./
อาเภอ มทส. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8.11 กิจกรรม พัฒนาระบบการตลาดสินค้าเกษตร จัดให้มีการพัฒนาระบบการตลาดสินค้าเกษตร เพื่อเป็น
งบประมาณ 104,600,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ ช่องทางการจาหน่ายสินค้าเกษตรกรรม
พณ.นม./กส.นม./กษ.นม./ปศ.นม. และหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
8.12 กิจกรรม การเกษตรครบวงจร งบประมาณ จัดให้มีการพัฒนาการเกษตรตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และ
80,000,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ สนจ.นม./พด. ปลาย โดยต้นทาง มีการพัฒนาดิน น้า เมล็ดพันธุ์พืช พันธุ์
นม/คป.นม./กษ.นม./กส.นม./ปม.นม./ปศ.นม./สหก.นม./ สัตว์ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กลางทาง มีการพัฒนาศักยภาพ
พช.นม./อก.นม./พณ.นม./อาเภอ และหน่วยงานอื่นที่ เจ้าหน้าที่และเกษตรกร เกี่ยวกับการจัดหานวัตกรรมมาใช้
เกี่ยวข้อง ในการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ การแปรรูปผลผลิต ปลายทาง
มีการพัฒนาและจัดหาช่องทางการตลาด และจัดให้การ
ประชาสัมพันธ์การดาเนินโครงการ นอกจากนั้น กาหนดให้
มีการติดตามและประเมินผลในทุกขั้นตอน เพื่อรับทราบ
และแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันเศรษฐกิจ
โครงการที่ 1 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเกษตรและอุตสาหกรรมปลอดภัย Food Valley
ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง
การวิจัยและพัฒนา การพัฒนาเกษตรกรและ การแปรรูปเพิ่มมูลค่า การคมนาคมขนส่งสินค้าและ การพัฒนาระบบการตลาด การ
แหล่งงบประมาณ (R&D)
การเพื่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน
สถาบันเกษตรกร และสร้างคุณค่า บริการ ประชาสัมพันธ์ แสดง และจาหน่าย

จังหวัด/กลุ่ม - การพัฒนา ปรับปรุง และเพิ่มศักยภาพและคุณภาพของดิน - การพัฒนาศักยภาพ - การแปรรูปผลผลิต - ก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง - พัฒนาระบบการตลาดสินค้า
รวมทั้งการป้องกันการ ชะล้างพังทลายของดิน ตามแนวทาง บุคลากรของรัฐ เกษตรกร ผู้อยู่ การเกษตรและสร้าง พัฒนา ยกระดับเส้นทาง เกษตร อุตสาหกรรมที่แปรรูปและไม่
จังหวัด โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (พด.นม. และหน่วยงาน ในวัยแรงงาน และ มูลค่าเพิ่ม ด้วยนวัตกรรม คมนาคมขนส่ง และการ แปรรูป (พณ.นม./กส.นม./กษ.นม./
อื่นที่เกี่ยวข้อง) ผู้ประกอบการ ตามหลัก ใหม่ พลังงานทดแทน บริหารจัดการ (โลจิสติกส์) ปศ.นม. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง)
เศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปัญญา (พช.นม./สหก.นม./กส. สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม
- การพัฒนา ปรับปรุง และก่อสร้างแหล่ง กักเก็บน้าทั้งใน
ชาวบ้าน หลักวิชาการ นม/กษ.นม./อก.นม./ (ขทช.นม./อาเภอ และ
เขต และนอกเขตชลประทาน รวมทั้งระบบผันน้า/ส่งน้า ทาง
นวัตกรรมใหม่ ในยุคดิจิทัล พณ.นม./มรฎ.นม./พลง. หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง)
และสะพานข้ามลาน้าและสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง
(กส.นม./กษ.นม./สหก.นม./ นม. และหน่วยงานอื่นที่
(อาเภอ/คป.นม. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง)
มรฎ.นม. และหน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้อง)
- เพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดต้นทุนการปลูกพืช เกี่ยวข้อง)
เศรษฐกิจ และกิจกรรมเพื่อ Food Valley (ปศ.นม./ปม.นม./
มทส. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง)
- การเกษตรครบวงจร (สนจ.นม./พด.นม/คป.นม./กษ.นม./กส.นม./ปม.นม./ปศ.นม./สหก.นม./พช.นม./อก.นม./พณ.นม./อาเภอ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง)
กระทรวง/กรม - จัดตั้งศูนย์วจิ ยั และ - การพัฒนา ปรับปรุง และก่อสร้างแหล่ง กักเก็บน้าทั้งในเขต การแปรรูปผลผลิตสัตว์ ก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุง
พัฒนาการเกษตรและ และนอกเขตชลประทาน รวมทั้งระบบผันน้า/ส่งน้า ทางและ เศรษฐกิจ (ปศ.นม. และ พัฒนา ยกระดับเส้นทาง
อาหาร (มรฎ.นม./มทส. สะพานข้ามลาน้าและสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง (คป.นม./ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง) คมนาคมขนส่ง และการบริหาร
และหน่วยงานอื่นที่ คป. ลาตะคอง/คป.ลาพระเพลิง/คป.ลาปลายมาศ/คป.ทุ่ง จัดการ (โลจิสติกส์) สินค้าเกษตร
เกี่ยวข้อง) สัมฤทธิ์/คป. มูลบน-ลาแชะ/คป.มูลกลาง/ก่อสร้าง 8) และอุตสาหกรรม (มทส.)
- จัดตัง้ Northeastern - เพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดต้นทุนการปลูกพืช
Food Valley จังหวัด เศรษฐกิจ และกิจกรรมเพื่อ Food Valley (ปศ.นม. และ
นครราชสีมา มทส.
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง)
องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น
เอกชน พัฒนาระบบการตลาดสินค้าเกษตร
อุตสาหกรรมที่แปรรูปและไม่แปรรูป
(ปศ.นม. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง)
แบบ จ.๑-๑
(Project idea รายโครงการ)
การจัดทาแบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea) ของทุกโครงการภายใต้งบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea)
ส่วนราชการ จังหวัดนครราชสีมา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑. การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันเศรษฐกิจ
กลยุทธ์ที่ 4. ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าและบริการการท่องเที่ยวและการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันด้าน
การท่องเที่ยวของจังหวัด
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ (โครงการที่ 2) 2) โครงการพัฒนาศักยภาพและยกระดับสินค้าและ
บริการการท่องเที่ยวและกีฬา
๒. ความสาคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล จังหวัดนครราชสีมา กาหนดวิสัยทัศน์ ว่า “โคราช
เมืองน่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรมใหม่ เกษตร อุตสาหกรรม
ปลอดภัย” และเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว แม้ว่า การ
ท่องเที่ยวและกีฬาของจังหวัดนครราชสีมา จะไม่ได้เป็น
โครงสร้างหลักที่จะก่อให้เกิดรายได้ให้กับจังหวัด แต่ก็
จาเป็นต้องมีการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ อย่างจริงจัง
และต่อเนื่อง เพื่อทาให้จังหวัดเป็นเมืองที่น่าอยู่ และ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เป็นการเพิ่มรายได้
ให้กับจังหวัด
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อขยายอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
2. เพื่อสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
3. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ด้านการท่องเที่ยว
4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 1. อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด
5. ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดขยายตัว
2. จังหวัดนครราชสีมามีขีดความสามารถในการแข่งขัน
ด้านการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น
6. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ข้อ 2
การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ข้อ 3 การพัฒนาและ
เสริมสร้างศักยภาพคน นโยบายรัฐบาล ข้อ 4 ส่งเสริม
บทบาทและการใช้โอกาสในอาเซียน ข้อ 9 เพิ่มศักยภาพ
ทางเศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทาง
เศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน แผนพัฒนาพัฒนาภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ คือ หลุดพ้นความยากจนสู่เป้าหมาย
การพึ่งตนเอง แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก
เฉียงเหนือตอนล่าง 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับ
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และผลิตภัณฑ์ไหม
7. ระยะเวลา ภายในปี พ.ศ.2561 – 2564
/8 กิจกรรม ...
-2-
หัวข้อ รายละเอียด
8. กิจกรรมหลักของโครงการ
8.1 กิจกรรหลัก ทบทวนแผนการท่องเที่ยว กีฬา และ จัดให้มีการทบทวนแผนการท่องเที่ยว กีฬา และเครือข่าย
เครือข่าย งบประมาณ 6,000,000 บาท หน่วยงาน เพื่อให้เกิดความยื่นหยุ่นและทันต่อสถานการณ์ อย่างน้อย
รับผิดชอบ ทกจ.นม./ททท.นม./กกท.นม./พช.นม./อปท. ปีละ 1 ครั้ง
และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
8.2 กิจกรรมหลัก การพัฒนาระบบบริหารจัดการการ จัดให้มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการการท่องเที่ยว กีฬา
ท่องเที่ยว กีฬา และเครือข่าย งบประมาณ 6,497,000 และเครือข่าย อย่างจริงจังและต่อเนื่อง
บาท หน่วยงานรับผิดชอบ ทกจ.นม./ททท.นม./กกท.นม./
พช.นม. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
8.3 กิจกรรมหลัก การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานด้านการ จัดให้มีการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการ
ท่องเที่ยว กีฬา และเครือข่าย งบประมาณ ท่องเที่ยว กีฬา และเครือข่าย อย่างต่อเนื่อง
141,800,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ ทกจ.นม./
ททท.นม./กกท.นม./พช.นม./อปท. และหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
8.4 กิจกรรมหลัก การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและ จัดให้มีการพัฒนา ปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรม
กิจกรรมท่องเที่ยว งบประมาณ 222,737,000 บาท การท่องเที่ยว อย่างต่อเนื่อง เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว
หน่วยงานรับผิดชอบ ทกจ.นม./ททท.นม./กกท.นม./ทสจ.
นม./อุทยานฯ ในพื้นที่ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
8.5 กิจกรรมหลัก การพัฒนาธุรกิจบริการการ จัดให้มีการพัฒนาธุรกิจบริการการท่องเที่ยว กีฬา และ
ท่องเที่ยว กีฬา และเครือข่าย งบประมาณ เครือข่าย อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดวงจรการท่องเที่ยว
47,449,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ ทกจ.นม./
ททท.นม./กกท.นม./พช.นม./มทส. และหน่วยงานอื่น
ที่เกี่ยวข้อง
8.6 กิจกรรหลัก การพัฒนาการตลาดและ จัดให้มีการพัฒนาการตลาดและประชาสัมพันธ์การ
ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว กีฬา และเครือข่าย ท่องเที่ยว กีฬา และเครือข่าย อย่างจริงจังและต่อเนื่อง
งบประมาณ 41,000,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ
ทกจ.นม./ททท.นม./กกท.นม./ทสจ.นม./อุทยานฯ
ในพื้นที่/พช.นม./อปท. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
8.7 กิจกรรมหลัก ก่อสร้างศูนย์ประชุมและจัดแสดง จัดให้มีศูนย์ประชุมและจัดแสดงนิทรรศการ
นิทรรศการภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 เพื่อรองรับ
งบประมาณ 1,200,000,000 บาท หน่วยงาน ความเจริญ เติบโตที่กาลังจะเข้ามาในพื้นที่จังหวัด
รับผิดชอบ มทส. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง นครราชสีมา
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันเศรษฐกิจ
โครงการที่ 2 โครงการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การท่องเทีย่ วและกีฬา
ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง

พัฒนาระบบบริหารจัดการ พัฒนาปัจจัยพื้นฐานด้านการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการ พัฒาศักยภาพบุคลากรภาค


แหล่งงบประมาณ ท่องเที่ยว ท่องเที่ยว/ทรัพยากร ท่องเที่ยว บริการท่องเที่ยว
พัฒนาด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์

จังหวัด/กลุ่มจังหวัด - ทบทวนแผนการ - การพัฒนา - การพัฒนาธุรกิจ - การพัฒนาธุรกิจบริการ - การพัฒนาการตลาดและ


ท่องเที่ยว กีฬา และ ปัจจัยพื้นฐานด้านการ เครือข่าย (/พช.นม.) การท่องเที่ยว กีฬา และ ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว กีฬา
เครือข่าย (ทกจ.นม./ททท. ท่องเที่ยว กีฬา และ เครือข่าย (ทกจ.นม./ททท. และเครือข่าย (ทกจ.นม./ททท.นม./
นม./กกท.นม./พช.นม./ เครือข่าย (ทกจ.นม./ นม./กกท.นม./พช.นม./ กกท.นม./ทสจ.นม./อุทยานฯ ใน
อปท.) ททท.นม./กกท.นม./พช. พช.นม.) พื้นที/่ พช.นม./อปท.)
นม./อปท.)

- การพัฒนาระบบบริหาร
จัดการการท่องเที่ยว กีฬา - การพัฒนาแหล่ง
และเครือข่าย (ทกจ.นม./ ท่องเที่ยวและกิจกรรม
ททท.นม./กกท.นม./พช. ท่องเที่ยว (ทกจ.นม./
นม./อปท.) ททท.นม./กกท.นม./ทสจ.
นม./อุทยานฯ ในพื้นที)่

กระทรวง/กรม - การพัฒนาธุรกิจบริการ - ก่อสร้างศูนย์ประชุมและจัดแสดง


การท่องเที่ยว กีฬา และ นิทรรศการภาค
เครือข่าย (มทส.) ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1
(มทส.)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เอกชน
แบบ จ.๑-๑
(Project idea รายโครงการ)
การจัดทาแบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea) ของทุกโครงการภายใต้งบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea)
ส่วนราชการ จังหวัดนครราชสีมา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2. ยกระดับสังคมให้เป็นเมืองน่าอยู่
กลยุทธ์ที่เกี่ยวข้อง
1. ส่งเสริมอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ลดรายจ่าย ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางตามโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
2. ส่งเสริมการกระจายรายได้อย่างทั่วถึง และได้รับสิ่งอานวยความสะดวกจากโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐ
รวมทั้งระบบป้องกันภัยที่เอื้อต่อการกระจายเศรษฐกิจ
3. ส่งเสริมการเข้าถึงระบบประกันสังคมของแรงงานในจังหวัด
4. ส่งเสริมการจัดบริการสาธารณะสุขที่มีคุณภาพและสามารถบริการได้อย่างครอบคลุม
5. ส่งเสริมให้สังคมปราศจากโรคระบาดจากสัตว์เร่ร่อนสู่คน
6. ส่งเสริมให้สังคมมีภูมิคุ้มกันทางสังคม
7. ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนที่ประสบปัญหาทางสังคมขอรับบริการจากส่วนราชการที่รับผิดชอบ
ตามภารกิจที่กฎหมายกาหนด
8. ส่งเสริมให้มีการผลิตบุคลากรด้านสาธารณสุขเพิ่มขึ้น (แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล แพทย์เวชศาสตร์)
9. ส่งเสริมการสร้างทักษะ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแก่ประชาชนทุกสาขาอาชีพ
10. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรอายุ 15 - 59 ปี
11. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้สูงขึ้น
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพคุณภาพชีวิต
ทุกช่วงวัย
๒. ความสาคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล จังหวัดนครราชสีมา กาหนดวิสัยทัศน์ว่า “โคราชเมือง
น่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรมใหม่ เกษตร อุตสาหกรรม
ปลอดภัย” ดังนั้น เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าวข้างต้น
จังหวัดจึงได้จัดทาโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้โคราชเป็นเมือง
น่าอยู่ และเป็นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียม
กันทางสังคม สร้างความเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อม
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อลดความยากจนและความเหลื่อมล้า
2. เพื่อพัฒนา โครงข่ายความคุ้มครองทางสังคม
3. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสังคม
4. เพื่อให้ประชาชน เข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม

/4. ตัวชี้วัด ...


-2-
หัวข้อ รายละเอียด
4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 1. ร้อยละของประชากร ที่อยู่ใต้เส้นความยากจน (%)
2. สัมประสิทธิ์การกระจายรายได้ (Gini Coefficient)
3. ร้อยละผู้อยู่ในระบบประกันสังคมต่อกาลังแรงงาน (%)
4. ระดับความสาเร็จของหน่วยงานที่จัดกิจกรรมส่งเสริม
ด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม (ครั้ง)
5. อัตราส่วนแพทย์ต่อประชากร (แพทย์/คน)
6 .ประชาชน นักศึกษาและบุคลากรด้านดิจิทัลได้รับความรู้
และประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล (คน)
7. จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยประชากรไทยอายุ 15-59 ปี
(ปี) 8. ค่าเฉลี่ยคะแนน O-net ม.3 (คะแนน)
5. ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. สามารถลดความยากจนและความเหลื่อมล้า
2. มีการพัฒนาโครงข่ายความคุ้มครองทางสังคม
3. เกิดภูมิคุ้มกันให้กับสังคม
4. ประชาชน เข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม
6. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ข้อ 3
การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ข้อ 4 การสร้าง
โอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ข้อ 5
การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม นโยบายรัฐบาล ข้อ 2 ลดเหลื่อมล้า/โอกาส
เข้าถึงบริการของรัฐ ข้อ 3 ยกระดับคุณภาพบริการ
สาธารณสุข ข้อ 8 ศึกษาเรียนรู้ ทะนุบารุงศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนา
ศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความธรรม
ลดความเหลื่อมล้าในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบ
โลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่
เศรษฐกิจ แผนพัฒนาพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ
หลุดพ้นความยากจนสู่เป้าหมายการพึ่งตนเอง
7. ระยะเวลา ภายในปี พ.ศ.2561 – 2564
8. กิจกรรมหลักของโครงการ
8.1 กิจกรรมหลัก การขยายผลโครงการตามแนวทาง - การขยายผลโครงการตามแนวทางอันเนื่องมาจาก
อันเนื่อง มาจากพระราชดาริ งบประมาณ พระราชดาริ
270,000,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ กส.นม./
กษ.นม./พด.นม./ปศ.นม./ปค.นม./สนจ.นม. และ
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
/8.2 กิจกรรม ...
-3-
หัวข้อ รายละเอียด
8.2 กิจกรรมหลัก การขยายผลโครงการตามแนวทาง - จัดให้มีกิจกรรมที่ขยายผลตามแนวทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจพอเพียง งบประมาณ 200,000,000 บาท พอเพียงอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
หน่วยงานรับผิดชอบ กส.นม./กษ.นม./พด.นม./ปศ.นม./
ปค.นม./สนจ.นม. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
8.3 กิจกรรมหลัก การพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้าน - การจัดให้มีเครื่องใช้ในการให้บริการด้านการสาธารณสุข
สุขภาพ อนามัย และการสาธารณสุข งบประมาณ - การพัฒนาการให้บริการด้านการสาธารณสุข
2,245,000,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ สสจ./รพ.
สังกัด สธ. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
8.4 กิจกรรมหลัก การป้องกันโรคระบาดจากสัตว์ - การจัดตั้งและบริหารจัดการศูนย์พักพิงสุนัขจรจัด
เร่ร่อนสู่คน งบประมาณ 275,000,000 บาท
หน่วยงานรับผิดชอบ สนจ.นม./ปศ.นม./ยผ.นม. และ
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
8.5 กิจกรรมหลัก การพัฒนาการศึกษา ตลอดช่วง - การจัดให้มีการพัฒนาการศึกษาทั้งในระบบ และนอก
ชีวิต งบประมาณ 710,000,000 บาท หน่วยงาน ระบบ ตลอดช่วงชีวิต
รับผิดชอบ ศธ.นม./สพม.31/สพป.1-7/มทส./มรฎ.นม.
และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
5.6 กิจกรรมหลัก การเสริมสร้างคุณค่าและความ - การเสริมสร้างความอบอุ่นของสังคมทุกระดับ
มั่นคงทางสังคม งบประมาณ 50,000,000 บาท
หน่วยงานรับผิดชอบ พมจ.นม. และหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
5.7 กิจกรรมหลัก การอนุรักษ์ ศิลปะ วัฒนธรรม และ - การอนุรักษ์ ศิลปะ วัฒนธรรม และการทานุบารุงศาสนา
ทานุบารุงศาสนา งบประมาณ 110,000,000 บาท
หน่วยงานรับผิดชอบ วธ.นม./สนง.พระพุทธฯนม./อปท.
และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
5.8 กิจกรรมหลัก การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ - การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ก่อสร้าง ปรับปรุง
รองรับและอานวยความสะดวกความเป็นเมืองน่าอยู่ ถนน ห้องน้าสาธารณะ
งบประมาณ 2,420,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ ยผ.
นม./ขทช.นม./อาเภอ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
5.9 กิจกรรมหลัก การพัฒนาระบบป้องกันน้าท่วม - การปรับปรุงป้องกันอุทกภัยในพื้นที่เขตเมือง
ในพื้นที่ชุมชนเมือง งบประมาณ 1,071,000,000 บาท
หน่วยงานรับผิดชอบ ยผ.น./สนง.ชป.ที่ 8/อปท. และ
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
5.10 กิจกรรมหลัก การรักษาความปลอดภัยในชีวิต - การบังคับใช้กฎหมาย และเครื่องมือสาหรับการป้องกัน
และทรัพย์สินของประชาชน งบประมาณ และรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
200,000,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ (ภ.จว.นม./
กอ.รมน./ปค.นม.) และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับสังคมให้เป็นเมืองน่าอยู่
โครงการที่ 1 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดช่วงชีวิต
แหล่งงบประมาณ ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง
จังหวัด/กลุ่มจังหวัด - การขยายผลโครงการอันเนื่องมาจาก - การขยายผลโครงการตามแนวทางอันเนื่อง มา - การรักษาความปลอดภัยในชีวติ และ
พระราชดาริ (กส.นม./กษ.นม./พด.นม./ปศ. จากพระราชดาริ (กส.นม./กษ.นม./พด.นม./ปศ. ทรัพย์สินของประชาชน (ภ.จว.นม./กอ.
นม./ปค.นม./สนจ.นม. และหน่วยงานอื่นที่ นม./ปค.นม./สนจ.นม.) รมน./ปค.นม.)
เกี่ยวข้อง)
- การขยายผลแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง - การส่งเสริมให้มีการป้องกันโรคระบาดจากสัตว์
(กส.นม./กษ.นม./พด.นม./ปศ.นม./ปค.นม./ สู่คน (สนจ.นม./ปศ.นม./ยผ.นม.)
สนจ.นม. และหน่วยงานอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง)
- การพัฒนาคุณภาพชีวติ ด้านสุขภาพ อนามัย - การเสริมสร้างคุณค่าและความมั่นคงทางสังคม
และการสาธารณสุข สสจ./รพ.สังกัด สธ./และ (พมจ.นม.)
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
- การพัฒนาการศึกษา ตลอดช่วงชีวติ (ศธ.นม./ - การอนุรักษ์ ศิลปะ วัฒนธรรม และทานุบารุง
สพม.31/สพป.1-7/มทส./มรฎ. และหน่วยงาน ศาสนา (วธ.นม./สนง.พระพุทธฯนม./อปท.)
อื่นที่เกี่ยวข้อง)
- การพัฒนาระบบป้องกันน้าท่วมในพื้นที่ชุมชน
เมือง (ยผ.น./สนง.ชป.ที่ 8/อปท.)
กระทรวง/กรม - การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออานวยความ
สะดวก และรองรับความเป็นเมืองน่าอยู่ (ยผ.นม./
ขทช.นม./อาเภอ)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เอกชน
แบบ จ.๑-๑
(Project idea รายโครงการ)

การจัดทาแบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea) ของทุกโครงการภายใต้งบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด


แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea)

ส่วนราชการ จังหวัดนครราชสีมา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความสมบูรณ์อย่างยั่งยืน
กลยุทธ์ที่เกี่ยวข้อง
1. อนุรักษ์ ฟื้นฟู และให้ความรู้ สร้างจิตสานึกประชาชน ได้ตระหนักถึงคุณค่า และประโยชน์ของทรัพยากรป่าไม้
2. เพิ่มความสามารถในการจัดการขยะ และรณรงค์ให้ทุกภาคส่วนสานึกรับผิดชอบต่อสังคมเกี่ยวกับการลด
ปริมาณขยะ
3. ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการจัดการนาเสีย
4. ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการนาทังในเขตชลประทาน และนอกเขตชลประทาน
5. พัฒนาระบบป้องกันนาท่วมในพืนที่ชุมชนเมือง และเพิ่มสิ่งก่อสร้างเพื่อลดการพังทลายของตลิ่ง
ตามแม่นาลาคลองสายหลักของจังหวัด
6. รณรงค์การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในระดับครัวเรือน อุตสาหกรรม และภาครัฐ
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม และพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
๒. ความสาคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล จังหวัดนครราชสีมา กาหนดวิสัยทัศน์ว่า “โคราชเมือง
น่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรมใหม่ เกษตร อุตสาหกรรม
ปลอดภัย” ดังนัน เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าวข้างต้น
โดยเฉพาะเรื่องโคราชเมืองน่าอยู่ จังหวัดจึงได้จัดทา
โครงการนีขึน เพื่อสร้างความเติบโตบนคุณภาพชีวิต
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
2. เพื่อใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 1. อัตราการเปลี่ยนแปลงของพืนที่ป่าไม้ในจังหวัด
2. ปริมาณขยะในจังหวัด (ตัน)
3.การจัดการนาเสีย (แห่ง)
4. พืนที่บริหารจัดการนาเพิ่มขึน (ไร่)
5. สัดส่วนปริมาณการใช้นามันเชือเพลิงเพื่อยานพาหนะต่อ
ประชากร (ลิตร/คน)
6. สัดส่วนปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือนต่อประชากร
(ล้านกิโลวัตต์/คน/ปี)
7. สัดส่วนปริมาณการใช้ไฟฟ้าในภาคที่ไม่ใช่ครัวเรือนต่อ
GPP (กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ล้านบาท)
8. สัดส่วนปริมาณการใช้นามันเชือเพลิงใน
ภาคอุตสาหกรรม ต่อ GPP ภาคอุตสาหกรรม
(ลิตร/ล้านบาท)
/4. ตัวชี้วัด ...
-2-
หัวข้อ รายละเอียด
5. ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. เกิดการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
2. สามารถใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ข้อ 3
การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ข้อ 4 การสร้าง
โอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ข้อ 5
การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม นโยบายรัฐบาล ข้อ 5 รักษาความม่นคงและ
สร้างความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติ ข้อ 10 พัฒนา/
ใช้ประโยชน์วิทยาศาสตร์ งานวิจัย และนวัตกรรม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุน
มนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความธรรม ลดความ
เหลื่อมลาในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่าง ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์
ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพืนที่เศรษฐกิจ
7. ระยะเวลา ภายในปี พ.ศ.2561 – 2564
8. กิจกรรมหลักของโครงการ
8.1 กิจกรรมหลัก การอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรป่าไม้ - การอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรป่าไม้ เพื่อเพิ่มพืนที่สีเขียว
งบประมาณ 715,000,000 บาท หน่วยรับผิดชอบ
ทสจ.นม./หน่วยงาน สังกัดกระทรวง ทสจ. อปท. และ
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
8.2 กิจกรรมหลัก การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่มี - การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น นาเสีย ขยะ อย่างมี
ประสิทธิภาพและยั่งยืน งบประมาณ 654,500,000 ประสิทธิภาพและยั่งยืน
บาท หน่วยรับผิดชอบ ทสจ.นม./หน่วยงานสังกัด
กระทรวง ทสจ. / พลง.นม./ มทส. อปท. และหน่วยงาน
อื่นที่เกี่ยวข้อง
8.3 กิจกรรมหลัก การบริหารจัดการนาอย่างมี - การบริหารจัดการนาเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัย ภัยแล้ง
ประสิทธิภาพ งบประมาณ 16,628,166,000 บาท และป้องกันการพังทลายของตลิ่งตามแม่นาลาคลอง
หน่วยงานรับผิดชอบ ยผ.นม./สานักบริหารพืนที่อนุรักษ์
ที่ 7 / มทส. อปท. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
8.4 กิจกรรมหลัก รณรงค์การใช้พลังงานอย่างถูกต้อง - การรณรงค์ให้ภาคครัวเรือน ภาคอุตสาหกรรม และ
และคุ้มค่า งบประมาณ 80,000,000 บาท หน่วยงาน ภาครัฐ ประหยัดพลังงานไฟฟ้า
รับผิดชอบ สานักงานพลังงานจังหวัดนครราชสีมา และ - การรณรงค์ให้ภาคครัวเรือน ภาคอุตสาหกรรม และ
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ภาครัฐ ประหยัดเชือเพลิง
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มคี วามสมบูรณ์อย่างยั่งยืน
โครงการที่ 1 โครงการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และพลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ
แหล่งงบประมาณ ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง
จังหวัด/กลุ่มจังหวัด - การอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรป่าไม้ (ทสจ.นม./ - การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
หน่วยงานสังกัด กทส.) (พลง.นม.)
- การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพและ
ยั่งยืน (ทสจ.นม./หน่วยงานสังกัด กทส./มทส.และ
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง)
- การบริหารจัดการน้าอย่างมีประสิทธิภาพ (ทสจ.
นม./หน่วยงานสังกัด กทส. และหน่วยงานอื่นที่
เกี่ยวข้อง)
กระทรวง/กรม - การอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรป่าไม้ (ทสจ.นม./ - การป้องกันการพังทลายของตลิ่งตามแม่น้าล้าคลอง
หน่วยงานสังกัด กทส.) และแก้ไขปัญหาอุทกภัย และภัยแล้ง (ยพ.นม.)
- การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพและ
ยั่งยืน (ยผ.นม.)
- การบริหารจัดการน้าอย่างมีประสิทธิภาพ (กรม
ทรัพยากรน้า กระทรวง ทส. กรมโยธา ฯ กรม
ชลประทาน)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - การอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรป่าไม้ (อปท.) - การป้องกันการพังทลายของตลิ่งตามแม่น้าล้าคลอง
และแก้ไขปัญหาอุทกภัย และภัยแล้ง (อปท.)
- การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพและ
ยั่งยืน (อปท.)
เอกชน
แบบ จ.๑-๑
(Project idea รายโครงการ)

การจัดทาแบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea) ของทุกโครงการภายใต้งบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด


แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea)

ส่วนราชการ จังหวัดนครราชสีมา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การเสริมสร้างความมั่นคงทุกมิติ เพื่อปกป้องสถาบันหลักของชาติและความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
กลยุทธ์ที่เกี่ยวข้อง
1. สร้างความรู้ความเข้าใจถึงความสาคัญของสถาบันหลักของชาติให้ประชาชนได้รับรู้รับทราบ
2. ส่งเสริม พัฒนาอาชีพตามแนวทางโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
3. ส่งเสริมการเรียนรู้หลักการทรงงานและแนวพระราชดาริ
4. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
5. การป้องกันและแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย และการค้ามนุษย์
6. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการบุกรุกทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
7. การป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ
8. การป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามรูปแบบใหม่
9. การส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภัย
10. การป้องกันและรักษาความสงบเรียบร้อยภายในจังหวัด
11. ส่งเสริมและสร้างเครือข่าย
12. ส่งเสริมการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ของประชาชน หรือนักเรียน นักศึกษา ในจังหวัด
13. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความมั่นคงทุกมิติ
๒. ความสาคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล จังหวัดนครราชสีมา กาหนดวิสัยทัศน์ว่า “โคราชเมือง
น่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรมใหม่ เกษตร อุตสาหกรรม
ปลอดภัย” ดังนั้น เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าวข้างต้น
จังหวัดจึงได้จัดทาโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้โคราชเป็นที่
ปลอดภัย และเกิดความมั่นคง
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เสริมสร้างความมั่นคงเพื่อปกป้องสถาบันหลักของชาติ
2. เป็นศูนย์บริหารจัดการเครือข่ายการป้องกัน และแก้ไข
ปัญหาด้านความมั่นคงทุกมิติ
3. เสริมสร้างความปรองดอง และความสมานฉันท์ในชาติ
4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 1.จานวนตาบลที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความ
เข้าใจถึงความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ (ตาบล)
2. จานวนตาบลที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมเครือข่ายการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาทุกมิติ (ตาบล)
3.สร้างการรับรู้ที่ถูกต้อง (ตาบล)
4.สร้างการมีส่วนร่วม (ตาบล)
/4. ตัวชี้วัด ...
-2-
หัวข้อ รายละเอียด
5. ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. เกิดความมั่นคงเพื่อปกป้องสถาบันหลักของชาติ
2. เกิดศูนย์บริหารจัดการเครือข่ายการป้องกัน และแก้ไข
ปัญหาด้านความมั่นคงทุกมิติ
3. เกิดความปรองดอง และความสมานฉันท์ในชาติ
6. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ข้อ 1
ความมั่นคง นโยบายรัฐบาล ข้อ 1 ปกป้องเชิดชูสถาบัน
พระมหากษัตริย์ ข้อ 5 การรักษาความมั่นคง/สร้างความ
สมดุลทรัพยากร ข้อ 7 การรักษาความมั่นคง/การ
ต่างประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคง
แห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศ สู่ความมั่นคง และยั่งยืน
แผนพัฒนาพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ หลุดพ้น
ความยากจนสู่เป้าหมายการพึ่งตนเอง
7. ระยะเวลา ภายในปี พ.ศ.2561 – 2564
8. กิจกรรมหลักของโครงการ
8.1 กิจกรรมหลัก การปกป้องสถาบันหลักของชาติ - การฝึกอบรมสัมมนา เพื่อสร้างการรับรู้เกี่ยวกับสถาบัน
งบประมาณ 40,000,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ หลักของชาติ
กอ.รมน.จว.นม.
8.2 กิจกรรมหลัก การเป็นศูนย์บริหารจัดการ - การจัดตั้งและบริหารจัดการเครือข่ายการป้องกันและ
เครือข่ายการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคง แก้ไขปัญหาด้านความมั่นคง
ทุกมิติ งบประมาณ 440,000,000 บาท หน่วยงาน
รับผิดชอบ กอ.รมน.จว.นม./ภ.จว.นม./หน่วยงานสังกัด
กระทรวงแรงงาน/ปภ.นม./หน่วยงานสังกัด กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติ
8.3 กิจกรรมหลัก การเสริมสร้างความปรองดองและ - การเสริมสร้างความปรองดองและความสมานฉันท์
ความสมานฉันท์ในชาติ งบประมาณ 40,000,000 บาท ในชาติ
หน่วยงานรับผิดชอบ กอ.รมน.จว.ม./ปค.นม.
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การเสริมสร้างความมั่นคงทุกมิติ เพื่อปกป้องสถาบันหลักของชาติและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
โครงการที่ 1 โครงการเสริมสร้างความมั่นคงทุกมิติ
แหล่งงบประมาณ ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง
จังหวัด/กลุ่มจังหวัด - การเป็นศูนย์บริหารจัดการเครือข่ายการ - การปกป้องสถาบันหลักของชาติ (กอ.รมน.จว. นม.)
ป้องกันและแก้ไปญหาด้านความมั่นคงทุกมิติ
- การเสริมสร้างความปรองดองและความสมานฉันท์
(กอ.รมน.จว.นม./ ภ.จว.นม./หน่วยงานสังกัด
ในชาติ (กอ.รมน.จว. นม./ปค.นม.)
กระทรวงแรงงาน/ปภ.นม./หน่วยงานสังกัด
กทส.)

กระทรวง/กรม - การเป็นศูนย์บริหารจัดการเครือข่ายการ
ป้องกันและแก้ไปญหาด้านความมั่นคงทุกมิติ
(กอ.รมน.จว.นม./ ภ.จว.นม./หน่วยงานสังกัด
กระทรวงแรงงาน/ปภ.นม./หน่วยงานสังกัด
กทส.)

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เอกชน
แบบ จ.๑-๑
(Project idea รายโครงการ)

การจัดทาแบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea) ของทุกโครงการภายใต้งบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด


แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea)
ส่วนราชการ จังหวัดนครราชสีมา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
กลยุทธ์ที่ 1. เพิ่มขีดความสามารถการให้บริการภาครัฐ
กลยุทธ์ที่ 2. เพิ่มขีดความการจัดเก็บรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลยุทธ์ที่ 3. การพัฒนาบุคลากร
กลยุทธ์ที่ 4. การปรับปรุงระบบสารสนเทศ
กลยุทธ์ที่ 5. การปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กร
กลยุทธ์ที่ 6. การสร้างความโปร่งใสในองค์กร

หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
๒. ความสาคัญของโครงการ หลักการและเหตุผล จังหวัดนครราชสีมา กาหนดวิสัยทัศน์ว่า “โคราชเมืองน่าอยู่
มุ่งสู่นวัตกรรมใหม่ เกษตร อุตสาหกรรม ปลอดภัย” ดังนั้น
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าวข้างต้น จังหวัดจึงได้จัดทาโครงการ
นี้ขึ้น เพื่อให้จังหวัดเกิดกรปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหาร
จัดการภาครัฐ
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ
2. เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาองค์กร
4. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ 1. ร้อยละของสถานพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพ HA (%)
2. ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงน้าประปา (%)
3. ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงไฟฟ้า (%)
4. ร้อยละของประชากรที่เข้าถึงอินเตอร์เน็ต (%)
5. การให้บริการภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน
5.1 จานวนครั้ง
5.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
6. ร้อยละความสาเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณ (%)
7. ร้อยละของภาษีท้องถิ่นที่จัดเก็บรายได้ ไม่รวมเงินอุดหนุน
เฉพาะกิจ (%
8. ร้อยละความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการพัฒนาองค์กร
8.1 ประชาชน
8.2 บุคลากรภายในองค์กร
5. ผลผลิต/ผลลัพธ์ 1. เกิดประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ
2. เกิดประสิทธิภาพการพัฒนาองค์กร
/6. ความเชื่อมโยง ...
-2-
หัวข้อ รายละเอียด
6. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ข้อ 6 การ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
นโยบายรัฐบาล ข้อ 11 ราชการแผ่นดินมีธรรมาภิบาล/
ป้องกันทุจริต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลด
ความเหลื่อมล่าในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหาร
จัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจิตประพฤติมิชอบ
และธรรมาภิบาลในสังคมไทย
7. ระยะเวลา ภายในปี พ.ศ.2561 – 2564
8. กิจกรรมหลักของโครงการ
8.1 กิจกรรมหลัก การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติ - การฝึกอบรมสัมมนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติ
ราชการ งบประมาณ 300,000,000 บาท ราชการ ของบุคลากรในส่วนราชการภายในจังหวัด
8.2 กิจกรรมหลัก การเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนา - การฝึกอบรมสัมมนา การพัฒนาระบบองค์กร เพื่อเพิ่ม
องค์กร งบประมาณ 300,000,000 บาท ประสิทธิภาพ ของส่วนราชการภายในจังหวัด
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการที่ 1 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แหล่งงบประมาณ ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง
จังหวัด/กลุ่มจังหวัด การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบตั ิราชการ
(ทุกส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ)
การเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาองค์กร
(ทุกส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ)
กระทรวง/กรม การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบตั ิราชการ
(ทุกส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ)
การเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาองค์กร
(ทุกส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบตั ิราชการ (อปท.)
การเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาองค์กร (อปท.)
เอกชน
สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ผนวก ข. (1)

ข้อมูล ณ วันที่ 4 กันยายน 2560


หัวข้อ แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา เหตุผลของการ
(พ.ศ.2561 - 2564) (ฉบับเดิม) (พ.ศ.2561 - 2564) (ฉบับใหม่) ปรับเปลี่ยน
ตาแหน่งทาง 1 เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม การเกษตร การท่องเทีย่ ว 1 เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม การเกษตร การท่องเทีย่ ว คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
ยุทธศาสตร์ Logistics และพลังงานสะอาดในภูมิภาค Logistics และพลังงานสะอาดในภูมิภาค
(Positioning) 2 เป็นศูนย์กลางการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และ 2 เป็นศูนย์กลางการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และ คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
สาธารณสุขทีม่ ีคุณภาพตามมาตรฐานสากล สาธารณสุขทีม่ ีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ประชาชน
ประชาชนมีคุณภาพชีวิตทีด่ ี มีคุณภาพชีวิตทีด่ ี
3 เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3 เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
ทีห่ ลากหลายและสมบูรณ์ ทีห่ ลากหลายและสมบูรณ์
4 เป็นศูนย์กลางในการป้องกันภัยคุกคาม และ 4 เป็นศูนย์กลางในการป้องกันภัยคุกคาม และเสริมสร้าง คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
เสริมสร้างความมั่นคง เพือ่ ปกป้องสถาบันหลักของชาติ ความมั่นคง เพือ่ ปกป้องสถาบันหลักของชาติ

5 เป็นทีต่ ั้งของส่วนราชการทีม่ ีการบริหารจัดการภาครัฐ 5 เป็นทีต่ ั้งของส่วนราชการทีม่ ีการบริหารจัดการภาครัฐ คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว


แบบบูรณาการอยางยั่งยืน แบบบูรณาการอยางยั่งยืน
สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2564)
ข้อมูล ณ วันที่ 4 กันยายน 2560 ผนวก ข. (2)
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา เหตุผลของการ
ที่ หัวข้อ
(พ.ศ.2561 - 2564) (ฉบับเดิม) (พ.ศ.2561 - 2564) (ฉบับใหม่) ปรับเปลี่ยน
1 วิสัยทัศน์ โคราชเมืองน่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรม และเกษตร โคราชเมืองน่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรม และเกษตร คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย
ภาคผนวก
ข้อมูล ณ วันที่ 4 กันยายน 2560 ข. (3)
เป้าประสงค์รวม
แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา เหตุผลของการ
(พ.ศ.2561 - 2564) (ฉบับเดิม) (พ.ศ.2561 - 2564) (ฉบับใหม่) ปรับเปลี่ยน
1 เพือ่ เพิม่ ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ 1 เพือ่ เพิม่ ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
ของจังหวัด ของจังหวัด
2 ประชาชนมีคุณภาพชีวิตทีด่ ี ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และ 2 ประชาชนมีคุณภาพชีวิตทีด่ ี ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และ คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
3 มีทรัพยากรธรรมชาติทสี่ มบูรณ์และมีสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมต่อ 3 มีทรัพยากรธรรมชาติทสี่ มบูรณ์และมีสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมต่อ คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
การดาเนินชีวิต การดาเนินชีวิต
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
4 เพือ่ เสริมสร้างความมั่นคง ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคาม 4 เพือ่ เสริมสร้างความมั่นคง ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคาม คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
และปกป้องสถาบันหลักของชาติ และปกป้องสถาบันหลักของชาติ

5 เพือ่ ให้หน่วยงานภาครัฐมีสมรรถนะสูงอย่างมีประสิทธิภาพและ 5 เพือ่ ให้หน่วยงานภาครัฐมีสมรรถนะสูงอย่างมีประสิทธิภาพและ คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว


ประสิทธิผล เพือ่ สนับสนุนการบริหารจัดการทุกด้าน ประสิทธิผล เพือ่ สนับสนุนการบริหารจัดการทุกด้าน
สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2564)
ข้อมูล ณ วันที่ 4 กันยายน 2560 ภาคผนวก ข. (4)

แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา เหตุผลของการ


หัวข้อ
(พ.ศ.2561 - 2564) (ฉบับเดิม) (พ.ศ.2561 - 2564) (ฉบับใหม่) ปรับเปลี่ยน
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาและเพิม่ ศักยภาพการแข่งขัน 1 การพัฒนาและเพิม่ ศักยภาพการแข่งขัน คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ
2 ยกระดับสังคม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ ตามแนวทาง 2 ยกระดับสังคม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ ตามแนวทาง คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
3 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ 3 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
สิ่งแวดล้อม ให้มีความสมบูรณ์อย่างยั่งยืน สิ่งแวดล้อม ให้มีความสมบูรณ์อย่างยั่งยืน ตาม
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
4 การเสริมสร้างความมั่นคงทุกมิติ เพือ่ ปกป้อง 4 การเสริมสร้างความมั่นคงทุกมิติ เพือ่ ปกป้อง คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
สถาบันหลักของชาติ และความปลอดภัย สถาบันหลักของชาติ และความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
5 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 5 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ คงเดิม เนื่องจากเหมาะสมแล้ว
ภาคผนวก ค.
จุดเน้นทางยุทธศาสตร์ (Positioning) ของจังหวัดนครราชสีมา
ตามแผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔
กลุ่มจังหวัดฯ จังหวัดนครราชสี มา
 เกษตรปลอดภัย (ข้าวหอมมะลิ โคเนื้อ มันสาปะหลัง ไก่บ้าน)
เกษตรปลอดภัย  แปรรูปอุตสาหกรรมการเกษตร
 โครงสร้างพื้นฐานการเกษตร
 พลังงานทดแทน
 บริหารจัดการน้าอย่างบูรณาการ

การท่องเที่ยว  ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
 ท่องเที่ยวอารยธรรมขอม
 ท่องเที่ยวหมู่บ้านท่องเที่ยวไหม

ผลิตภัณฑ์ไหม  ผลิตภัณฑ์ไหม
 OTOP/SME’s
 ท่องเที่ยวหมู่บ้านท่องเที่ยวไหม
การค้าการลงทุน  ศูนย์กระจายสินค้า
การค้าชายแดน  ศูนย์ซ่อมบารุงอากาศยาน
฿ เส้นทางขนถ่ายสินค้า

You might also like