You are on page 1of 41

คำนำ

หนั ง สื อ “ปฏิ บั ติ ต ามลำดั บ ” นี้


เรี ย บเรี ย งจากคำบรรยาย ในการจั ด หากมีความผิดพลาดประการใด อันเกิด
ปฏิบัติธรรม ที่อาศรมมาตา อ. ปักธงชัย จากความด้ อ ยสติ ปั ญ ญาของผู้ บ รรยาย
จ. นครราชสี ม า ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ระหว่ า งวั น ที่ ก็ ข อขมาต่ อ พระรั ต นตรั ย และครู บ า
๒๒ - ๒๖ ตุ ล าคม ๒๕๕๔ หั ว ข้ อ นี้ อาจารย์ทั้งหลาย และขออโหสิกรรมจาก
บรรยายเมื่ อ วั น ที่ ๒๓ ตุ ล าคม ๒๕๕๔ ท่านผู้อ่านไว้ ณ ที่นี้ด้วย
คุณสุวิมล อัศวไชยชาญ เป็นผู้ถอดเทป
ผู้ บ รรยายได้ นำมาปรับปรุงเพิ่มเติมตาม
สมควร สุภีร์ ทุมทอง
ผู้บรรยาย
ขออนุโมทนาผู้ที่เกี่ยวข้องในการทำ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๕
หนังสือเล่มนี้ และขอขอบคุณญาติธรรม
ทั้งหลายที่มีเมตตาต่อผู้บรรยายเสมอมา
ปฏิบัติตามลำดับ
บรรยายวันที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๕๔

ขอนอบน้อมต่อพระรัตนตรัย
สวัสดีครับท่านผูเ้ ข้าปฏิบตั ธิ รรมทุกท่าน
เมื่อเช้า ผมได้พูดตัวกลาง ธรรมะ
อั น เป็ น ตั ว กลางที่ ท ำให้ เ รามี ปั ญ ญา
ประสบความสำเร็จในการปฏิบัติธรรม ได้
มองเห็นความจริง คือสมาธิ สมาธิเป็น
ตัวกลาง อย่างที่พระพุทธเจ้าตรัสบอกไว้ พูดในแบบโพธิปกั ขิยธรรม ก็เป็นการ
ว่ า “ดู ก่ อ นภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย เธอทั้ ง หลาย พู ด ในทำนองว่ า มี ธ รรมะตั ว ไหนบ้ า งที่
จงเจริ ญ สมาธิ เ ถิ ด บุ ค คลผู้ มี จิ ต ตั้ ง มั่ น แล้ ว ควรทำให้ เ กิ ด มี ขึ้ น ในจิ ต เป็ น ธรรมะที่
ย่อมรู้ ย่อมเห็น ตามความเป็นจริง” แต่การ เรียกว่า คณะทำงาน หรือ ตัวดำเนินการ
จะมีสมาธิ ต้องฝึกหัด ไม่ใช่มาปฏิบัติปุ๊ป ถ้ า เราอยากจะพ้ น ไปจากทุ ก ข์ อยากจะ
แล้ ว จะทำสมาธิ เ ลย อย่ า งที่ ไ ด้ พู ด เรื่ อ ง
ข้ า มจากฝั่ ง นี้ ไ ปสู่ ฝั่ ง โน้ น คื อ พระนิ พ พาน
โพธิปักขิยธรรม ๓๗ สมาธิอยู่หมวดที่ ๓ ต้องมีธรรมะอะไรบ้าง ต้องทำธรรมะชนิด
คือ อิทธิบาท สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ไหนให้ เ กิ ด ขึ้ น ในจิ ต อุ ป มาเหมื อ นกั บ มี
๔ อิ ท ธิ บ าท ๔ ตั ว อิ ท ธิ บ าทนี้ เป็ น ชุ ด บริษัทแห่งหนึ่ง เราอยากให้บริษัทนี้เจริญ
สมาธิ แยกเป็ น ฉั น ทสมาธิ วิ ริ ย สมาธิ ก้าวหน้ายิ่ง ๆ ขึ้นไป มีคณะทำงานอะไร
จิตตสมาธิ วิมังสาสมาธิ บ้ า ง ที่ จ ะทำให้ บ ริ ษั ท ก้ า วหน้ า ก็ มี

๓๗ คน ๓๗ ท่าน นี้แหละ เราไปเชิญ



เขามาอยู่ในบริษัท เขาทำงานตามหน้าที่

6 7
รวมกั น ก็ ท ำให้ บ ริ ษั ท ก้ า วหน้ า ที นี้ เรา ก่อนทีจ่ ะให้ทา่ นไปปฏิบตั ิ ผมจะอ่าน
อยากไปถึ ง ฝั่ ง โน้ น คื อ พระนิ พ พาน
พระสูตรหนึ่งให้ฟัง มีพระไตรปิฎกอยู่แถว
ถึงความอิสระหลุดพ้นนี้ ก็มี ๓๗ ตัวแปร นี้ก็ดีเหมือนกัน จะได้ไม่ต้องหาเรื่องมาพูด
๓๗ สภาวะ ๓๗ อย่ า ง ซึ่ ง ล้ ว นเป็ น หยิบหนังสือมาอ่านเลย
ธรรมะฝ่ายสังขาร เราจึงต้องปรุง ต้องฝึก ในมั ช ฌิ ม นิ ก าย อุ ป ริ ปั ณ ณาสก์
ต้องทำเหตุ ทำปัจจัยให้มีขึ้น ค ณ ก โ ม ค คั ล ล า น สู ต ร บ า ลี ข้ อ ๗ ๔
ถ้ า พู ด ก า ร ป ฏิ บั ติ ไ ป ต า ม ล ำ ดั บ เป็ น ต้ น ไป มี พู ด ถึ ง การฝึ ก ให้ มี ส มาธิ
สมาธิ จ ะอยู่ ก ลาง ๆ อยู่ ใ นช่ ว งระหว่ า ง เป็นการฝึกไปตามลำดับ ทีละสะเต็บ ๆ ไป
ศี ล กั บ ปั ญ ญา มี ศี ล เป็ น พื้ น ฐาน สมาธิจะอยู่กลาง ๆ
นอกจากศีลแล้ว ก็มีการฝึกจิตให้มีความ ข้อ ๗๔ ข้าพเจ้าได้สดับมา
พร้อม แล้วจึงจะได้สมาธิ แล้วจึงอาศัย อย่างนี้
สมาธิทำให้เกิดปัญญาต่อไป

8 9
สมั ย หนึ่ ง พระผู้ มี พ ระภาค บันไดชัน้ ล่างย่อมปรากฏ แม้พราหมณ์
ประทับอยู่ ณ ปราสาทของมิคารมาตา เหล่ า นี้ ก็ มีก ารศึ ก ษาโดยลำดั บ มี
ในบุพพาราม เขตกรุงสาวัตถี ครั้ง การกระทำโดยลำดั บ มี ก ารปฏิ บั ติ
นั้ น แล คณกโมคคั ล ลานพราหมณ์ โดยลำดั บ ย่ อ มปรากฏด้ ว ยการ

เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ เล่าเรียน แม้นักรบเหล่านี้ ก็มีการ


แล้ ว ได้ ส นทนาปราศรั ย พอเป็ น ที่ ศึ ก ษาโดยลำดั บ มี ก ารกระทำโดย
บันเทิงใจ พอเป็นที่ระลึกถึงกันแล้ว ลำดับ มีการปฏิบัติโดยลำดับ ย่อม
นั่ง ณ ที่สมควร ได้กราบทูลพระผู้มี ปรากฏในเรื่องการใช้อาวุธ
พระภาคดังนี้ว่า
แม้แต่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ผู้เป็น
ข้าแต่พระโคดมผูเ้ จริญ ปราสาท นักคำนวณ ก็มีการศึกษาโดยลำดับ
ของมิคารมาตาหลังนี้ มีการศึกษา มีการกระทำโดยลำดับ มีการปฏิบัติ
โดยลำดั บ มี ก ารกระทำโดยลำดั บ โดยลำดับ ย่อมปรากฏในเรื่องการ
มีการปฏิบัติโดยลำดับ คือโครงสร้าง นับจำนวน เพราะข้าพเจ้าทั้งหลาย

10 11
ได้ศิษย์แล้ว เบื้องต้นให้เขานับอย่าง ข้ อ ๗๕ พระผู้ มี พ ระภาค
นี้ว่า “หนึ่ง หมวดหนึ่ง สอง หมวด ตรัสว่า พราหมณ์ เราสามารถเพื่อ
สอง สาม หมวดสาม สี่ หมวดสี่ จะบัญญัติการศึกษาโดยลำดับ การ
ห้ า หมวดห้ า หก หมวดหก เจ็ ด กระทำโดยลำดั บ การปฏิ บั ติ โ ดย
หมวดเจ็ ด แปด หมวดแปด เก้ า ลำดับ ในธรรมวินัยนี้ได้
หมวดเก้า สิบ หมวดสิบ” ย่อมให้
เปรียบเหมือนคนฝึกม้าผูช้ ำนาญ
นั บไปถึ ง จำนวนร้ อ ย ให้ นั บไปเกิ น
ได้ม้าอาชาไนยตัวงามแล้ว เบื้องต้น
จำนวนร้อย แม้ฉันใด
ทีเดียว ย่อมฝึกให้คุ้นกับการบังคับใน
ข้าแต่พระโคดมผูเ้ จริญ พระองค์ บังเหียน ต่อมาจึงฝึกให้คุ้นยิ่งขึ้นไป
สามารถเพื่อจะบัญญัติการศึกษาโดย แม้ฉันใด ตถาคตก็ฉันนั้นเหมือนกัน
ลำดั บ การกระทำโดยลำดั บ การ ได้บุรุษที่ควรฝึกแล้ว เบื้องต้นทีเดียว
ปฏิ บั ติ โ ดยลำดั บ ในพระธรรมวิ นั ย
ย่อมแนะนำอย่างนี้ว่า “มาเถิด ภิกษุ
แม้นี้ ฉันนั้นบ้างไหม เธอจงเป็ น ผู้ มี ศี ล สำรวมด้ ว ยการ

12 13
สังวรในปาติโมกข์ เพียบพร้อมด้วย คื อ เธอเห็ น รู ป ทางตาแล้ ว
อาจาระและโคจรอยู่ จงเป็นผู้มีปกติ อย่ารวบถือ อย่าแยกถือ จงปฏิบัติ
เห็นภัยในโทษแม้เล็กน้อย สมาทาน เพื่ อ สำรวมจั ก ขุ น ทรี ย์ (อิ น ทรี ย์ คื อ
ศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลายเถิด” จักขุ) ซึ่งเมื่อไม่สำรวมแล้ว จะเป็น
เหตุให้ถูกบาปอกุศลธรรมคืออภิชฌา
พราหมณ์ ในกาลใด ภิ ก ษุ
(ความเพ่งเล็งอยากได้สงิ่ ของของเขา)
เป็นผู้มีศีล สำรวมด้วยการสังวรใน
และโทมนัส (ความทุกข์ใจ) ครอบงำ
ปาติโมกข์ เพียบพร้อมด้วยอาจาระ
ได้ เธอจงรั ก ษาจั ก ขุ น ทรี ย์ จงถึ ง
และโคจร เป็นผู้เห็นภัยในโทษแม้เล็ก
ความสำรวมในจักขุนทรีย์
น้ อ ย สมาทานศึ ก ษาในสิ ก ขาบท

ทั้ ง หลาย ในกาลนั้ น ตถาคตย่ อ ม เธอฟังเสียงทางหูแล้ว ...


แนะนำเธอให้ ยิ่ ง ขึ้ นไปว่ า “มาเถิ ด เธอดมกลิ่นทางจมูกแล้ว ...
ภิกษุ เธอจงเป็นผู้คุ้มครองทวารใน เธอลิ้มรสทางลิ้นแล้ว ...
อินทรีย์ทั้งหลาย

14 15
เธอถูกต้องโผฏฐัพพะทางกาย ภิกษุ เธอจงเป็นผู้รู้ประมาณในการ
แล้ว ... บริโภคอาหาร คือ เธอพึงพิจารณา
เธอรูแ้ จ้งธรรมารมณ์ทางใจแล้ว โดยแยบคายแล้ ว ฉั น อาหาร ไม่ ใ ช่
อย่ารวบถือ อย่าแยกถือ จงปฏิบัติ เพื่อเล่น ไม่ใช่เพื่อมัวเมา ไม่ใช่เพื่อ
เพื่ อ สำรวมมนิ น ทรี ย์ (อิ น ทรี ย์ คื อ ประดั บ ไม่ ใ ช่ เ พื่ อ ตกแต่ ง แต่ ฉั น
มโน) ซึ่งเมื่อไม่สำรวมแล้ว จะเป็น อาหารเพียงเพื่อความดำรงอยู่ได้แห่ง
เหตุให้ถูกบาปอกุศลธรรมคืออภิชฌา กายนี้ เพื่อให้กายนี้เป็นไปได้ เพื่อ
และโทมนัสครอบงำได้ เธอจงรักษา กำจัดความเบียดเบียน เพือ่ อนุเคราะห์
มนินทรีย์ จงถึงความสำรวมในมนินทรีย์ พรหมจรรย์ ด้วยคิดเห็นว่า เราจัก
กำจัดเวทนาเก่า และจักไม่ให้เวทนา
พราหมณ์ ในกาลใด ภิ ก ษุ ใหม่เกิดขึ้น ความดำเนินไปแห่งกาย
เป็ น ผู้ คุ้ ม ครองทวารในอิ น ทรี ย์ ทั้ ง ความไม่ มี โ ทษ และการอยู่ ผ าสุ ข
หลายแล้ว ในกาลนั้น ตถาคตย่อม จักมีแก่เรา”
แนะนำเธอให้ ยิ่ ง ขึ้ นไปว่ า “มาเถิ ด
16 17
พราหมณ์ ในกาลใด ภิ ก ษุ ซ้อนเท้าเหลื่อมเท้า มีสติสัมปชัญญะ
เป็นผู้รู้ประมาณในการบริโภคอาหาร กำหนดใจพร้ อ มจะลุ ก ขึ้ น ตลอด
ในกาลนั้น ตถาคตย่อมแนะนำเธอให้ มัชฌิมยามแห่งราตรี จงลุกขึ้นชำระ
ยิ่งขึ้นไปว่า “มาเถิด ภิกษุ เธอจง จิตให้บริสุทธิ์จากธรรมทั้งหลายที่เป็น
เป็นผู้ประกอบความเพียรเครื่องตื่น เครือ่ งขัดขวาง ด้วยการจงกรม ด้วย
อย่างต่อเนื่อง คือ เธอจงชำระจิตให้ การนั่งตลอดปัจฉิมยามแห่งราตรี”
บริ สุ ท ธิ์ จ ากธรรมทั้ ง หลายที่ เ ป็ น พราหมณ์ ในกาลใด ภิ ก ษุ
เครื่ อ งขั ด ขวาง ด้ ว ยการจงกรม เป็นผู้ประกอบความเพียรเครื่องตื่น
ด้วยการนั่งตลอดวัน จงชำระจิตให้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในกาลนั้ น ตถาคต
บริ สุ ท ธิ์ จ ากธรรมทั้ ง หลายที่ เ ป็ น ย่อมแนะนำเธอให้ยิ่งขึ้นไปว่า “มา
เครื่ อ งขั ด ขวาง ด้ ว ยการจงกรม เถิด ภิกษุ เธอจงเป็นผู้ประกอบด้วย
ด้วยการนัง่ ตลอดปฐมยามแห่งราตรี สติสัมปชัญญะ คือ ทำความรู้สึกตัว
นอนดุ จ ราชสี ห์ โ ดยข้ า งเบื้ อ งขวา ในการก้าวไป การถอยกลับ การแลดู

18 19
การเหลียวดู การคูเ้ ข้า การเหยียดออก นั้นพักอยู่ ณ เสนาสนะอันเงียบสงัด
การครองสั ง ฆาฏิ บาตรและจี ว ร คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้ำ
การฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง ภิกษุ
การถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ การเดิน นั้นกลับจากบิณฑบาต ภายหลังฉัน
การยืน การนั่ง การนอน การตื่น ภั ต ตาหารเสร็ จ แล้ ว นั่ ง ขั ด สมาธิ

การพูด การนิ่ง” ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า


พราหมณ์ ในกาลใด ภิ ก ษุ ภิกษุนั้นละอภิชฌาในโลก มีใจ
เป็ น ผู้ ป ระกอบด้ ว ยสติ สั ม ปชั ญ ญะ ปราศจากอภิ ช ฌา (ความเพ่ ง เล็ ง
ในกาลนั้น ตถาคตย่อมแนะนำเธอให้ อยากได้สิ่งของของเขา) ชำระจิตให้
ยิ่งขึ้นไปว่า “มาเถิด ภิกษุ เธอจง บริสุทธิ์จากอภิชฌา ละความมุ่งร้าย
พั ก อยู่ ณ เสนาสนะอั น เงี ย บสงั ด คื อ พยาบาท มี จิ ตไม่ พ ยาบาท มุ่ ง
คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้ำ ประโยชน์ เ กื้ อ กู ล ต่ อ สรรพสั ต ว์ อ ยู่
ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง ภิกษุ ชำระจิตให้บริสุทธิ์จากความมุ่งร้าย

20 21
คือพยาบาท ละถีนมิทธะ (ความหดหู่ ข้ อ ๗๖ ภิ ก ษุ นั้ น ละนิ ว รณ์
และเซื่ อ งซึ ม ) ปราศจากถี น มิ ท ธะ ๕ นี้ ที่ทำให้จิตเศร้าหมอง บั่นทอน
กำหนดแสงสว่าง มีสติสัมปชัญญะ กำลังปัญญา สงัดจากกามและอกุศล
อยู่ ชำระจิตให้บริสุทธิ์จากถีนมิทธะ ธรรมทั้งหลายแล้ว เข้าปฐมฌานที่มี
ละอุ ท ธั จ จกุ ก กุ จ จะ (ความฟุ้ ง ซ่ า น วิตก วิจ าร ปีติแ ละสุข อัน เกิดจาก
และรำคาญใจ) เป็นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน มี วิเวกอยู่ เพราะวิตกวิจารสงบระงับไป
จิ ต สงบภายใน ชำระจิ ตให้ บ ริ สุ ท ธิ์ เข้าทุติยฌาน ... อยู่ เพราะปีติจาง
จากอุ ท ธั จ จกุ ก กุ จ จะ ละวิ จิ กิ จ ฉา คลายไป มีอเุ บกขา มีสติสมั ปชัญญะ
(ความลังเลสงสัย) ข้ามพ้นวิจิกิจฉา เสวยสุขด้วยนามกาย เข้าตติยฌาน
ได้แล้ว ไม่มีความสงสัยในกุศลธรรม ... อยู่ เพราะละสุขและทุกข์ได้ เพราะ
ทั้ ง หลายอยู่ จึ ง ชำระจิ ตให้ บ ริ สุ ท ธิ์ โสมนั ส และโทมนั ส ดั บไปก่ อ น เข้ า
จากวิจิกิจฉาได้” จตุตถฌาน ... อยู่

22 23
ในพระสู ต รนี้ พราหมณ์ ม าถาม เรือ่ ย แล้วค่อยนับจำนวนเพิม่ ขึน้ ไปเรือ่ ย ๆ
อย่างปราสาทวิหารบุพพารามหลังนี้ ก็มี ทีนี้ เลยถามพระพุทธเจ้าว่า ในธรรมวินัย
การทำไปตามลำดับ ตามสเต็บ เหมือน ของพระพุ ท ธเจ้ า นี่ มี ก ารปฏิ บั ติ ไ ปตาม
กั บ เป็ น ขั้ น บั น ได ที่ ม องเห็ น ชั ด ๆ คื อ
ลำดับ มีการศึกษาไปตามลำดับ ยังไงบ้าง
มี ตั้ ง แต่ ชั้ น ล่ า งไปเรื่ อ ย ๆ ไล่ เ ป็ น ชั้ น ๆ พอบัญญัติบอกได้ไหม พระพุทธเจ้าก็บอก
ขึ้นไป หรือแม้พวกพราหมณ์ก็มีการศึกษา ว่า บัญญัติได้ โดยพระองค์อุปมาเหมือน
ไปตามลำดับ มีการเรียนหนังสือไปตาม กับว่า คนฝึกม้าผู้ชำนาญ ได้ม้าอาชาไนย
ลำดับ พวกที่เป็นนักรบ พวกทหารนี่ ก็มี ตัวงามมาแล้ว เบื้องต้นทีเดียว ก็ฝึกให้
การศึกษาเรียนรู้ไปตามลำดับ เช่น การ คุ้นกับการบังคับ คุ้นกับใช้บังเหียนเสีย
ใช้อาวุธต่าง ๆ ก็มีการฝึกไปตามลำดับ ก่อน แล้วต่อมาจึงฝึกเรื่องอื่น ๆ ต่อไป
แม้แต่ตวั เขาเอง ซึง่ เป็นครูสอนคณิตศาสตร์ อย่างเราเป็นคนปฏิบัติธรรมนี่ ต้อง
เป็ น นั ก คำนวณนี่ น ะ เขาก็ ส อนลู ก ศิ ษ ย์ คุ้นกับการฝึก ถ้าไม่คุ้นกับการฝึก มันก็จะ
เหมือนกัน ให้นับ หนึ่ง สอง สาม ไป ฝึกขั้นต่อไปไม่ได้ ต้องคุ้น เห็นว่า การ
24 25
ฝึกนีเ้ ป็นเรือ่ งดี เป็นเรือ่ งทีจ่ ะทำให้เราดีขนึ้ กั บ การบั ง คั บ เสี ย ก่ อ น มี ก ารสนตะพาย
ได้ตื่นนอนเช้า ๆ ดีไหม ดี เป็นเครื่องฝึก บังเหียน การวางที่นั่งลงบนหลัง อะไร
ได้ ท ำอะไรที่ เ ราไม่ อ ยากทำ ก็ ดี เป็ น ต่าง ๆ ให้มนั คุน้ พอคุน้ แล้วค่อยฝึกให้ยงิ่ ๆ
เครื่ อ งฝึ ก ได้ ม าสวดมนต์ แหกขี้ ต ามา ขึ้ น ไป พวกเราก็ เ หมื อ นกั น ต้ อ งคุ้ น
สวดตั้งแต่เช้า ทั้ง ๆ ที่ไม่เคยได้สวด นี้ก็ สำหรับการฝึก จะทานอาหาร ก็ต้องทำ
เป็นเครื่องฝึก ทำให้จิตมันชินกับการฝึก ใหม่ ทำให้มันช้าลงกว่าเดิม ต้องนั่งรอ
ถ้าจิตมันไม่ชนิ มันจะชอบทำตามใจตัวเอง แล้วก็มีสวดโน่นสวดนี่ สวดไปเรื่อย บาง
ทำตามใจอยาก แบบนั้น ไม่ได้ฝึก ถ้าจะ คนอาจจะบอกว่า สวดทำไม สวดไม่สวด
ฝึ ก นี่ มั น ไม่ ไ ด้ ท ำตามใจอยากแล้ ว นะ ก็กินลงท้องเหมือนกันแหละ แต่เราทำให้
ต้องทำให้คุ้นก่อน จิ ต คุ้ น กั บ การฝึ ก ไม่ ใ ช่ บ อกว่ า ฝึ ก สติ
ที่ไหนก็ได้ ดูทีวีก็ได้ คุยก็ได้ เวลาไหน
เจ้าม้านี่ มันยังไม่เคยฝึก มันจะชอบ
เที่ ย ววิ่ ง เล่ น อะไรตามใจมั น ที นี้ ต้ อ ง ก็ได้ อย่างนี้ มันไม่คุ้น ต้องทำให้มันคุ้น
ต้องหัดกันกิเลส หัดไม่ดูข่าว ไม่ดูละคร
ทำให้ม้าพร้อมสำหรับการฝึก คือ ให้คุ้น
26 27
ไม่ดหู นังสือพิมพ์ หัดไม่คยุ ให้มนั คุน้ การฝึก มันคุน้ กับการถูกบังคับนี่ มันก็จะสงบ เห็น
ไม่ทำอะไรตามใจอยาก คุ้นกับการบังคับ เป็นเครือ่ งฝึกตัวเอง ถ้าไม่คนุ้ มันก็จะเครียด
แล้วค่อยฝึกให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป ถ้าไม่คุ้นแล้ว บังคับอะไรนิดอะไรหน่อย ให้มาเดินจงกรม
จะฝึกไม่ได้ผล พระองค์อุปมาเหมือนกับ กลับไปกลับมา มันก็จะเครียด ให้มานั่ง
การฝึกม้า เฉย ๆ หนึ่ ง ชั่ ว โมง มั น จะทนไม่ ไ หว

รออยู่ เมื่อไหร่จะหมดชั่วโมงเสียที จิตมัน


การฝึกภิกษุตามวิธีของพระพุทธเจ้า
ไม่คุ้น ต้องหัดมัน
พระองค์บอกว่า ตถาคตก็ฉันนั้นเหมือนกัน
ได้ บุ รุ ษ ที่ ค วรฝึ ก แล้ ว เบื้ อ งต้ น ที เ ดี ย ว ย่ อ ม พวกท่านคุ้นหรือยัง ถ้ายังไม่คุ้นต้อง
แนะนำอย่างนี้ว่า “มาเถิด ภิกษุ เธอจงเป็นผู้มี หัดหน่อย ยังไม่ถึงเวลาเลิก ก็อย่าไปเลิก
ศีล สำรวมด้วยการสังวรในปาติโมกข์ เพียบ ต้องหัดให้มันคุ้น ต้องไม่คุย อยากจะคุย
พร้อมด้วยอาจาระและโคจรอยู่ จงเป็นผู้มีปกติ ไม่ทำตามอยาก ต้องหัดให้มันคุ้น มันจะ
เห็นภัยในโทษแม้เล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ใน ตายก็ลองดู ต้องหัดให้มันคุ้น หัดให้คุ้น
สิกขาบททั้งหลายเถิด” เป็นข้อที่หนึ่ง ถ้าจิต กั บ การบั ง คั บ จิ ต มั น บั ง คั บ ไม่ ไ ด้ ก็ เ ลย
28 29
ต้องบังคับมัน บังคับแล้ว มันก็บังคับไม่ แล้วก็ “เพียบพร้อมด้วยอาจาระและโคจร”
ได้อยู่ดีนี่แหละ แต่ก็ต้องบังคับมัน ให้มัน การเดิน การนั่ง การทานอาหาร จะมา
อยูภ่ ายใต้อำนาจของสติปญ ั ญา ไม่อย่างนัน้ ทำอย่ า งเดิ ม ไม่ ไ ด้ แต่ เ ดิ ม มั น ไม่ ไ ด้ ฝึ ก
ก็จะไม่เกิดประโยชน์อะไร เป็นจิตทีไ่ ม่ได้ฝกึ ต้องมาทำแบบใหม่ เดินก็ต้องให้มีความ
นำแต่ทุกข์มาให้ สำรวมระวั ง มื อ ก็ ต้ อ งให้ มั น อยู่ กั บ ที่
ไม่ใช่สะเปะสะปะไปทั่ว แต่เดิมเราก็เดิน
ขั้นที่หนึ่ง พระองค์บอกว่า “ให้เป็นผู้ ไกวมือไปเรือ่ ย ขาดสติ ต่อมาเรามาหัดเดิน
มีศีล สำรวมระวังด้วยการสังวรในปาติโมกข์” กุ ม ไว้ ข้ า งหน้ า บ้ า ง ไขว้ ไ ว้ ข้ า งหลั ง บ้ า ง
ให้สังวรในปาติโมกข์ โดยเฉพาะด้านกาย กอดอกบ้ า ง จะเปลี่ ย นท่ า ทาง ก็ ต้ อ งรู้
ด้านวาจา ไม่ตอ้ งลึกซึง้ อะไรมาก ขัน้ ต้นนี้ มันเหมือนกับว่า เป็นหุ่นยนต์ยังไงก็ไม่รู้
อันไหนไม่จำเป็นต้องพูด ต้องงดเว้น การ ไม่ เ ป็ น ไร อั น นี้ เ ราทำให้ มั น คุ้ น คุ้ น กั บ
กระทำที่ไม่จำเป็น ต้องงดเว้น โดยเฉพาะ การบั ง คั บ ตอนแรกต้ อ งฝื น ซั ก หน่ อ ย
ทุจริตนี่ ต้องงดเว้นให้ได้ แต่พอทำไปบ่อย ๆ มันก็ปรับได้ ให้เพียบ
พร้อมด้วยอาจาระและโคจร
30 31
“เป็นผู้มีปกติเห็นภัยในโทษแม้เล็กน้อย พร้อมด้วยอาจาระและโคจร เป็นผูเ้ ห็นภัยในโทษ
สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย” ให้เรา แม้เล็กน้อย สมาทานศึกษาในสิกขาบททัง้ หลาย
ตั้ ง ใจประพฤติ ป ฏิ บั ติ ใ นสิ ก ขาบทต่ า งๆ ในกาลนั้น ตถาคตย่อมแนะนำเธอให้ยิ่งขึ้นไปว่า
สิกขาบทเบื้องต้น พวกเราก็สิกขาบท ๕ “มาเถิด ภิกษุ เธอจงเป็นผู้คุ้มครองทวารใน
แล้วก็ศลี อืน่ ๆ อย่างศีลแปดเราสมาทานมา อินทรีย์ทั้งหลาย ...”
ก็ ตั้ ง ใจ ถามว่ า มั น จะได้ อ ะไร ได้ บั ง คั บ
ต่ อ ไป อย่ า ให้ ต ามั น ลอกแลก แต่
ตั ว เอง ได้ หั ด บั ง คั บ จิ ต เขามี ก ฎอะไร
เดิ ม ตาเป็ น ยั ง ไงบ้ า ง ตาลิ ง นะ ใจลิ ง
เขามีระเบียบอะไร เราอาจจะไม่อยากทำ ตอนนี้สำรวมแขนขาของเราแล้ว สำรวม
ตาม เราก็ ท ำตาม ได้ บั ง คั บ ได้ หั ด
การกระทำต่าง ๆ ทีห่ ยาบ ๆ แล้ว ต่อไป
ให้มันคุ้นกับการบังคับ ละเอียดขึ้น ถึงการใช้อินทรีย์ เวลาเดินก็
หลังจากเป็นผูม้ ศี ลี แล้ว ทำอะไรต่อไป ต้ อ งจ้ อ งไว้ ที่ ห่ า งจากตั ว เองซั ก เมตรกว่ า
พระองค์ตรัสต่อไปว่า ในกาลใด ภิกษุเป็นผู้ หรื อ สองเมตร อย่ า ให้ มั น เจ็ บ คอก็ พ อ

มีศีล สำรวมด้วยการสังวรในปาติโมกข์ เพียบ มี เ สี ย งอะไรก๊ อ กแก๊ ก มี เ รื่ อ งโน้ น เรื่ อ งนี้

32 33
เกิดขึ้น ก็อย่าไปสนใจ อย่าให้มันลากตา จริง ๆ คือสติ แต่ถ้าสติเราอ่อน ไม่มีสติ
ไปหาของสวย ๆ งาม ๆ สำรวมตา รับรู้ ใจมันจะไม่อยู่ พอใจมันไม่อยู่ ตามันจะ
ก็ทำท่าไม่รู้ไปก่อน ถ้าจำเป็นจริง ๆ ค่อย ลอกแลกไปดู นั่ น ดู นี่ ถ้ า ต้ อ งการจะใช้
ว่ากัน ถ้าไม่จำเป็นก็อยู่กับตัวเอง เราฝึก อินทรีย์ให้ได้ผลดี ก็หลังจากเรามีสมาธิ
ของเราไปก่ อ น หูก็อย่าเที่ยวไปฟังเรื่อง มีปัญญาแล้ว ใช้อินทรีย์ ตาก็ใช้แล้วเกิด
โน้ น เรื่ อ งนี้ ต้ อ งสำรวมระวั ง ทางตา
ประโยชน์ มองเห็ น แล้ ว เกิ ด ประโยชน์
หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ ขั้ น ต้ น ๆ ถ้ า ได้ยินเสียงแล้วเกิดประโยชน์ แต่ตอนต้นนี้
สติ สั ม ปชั ญ ญะอ่ อ น ต้ อ งอาศั ย การหลบ อย่ า เพิ่ ง สำรวมไว้ ก่ อ น เก็ บ ตาไว้ ก่ อ น
เลี่ ย งอารมณ์ อัน นี้ เป็ น การฝึก ถ้ าคนมี นั่ ง ก้ ม หน้ า หู ก็ ท ำท่ า ไม่ ไ ด้ ยิ น ไว้ ก่ อ น

ปั ญ ญา มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะดี แ ล้ ว นั้ น มั น อย่าไปได้ยนิ อะไรมาก เรือ่ งอืน่ ก็เหมือนกัน


เรื่องของเขา รับรู้แล้วก็ปล่อยไปก่อน อยู่กับตัวเองไว้
รู้ ตั ว ไว้ ความคิ ด ความนึ ก ก็ เ หมื อ นกั น
ขัน้ ที่ ๒ นี้ คุม้ ครองทวารในอินทรีย์
อย่าเพิ่งไปคิดไปนึกอะไรมาก ถ้าคิดอะไร
ทั้งหลาย ต้องคุ้มครองมัน ตัวคุ้มครอง
34 35
ก็อย่าไปหลงตาม อย่าไปช่วยมันคิด ให้รู้ ถ้ า ไม่ ส ำรวมระวั ง เห็ น รู ป ทางตา
แล้วก็ปล่อยมันไป กลับมาสำรวมระวังไว้ แล้วมันก็จะเลยเถิดไป เป็นคน หญิง ชาย
ถ้าจะคิดพิจารณาอะไร ให้ประสบความ นัน่ สวย นัน่ ไม่สวย น่ารัก ไม่นา่ รัก เป็นไง
สำเร็จ ได้ความเข้าใจที่ดี ก็ต้องอาศัย กิ เ ลสถล่ ม เอา อภิ ช ฌาและโทมนั ส เข้ า

จิตเป็นสมาธิ มีความตั้งมั่นเป็นฐาน มาเพี ย บ ตาของเราอยู่ นิ่ ง ๆ ไว้ มอง


เฉพาะหน้าไว้ หูก็ระวังไว้ อย่าไปเที่ยวฟัง
ถ้ า ยั ง ไม่ ถึ ง สมาธิ ใจยั ง วอกแวก
เรื่องนั้นเรื่องนี้ ได้ยินแล้วก็ปล่อยไป กลับ
หวั่นไหว ยินดี ยินร้าย รัก ชัง อย่าเพิ่ง
มาอยู่กับตัวเองไว้ มันนึกคิดอะไร ก็อย่า
ไปทำอะไร ให้ นิ่ ง ๆ ไว้ อยู่ กั บ ตั ว เอง

ตามมั น ไป รู้ แ ล้ ว ก็ ป ล่ อ ยไป กลั บ มาที่

มีเรือ่ งอะไรปล่อยไป กลับมาอยูก่ บั ตัวเองไว้


ตั ว เองไว้ ทำอย่ า งนี้ เ พื่ อ ป้ อ งกั น อะไร
นิ่ง ๆ ไว้ ตาอย่าเที่ยวไปดู หูอย่าเที่ยว
ป้ อ ง กั น ก า ร ไ ป ยึ ด ถื อ ใ น นิ มิ ต แ ล ะ

ไปฟัง ใจอย่าเที่ยวไปคิด กลับมาที่ตัวเอง


อนุ พ ยั ญ ชนะ เรายั ง ไม่ มี ส มาธิ เ พี ย งพอ

สำรวม ๆ ไว้
ยั ง ไม่ มี ปั ญ ญา ถ้ า คนมี ส มาธิ มี ปั ญ ญา

36 37
เขาใช้อนิ ทรียม์ นั เกิดประโยชน์ ไร้ความทุกข์ ก็ได้ มีสติ ฝึกยังไงก็ได้ ไม่ใช่อย่างนั้นนะ
แต่คนไม่ได้ฝึก ไม่มีสมาธินี่ มันรัก มันชัง ยังไงก็ได้สำหรับคนมีสมาธิมีปัญญา แต่
หลงตัดสินไปตามใจตัวเอง อันนี้ดี อันนี้ เรายังไม่มี ใจยังไม่อยู่กับตัวเลย พอยังไม่
ไม่ดี กิเลสก็เข้าตลอด จึงต้องอาศัยการ อยู่ กั บ ตั ว ไปคุ ย มั น แตกกระจายหมด
สำรวมระวั ง คุ้ ม ครองทวารในอิ น ทรี ย์
พอแตกกระจายหมด จับมาให้รวมอย่างเดิม
ทั้งหลาย มันก็ไม่รวมแล้ว มันฟุ้งไปทั่ว
ตัวคุ้มครองจริง ๆ คือ สติ สติเป็น ต้องฝึกให้จิตมันรวมจนเคยชิน มัน
ตัวคุ้มครองจิต ถ้ามันอ่อนอยู่ ทำยังไง เคยชิ น ที่ จ ะมาอยู่ กั บ ตั ว เอง นี้ เ รี ย กว่ า มี
ป้องกันตัวเอง โดยการงดเว้นจากอารมณ์ สมาธิ มีหลัก ถ้ามีหลักอย่างนีแ้ ล้ว ไปรับรู้
ที่จะทำให้เกิดกิเลส ทำให้ฟุ้งซ่าน ทำให้ เรื่องอะไร รับรู้เสร็จ ก็ปล่อย แล้วกลับ
เรื่ อ งมาก เดิ น จงกรมไปมา จิ ต เกื อ บ มาที่ตัวเองได้ เหมือนคนไปทำงาน ทำ
จะเข้ า ที่ ไปคุ ย เรื่ อ งน้ ำ ท่ ว ม อย่ า งนี้ เสร็ จ แล้ ว ก็ ก ลั บ บ้ า น รู้ เ สร็ จ แล้ ว ปล่ อ ย
กระจายนะ อย่าไปทำ ไม่ใช่วา่ ปฏิบตั ยิ งั ไง กลับมาอยู่กับตัวเอง ใจไม่กระเจิงไป แต่
38 39
เราทั่วไป ไปรับรู้เรื่องโน้นเรื่องนี้ กลับมา ดังนัน้ ท่านทัง้ หลายต้องทำให้ถงึ จุด
ทีต่ วั เองไม่ได้ ใจมันกระเจิง นีค้ อื ไม่มสี มาธิ จึงจะได้ผล ท่านทั้งหลายคงผ่านการฝึก
คนไม่ มี ส มาธิ ต้ อ งอาศั ย สำรวมเอา มาพอสมควรแล้ว บางท่านก็ฝกึ มานานแล้ว
ถ้ า ไม่ ส ำรวมปฏิ บั ติ ไ ม่ ไ ด้ ผ ลนะ บางคน แต่ไม่ค่อยได้ผล ก็เพราะว่าทำไม่ถึงจุดมัน
ปฏิ บั ติ ม านานแล้ ว ปฏิ บั ติ ไ ปปฏิ บั ติ ม า
และไม่ ส ำรวมระวั ง พอไม่ ส ำรวม ใจก็
ได้ อ าทิ ต ย์ ส องอาทิ ต ย์ เกื อ บเข้ า ที่ แ ล้ ว แตกเหมือนเดิม พอแตก ก็ต้องมาฝึกใหม่
ฝึ ก ใหม่ ก็ เ กื อ บจะรวมใหม่ ก็ ไ ปแตกใหม่
อดไม่ไหว ใจจะขาดแล้วไปคุยกับเพือ่ นหน่อย
พูดไปตามกิเลส บอกว่าฝึกสติที่ไหนก็ได้
เรื่ อ งโน้ น เรื่ อ งนี้ ใจกระเจิ ง ไปหมดเลย
เจริ ญ ปั ญ ญาที่ ไ หนก็ ไ ด้ พอมั น เสื่ อ มไป
เป็นเดือนยังไม่ลงเลย ทำเหมือนกันแต่ยัง
ไม่ถึงจุด จิตไม่เป็นสมาธิ ก็แตกไปเรื่อย ก็ว่า ไม่เที่ยง อย่างนี้ เลยไม่ค่อยได้อะไร
แล้วก็ขึ้น ๆ ลง ๆ อย่างนี้ ถ้าทำจนถึง ต่อมา ขั้นที่สาม ในกาลใด ภิกษุเป็นผู้
จิตเป็นสมาธิแล้ว จิตควรต่อการใช้งาน คุม้ ครองทวารในอินทรียท์ งั้ หลายแล้ว ในกาลนัน้
ไปรูเ้ รือ่ งนัน้ เรือ่ งนี้ ก็ทำให้เกิดปัญญาได้ ตถาคตย่อมแนะนำเธอให้ยิ่งขึ้นไปว่า “มาเถิด
40 41
ภิ ก ษุ เธอจงเป็ น ผู้ รู้ ป ระมาณในการบริ โ ภค รู้จักพอดี รู้จักประมาณ รู้จักความ
อาหาร คือ เธอพึงพิจารณาโดยแยบคายแล้ว เหมาะสม พอเหมาะกั บ ตั ว เอง เป็ น
ฉันอาหาร ...” ลักษณะของการมีปัญญา ให้การกระทำ
ในการใช้สอยปัจจัยต่าง ๆ ต้องเป็น นั้นอยู่ภายใต้อำนาจของปัญญา ทำด้วย
ผู้ มี ปั ญ ญา รู้ จั ก ประมาณ รู้ จั ก พอดี ความรู้ ถ้าทำแบบไม่รู้ ทำเพลิน ๆ ไป
รูจ้ กั เพียงพอ การบริโภคอาหาร การนุง่ ห่ม เราไม่ได้ตั้งหลักไว้ก่อน ไปหาอาหารกิน
เสื้อผ้า ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค อุปกรณ์ เป็นไง แตกหมดแล้ว หายหมด สติหาย
เครื่องใช้ต่าง ๆ ต้องรู้จักพอดี ถ้ามันไม่ หมด ต้องตั้งหลักก่อน ทุกคนมีกิเลสไม่ว่า
พอดี จะกินเวลาในการปฏิบัติไป หากเลย กัน แต่ต้องอยู่ภายใต้การควบคุม จะกิน
พอดีไป ใจจะฟุง้ ซ่านเยอะมาก รับประทาน อาหาร นุ่งห่มเสื้อผ้า นอน พูดคุย หรือ
อาหาร ต้องมีปญ ั ญารูจ้ กั ประมาณ อย่าไป จะทำอะไรต่าง ๆ ต้องอยู่ภายใต้อำนาจ
กินตามอยาก อย่าไปกินตามอำเภอใจ ของปั ญ ญา ปั ญ ญารู้ จั ก ประมาณ รู้ จั ก
พอดี รู้จักเพียงพอ รู้จักตั้งหลัก ตั้งหลัก

42 43
ของตัวเอง ไม่อย่างนั้น การปฏิบัติก็จะไม่ ถ้าเราจะปฏิบัติแบบกิเลสลด ทำลาย
ได้ผล กิ เ ลสให้ ห มดไปได้ แบบที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า
ตอนนี้พูดถึงขั้นที่สามแล้ว บางคน แสดงไว้ ต้ อ งมี ห ลั ก การที่ ถู ก มี เ ทคนิ ค

เห็นว่า เรือ่ งพวกนี้ ก็ได้ฟงั มาบ่อย ๆ แล้ว ที่ถูก พระพุทธเจ้าเป็นสัพพัญญู เทคนิค

ฟังแต่ไม่ได้ทำตาม การปฏิบัติกรรมฐานก็ ที่ พ ระองค์ บ อกไว้ ก็ ย อดเยี่ ย มที่ สุ ด แล้ ว

จะไม่ ไ ด้ ผ ล บางคนนึ ก ว่ า มี ส ติ เ ยอะแล้ ว ถ้าทำตามก็จะได้ผลแบบรวดเร็ว ส่วนใคร


ฝึ ก สติ ม าตั้ ง นานหลายปี แต่ กิ เ ลสไม่ ล ด จะทำตามได้มากได้น้อย อันนี้ก็ไม่ว่ากัน
ทำมานานแล้วไม่ใช่เป็นตัววัดว่า กิเลสจะ อย่างน้อยเราก็ได้ทราบเทคนิคที่ถูกเอาไว้
ลดนะ ต้ อ งมี ศี ล มี ส มาธิ มี ปั ญ ญา
ทำตามได้น้อยก็ได้ผลน้อย ตามได้เต็มที่
ต้องมีครบ กิเลสจึงจะลด ไม่ใช่ว่ามีอัน ก็ได้ผลเต็มที่
ใดอั น หนึ่ ง แล้ ว กิ เ ลสจะลด ปฏิ บั ติ ธ รรม
แล้ ว ก็ ดู เ หมื อ นมี ปั ญ ญาเยอะ รู้ ธ รรมะ
ขั้นที่สี่ พอเรามีปัญญาในการใช้สอย
ข้อโน้นข้อนี้ รู้ไปหมด เขาพูดเรื่องอะไรก็ ปัจจัยต่าง ๆ เวลาก็มเี หลือ ไม่ตอ้ งไปวุน่ วาย
รู้หมด แต่กิเลสไม่ลด อย่างนี้ก็ยังใช้ไม่ได้ เกี่ยวกับเรื่องปัจจัยสี่มากนัก เรื่องยุ่งยาก
44 45
หมดไปเยอะ เวลาที่ เ หลื อ ว่ า ง ๆ นี้ ท ำ ฝึ ก ที่ ไ หนก็ ไ ด้ นั้ น ถู ก แล้ ว แต่ เ ราต้ อ งจั ด
อะไรต่ อ ไป พระองค์ ต รั ส ว่ า ในกาลใด เวลา มีศีลที่ดี สำรวมอินทรีย์ ป้องกันอินทรีย์
ภิ ก ษุ เ ป็ น ผู้ รู้ ป ระมาณในการบริ โ ภคอาหาร
ต้องรู้จักประมาณในการใช้สอย แสวงหาปัจจัย
ในกาลนั้น ตถาคตย่อมแนะนำเธอให้ยิ่งขึ้นไปว่า อะไรต่าง ๆ ให้พอประมาณ เพื่อจัดเวลาให้มา
“มาเถิด ภิกษุ เธอจงเป็นผู้ประกอบความเพียร ทำความเพียรต่อเนื่องได้ ด้วยการเดินจงกรม
เครื่องตื่นอย่างต่อเนื่อง ...” และด้ ว ยการนั่ ง นี่ . . ต้ อ งขนาดนี้ เป็ น
เทคนิ ค สำหรั บ ผู้ ที่ ฝึ ก ทำไปตามลำดั บ
มี ส ติ ขั้ น ต้ น ยั ง ไม่ พ อ ต้ อ งมาทำให้ พวกสาวกทีเ่ ป็นเนยยะทำกันแบบนี้ กลุม่ ไหน
ต่อเนื่อง ต้องมาทำขึ้นให้มาก ๆ เพื่อ ที่บารมีมาก ของเก่าเยอะ แค่ฟังหัวข้อก็
ชำระจิตให้หมดจดจากกิเลสที่คลุมตาอยู่ บรรลุไป เป็นอุคฆฏิตัญญู ฟังขยายความ
ทำอย่างไร ด้วยการเดินจงกรมและด้วย แล้วบรรลุ เป็นวิปัญจิตัญญู นี้ต้องยกให้
การนั่ ง ต้ อ งมาเดิ น จงกรม ต้ อ งมานั่ ง ท่านไปนะ ถ้าเรายังไม่ถึงขั้นนั้น ฟังธรรม
หาเวลามาทำ ไม่ใช่บอกว่า ฝึกที่ไหนก็ได้ หลายเที่ยวแล้ว ยังงงอยู่เลย ก็ต้องมาทำ

46 47
อย่างนี้แหละ จะบอกว่า คนอื่นเขาทำแค่ นัน้ มาเดินจงกรมมานัง่ สมาธิ อันไหนอีกละ
นิดหน่อย เขาบรรลุไปแล้ว จะเอาอย่างเขา ไปหาเองนะ หาเวลามาทำให้มันต่อเนื่อง
ถ้ า ได้ อ ย่ า งเขามั น ก็ ดี แต่ ถ้ า มั น ไม่ ไ ด้ นี้เป็นวิธีชำระจิต อย่างที่พระพุทธองค์ว่า
ต้องมาทำอย่างนี้ “เธอจงชำระจิตให้บริสุทธิ์จากธรรมทั้งหลายที่
เป็นเครือ่ งขัดขวาง ด้วยการจงกรม ด้วยการนัง่
ขั้นที่สี่ จงเป็นผู้ประกอบความเพียร
ตลอดวัน”
เครื่องตื่นอย่างต่อเนื่อง ฝึกโดยการเดิน
จงกรม ด้ ว ยการนั่ ง พวกท่ า นมาที่ นี่
คอร์สนีจ้ ะให้ทำตลอดวัน ให้ทำทีว่ า่ นี้
จะให้ทำต่อเนื่อง คล้ายกับว่า เราหาเวลา จงกรมและนั่ง ทำตลอดวัน กลางคืนช่วง
ได้แล้ว ก็มาเข้าคอร์สทำแบบนี้ ถามว่า ปฐมยาม ก็ทำต่อ มัชฌิมยาม ให้นอน
เรากลับไปบ้าน ต้องหาเวลาอย่างนี้ไหม ตั้งใจจะลุกขึ้นด้วยละ ไม่หาความสุขจาก
ต้องหาเหมือนกัน อะไรที่ไม่จำเป็นก็งดไป การนอน ปั จ ฉิ ม ยามก็ ลุ ก ขึ้ น มาทำต่ อ
ที วี จ ำเป็ น ต้ อ งดู ไ หม เราก็ ใ ช้ ปั ญ ญา ทำต่อเนื่องอย่างนี้
พิจารณาดู อันไหนไม่จำเป็น ก็งด เอาเวลา
48 49
ขั้นที่ห้า ทำอย่างไร พระองค์ตรัส การถอยกลับ ในการแลดู ในการเหลียวดู
ว่า ในกาลใด ภิกษุเป็นผู้ประกอบความเพียร จนถึง การนอน การตื่น การพูด การนิ่ง
เครื่ อ งตื่ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในกาลนั้ น ตถาคต ต้องมีปัญญารู้ว่าทำไปทำไม มีประโยชน์
ย่อมแนะนำเธอให้ยิ่งขึ้นไปว่า “มาเถิด ภิกษุ หรือไม่มปี ระโยชน์ ควรทำ หรือไม่ควรทำ
เธอจงเป็นผู้ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ คือ และรู้ ถึ ง ความไม่ มี ตั ว ตน กายเป็ น ผู้ ท ำ
ทำความรู้ สึ ก ตั วในการก้ า วไป การถอยกลั บ อย่างนั้น ๆ จิตเป็นผู้รู้ ซึ่งจะมีอย่างนี้ได้
การแลดู การเหลียวดู การคูเ้ ข้า การเหยียดออก ต้ อ งมี ล ำดั บ ในการปฏิ บั ติ ม าตามลำดั บ
การครองสั ง ฆาฏิ บาตรและจี ว ร การฉั น
ท่ า นทั้ ง หลายฟั ง แล้ ว คงพอเข้ า ใจอยู่
การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม การถ่ายอุจจาระ เพียงแต่จะทำได้มากได้นอ้ ย อันนีก้ ไ็ ม่วา่ กัน
ปัสสาวะ การเดิน การยืน การนั่ง การนอน อย่ า งน้ อ ยก็ ไ ด้ รู้ เ ทคนิ ค ที่ ถู ก ต้ อ งตาม

การตื่น การพูด การนิ่ง” หลักการที่พระพุทธเจ้าสอนไว้


ขั้ น นี้ ให้ มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะ รู้ ตั ว ใน
ที นี้ เมื่ อ เป็ น ผู้ มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะ

ทุกเรื่อง มีความรู้สึกตัวในการก้าวไป ใน มีความรู้ตัวในการก้าวไป ในการถอยกลับ


50 51
ในการแลดู ในการเหลียวดู ในการเดิน ประกอบความเพียรเครื่องตื่นอย่างเสมอ
ยืน นั่ง นอน ตื่น พูด นิ่ง มีสติอยู่เสมอ และก่อนจะมีอันนี้ ก็ต้องไล่ลงไปนะ พูด
อย่ า งนี้ ก็ ส ามารถชำระจิ ต ให้ ห มดจาก แบบขัน้ บันได แต่เวลาเราฝึกปฏิบตั ิ ทำจริง
นิ ว รณ์ ไ ด้ แ ล้ ว เมื่ อ จิ ต เป็ น สมาธิ ตั้ ง มั่ น ก็ทำรวม ๆ กันไป ตั้งแต่ขั้นที่หนึ่งถึงห้า
มีความพร้อม เหมาะสำหรับการใช้งาน ทำรวม ๆ กั น เลย เพื่ อ อะไร เพื่ อ ให้ มี
ด้านต่าง ๆ จะทำกรรมฐานอะไรก็ได้ผลแล้ว สติสมั ปชัญญะ มีความรูต้ วั ในทุกอิรยิ าบถ
ทำสมถะวิปัสสนาได้ผล วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการฝึ ก ปฏิ บั ติ คื อ ขั้ น ที่ ห้ า
ทำความรู้ สึ ก ตั ว ให้ ไ ด้ ใ นทุ ก อิ ริ ย าบถ

พู ด มาถึ ง ตรงนี้ คื อ เน้ น กล่ า วถึ ง ถ้ า ใครทำได้ อ ย่ า งนี้ ไม่ ต้ อ งห่ ว ง เดี๋ ย ว
สมาธิ ซึ่งเป็นตัวทำจิตให้สะอาด ผ่องใส ชำระจิ ต ให้ บ ริ สุ ท ธิ์ ห มดจด ทำสมถะ
หมดจดจากอุ ป กิ เ ลส มี ก ำลั ง อ่ อ นโยน วิปัสสนาก็ประสบความสำเร็จได้ บางท่าน
เหมาะต่อการทำงาน ก่อนจะเกิดสมาธิ มาทำสมถะวิปสั สนานานแล้ว ทำกรรมฐาน
ต้องมีสติสัมปชัญญะ มีความรู้สึกตัวใน
โน้นกรรมฐานนี้ ไม่ได้ผล เพราะว่า ไม่มี
ทุกอิริยาบถ ก่อนจะมีสติสัมปชัญญะ ต้อง สติสัมปชัญญะในทุกอิริยาบถนี่แหละ
52 53
ถ้าเราทำได้อย่างนี้ ใช้ชีวิตอย่างมี ไม่คอ่ ยมีสติสมั ปชัญญะ เดินไปเดินมา ง่วง
สติ สั ม ปชั ญ ญะ มี ค วามรู้ ตั ว อยู่ เ สมอ ทำอย่างไรจะหายง่วง อย่างนี้ยังทำไม่ได้
ต่ อ ไป ก็ ใ ห้ ท ำกรรมฐานเพื่ อ ชำระจิ ต ให้ เราฝึกสติเสียก่อน ฝึกสติให้มาก ๆ
หมดนิวรณ์ สมาธิเกิด ก็เจริญปัญญาต่อไป พระสูตรนี้ ผมอ่านมาถึงจุดที่เอาไป
ก็จะได้บรรลุธรรมไปตามลำดับของปัญญา ทำสมาธิ ซึ่งการปฏิบัติไปตามลำดับจนถึง
พระพุทธองค์ตรัสว่า ในกาลใด ภิกษุเป็นผู้ สมาธิ มีอยู่ ๕ ขั้น คือ ขั้นที่ ๑ มีศีล
ประกอบด้วยสติสมั ปชัญญะ ในกาลนัน้ ตถาคต สำรวมด้วยการสังวรในปาติโมกข์ ขั้นที่
ย่อมแนะนำเธอให้ยิ่งขึ้นไปว่า “มาเถิด ภิกษุ ๒ คุ้ ม ครองทวารในอิ น ทรี ย์ ทั้ ง หลาย
เธอจงพักอยู่ ณ เสนาสนะอันเงียบสงัด” มี อิ น ทรี ย สั ง วร อย่ า ไปเที่ ย วดู เที่ ย วฟั ง
ให้ไปอยู่คนเดียว ชำระจิตให้หมดจด เที่ ย วดมกลิ่ น เที่ ย วลิ้ ม รส เที่ ย วสั ม ผั ส
จากนิวรณ์ ทำให้จติ หมดนิวรณ์ ทำได้ไหม เที่ยวรับรู้เรื่องต่าง ๆ อย่างขาดสติ ให้
ทำได้ เพราะว่าพืน้ ฐานทีด่ ี มีสติสมั ปชัญญะ สำรวมระวังไว้ ขั้นที่ ๓ ให้มีปัญญารู้จัก
ส่วนพวกเรา หากยังไม่มี ต้องฝึก หากยัง ประมาณในการบริโภคอาหาร รวมทั้ง
54 55
ในการใช้ ส อยปั จ จั ย ต่ า ง ๆ ให้ ตั้ ง หลั ก เหนื่อยเหลือเกิน ขาลากแล้ว ได้เวลาเอน
ก่อนจะไปทำอะไร ปัญญาเราน้อยต้องตั้ง หลังแล้ว มีความสุขเหลือเกิน อย่างนี้ไม่
หลั ก ก่ อ น ถ้ า ไม่ ตั้ ง หลั ก เดี๋ ย วกิ เ ลสเข้ า ได้เรื่องนะ ต้องตื่นเสมอ ตั้งใจว่า ตอนตี
ปัญญาหายหมด หายใจเข้าลึก ๆ หายใจ ระฆั ง จะลุ ก ขึ้ น นอนเป็ น การพั ก ผ่ อ น
ออกยาว ๆ ก่อน ตั้งหลักก่อน แล้วค่อย บริหารร่างกาย ขั้นที่ ๕ เป็นผู้ประกอบ
พิ จ ารณาทำโน่ น ทำนี่ ขั้ น ที่ ๔ เป็ น ผู้ ด้ ว ยสติ สั ม ปชั ญ ญะ มี ค วามรู้ สึ ก ตั ว ใน

ประกอบความเพียรเครื่องตื่นอย่างต่อ การก้าวไป ในการถอยกลับ ในการแลดู

เนื่อง ชำระจิตให้หมดจด ด้วยการเดิน การเหลียวดู การคู้เข้า เหยียดออก จน


จงกรม ด้วยการนั่ง ตลอดทั้งวัน ตลอด กระทั่งการยืน เดิน นั่ง นอน ตื่น พูด
ปฐมยามแห่งราตรี ช่วงมัชฌิมยาม นอน และนิ่ง คือ มีความรู้สึกตัวในทุกอิริยาบถ
ด้ ว ยสติ สั ม ปชั ญ ญะ ตั้ ง ใจว่ า จะลุ ก ขึ้ น ในทุก ๆ การกระทำ
ไม่ ใ ช่ น อนเอาความสุ ข หลั ง ถึ ง พื้ น แล้ ว
ถ้าทำได้อย่างนี้แล้ว ต่อไปก็ชำระจิต
โอ.. มีความสุขเหลือเกิน ทำกรรมฐานทัง้ วัน ให้หมดจดจากนิวรณ์ได้ ลองคิดดูว่า ถ้ามี
56 57
สติ สั ม ปชั ญ ญะดี รู้ สึ ก ตั ว ในทุ ก อิ ริ ย าบถ สติ สั ม ปชั ญ ญะ รู้ ตั ว ในทุ ก อิ ริ ย าบถก่ อ น
เป็ น ไง นิ ว รณ์ ช ำระง่ า ยไหม ง่ ว งนอน พอชำระนิวรณ์ได้ ก็จะมีธรรมฝ่ายสมาธิ
หดหู่ ฟุ้ ง ซ่ า น รำคาญ คงชำระง่ า ย
เกิดขึ้น จิตเป็นสมาธิ
ถ้าไม่มีสติ คงจะยาก ดังนั้น ช่วงแรก ๆ เมื่ อ จิ ต ตั้ ง มั่ น แล้ ว ทำยั ง ไงต่ อ ก็
เราไม่ค่อยมีสติสัมปชัญญะ หากเกิดความ เจริ ญ สมถะและวิ ปั ส สนา ใครอยากได้
ง่วงนอน ก็ทน ๆ เอาหน่อย ง่วงนอนก็ สมถะขั้ น ไหน ก็ ท ำเอา อาศั ย สมาธิ

ต้ อ งทนเดิ น ทั้ ง ๆ ที่ ง่ ว งนอนนี่ แ หละ พื้ น ฐานเหมื อ นกั น อยากได้ อ ภิ ญ ญาก็ มี
นั่งทั้ง ๆ ง่วงนอนนี้แหละ ฟุ้งซ่านก็ทน เทคนิควิธี ทำเอา อยากได้ขนาดไหนไม่
ทำไป ขี้เกียจก็ทำไป หดหู่ท้อแท้ก็ทำไป ว่ า กั น จะเจริ ญ ปั ญ ญาก็ อ าศั ย สมาธิ นี้
ลังเลสงสัยก็ทำไป บริหารกันไป ถ้าสงสัย เหมื อ นกั น การทำสมาธิ ภ าวนามี ๔
มาก ทนไม่ไหว ถามคนนั้นบ้างคนนี้บ้าง อย่าง คือ ทำเพื่ออยู่เป็นสุขในปัจจุบัน
ต้องอาศัยความอดทน ทำไป เพราะมัน อย่างหนึ่ง ทำเพื่อได้ญาณทัสสนะ ได้
ยั ง ชำระไม่ ไ ด้ จะชำระได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ มี อภิ ญ ญา ความรู้ ที่ พิ เ ศษเหนื อ คนอื่ น
58 59
อย่ า งหนึ่ ง ทำเพื่ อ ให้ มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะ ตอนต้ น เน้ น ฝึ ก ให้ มี ส ติ มี ค วามสำรวม
เพิ่มขึ้น อย่างหนึ่ง ทำเพื่อให้ถึงความ ระวัง มีความยับยั้ง ผมอ่านให้ฟัง ท่าน
สิน้ อาสวะ หมดกิเลส หมดทุกข์ อย่างหนึง่ คงพอจะมองออก ก่ อ นที่ จ ะถึ ง ขั้ น การ
ก็สามารถทำได้ทั้งนั้น โดยอาศัยตัวกลาง ชำระจิตให้มีสมาธิ ตั้งมั่น แล้วทำให้เกิด
อันเดียวกัน คือ สมาธิ ปัญญา ก่อนหน้าการทำสมาธิ คือ การมี
สติ สั ม ปชั ญ ญะ มี ค วามรู้ สึ ก ตั ว ในทุ ก
นี้ก็ยกพระสูตร ชื่อคณกโมคคัลลาน
กิจกรรม
สู ต ร จากมั ช ฌิ ม นิ ก าย อุ ป ริ ปั ณ ณาสก์
มาพู ด ให้ ท่ า นฟั ง เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ในโอกาสต่อไป ก็จะให้ทา่ นทัง้ หลาย
สมาธิมันอยู่กลาง ๆ และเป็นตัวกลางที่ ไปปฏิบัติกัน ที่ปฏิบัติก็มีหลายที่ ท่านที่
สำคัญในการทำให้ทา่ นประสบความสำเร็จ เคยมาแล้ ว ก็ ค งรู้ ถ้ า ท่ า นยั ง ไม่ เ คยมา
ในเรื่องต่าง ๆ แต่ต้องทำตามลำดับตาม อาจจะเดินข้างบนศาลานี้ หรือ ข้างล่าง
ขั้ น ตอน ขั้ น ต้ น ยั ง ไม่ ต้ อ งเน้ น ที่ ส มาธิ หรือ ที่สวนไทร ก็เดินได้ ที่สวนไทรนั้น
ยั ง ไม่ ต้ อ งเน้ น สงบ สมาธิ อ ยู่ ก ลาง ๆ มีลจู่ งกรมให้เดิน ยกสูงขึน้ มาเป็นลูจ่ งกรม
60 61
ถ้ า ใครไม่ รู้ ก็ เ ดิ น ตามคนอื่ น ไป มี ร่ ม ไม้
การเดิ น กลั บ ไปกลั บ มา จะมี ที่ ใ ห้
มีเก้าอี้ มีลู่จงกรมให้เดิน ทำความเพียร หยุด เดินจงกรมจะดีอย่างหนึ่ง คือ มีให้
ชำระจิตให้หมดจด ประกอบความเพียรให้ หยุดยืน เป็นการเสริมการมีสติ คนที่ไม่
ต่อเนือ่ ง ด้วยการเดินจงกรมและนัง่ ตลอดวัน ค่ อ ยมี ส ติ ถ้ า ทำกิ จ กรรมเดี ย วนาน ๆ

วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ไ ม่ ย ากอะไร ให้ มี ส ติ ทำอะไรซ้ำ ๆ ก็จะหลงไป ถ้าเดินอย่างเดียว


รู้ตัว เดินก็ให้รู้ตัวว่าเดิน ซ้าย ขวา ซ้าย เดิ น ไปเรื่ อ ย แบบตามวั ว ตามควายไป
ขวา ทำความรู้สึกขึ้นมาว่า กายกำลัง หรือชมนกชมไม้ไปเรื่อย เวลาหลงมันก็ไป
ไกล เดิ น จงกรมถึ ง จุ ด หนึ่ ง ก็ ใ ห้ ห ยุ ด
เดินอยู่ จิตเป็นคนรู้ ถ้าจิตมันฟุ้งซ่านไป
มั น ง่ ว งนอน มั น คิ ด นึ ก อะไรไป ก็ ใ ห้ รู้
เดิ น ให้ รู้ ตั ว หยุ ด ยื น ให้ รู้ ตั ว ถ้ า ช่ ว งเดิ น
ไม่ค่อยรู้ตัว ก็มารู้ตัวตอนหยุด เดิน ซ้าย
รู้แล้วปล่อยไป กลับมาที่ตัวเอง กลับมา
ขวา ซ้าย ขวา ทำความรู้สึกไป พอถึง
เดิน ซ้าย ขวา ซ้าย ขวา เดินไป ถ้ามี
ความรู้สึกยังไงเกิดขึ้น ก็ให้รู้ รู้แล้วก็เดิน จุ ด หยุ ด เราก็ ยื น ทำความรู้ ตั ว กาย
ต่อไป ง่วงนอน ก็รู้ แล้วเดินไป กำลังยืนอยู่ ยืนจริง ๆ นะ แค่นี้ รู้ตัว

62 63
หากจิตมันคิด มันนึกก็ให้รู้ รูแ้ ล้วก็ปล่อยไป ขวา มือจะอยู่ตรงไหนก็ได้ กุมไว้ข้างหน้า
หายใจเข้าลึก ๆ หายใจออกยาว ๆ สอง ก็ได้ ไขว้ไว้ข้างหลังก็ได้ กอดอกก็ได้
สามครั้ ง ทำความรู้ ตั ว บี บ นวดตั ว เอง ให้ทำด้วยความรู้ อย่าทำตามความ
กำมือเข้า แบมือออก กระดุกกระดิก รูต้ วั เคยชิน การทำตามความเคยชินมันจะหลง
ยื น แล้ ว ทำความรู้ ตั ว ไม่ ต้ อ งรี บ ตอนนี้เรามาฝึกให้มันคุ้นกับการถูกบังคับ
อะไร แล้วก็กลับตัว กายมันกลับ ค่อย ๆ แต่มันบังคับไม่ได้หรอก เราทำให้มันคุ้น
กลับ ให้จิตมารู้อยู่ที่ตัว สติเป็นตัวระลึก ให้เห็นว่า ระเบียบวินัยเป็นเรื่องฝึกตัวเอง
นึกได้ นึกถึงตัว ดึงจิตกลับมาที่ตัว ฝึกให้ ถ้าพวกไม่พร้อม จะเห็นว่า ระเบียบวินัยนี้
มีสติมาก ๆ ให้เจริญ ทำให้มาก ๆ เมื่อ น่าเบื่อหน่าย เหนื่อยเหลือเกิน ต้องเอา
มีสติ มีอยู่กับตัว ก็จะได้ใช้ ถ้าไม่มีก็ไม่ มือมาอยู่ข้างหน้า เหนื่อย ตอนนี้เรามา
ได้ใช้ ให้ทำเยอะ ๆ ไว้ ยืนแล้วก็ทำความ หัดให้มันคุ้น อะไรที่ทำตามความเคยชิน
รู้ ตั ว หั น กลั บ ก็ รู้ ตั ว กายกำลั ง หั น กลั บ ทำเพื่อความสนุกสนาน ทำแบบหลง ๆ
ยืนแล้วก็เดินเหมือนเดิม ซ้าย ขวา ซ้าย เราเลิก เรามาหัด ถ้าจะแกว่งมือ ก็ให้
64 65
แกว่งด้วยความรู้ตัว มีความรู้ตัวว่า กาย ไม่เป็นไร ไม่นงิ่ ไม่เป็นไร ไม่เน้นความนิง่
กำลั ง ทำอย่ า งนี้ ผลั ด เปลี่ ย นอิ ริ ย าบถ เน้นการรู้ เน้นการมีสติ
มันเหนือ่ ย มันเจ็บตรงนี้ เลยต้องทำแบบนี้ อย่างทีไ่ ด้อปุ มาให้ฟงั กายนีเ้ ป็นหลัก
ให้รู้ จิ ต เป็ น ตั ว รู้ มั น ก็ รู้ ข องมั น ไปเรื่ อ ย รู้
สำหรับคนฝึกใหม่ ๆ ควรจะเดินกับ อารมณ์นั้นอารมณ์นั้น รู้เรื่องนั้นเรื่องนี้
ยืนเยอะ ๆ ทำความรู้สึกตัว จะง่วงนอน เปลี่ยนอารมณ์ กระโดดไปโน่นไปนี่ ตัวที่
จะฟุ้งซ่าน จะคิดมาก จะงง สงสัย ทำไม่ ทำให้จิตมารู้อยู่ที่ตัวเอง คือสติ สติเป็น
ค่ อ ยเป็ น ก็ ไ ม่ เ ป็ น ไร ขอให้ ท ำ ไม่ ต้ อ ง เหมือนเชือกผูกจิตไว้กับตัว เราต้องการ
เครียด ทำไปเรื่อย รู้สึกตัวไป กายเดิน ตั ว นี้ ง่ ว งนอนก็ รู้ ว่ า ง่ ว งนอน ง่ ว งนอน
เท้าก้าว ซ้าย ขวา ซ้าย ขวา จิตคิดให้รู้ เป็นอันหนึ่ง จิตเป็นตัวรู้ สติเป็นตัวระลึก
ว่าคิด แล้วก็กลับมาที่การเดิน ง่วงนอน ดึงให้จิตมารู้ความง่วงนอน เราต้องการ
ให้รู้ เบื่อ ให้รู้ ขี้เกียจ ให้รู้ แล้วปล่อย ตัวนี้ ตัวที่เป็นประดุจเชือกดึง เราไม่ได้
มันไป กลับมารู้ที่กายกำลังเดิน ไม่สงบ ต้องการง่วงนอน ต้องการมีสติ ก็เลยมาฝึก
66 67
รู้อยู่ที่ตัวบ่อย ๆ ก็แสดงว่า มีสติบ่อย ๆ นั่งให้มีความรู้ตัว อย่านั่งเอาสบาย โดย
จึงเรียกว่าฝึกสติ ให้สติมนั เจริญ เกิดบ่อย ๆ ส่วนใหญ่ พวกเราจ้องหาแต่ความสบาย
มี บ่ อ ย ๆ ไม่ ใ ช่ ต ลอดหรอก แต่ ใ ห้ มั น เดินแล้ว มันเหนื่อย เราก็จ้องจะนั่งให้มัน
เจริญขึ้น หมายความว่า ให้มันหนักแน่น สบาย นั่ ง ให้ มั น สงบ จะได้ พั ก ผ่ อ น ไม่
มั่นคงกว่าเดิม มีกำลังกว่าเดิม และให้มัน ต้องรับรู้อะไร เบลอ ๆ ไป เป็นอย่างนี้
บ่อย ๆ ให้มันเยอะ ๆ แทนที่จะไปเที่ยว ซะส่วนมาก
รู้เรื่องอื่น ก็มาเที่ยวรู้อยู่ในขอบเขตของ ให้ มี ค วามรู้ ตั ว ดี ๆ นั่ ง ก็ ใ ห้ รู้ ตั ว

กายตัวเอง ให้มากกว่าเดิม รู้ว่ากายมันนั่งอยู่ สำรวจคอตรงหรือไม่


เดิ น แล้ ว ยื น แล้ ว นานพอสมควร ตรง หลังตรงหรือไม่ตรง ขาอยู่อย่างไร
เหนื่อยแล้ว ทำอย่างไรต่อไป ถ้าร่างกาย มื อ อยู่ อ ย่ า งไร แล้ ว ปรั บ ท่ า นั่ ง ให้ ส มดุ ล
ของเรายังดีอยู่ ก็ให้เดินกับยืนเยอะ ๆ ไว้ ไม่ ต้ อ งใช้ ต ามอง ให้ ค วามรู้ สึ ก มองดู
เหนื่อยบ้างก็ให้ทนเอา ฝึกความอดทนไป หายใจเข้า ให้รู้ หายใจออก ให้รู้ บางคน
ด้ ว ยในตั ว เดิ น แล้ ว ยื น แล้ ว ก็ ม านั่ ง อาจดูท้องพองขึ้น ท้องยุบลงก็ได้ ให้มัน
68 69
รู้ตัวไว้เสมอ ๆ ถ้าไม่ค่อยรู้ตัว ให้ทำขึ้น เข้ ม แข็ ง เราก็ ไ ม่ จ ำเป็ น ต้ อ งทำแบบนี้
ยกมือขึน้ เอามือลง กำมือเข้า แบบมือออก หายใจเข้ า หายใจออก เดิ น ยื น นั่ ง
พลิกมือไปมา กระดิกนิ้ว บีบนวดตัวเอง นอน หรื อ ทำอะไรตามปกติ ให้ รั บ รู้
กะพริบตาบ่อย ๆ เพื่อให้รู้ตัว หรือว่ามี ใส่ ใ จเข้ า ไปในสิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในกายและใจ
ขวดน้ำ ก็จบิ บ่อย ๆ จิบทีละหน่อย ๆ ให้รู้ ใส่ความรูส้ กึ เข้าไปเลย แรก ๆ นี่ ต้องทำ
กายมันทำอย่างนี้ ๆ นี่เอาขึ้น นี่เอาลง ให้มันคุ้น ให้รู้จักก่อน
ยกน้ำขึน้ เอาวางลง ยกน้ำขึน้ เอาวางลง หากมีความคิด ความนึก ปรุงแต่ง
อย่ า นิ่ ง มากเกิ น ไป ไม่ ต้ อ งรี บ หลั บ ตา
เกิ ด ขึ้ น ให้ รู้ ได้ ส ติ กลั บ มาที่ ตั ว เอง
ถ้าไม่รู้จะดูอะไรดี งง สงสัย ให้รู้ว่าสงสัย เพื่อให้มีหลัก ให้สติแข็งแรงขึ้น อย่าตาม
แล้วปล่อยไป มันไป ให้รู้ แล้วกลับมารู้ที่ตัว หายใจเข้า
เรารู้ บ่ อ ย ๆ อย่ า งนี้ เพื่ อ อะไร หายใจออก ทำของเราไป มันไปอีก เรารูอ้ กี
เพื่ อ ให้ มี ส ติ ที่ เ ข้ ม แข็ ง ขึ้ น ไม่ ลื ม ตั ว เอง กลั บ มาทำอี ก นึ ก ได้ เ มื่ อ ไหร่ มี โ อกาส

ตั ว เองกำลั ง ทำอะไรอยู่ ก็ รู้ พอมี ส ติ ที่


เมื่ อ ไหร่ ไม่ ห ลงเมื่ อ ไหร่ ก็ ท ำเมื่ อ นั้ น

70 71
รู้อยู่ที่ตัวเสมอ ๆ ถ้าหลงแล้วก็ไม่ว่ากัน ลมหายใจออก หรือ ดูท้องพอง ท้องยุบ
นึกได้ก็ทำใหม่ เป็ น ต้ น ให้ จิ ต มั น แนบแน่ น เป็ น สมาธิ
ในคอร์ ส ของผมก็ ไ ม่ มี วิ ธี อ ะไรมาก
ตั้งมั่น เหมาะควรต่อการใช้งาน แล้วมา
มีเพียงเท่านี้แหละ ส่วนรายละเอียดปลีก เจริ ญ วิ ปั ส สนา มองดู ก ายและใจตั ว เอง
ย่อยของแต่ละคน ถ้าท่านไหน ทำไม่ได้ ให้ เ ห็ น ทุ ก สภาวะล้ ว นไม่ เ ที่ ย ง ล้ ว นเป็ น
ก็ ม าถาม ท่ า นไหน ที่ทำกรรมฐานแล้ว ทุกข์ ล้วนไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน คือ ทำสมถะ
ได้ ผ ล คื อ มี ส ติ ต่ อ เนื่ อ ง มี ส ติ รู้ ตั ว ใน
และวิปัสสนา
ทุกอิริยาบถ เดิน ยืน นั่ง นอน จิตคิด ในขั้ น ต้ น เราฝึ ก ให้ จิ ต มี ค วาม
นึ ก ไป ปรุ ง แต่ ง ต่ า ง ๆ รู้ เ ท่ า ทั น อั น นี้ พร้อมสำหรับการใช้งานเสียก่อน จิตมี
ไม่มีปัญหา ท่านก็ทำตามสบาย ถ้าท่านมี ความพร้อม บาลีท่านว่า กมฺมนีโย เป็น
สติต่อเนื่อง อยู่กับตัวเองได้แล้ว ก็ไปหาที่ จิตอ่อนโยน นิ่มนวล ควรต่อการใช้งาน
อั น เงี ย บสงั ด แล้ ว ชำระจิ ต ให้ ห มดจาก ได้ ม าโดยการมี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะ จะมี
นิวรณ์ ด้วยการทำกรรมฐาน ดูลมหายใจเข้า สติสัมปชัญญะโดยการทำชาคริยานุโยคะ
72 73
ทำความเพี ย รเครื่ อ งตื่ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
บางคนทำแบบเข้มงวดเกินไป ตื่นมากจน
นอนไม่ ห ลั บ ก็ มี แต่ ไ ม่ เ ป็ น ไร ตื่ น ดี ก ว่ า
หลั บ ค่ อ ย ๆ ฝึ ก ไปให้ มั น เหมาะสม

ตื่นกลางวัน กลางคืนหลับช่วงมัชฌิมยาม
แล้วตืน่ อีกทีชว่ งปัจฉิมยาม ไม่ใช่กลางคืนตืน่
แต่กลางวันหลับ อย่างนีก้ ไ็ ม่ไหว ต้องปรับ
เอาเอง บางทีเราทำยังไม่สมดุล มีอะไร
เกิน ๆ ไปบ้าง ไม่เป็นไร ค่อยดู คอย
สังเกต ค่อย ๆ ปรับไป เดี๋ยวก็ลงตัว
การบรรยายในตอนเช้ า คงพอ
สมควรแก่ เ วลาเท่านี้นะครับ อนุโมทนา
ทุกท่าน
74
รายชื่อผู้ร่วมบริจาค
๑๐. ดร.นวลศิริ เปาโรหิตย์ ๑,๐๐๐
ที่ ชื่อ - นามสกุล จำนวนเงิน ๑๑. คุณนันท์นภัส นัทชาทรัพย์มณี ๕,๐๐๐
๑. ไม่ออกนาม ๕๐๐ คุณจักกฤษณ์ คุณประภาภรณ์
๒. ผู้ร่วมฟังธรรมบ้านจิตสบาย ๕,๘๕๐ คุณชมพูนุท โรจนศิริรัตน์
๑๙ ก.พ. ๕๕ และครอบครัว ญาติมิตร
๓. ผู้เข้าปฏิบัติธรรมยุวพุทธิกสมาคมฯ ๑๔,๔๔๐ ๑๒. คุณมณีโชค ตติยไตรรงค์ ๕๐๐
๑๖-๒๐ ก.พ. ๕๕ ๑๓. คุณสุกัญญา แสนใจวุฒิ ๒,๐๐๐
๔. คุณนงนภัส อัคคพงศ์พันธ์ ๑๐๐ ๑๔. ทพญ.สุกัญญา สวี่ ๑,๐๐๐
๕. ผู้ร่วมฟังธรรมสมาคม ๙,๘๔๐ ๑๕. เงินบริจาคจากฐณิชาฌ์รีสอร์ท ๒,๕๖๐
ราชกรีฑาสโมสร ๒๘ ก.พ. ๕๕ ๒๖ ก.พ. ๕๕
๖. ผู้ฟังธรรมชมรมคนรู้ใจ ๒๘ ก.พ. ๕๕ ๕,๓๓๐ ๑๖. คุณนงนภัส อัคคพงศ์พันธ์ ๘๐๐
๗. คุณศศินาฏ แสงแก้ว ๕๐๐ ๑๗. คุณอรรัตน์ เชียรจรัสวงศ์ ๒๐๐
๘. คุณวิไลวรรณ อัศวชัย ๓๙๐ ๑๘. ไม่ออกนาม ๑,๐๐๐
คุณสาวบุษบา แต้เจริญ ๑๙. คุณสุภาพ ทิพยทัศน์ ๕,๐๐๐
คุณวสันต์ แต้เจริญ ๒๐. คุณศศินาฏ แสงแก้ว ๑,๕๐๐
๙. รศ.ดร.สุวัฒนา ๑,๐๐๐ ๒๑. คุณรุ่งทิวา ประเทศา ๑,๐๐๐
รศ.สุชาวดี เอี่ยมองพรรณ ๒๒. คุณวิไลวรรณ อัศวชัย ๕๐๐
คุณสาวบุษบา คุณวสันต์ แต้เจริญ
๒๓. เงินบริจาคจากฐณิชาฌ์รีสอร์ท ๑,๑๑๐ ๓๖. พนักงาน บริษัท เอไอเอ ๘,๘๗๐
๔ มี.ค. ๕๕ ๔ เม.ย. ๕๕
๒๔. ไม่ออกนาม ๘,๐๐๐ ๓๗. คุณช่อพิภพ โอสถานุเคราะห์ ๓๐,๐๐๐
๒๕. คุณวันชืน่ คุณจินตนา ธรรมไพโรจน์ ๑,๐๐๐ ๓๘. ผู้ฟังธรรมบ้านจิตสบาย ๔,๕๑๐
๒๖. คุณจุธาทิพย์ ๑,๐๐๐ ๒๙ เม.ย. ๕๕
๒๗. ไม่ออกนาม ๑,๑๒๐ ๓๙. ไม่ออกนาม ๒,๐๐๐
๒๘. คุณจีระภา เข็มทอง ๒,๐๐๐ ๔๐. คุณสมบูรณ์ คุณศศิธร คุณปริญญ์ ๔,๐๐๐
๒๙. ไม่ออกนาม ๕๐๐ คุณปราชญ์ ศรีบุศกรณ์
๓๐. ไม่ออกนาม ๒๐๐ ๔๑. ทพ.ไพทูรย์ จินดาโรจนกุล ๒๐,๐๐๐
๓๑. ครอบครัวพุทธวิบุลย์ ๕๐๐ ๑๖๘,๓๐๕
๓๒. ผู้ฟังธรรมบ้านจิตสบาย ๕,๒๙๕
๒๕ มี.ค. ๕๕
๓๓. คุณรัชนีวรรณ อุทัยศรี ๕,๐๐๐
๓๔. ผู้เข้าปฏิบัติธรรมมูลนิธิมายาโคตมี ๑๐,๑๒๐
๒๖-๒๘ มี.ค. ๕๕
๓๕. ผู้ฟังธรรมชมรมคนรู้ใจ ๓,๐๗๐
๒๗ มี.ค. ๕๕
ประวัติ
อาจารย์สุภีร์ ทุมทอง
วันเดือนปีเกิด
- ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๑๕
- บ้านหนองฮะ ต. หนองฮะ อ. สำโรงทาบ จ. สุรินทร์
การศึกษา
- เปรียญธรรม ๔ ประโยค
- ประกาศนียบัตรบาลีใหญ่ วัดท่ามะโอ จ. ลำปาง
- ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- ปริญญาโท พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
งานปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๕๕)
- วิปัสสนาจารย์ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยฯ
- อาจารย์สอนพิเศษวิชาพระอภิธรรมปิฎก และวิชาปรมัตถธรรม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส จ. นครปฐม
- บรรยายธรรมะตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งในกรุงเทพฯ และ

ต่างจังหวัด
- เผยแผ่ธรรมะทางเว็บไซด์ www.ajsupee.com

You might also like