You are on page 1of 41

สุภีร์ ทุมทอง

คำนำ
หนั ง สื อ “มองมุ ม วิ ปั ส สนา” นี้
หากมีความผิดพลาดประการใด อันเกิดจาก
เรียบเรียงจากคำบรรยาย ในการจัดปฏิบตั ธิ รรม ความด้อยสติปญ
ั ญาของผูบ้ รรยาย ก็ขอขมา
ทีอ่ าศรมมาตา อ. ปักธงชัย จ. นครราชสีมา ต่อพระรัตนตรัยและครูบาอาจารย์ทั้งหลาย
ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ ๒๒ - ๒๖ ตุลาคม และขออโหสิกรรมจากท่านผูอ้ า่ นไว้ ณ ทีน่ ดี้ ว้ ย
๒๕๕๔ หั ว ข้ อ นี้ บรรยายเมื่ อ วั น ที่ ๒๕
ตุ ล าคม ๒๕๕๔ พ.ญ. นุ ส รา อรรฆศิ ล ป์ สุภีร์ ทุมทอง
เป็นผู้ถอดเทป ผู้บรรยายได้นำมาปรับปรุง ผู้บรรยาย
เพิ่มเติมตามสมควร ๒๗ มกราคม ๒๕๕๕
ขออนุ โ มทนาผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการทำ
หนั ง สื อ เล่ ม นี้ และขอขอบคุ ณ ญาติ ธ รรม

ทั้ ง หลายที่ มี เ มตตาต่ อ ผู้ บ รรยายเสมอมา


สุภีร์ ทุมทอง

ที่ ให้พิจารณาให้ถูกต้อง วัตถุประสงค์ก็


เพือ่ ให้จติ มันลงกับความจริง จะได้เบือ่ หน่าย
คลายกำหนั ด และปล่ อ ยวางได้ จิ ต นี้

มั น ดื้ อ ยั ง ไม่ เ คยหั ด ไม่ เ คยฝึ ก มั น ก็ ดื้ อ


มองมุมวิปัสสนา ความจริงมันเป็นสิ่งไม่แน่นอน มันไม่เที่ยง
ตั ณ หาเกิ ด ขึ้ น ก็ ห ลอกให้ ไปหา หาอะไร

บรรยายวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๕๔


หาของแน่ น อน หาของเที่ ย ง หามาตั้ ง แต่
ขอนอบน้อมต่อพระรัตนตรัย เด็กแล้ว ทุกวันนี้ ไม่รู้ลงตัวกับความจริงกัน
สวัสดีครับท่านผูส้ นใจในธรรมะทุกท่าน บ้างหรือยัง
เมื่อคืนได้พูดถึงวิธีการพิจารณาธรรมะ บางคนก็ยังไปหาอยู่ หาของแน่นอน
และวิธีมองแบบวิปัสสนา เพื่อให้เกิดปัญญา หาของเที่ ย ง หาคนที่ ไว้ ว างใจได้ คนไหน
การมองแบบวิปัสสนานั้น ก็เพื่อให้จิตมันลง นิสัยแน่นอน คนไหนที่เป็นพวกเราแน่นอน
กับความจริง ยอมรับความจริง ลงตัวพอดี ก็ ไปหาเขา เข้าข้างเขา เลือกเขามาเป็นพวก
กับความจริง วิปสั สนาทุกรูปแบบ ทุกมุมมอง รู้ สึ ก อบอุ่ น ใจ คนไหนไม่ ใช่ ฝ่ า ยเรา ก็ ไม่

5
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

ไปหา หาไปเรื่อยนะ หาในโลกนี้ ไม่ ได้ ก็ยัง มันเรื่องปกติอย่างนั้น อย่าไปว่ามัน เพียงแต่


ไปหาโลกหน้า บางคนทำบุญเยอะ ๆ เอาไว้ ให้ ค วบคุ ม ด้ ว ยสติ ปั ญ ญา ตั ณ หาชนิ ด ที่
ไปสวรรค์แล้วจะสุขแน่นอน เขาก็ว่าไป ที่ ได้ หยาบ ๆ ชนิดที่จะไปทำทุจริต ทำอะไรไม่ดี
ไปสวรรค์ก็เพราะความไม่แน่นอนนั่นแหละ ทำให้ตนหรือคนอื่นเดือดร้อน ก็ยับยั้งไว้ด้วย
ไปแล้วจะให้มันแน่นอน ก็ ไม่ ได้หรอก ใจยัง สติ มีสติยับยั้งมันไว้ อย่าไปทำชั่ว อย่าไป
ไม่ลงกับความจริง มันก็หาไปเรื่อย แสวงหา ทำทุจริต งดเว้นทุจริตไป ตัณหาที่ละเอียด
ของแน่นอน แสวงหาของเที่ยง แสวงหาของ อยากได้ นั่ น อยากได้ นี่ อยากเป็ น นั่ น เป็ น นี่
มั่นคง อันนี้คือลักษณะตัณหา มันเกิดเพราะ อยากเป็ น คนดี ปฏิ บั ติ ธ รรมก็ ยั ง อยากอยู่
ไม่มีปัญญา อยากให้จิตสงบ อยากให้จิตดี อยากบรรลุ
ถ้ายังไม่มปี ญ
ั ญา มันเข้าใจผิด มันอยาก จนกระทั่งอยากถึงนิพพาน ก็ปล่อยให้อยาก
ผิด ๆ ก็ต้องหานะ เราทุกคนก็หาเรื่อยมา
ไปก่อน มันเรือ่ งของมัน ห้ามไม่ ได้ เราควบคุม
ตั้งแต่เด็กจนถึงทุกวันนี้ มาปฏิบัติธรรมก็ยัง มันด้วยปัญญา มันอยากปั๊บ เราใส่ปัญญา
หาอยู่ เ หมื อ นเดิ ม เพราะยั ง ไม่ มี ปั ญ ญา เข้าไป เออ.. อยากก็ ไม่ ได้อย่างอยากหรอก
ตั ณ หานี้ ห ากยั ง ไม่ มี ปั ญ ญาก็ ล ะไม่ ได้
ต้ อ งทำเหตุ ท ำปั จ จั ย เอา อยากให้ จิ ต สงบ
6 7
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

อยากให้จิตเป็นสมาธิ อยากมั้ย อยาก เราก็ อชิตมาณพทูลถามปัญหาว่า


ใส่ปัญญาเข้าไป ถึงอยากสงบ มันก็สงบบ้าง
กระแสทั้งหลายย่อมไหลไปในที่ทั้งปวง
ไม่สงบบ้าง มันไม่ ได้ตามใจอยาก ไม่ ใช่จะ
อะไรเป็นเครื่องกั้นกระแสทั้งหลาย
บังคับควบคุมเอาตามใจปรารถนาได้ ถ้าอยาก
ขอพระองค์ โปรดตรัสบอกธรรมเป็นเครื่อง
มี จิ ต สงบ อยากมี จิ ต ที่ พ ร้ อ มสำหรั บ การ

ป้องกันกระแสทั้งหลาย
ใช้งาน ก็ต้องทำเหตุปัจจัยเอง เราใส่ความรู้
อะไรปิดกั้นกระแสทั้งหลายได้
เข้าไป ใส่เรือ่ งเหตุปจั จัยเข้าไป ความอยากนี่
เราห้ า มมั น ไม่ ได้ แต่ ยั บ ยั้ ง มั น ได้ ด้ ว ยสติ พระพุทธเจ้าตรัสตอบว่า
และถอนมั น ได้ ด้ ว ยปั ญ ญา มี เ รื่ อ งที่ กระแสเหล่าใดในโลก
พระพุทธเจ้าตอบปัญหามาณพคนหนึ่ง สติเป็นเครื่องกั้นกระแสเหล่านั้นได้
เรากล่าวธรรมเครื่องป้องกันกระแสทั้งหลาย
ปัญญาปิดกั้นกระแสเหล่านั้นได้

8 9
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

คำถามมีเนื้อความว่า สัตว์ โลกนี้ ไหล พระพุทธเจ้าตรัสว่า สัตว์ โลกนี้เป็นไป


ไปตามกระแสตัณหา ไหลไปเรื่อย ๆ ตาม ตามกระแสตั ณ หา ตั ณ หามั น ไหลท่ ว มทั บ
ความอยาก ตามความไม่อยาก ตามความ สัตว์ ไป จนสัตว์ โงหัวไม่ขึ้น ถูกครอบงำด้วย
พอใจ ตามความไม่ พ อใจ ก่ อ ให้ ค วามคิ ด ความเห็ น ผิ ด ความคิ ด ทั ศ นคติ อุ ด มคติ

ความเห็ น และการกระทำทุ จ ริ ต ทางกาย ที่ผิด ๆ มากมาย ไม่มีดวงตาพอที่จะมองให้


วาจา ใจ มากมาย จนเต็มโลก มันไหลไป รูว้ า่ อะไรถูก อะไรผิด อะไรควร อะไรไม่ควร
เรื่อยในอารมณ์ต่าง ๆ ไม่มีการหยุด อะไร อะไรมีประโยชน์ อะไรไม่มปี ระโยชน์ กระแส
เป็นเครื่องกั้นกระแสทั้งหลายเหล่านั้น และ เหล่านั้นถูกกั้นด้วยสติ เรากล่าวสติว่า เป็น
กระแสทั้ ง หลายเหล่ า นั้ น ถู ก ปิ ด กั้ น ได้ ด้ ว ย เครื่ อ งปิ ด กระแสเหล่ า นั้ น สติ เ ป็ น ตั ว กั้ น
อะไร อะไรหยุดหรือยับยั้งมันได้ ทำให้มัน กระแส ยั บ ยั้ ง หยุ ด งดเว้ น ทุ จ ริ ต ไม่ ท ำ
ชะงั ก ไว้ ก่ อ น รอไว้ ก่ อ น ไม่ เ ลยเถิ ด ออกไป ตามความอยาก รอเวลาได้ ทำให้มีเวลาตั้ง
และอะไรที่ปิดกั้น ทำลาย ถอนให้มันหมด
ตัว ได้ ใช้ปัญญา ตั้งแต่สติระดับเล็กน้อย

ไปได้ ไม่ต้องไหลไปตามกระแสอีกต่อไป มีความสังวรระดับพื้นฐาน ปาติ โมกขสังวร


ทำให้ ไม่ทำผิดพลาดด้านกายวาจา ละเอียดขึน้
10 11
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

อินทรียสังวร ก็เป็นสติทยี่ บั ยัง้ ไม่ ให้ ไปหลง อยากได้นั่นอยากได้นี่ ไม่เป็นไร อย่าไปว่ามัน


ยึ ด ในนิ มิ ต และอนุ พ ยั ญ ชนะ ทำให้ ไม่ เ กิ ด มีสติ รู้ตัวไว้ จะได้ยับยั้งได้ เรามีหน้าที่ฝึก
กิ เ ลสขึ้ น มาครอบงำจิ ต เมื่ อ มี ก ารรั บ รู้ ให้มีปัญญา จะได้ถอนมันได้
อารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ เป็นต้น
ในคำตอบที่ พ ระพุ ท ธองค์ ต รั ส ตอบ
กระแสตัณหากัน้ ได้ดว้ ยสติ เราทัง้ หลาย แก่ อ ชิ ต มาณพนี้ ก็ ท รงแสดงธรรมในภาค
ฝึกให้มีสติดี ๆ ไว้ จะได้มีตัวกั้น กระแสนี้
ปฏิบัติ ที่เป็นตัวหลักอยู่ ๒ อย่าง คือ สติ
ถูกปิดกั้น ทำลาย ถอดถอนได้ด้วยปัญญา กับ ปัญญา สติเป็นตัวกั้นกิเลส ไม่ทำตาม
ถ้ า ถอนให้ ห มดนี่ ต้ อ งอาศั ย ปั ญ ญา เรามี
กิเลส ไม่หลงตามกิเลส ยับยั้ง งดเว้นได้
สติกั้นได้ระดับหนึ่งแล้ว แต่ยังไม่หมดหรอก ทำให้ เ กิ ด ศี ล และสมาธิ ปั ญ ญาเป็ น ตั ว
กั้นได้เฉพาะตอนมีสติ กั้นได้เฉพาะอันที่รู้ทัน ถอนกิเลส ทำให้กิเลสหมดไปได้ บริสุทธิ์
แต่ พ ออั น ละเอี ย ด ๆ รู้ ไม่ ทั น ก็ กั้ น ไม่ ได้
ได้ ด้ ว ยปั ญ ญา เห็ น ตามความเป็ น จริ ง ว่ า
มันก็ยงั ไม่แน่ ไม่นอน เดีย๋ วก็เกิดขึน้ อยูน่ นั่ แหละ มันเป็นแต่สภาวะที่เกิดเมื่อมีเหตุ หมดเหตุ

มั น ถอนไม่ ขึ้ น ถอนไม่ ได้ จะถอนได้ ด้ ว ย ก็ดับ ไม่มีตัวตน


ปัญญา ท่านทั้งหลายมาปฏิบัติธรรม แล้ว
12 13
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

สั ง ขารทั้ ง หลายทั้ ง ปวงมั น ไม่ เ ที่ ย ง คำว่ า อนุ โ ลม แปลว่ า คล้ อ ยตาม
สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์ สิ่งทั้งหลาย หรือ ลงกันพอดี ๆ จิตมันลงพอดีกบั ความจริง
ทั้ ง ปวงเป็ น อนั ต ตา ความจริ ง เป็ น อย่ า งนี้ ของไม่เที่ยงก็ลงพอดีว่ามันไม่เที่ยง ของไม่
เราฝึ ก จิ ต ให้ มี ค วามพร้ อ ม แล้ ว มองดู มุ ม
แน่ น อนก็ ล งพอดี ว่ า มั น ไม่ แ น่ น อน ของเกิ ด

นั้นบ้างมุมนี้บ้าง ความจริงของมันก็ปรากฏ ดั บ ก็ ว่ า ของเกิ ด ดั บ ของไม่ มี ตั ว ตนจริ ง ๆ

ให้ เ ข้ า ใจ ยอมรั บ มั น ตามที่ มั น เป็ น จริ ง ก็ว่าไม่มีตัวตนจริง ๆ


ยอมรับว่ามันไม่เที่ยง จิตลงกับความเป็นจริง
ขั น ติ แปลว่ า ความพอใจ ความ
พอดี ไม่ ไปหาของเที่ยง ไม่ ไปหาของแน่นอน
ชอบใจ ความทนไหว ยอมรั บ การที่ จิ ต
ถ้ า ไม่ ล งมั น ก็ จ ะไปหาอยู่ เ รื่ อ ย ให้ ม องดู
ยอมรับสิง่ นัน้ ได้ ไม่เอนเอียง ถูกกับความจริง
มองให้ เ ห็ น มองดู ใ ห้ มั น ทะลุ มองบ่ อ ย ๆ
อนุโลมขันติ แปลว่า ลงพอดีกับความจริง
มั น ก็ ย อมรั บ ลงกั บ ความจริ ง การลงกั บ
ความจริ ง คล้ อ ยตามกั บ ความจริ ง ท่ า น ที่เราทั้งหลายเจริญวิปัสสนาก็เพื่อให้
เรียกว่าอนุโลมมิกขันติ หรือ อนุโลมขันติ จิ ต เป็ น อย่ า งนี้ น ะ วิ ปั ส สนามี ห ลายขั้ น

ก็ ได้ มีญาณโน้นญาณนี้อะไรต่าง ๆ ท่านไม่ต้อง

14 15
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

จำก็ ได้ แท้ทจี่ ริง ญาณนัน้ ญาณนีอ้ ะไรต่าง ๆ ก็ ไม่ เ กิ ด การจะบรรลุ เ ป็ น พระโสดาบั น
ก็ เ ป็ น ความรู้ ที่ ท ำให้ จิ ต คล้ อ ยตามกั บ
พระสกทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์
ความจริ ง จิ ต ลงกั บ ความจริ ง เท่ า นั้ น
ก็เป็นไปไม่ ได้ เราจึงต้องมาฝึกจิตแล้วก็เอา
จึงจะหยัง่ ลงสูค่ วามแน่นอน คืออริยมรรค มาเจริญวิปัสสนา
เรี ย กว่ า หยั่ ง ลงสู่สัมมัตตนิยาม แปลว่า
ขั้นต้น ฝึกจิตเป็นพื้นฐาน ศีลกับสมาธิ
ความแน่ น อน ถ้ า จิ ต ไม่ ย อมรั บ ความจริ ง
นั้ น เป็ น พื้ น ฐาน เป็ น มู ล เป็ น ที่ ตั้ ง ศี ล
จิตก็ ไม่ลงสู่ความแน่นอน มันก็กลับไปกลับ
เหมือนที่ยืนของคนทำงาน สมาธิเหมือน
มาอยู่อย่างนั้น
คนทำงานที่ มี คุ ณ สมบั ติ พ ร้ อ ม ส่ ว น
สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็นทุกข์ เราก็ ปั ญ ญาเป็ น ตั ว ทำงาน เป็ น ตั ว เดิ น ทาง
มาเจริ ญ วิ ปั ส สนา มองมุ ม นั้ น มองมุ ม นี
้ เพื่อให้จิตยอมรับ พอจิตยอมรับ คุณธรรม
เพื่ อ ให้ จิ ต มั น ลงกั บ ความจริ ง ว่ า สั ง ขาร ต่าง ๆ ก็จะรวมตัวลง หยัง่ ลงสูค่ วามแน่นอน
ทั้งหมดเป็นทุกข์จริง ๆ ถ้าใครยังเห็นสังขาร การจะให้ ร วมกั น ก็ ต้ อ งอาศั ย พื้ น ฐาน คื อ
บางชนิดเป็นสุขอยู่ จิตมันไม่ลงกับความจริง ศีล สมาธิ เท่านั้นยังไม่พอ ต้องเพิ่มมาอีก

อย่างนี้ ก็ ไม่ลงสู่สัมมัตตนิยาม อริยมรรค


ตัวหนึ่ง คือ ปัญญา การมาเจริญวิปัสสนานี้
16 17
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

เป็ น การฝึ ก ปั ญ ญา ถ้ า สมดุ ล ลงตั ว เห็ น สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง ถ้ายัง


ความจริง ยอมรับความจริงได้ ก็ทำให้จิต เห็นว่าสังขารบางชนิดเที่ยง ไว้ ใจได้อยู่ ยังมี
รวมลงและสัมมาทุกชนิดเกิดขึน้ โพธิปกั ขิยธรรม ที่ปลอดภัยบางแห่งอยู่ ในโลก มีที่หลบหลีก
ทั้งหมด ก็จะมารวมลงในจิตเดียว คนนั้นก็ ภัยอันตราย อยู่รอดได้ด้วยความสบายใจ
จะได้เป็นพระอริยเจ้า สามารถตัดกิเลสได้ นี้จิตไม่รวมลง เพราะยังไม่ตรงกับความจริง
ศี ล กั บ สมาธิ เป็ น พื้ น ฐาน เป็ น มู ล ลู ก เราไว้ ใจได้ มั้ ย ถ้ า ยั ง คิ ด ว่ า ไว้ ใจได้ อ ยู่
เป็นราก ถ้ารากฐานไม่มีก็ ไม่ต้องพูดถึงอันอื่น ยั ง ไม่ ล ง ถ้ า ยั ง มี สั ง ขารบางชนิ ด ไว้ ใจได้

พู ด ถึ ง ปั ญ ญา ก็ ได้ แ ต่ พู ด ก็ ดี ก ว่ า ไม่ พู ด
นี่แสดงว่ายังไม่ลงตัว อาจารย์สุภีร์นั่งอยู่นี่
แต่จะให้รวมลง สำเร็จประโยชน์ คือ ละกิเลส ไว้ ใจได้มั้ย ถ้ายังไว้ ใจอาจารย์ โอ้.. อย่างนี้
ได้ ได้เปลี่ยนเป็นพระอริยเจ้า เป็นผู้แน่นอน มันโง่ ใจยังไม่ลงตัว ยังไม่มีปัญญา ตัณหา
ไม่ตอ้ งวนเวียนไปมา ก็ทำไม่ ได้ ต้องมีพนื้ ฐาน มันจะหาที่ยึด หาที่ปลอดภัย เอาล่ะ.. ยึด
ที่ ดี พอมี พื้ น ฐานแล้ ว ก็ ม าเจริ ญ วิ ปั ส สนา อาจารย์ก็แล้วกันจะได้รู้สึกปลอดภัย ตัวเอง
มามองในแง่มุมวิปัสสนา เพื่อให้จิตมันลงกับ มันเลวนักนี่ ยึดไม่ ได้ ก็มายึดคนอื่น มันหาที่
ความจริงพอดี ยึดของมันไปเรือ่ ย นึกว่าจะปลอดภัย แท้ทจี่ ริง
18 19
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

ก็มีแต่ของไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นก็ ถ้าแบบโลก ๆ เขาก็บอกว่า ยึดดี ก็ดี


เป็นทุกข์ สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความ กว่าไปยึดชั่ว ไปยึดและเดินตามคนดี ก็ยังดี
แปรปรวนติดตัวอยู่ ก็ ไม่ควรจะไปยึดถือว่า กว่ า ยึ ด คนเลว นี้ แ บบโลก ๆ ความจริ ง
นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็นอัตตาตัวตน แม้ ว่ า จะยึ ด ถื อ คนดี ก็ ยั ง เป็ น ที่ พึ่ ง ไม่ ได้
ของเรา เพราะมันไม่เที่ยง มันยังไม่แน่ ไม่มั่นคงอยู่
เหมือนเดิม ถ้ายังเห็นสังขารอะไรแม้เพียง
ตัวศาสนาที่แท้จริง ตัวการปฏิบัติอัน
นิดหนึ่งว่า เป็นที่พึ่งได้ ยังพอไว้ ใจได้ เห็น
แท้ จ ริ ง เราปฏิ บั ติ กั น ที่ กาย วาจา ใจ

พื้นที่ ในโลกสักที่หนึ่งว่า เหยียบลงตรงนี้แล้ว


นี่แหละ ไม่ทำบาปทั้งปวง ทำกุศลให้ถึง
จะปลอดภัย อย่างนี้ ไม่หยัง่ ลงสูค่ วามแน่นอน
พร้อม ทำจิตให้สะอาดหมดจด นี้แหละ
เพราะเห็นผิดไปจากความจริง
เป็ น ตั ว ศาสนา เป็ น ตั ว การปฏิ บั ติ ขอให้
ทำให้ ถู ก ต้ อ ง อานุ ภ าพแห่ ง ความถู ก ต้ อ ง พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า
ทำให้เราไม่เป็นทุกข์ ทุกข์ ไม่เกิด จนพ้นทุกข์ ไป “สพฺเพ สงฺขารา อนิจจฺ า” “สพฺเพ สงฺขารา
แต่เวลาไม่มีปัญญา มันจะไปยึดอันใดอันหนึ่ง ทุกฺขา” “สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา” เราสวด
เพื่อให้ตัวเองรู้สึกปลอดภัย ให้รู้สึกว่ามีที่พึ่ง กั น มาหลายรอบแล้ ว สวดเยอะ ๆ ไว้ เ ถิ ด
20 21
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

จนกว่าจะแจ่มชัดในใจ จะได้ ไม่หลง เป็นคน เราฝึกปฏิบัติวิปัสสนานี่ ก็เพื่อให้เห็น


ไม่ประมาท เดินบนถนน กลัวงู ไม่ปลอดภัย ตามความเป็ น จริ ง สพฺ เ พ ทุ ก ชนิ ด เลยนะ
พอปิ ด ประตู ปั๊ บ ปลอดภั ย แล้ ว หรื อ ยั ง ทุกอย่างเลย ถ้าไม่รู้ จะมีความอยากเกิดขึ้น
ปลอดภั ย นอนสบายเลย นั่ น โง่ แ ล้ ว นอน ผมจึ ง บอกท่ า นทั้ ง หลายว่ า ไม่ ต้ อ งกลั ว
สบายนี่ มี มั้ ย ไม่ มี ห รอก นอนก็ ไม่ เ ที่ ย ง ตัณหา มันมีขึ้นเรื่อย ๆ อยู่แล้ว ท่านมีหน้า
นอนก็ เ ป็ น ทุ ก ข์ นอนก็ ไ ม่ ป ลอดภั ย ไม่ รู้ ว่ า ที่ ใส่ ปั ญ ญาเข้ า ไป บอกมั น ซิ มั น ยั ง โง่ นั ก

พรุง่ นีจ้ ะได้ตนื่ ขึน้ มาหรือเปล่า ตอนนีห้ ายใจเข้า มันไม่รเู้ รือ่ ง บอกมัน มันไม่เทีย่ งหรือมันเทีย่ ง
ไม่รู้ต่อไป จะหายใจออกหรือเปล่า ต้องมอง มันทุกข์หรือมันสุข บอกบ่อย ๆ มองบ่อย ๆ
เห็ น ว่ า สั ง ขารทุ ก ชนิ ด ทุ ก อั น เลย ไม่ มี มองมุมนัน้ บ้างมุมนีบ้ า้ ง เพือ่ ให้รอู้ ย่างแจ่มแจ้ง
สังขารอะไรสักนิดหน่อย ที่มันจะเที่ยงแท้
แทงทะลุ มุ ม มองเหล่ า นี้ เ รี ย กว่ า มุ ม มอง
ถาวร แน่ น อน ไว้ ว างใจได้ สถานที่ ที่
แบบวิปัสสนา
เหยี ย บเข้ า ไปย่ า งเท้ า เข้ า ไปแล้ ว มั น จะ
ปลอดภัย ไม่มี ในโลกนี้ รับรู้แล้ว มันเป็น ต้องมองบ่อย ๆ ต้องเจริญและทำให้
ตัวสุข ตัวดี ไม่มี ในโลกมันมีแต่ทุกข์เท่านั้น มาก ๆ เหมือนกับเรื่องสติหรือธรรมะหมวด
ลงพอดีกบั ความจริงอย่างนีเ้ รียกว่า อนุโลมขันติ อื่ น ๆ ในภาคปฏิ บั ติ ต้ อ งเจริ ญ ด้ ว ย ต้ อ ง
22 23
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

ทำให้มาก ๆ ด้วย เพื่อให้จิตมันลงพอดีกับ มีเหมือนกัน มีเมื่อมันมีเหตุ หมดเหตุมันก็ ไป


ความจริ ง ที่ ว่ า “สั ง ขารทั้ ง ลายทั้ ง ปวงไม่ สูค่ วามไม่มี มันไม่มตี วั ตนจริง ๆ ไม่มตี วั นิง่ ๆ
เที่ ย ง สั ง ขารทั้ ง หลายทั้ ง ปวงเป็ น ทุ ก ข์ มัน่ คง ถาวร ไม่ ใช่ของใคร มันเป็นของใช้สอย
ธรรมะทั้งหลายทั้งปวงเป็นอนัตตา” ไม่ ใช่
เป็นที่พัก เป็นอุปกรณ์เครื่องใช้ เป็นปัจจัย
ตัวตน ไม่ ใช่ของตน ไม่ ใช่ ใคร ไม่ ใช่ของใคร แต่ ไม่ ใช่ ข องใครนะ ไม่ ใช่ ข องใครจริ ง ๆ
มั น ก็ เ ป็ น ของมั น อย่ า งนั้ น สิ่ ง เหล่ า นั้ น มั น
เป็ น ปั จ จั ย เป็ น เสื้ อ ผ้ า เป็ น เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม
มีเหตุ มีปัจจัยหลากหลาย มันก็เป็นของมัน เป็ น ของเรามั้ ย ไม่ เ ป็ น เป็ น เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม
อย่างนั้น แต่มันไม่ ใช่ตัวเราของเรา ต้ อ งให้ มั น เป็ น เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม แต่ มั น ไม่ เ ป็ น

ของเรา
น้ ำ จะท่ ว มมั น ก็ ท่ ว มของมั น มั น ท่ ว ม
บ้าน ก็น้ำมันท่วม บ้านถูกท่วม ใช่บ้านของ ไมโครโฟน นี่.. เป็นของเรามั๊ย ไม่..
เรามั้ย ไม่ ใช่บ้านของเรานะ ต้องมองให้ทะลุ เป็ น เครื่ อ งขยายเสี ย ง แต่ ไม่ เ ป็ น ของเรา
มองให้ เ ห็ น กระแสแห่ ง เหตุ ปั จ จั ย และ แล้วเป็นของคนอื่นมั๊ย ไม่ ใช่ ไม่เป็นของใคร
สภาวะที่เกิดจากเหตุปัจจัย เกิดเป็นครั้ง ๆ เป็นเครื่องขยายเสียง นี่ ให้มันเป็นอย่างที่มัน
แล้วหายไป เป็นปรากฏการณ์ ไม่ ใช่มันไม่มี เป็นนะ เอามาใช้ อย่าเอามาเป็นเราเสียล่ะ
24 25
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

นี่.. iPhone ใช้เป็นเครื่องอัดเสียง เป็นของ เป็นของเรา ไม่เป็นของใครจริง ๆ นี้มองให้


ใครมั้ย เป็นของผมหรือว่าเป็นของท่าน ไม่.. ทะลุ
ไม่ ได้ เ ป็ น ของใคร มั น เป็ น เครื่ อ งอั ด เสี ย ง
แขน.. นี้เป็นของใคร เป็นของเราหรือ
เป็นเครื่องใช้อันหนึ่ง ถ้าอยากจะใช้ ท่านก็
เปล่ า มี ตั ว มี ต นอยู่ ในนี้ ห รื อ เปล่ า เปล่ า ..
อย่ามาแย่งผม ท่านก็ ไปหาซื้อเอาเอง ก็มัน
เป็นธาตุมาประชุมกัน เป็นของเอาไปทำอะไร
เป็นเครื่องใช้ ท่านอยากจะใช้ก็ ไปหาซื้อเอาซิ
ได้ บ้ า ง เอามากระดิ ก นิ้ ว ให้ เ กิ ด สติ ก็ ได้

ใช้อัดเสียงได้ ใช้ถ่ายรูปได้ เป็นเครื่องใช้


ยกน้ำดื่มแก้กระหายก็ ได้ เป็นลูกน้องของจิต
เงิน นี.่ . มันเป็นของกลาง ๆ เป็นเครือ่ ง จิตดีก็เอาไปใช้ทำสิ่งดี จิตไม่ดีก็เอาไปใช้ทำ
แลกเปลี่ ย น เอาไว้ แ ลกเปลี่ ย น มั น ไม่ เ ป็ น
สิ่ ง ไม่ ดี แล้ ว แต่ แต่ ทั้ ง ลู ก พี่ ลู ก น้ อ งก็ ไ ม่ มี

ของใคร ท่านอยากได้ ไปทำงานเอา ไม่ว่ากัน ตัวตนเหมือนกัน แก่และตายพอกันทั้งลูกพี่


อยากได้เท่าไรก็ ไปหาเอาตามความสามารถ ลู ก น้ อ ง ไม่ ใช่ ว่ า ลู ก พี่ มั น จะไม่ ต าย ลู ก พี่ ก็
ตามเหตุ ต ามปั จ จั ย ปล่ อ ยมั น เป็ น อย่ า งที่
ตายเหมือนลูกน้องนั้นแหละ เหมือนผมกับ
มันเป็น อย่าให้มันเป็นของเรา อย่าให้มันเป็น ท่ า นนั่ น แหละ สมมติ พ วกท่ า นเป็ น ลู ก น้ อ ง
ของใคร อย่าให้มันเป็นเจ้านายเรา ก็มันไม่ ผมเป็นพี่ ใหญ่มีอำนาจมาก มีอำนาจสั่งพวก
26 27
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

ท่าน ให้ทำอะไร ท่านก็ทำตามเลย ถ้าคนอื่น อย่างคุณแม่ ตัวเล็ก ๆ นี่ เก่งมากนะ


มาสั่งบางครั้งไม่ทำตามนะ ถ้าผมสั่ง ไม่ต้อง ทำงานนัน่ ทำงานนี่ คนเดียวทำยังกับ ๕ คนทำ
สั่งเสียงดัง พูดเบา ๆ พวกท่านช่วยจัดแถว ถามว่าเก่งอย่างนี้ เก่ง แต่ ไม่มีตัวตน แก่มั้ย
หน่อยครับ ท่านก็จัดเลย ดูเหมือนมีอำนาจ แก่ ตายมั้ย ตาย ตายเหมือนกับพวกไม่เก่ง
แต่ทั้งคนมีอำนาจและคนไม่มีอำนาจ คนสั่ง นั้ น แหละ ดั ง นั้ น ท่ า นทั้ ง หลายไม่ ต้ อ งเก่ ง
และคนถูกสั่งนี้ตายมั้ย ตายเหมือนกัน แก่ เหมือนคุณแม่ก็ ได้ ตายพอ ๆ กันนั่นแหละ
เหมื อ นกั น เจ็ บ เหมื อ นกั น ไม่ มี ตั ว ไม่ มี ต น มั น เป็ น อย่ า งนี้ มองให้ ท ะลุ ถ้ า ไม่ เ ข้ า ใจ
เหมือนกัน โอ้ . . คนนั้ น เขาเก่ ง อยากเก่ ง เหมื อ นเขา

ยั ง กั บ ว่ า เก่ ง อย่ า งเขาแล้ ว มั น จะไม่ ต ายยั ง

ตั ว ใหญ่ ๆ เป็ น หั ว หน้ า เขา เป็ น


นั้นแหละ อย่างนี้มันโง่ มันไม่เข้าใจ นี่เรา
ประธานเขา จิตเป็นใหญ่ เป็นประธานเขา
ต้องมองแบบฉลาด ต้องแบบพระพุทธเจ้า
ถามว่าตัวที่เป็นใหญ่เป็นประธานเขา มันมีตัว
อยากเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ นี่ตัณหา เป็นเหตุ
มีตนมั้ย ก็ ไม่มีตัวไม่มีตนเหมือนกัน ไม่ ใช่ว่า
ให้ เ กิ ด ทุ ก ข์ เราใส่ ปั ญ ญาเข้ า ไป มี ห น้ า ที่
มีอำนาจแล้วจะมีตัวมีตนที่ ไหนล่ะ
เจริญปัญญานะ เราเพียรทำกิจทุกอย่าง
28 29
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

ให้ ส ำเร็ จ ด้ ว ยความไม่ ป ระมาท ทำศี ล ถ้ า จิ ต ยั ง ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ ความจริ ง


ทำสมาธิ ทำปัญญา ให้มันมีขึ้น เพื่อพา จะให้ โพธิ ปั ก ขิ ย ธรรม ๓๗ โดยเฉพาะ

จิตให้ถึงความหลุดพ้น อริยมรรคมีองค์ ๘ รวมตัวลงเป็นไปได้มั้ย


ไม่ ได้ ยังไม่ครบ ศีล สมาธิ ปัญญา ยังไม่ครบ
เดิ น ไปเดิ น มา มี ค วามสงบเกิ ด ขึ้ น

อาจจะมี ศี ล บ้ า ง สมาธิ บ้ า ง เป็ น พื้ น ฐาน

มีปตี เิ กิดขึน้ แหมมันดีเหลือเกิน นัน่ .. โง่อกี แล้ว


แต่ ปั ญ ญายั ง ไม่ มี ยั ง ไม่ พ อ แต่ เ มื่ อ ใด

ถ้ า เห็ น สั ง ขารอะไร ๆ เล็ ก ๆ น้ อ ย ๆ ว่ า

มีพื้นฐานรองรับคือศีล มีคุณสมบัติพร้อมคือ
ยังเป็นสุขอยู่ นี้เรียกว่าจิตไม่ลงกับความจริง
สมาธิ แล้วมาฝึกวิปัสสนาปัญญา เห็นตาม
ท่ อ งไว้ ได้ เ ลย “สพฺ เ พ สงฺ ข ารา ทุ กฺ ข า”
ความเป็ น จริ ง สั ง ขารทั้ ง หลายมั น เป็ น

สังขารทัง้ หลายทัง้ ปวงเป็นทุกข์ พระพุทธเจ้า


อย่างนั้นเอง มันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ ใช่ตัว

สรุ ป ถู ก แล้ ว ถ้ า ยั ง เห็ น สั ง ขารเป็ น สุ ข อยู



ไม่ ใช่ ต น สั ง ขารอย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง ที่
อั น นี้ ถู ก หรื อ ผิ ด ถู ก ของเรา แต่ ผิ ด กั บ

เที่ ย งแท้ ไม่ มี เ ลย ธรรมะอั น ใดอั น หนึ่ ง


ความจริง
ที่จะเป็นตัว เป็นตน เป็นเรา เป็นของเรา
ไม่มีเลย ความเห็นสอดคล้องกับความจริง
30 31
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

แล้ว ได้อนุโลมขันติ ก็เป็นไปได้ที่หยั่งลงสู่ มันมีกฎเกณฑ์อย่างที่กล่าวมานี้แหละ


สั ม มั ต ตนิ ย าม เป็ น ความแน่ น อน ได้ เ ป็ น
เราทั้งหลายจึงจำเป็นต้องมาเจริญวิปัสสนา
พระอริยเจ้าตามลำดับไป จากความไม่แน่นอน มาฝึกมองให้เห็นในแบบวิปัสสนา พูดง่าย ๆ
ก็จะกลายเป็นความแน่นอนแล้ว แบบเราที่ทราบกันทั่วไปก็ว่า “ไตรลักษณ์”
นั่นเอง มองแบบให้เห็นความจริงของสังขาร
เราทัง้ หลายเป็นพวกไม่แน่นอน วนเวียน
คือเป็นไปตามกฎไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์นั้น
ไปมา ภพนัน้ ภพนี้ สูงบ้างต่ำบ้าง ไปทุคติบา้ ง
แจกแจงขยายความไปได้อีกเยอะ ในคัมภีร์
ไปสุ ค ติ บ้ า ง ไม่ แ น่ ไม่ น อน เจริ ญ วิ ปั ส สนา
ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค วิปัสสนากถา
เห็ น ความจริ ง บ่ อ ย ๆ จะเป็ น ผู้ แ น่ น อน

ว่าด้วยเรื่องวิปัสสนา จะแสดงมุมมองไว้ ๔๐
พระโสดาบันท่านมีคุณลักษณะอย่างหนึ่งว่า
แบบด้วยกัน ท่านลองฟังดู จำได้บ้างไม่ ได้
นิยโต เป็นผู้แน่นอนแล้ว สมฺโพธิปรายโน
บ้างก็ไม่เป็นไร ให้เราจำได้ ๓ อัน คือ ไม่เทีย่ ง
เป็นผู้ที่จะได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เป็นหลักไว้ อันอื่น ๆ
ในภายหน้า
ก็จัดลงใน ๓ อย่างนี้แหละ

32 33
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

“สพฺ เ พ สงฺ ข ารา อนิ จ จา, สพฺ เ พ


เป็นตาภายใน ท่านคงจะพอเข้าใจความหมาย
สงฺขารา ทุกขา, สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา” นี้ ไม่ ใช่สกั แต่วา่ นัง่ นึกเอาตามความคิดฟุง้ ซ่าน
เป็นคำสรุปทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสเอาไว้ ความจริง แต่เป็นการมอง มองด้วยจิตที่มีความตั้งมั่น
เป็นอย่างนั้นแหละ เป็นมาแต่ ไหนแต่ ไรแล้ว เป็นตัวของตัวเอง
พระตถาคตทั้งหลายจะอุบัติขึ้นหรือไม่อุบัติ ยกตัวอย่าง ท่านอยากรูจ้ กั ผม ก็มองดู
ขึ้ น ก็ ต าม ก็ เ ป็ น สิ่ ง แน่ น อนอยู่ อ ย่ า งนั้ น มองด้านหน้าเป็นอย่างนี้ มองด้านหลังเป็น
พระองค์ ไปรู้แจ้งแทงตลอดเข้าแล้ว จึงนำ อย่างนี้ มองด้านซ้ายเป็นอย่างนี้ มองด้าน
มาบอก แสดง บั ญ ญั ติ แต่ ง ตั้ ง เปิ ด เผย ขวาเป็ น อย่ า งนี้ มองข้ า งบนเป็ น อย่ า งนี้
กระทำให้ง่าย แล้วบอกว่า เธอทั้งหลายจง มองข้ า งล่ า งเป็ น อย่ า งนี้ มองมุ ม นั้ น มุ ม นี้
ดูเถิด ดูให้เห็น ให้ยอมรับ ทีนี้ ถ้าเรายังไม่ ชำแหละออกมาดู เห็ น แต่ ล ะชิ้ น ส่ ว น เป็ น
ยอมรับ ยังไม่เห็น เราก็ต้องฝึกให้มีดวงตา อย่างนี้ ๆ นะ ถูกด่าแล้วเป็นอย่างนี้ ถูกชม
มาดู ดูบอ่ ย ๆ เจริญ และทำให้มาก ๆ คำว่า แล้วเป็นอย่างนี้ ดูเข้าไป เก็บรวบรวมข้อมูล
ดู เห็น พิจารณาเห็น สังเกตดูมุมนั้นมุมนี้ ที่ ดู ม า แล้ ว ได้ ข้ อ สรุ ป รวม นี้ แ หละคื อ
ก็ ดู เ หมื อ นตาดู เห็ น เหมื อ นตาเห็ น แต่ อาจารย์สุภีร์ ดูจนเข้าใจ มองแบบวิปัสสนา
34 35
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

ก็คล้าย ๆ อย่างนี้ มองมุมนั้นบ้าง มองมุมนี้ ผู้ ไม่ประกอบด้วยอนุโลมขันติ จักหยั่ง


บ้าง มีมุมหลัก ๆ อยู่ ๓ มุม ได้แก่ ไม่เที่ยง ลงสู่ สั ม มั ต ตนิ ย าม เป็ น ไปไม่ ได้ เ ลย

เป็นทุกข์ ไม่ ใช่ตัวตน มองเห็นอย่างนี้แล้ว ที่ภิกษุผู้ ไม่หยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม จัก


จะเกิดความเบื่อหน่าย คลายกำหนัด และ ทำให้แจ้งโสดาปัตติผล สกทาคามิผล
หลุดพ้นไปตามลำดับ อนาคามิผล หรืออรหัตตผล (๑)
ในคัมภีร์ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เป็นไปได้ ที่ภิกษุผู้พิจารณาเห็น
วิปัสสนากถา มีข้อความว่า สังขารทั้งปวงโดยความไม่เที่ยง จัก
เป็นผู้ประกอบด้วยอนุโลมขันติ เป็นไป
ข้อ ๓๖ เรือ่ งเกิดขึน้ ทีก่ รุงสาวัตถี
ได้ ที่ภิกษุผู้ประกอบด้วยอนุโลมขันติ
ภิกษุทั้งหลาย เป็นไปไม่ ได้เลย จักหยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม เป็นไปได้
ที่ภิกษุผู้พิจารณาเห็นสังขารบางอย่าง ที่ ภิ ก ษุ ผู้ ห ยั่ ง ลงสู่ สั ม มั ต ตนิ ย าม จั ก
โดยความเที่ยง จักเป็นผู้ประกอบด้วย ทำให้แจ้งโสดาปัตติผล สกทาคามิผล
อนุโลมขันติ เป็นไปไม่ ได้เลย ที่ภิกษุ
อนาคามิผล หรืออรหัตตผล (๒)

36 37
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

เป็นไปไม่ ได้เลย ทีภ่ กิ ษุผพู้ จิ ารณา จักหยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม เป็นไปได้


เห็นสังขารบางอย่างโดยความเป็นสุข ที่ ภิ ก ษุ ผู้ ห ยั่ ง ลงสู่ สั ม มั ต ตนิ ย าม จั ก
จั ก เป็ น ผู้ ป ระกอบด้ ว ยอนุ โ ลมขั น ติ
ทำให้แจ้งโสดาปัตติผล สกทาคามิผล
เป็นไปไม่ ได้เลย ที่ภิกษุผู้ ไม่ประกอบ อนาคามิผล หรืออรหัตตผล (๔)
ด้วยอนุโลมขันติ จักหยั่งลงสู่สัมมัตต

เป็นไปไม่ ได้เลย ทีภ่ กิ ษุผพู้ จิ ารณา


นิ ย าม เป็ น ไปไม่ ได้ เ ลย ที่ ภิ ก ษุ ผู้ ไม่
เห็นธรรมบางอย่างโดยความเป็นอัตตา
หยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม จักทำให้แจ้ง
จั ก เป็ น ผู้ ป ระกอบด้ ว ยอนุ โ ลมขั น ติ
โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล
เป็นไปไม่ ได้เลย ที่ภิกษุผู้ ไม่ประกอบ
หรืออรหัตตผล (๓)
ด้วยอนุโลมขันติ จักหยั่งลงสู่สัมมัตต

เป็นไปได้ ที่ภิกษุผู้พิจารณาเห็น นิ ย าม เป็ น ไปไม่ ได้ เ ลย ที่ ภิ ก ษุ ผู้ ไม่


สังขารทั้งปวงโดยความเป็นทุกข์ จัก หยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม จักทำให้แจ้ง
เป็นผู้ประกอบด้วยอนุโลมขันติ เป็นไป โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล
ได้ ที่ภิกษุผู้ประกอบด้วยอนุโลมขันติ หรืออรหัตตผล (๕)

38 39
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

เป็นไปได้ ที่ภิกษุผู้พิจารณาเห็น เป็นไปไม่ ได้เลย ที่ภิกษุผู้ ไม่หยั่งลงสู่


ธรรมบางอย่างโดยความเป็นอนัตตา สัมมัตตนิยาม จักทำให้แจ้งโสดาปัตติผล
จักเป็นผู้ประกอบด้วยอนุโลมขันติ เป็น สกทาคามิ ผ ล อนาคามิ ผ ล หรื อ
ไปได้ ที่ ภิ ก ษุ ผู้ ป ระกอบด้ ว ยอนุ โ ลม อรหัตตผล (๗)
ขันติ จักหยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม เป็น
เป็นไปได้ ที่ภิกษุผู้พิจารณาเห็น
ไปได้ ที่ภิกษุผู้หยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม
นิ พ พานโดยความเป็ น สุ ข จั ก เป็ น ผู้
จักทำให้แจ้งโสดาปัตติผล สกทาคามิผล
ประกอบด้ ว ยอนุ โ ลมขั น ติ เป็ น ไปได้

อนาคามิผล หรืออรหัตตผล (๖)


ที่ ภิ ก ษุ ผู้ ป ระกอบด้ ว ยอนุ โ ลมขั น ติ

เป็นไปไม่ ได้เลย ทีภ่ กิ ษุผพู้ จิ ารณา จักหยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม เป็นไปได้


เห็ น นิ พ พานโดยความเป็ น ทุ ก ข์ จั ก
ที่ ภิ ก ษุ ผู้ ห ยั่ ง ลงสู่ สั ม มั ต ตนิ ย าม จั ก
เป็นผู้ประกอบด้วยอนุโลมขันติ เป็นไป
ทำให้แจ้งโสดาปัตติผล สกทาคามิผล
ไม่ ได้ เ ลย ที่ ภิ ก ษุ ผู้ ไม่ ป ระกอบด้ ว ย
อนาคามิผล หรืออรหัตตผล (๘)
อนุโลมขันติ จักหยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม

40 41
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

ฝ่ายเป็นไปไม่ ได้ ความว่า ถ้ายังเห็น ส่วนฝ่ายเป็นไปได้ เป็นไปได้ ที่ภิกษุ


สั ง ขารบางอย่ า งมั น เที่ ย ง แน่ น อน คงที่ พิจารณาเห็นสังขารทั้งปวง โดยความเป็น
มั น ก็ เ ป็ น ไปไม่ ได้ ที่ จ ะได้ อ นุ โ ลมขั น ติ คื อ ของไม่เที่ยง เห็นสังขารทั้งหมด ไม่มีเหลือ
ญาณทีเ่ กิดจากวิปสั สนา ถ้าไม่ ได้อนุโลมขันติ ไม่ เ ที่ ย งทั้ ง หมด จะเป็ น ผู้ ป ระกอบด้ ว ย
จะหยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม คือ การรวมกัน อนุโลมขันติ คือได้ญาณอันเกิดจากวิปัสสนา
ของอริ ย มรรคมี อ งค์ ๘ ก็ เ ป็ น ไปไม่ ได้
เป็ น ไปได้ ที่ ภิ ก ษุ ป ระกอบด้ ว ยอนุ โ ลมขั น ติ
โพธิปักขิยธรรม ๓๗ รวมลงก็เป็นไปไม่ ได้ จะหยั่ ง ลงสู่ สั ม มั ต ตนิ ย าม คื อ อริ ย มรรค
ผู้ที่ยังไม่หยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม ไม่มีมรรค เกิดขึ้น เกิดมรรคจิต เป็นไปได้ ที่ภิกษุผู้หยั่ง
จิ ต เกิ ด ขึ้ น จะทำให้ แ จ้ ง ถึ ง โสดาปั ต ติ ผ ล ลงสูส่ มั มัตตนิยาม จะทำให้แจ้งถึงโสดาปัตติผล
สกทาคามิผล อนาคามิผล หรือ อรหัตตผล สกทาคามิผล อนาคามิผล หรือ อรหัตตผล
ย่อมเป็นไปไม่ ได้ เป็นพระอริยเจ้า ระดับใด ในด้านเห็นสังขารทั้งปวง โดยความเป็นทุกข์
ระดับหนึ่ง เป็นไปไม่ ได้ ในด้านเห็นสังขาร โดยความเป็นอนัตตา ก็ทำนองเดียวกัน
บางอย่าง โดยความเป็นสุข โดยความเป็น
อัตตา ก็ทำนองเดียวกัน
42 43
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

เราทั้งหลายมาพิจารณาความเห็นของ ต้องบริหารให้มันพอเป็นไปได้ เห็นความจริง


ตนเองว่ า มี ส่ ว นใดผิ ด อยู่ บ้ า ง ยั ง เห็ น ว่ า อย่างนี้ จึงจะหยั่งลง ถึงจะหยั่งลงอย่างนี้
อะไรบางอย่างมันเที่ยง มันแน่นอน มันเป็นที่ เป็นพระโสดาบันแล้ว ตัณหาก็ยังไม่หมดนะ
พึ่งได้ ยังเห็นว่ามันสุข อย่างนี้อยู่บ้างหรือ อยากใหม่อกี แล้ว แต่ ในตอนปฏิบตั วิ ปิ สั สนานี่
เปล่ า ยั ง มี อ ะไรสนุ ก สนานน่ า ทำอยู่ มั้ ย
ต้องให้เห็นจริง ๆ จึงจะลงตัวได้ ลงครัง้ ทีส่ อง
ถ้ายังเห็นอยู่เป็นไง ไม่ ได้อนุโลมขันติ ต้อง ตัณหาก็ ไม่หมด หมดไปแต่อันหยาบ ๆ ส่วน
เห็นว่า อะไร ๆ ล้วนเป็นภาระ ต้องเหนือ่ ย ที่ ล ะเอี ย ดยั ง เหลื อ อยู่ จนเป็ น พระอรหั น ต์
ทัง้ นัน้ ไม่มอี ะไรน่าสนุก มันจำเป็นก็ตอ้ งทำ โน่นแหละ จึงจะหมดสิน้ เชิง กิเลสมันลึกซึง้ นะ
ไม่มอี ะไรน่ากินเลย ไม่มกี ารกินอะไรทีน่ า่ สนุก ต้องปฏิบัติเพื่อให้ ได้อนุโลมขันติ ให้อนุโลม
จำเป็นต้องกินก็กนิ ไป พรุง่ นี้ ออกกรรมฐานแล้ว สอดคล้องกับความเป็นจริง แล้วจึงจะหยั่ง
ลองดู ลงสู่สัมมัตตนิยาม คือ อริยมรรคมีองค์ ๘
ในโลกมั น ไม่ มี อ ะไรน่ า สนุ ก เลย มั น จึงจะทำให้แจ้งโสดาปัตติผล สกทาคามิผล
เหนื่อยทั้งหมด มันจำเป็นก็ต้องทำกันไปก่อน อนาคามิ ผ ล และอรหั ต ตผล กิ เ ลสต่ า ง ๆ
มันมีแต่เรื่องจำเป็นต้องจัดการ มีแต่เรื่องที่ จึงจะถูกถอนขึ้นตามลำดับ
44 45
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

เจ้าตัวที่บอกว่า อันนี้เที่ยง อันนั้นน่า ขยายออกไป ท่านทั้งหลายก็จะได้มีมุมมอง

พอใจ อั น นั้ น มั่ น คง อั น นั้ น มี สุ ข อั น นั้ น เรา ที่กว้างขวางขึ้น มี ๔๐ อย่างด้วยกัน


อันนี้ของเรา นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็น
ข้อ ๓๗ ภิกษุย่อมได้อนุโลมขันติ
อัตตาตัวตนของเรา นี้คือ กิเลสบอกทั้งนั้น
ด้ ว ยอาการเท่ า ไร หยั่ ง ลงสู่ สั ม มั ต ต

เมือ่ กิเลสมันบอกอย่างนัน้ มันผิดกับความจริง


นิยาม ด้วยอาการเท่าไร
เราทำยังไง เราก็มองดู ให้มปี ญ ั ญา เอาปัญญา
มาบอก ให้ปัญญามันบอก บอกว่า นั่นไม่ ใช่ ภิ ก ษุ ย่ อ มได้ อ นุ โ ลมขั น ติ ด้ ว ย
ของเรา เราไม่ ได้ เ ป็ น นั่ น นั่ น ไม่ ใช่ อั ต ตา
อาการ ๔๐ อย่าง หยั่งลงสู่สัมมัตต

ตัวตนของเรา นี่ตัวปัญญามันบอก บอกตรง นิยาม ด้วยอาการ ๔๐ อย่าง


ตามความเป็นจริง ถ้ายังไม่มีปัญญาเป็นของ
ภิ ก ษุ ย่ อ มได้ อ นุ โ ลมขั น ติ ด้ ว ย
ตนเอง ก็ฟงั พระพุทธเจ้า แล้วก็เอามาปฏิบตั ติ าม
อาการ ๔๐ อย่าง หยั่งลงสู่สัมมัตต

ต่อไป จะกล่าวถึง วิธกี ารได้อนุโลมขันติ นิ ย าม ด้ ว ยอาการ ๔๐ อย่ า ง เป็ น


คือ วิปัสสนาญาณ ได้เห็นสังขารตามความ อย่างไร
เป็นจริง ได้มาจากอะไรบ้าง ไตรลักษณ์นนั่ แหละ
46 47
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

คือ ภิกษุเห็นเบญจขันธ์ ๑๔. โดยเป็นความหวั่นไหว


๑. โดยความไม่เที่ยง ๑๕. โดยเป็นของผุพัง
๒. โดยความเป็นทุกข์ ๑๖. โดยเป็นของไม่ยั่งยืน
๓. โดยความเป็นโรค ๑๗. โดยเป็นของไม่มีอะไรต้านทาน
๔. โดยความเป็นดังหัวฝี ๑๘. โดยเป็นของไม่มีอะไรป้องกัน
๕. โดยความเป็นดังลูกศร ๑๙. โดยเป็นของไม่มีที่พึ่ง
๖. โดยเป็นความลำบาก ๒๐. โดยเป็นความว่างเปล่า
๗. โดยเป็นอาพาธ ๒๑. โดยความเปล่า
๘. โดยเป็นอย่างอื่น ๒๒. โดยเป็นสุญญตะ (ความว่าง)
๙. โดยเป็นของชำรุด ๒๓. โดยเป็นอนัตตา
๑๐. โดยเป็นอัปปมงคล ๒๔. โดยเป็นโทษ
๑๑. โดยเป็นอันตราย ๒๕. โดยเป็นของมีความแปรผันเป็น

๑๒. โดยเป็นภัย ธรรมดา


๑๓. โดยเป็นอุปสรรค ๒๖. โดยเป็นของไม่มีแก่นสาร
48 49
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

๒๗. โดยเป็นมูลแห่งความลำบาก ๓๗. โดยเป็นของมีความเศร้าโศกเป็น

๒๘. โดยเป็นดังเพชฌฆาต ธรรมดา


๒๙. โดยเป็นความเสื่อมไป ๓๘. โดยเป็ น ของมี ค วามรำพั น เป็ น

๓๐. โดยเป็นของมีอาสวะ ธรรมดา


๓๑. โดยเป็นของถูกปัจจัยปรุงแต่ง ๓๙. โดยเป็ น ของมี ค วามคั บ แค้ น ใจ

๓๒. โดยเป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นธรรมดา


๓๓. โดยเป็ น ของมี ค วามเกิ ด เป็ น
๔๐. โดยเป็นของมีความเศร้าหมอง

ธรรมดา เป็นธรรมดา
๓๔. โดยเป็ น ของมี ค วามแก่ เ ป็ น
ภิกษุเห็นเบญจขันธ์ เห็นขันธ์ทั้ง ๕ คือ
ธรรมดา รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
๓๕. โดยเป็ น ของมี ค วามเจ็ บ ไข้ เ ป็ น
วิญญาณขันธ์ ให้เห็นโดยลักษณะ ๔๐ อย่าง
ธรรมดา นี้ แ หละ ในการเจริ ญ วิ ปั ส สนา เราเอา
๓๖. โดยเป็ น ของมี ค วามตายเป็ น
เบญจขันธ์มาตัง้ เป็นหลัก แล้วมองให้ถกู ต้อง
ธรรมดา มองดูบอ่ ย ๆ มองให้เห็นความจริงของมัน
50 51
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

หลัก ๆ ก็ ๓ มุมมองเท่านั้นแหละ แต่ตอนนี้ บางคนมาฟังแป๊บเดียว ฟังพระพุทธเจ้า


แยกแยะรายละเอียดออกมา จะได้มีมุมมอง ว่า “อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์” เขา
หลาย ๆ อย่าง บางคนหลายแบบมากไปก็งง เข้ า ใจแล้ ว มี ปั ญ ญา ส่ ว นบางคน โอ้ โห..
ไม่ว่ากัน ถ้างงก็เอาแค่ ๓ ก็พอ ถ้าฟังแล้ว ไม่ ล งซะที พวกเราเป็ น พวกไหนก็ ไม่ รู้

เออ.. ได้ มุ ม มองเพิ่ ม ขึ้ น มองได้ บ่ อ ยขึ้ น “สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา” ท่องกี่พันเที่ยว
มากขึ้ น บางคนดื้ อ ต้ อ งมองให้ เ ยอะ ๆ
แล้วก็ ไม่รู้ ยังไม่ลงเลย ถ้ายังไม่ลงจะต้อง
บางคนมาถามว่า อาจารย์ผมมองมาตัง้ นานแล้ว ทำไง ก็ ต้ อ งมาเจริ ญ แล้ ว ก็ ม าทำให้ ม าก

มั น ยั ง ไม่ ย อมรั บ ซั ก ที เ ลย เรื่ อ งของคุ ณ นี่ มามองมุมนั้นมุมนี้ มองไปเรื่อย จนกว่ามัน


ช่วยไม่ ได้นะ ดื้อเอง ช่วยไม่ ได้ บางคนดื้อ จะลง ถ้าได้วปิ สั สนาญาณ ยอมรับความจริง
มันไม่ลงนะ ไม่ลงทำไงล่ะ ก็ต้องตะล่อมมัน การรวมลงของอริยมรรคจึงจะมีเกิด
มองไปเรือ่ ย พิจารณาบ่อย ๆ ต้องให้มนั เห็นนะ การพิจารณา มองดูเบญจขันธ์ โดย
เห็นจนมันหนี ไม่ออก ความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น จนถึง โดยเป็น
ของมีความเศร้าหมองเป็นธรรมดา นี้แหละ
เป็นการเจริญวิปัสสนา พอพิจารณาได้มั้ย
52 53
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

ท่านไม่จำเป็นต้องทำทั้งหมด พิจารณาอันที่ ๒. โดยความเป็ น ทุ ก ข์ เป็ น ของ

ปรากฏชัดเจน ถูกกับใจตัวเอง ถ้ามีพื้นฐาน


ทนยาก ทนไม่ ไหว ทนอยู่ ต ลอดไปไม่ ได้
ที่ดี มีสติสัมปัชชัญญะ มีสมาธิดี มองมันก็ เพราะเหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดล้วนแต่ ไม่เที่ยง
แจ่มชัด มองลงไปในอุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ นี้
สิ่งที่เกิดจากเหตุปัจจัยที่ ไม่เที่ยง ก็ ไม่อาจจะ
กายกั บ ใจตั ว เองนี่ แ หละ มองได้ ชั ด ที่ สุ ด

คงอยู่ ได้ ปัจจัยมันพังลง ตัวมันก็พังลงด้วย


จะมองภายนอก ขั น ธ์ ค นอื่ น บ้ า ง ก็ ม องได้
เหมือนกัน ขันธ์ภายใน ขันธ์ภายนอกก็มองได้ ๓. โดยความเป็นโรค มีโรคเยอะแยะ
เหมือนกัน ต่อไปจะอธิบายเฉพาะบางส่วน กายก็มี โรค ตาก็มี โรคตา หูก็มี โรคหู โรคที่
อันไหนที่ชัดเจนแล้วก็ ไม่ต้องอธิบาย รักษาไม่หายเพียบเลย โรคหิว โรคอุจจาระ
๑. โดยความไม่ เ ที่ ย ง ไม่ ค งที
่ โรคปัสสาวะ โรคถ่ายออก โรคถ่ายไม่ออก
ไม่อยู่นาน มาแป๊บเดียวก็ ไปแล้ว เป็นของ พอรั ก ษาหาย โรคถ่ า ยออกรั ก ษาไม่ ห าย
ชั่วคราว จากไม่มี ก็มามีขึ้น มีแล้ว ก็ ไปสู่ โรคกินข้าวไม่ลง พอรักษาหาย เดี๋ยวไปกิน
ความไม่มี ก่อนจะเกิด อยู่ที่ ไหนไม่รู้ มีเหตุก็ ยานั่ น กิ น ยาเจริ ญ อาหารมั น ก็ กิ น ลงนะ
เกิดขึ้น แล้วดับแล้ว ไปที่ ไหนก็ ไม่รู้ มาจากที่ โรคกินข้าวไม่ลงรักษาหาย กินแล้วถ่ายออก
ไม่ปรากฏ ไปสู่ที่ ไม่ปรากฏ ไม่หายสักที ถ่ายออกตัง้ แต่เด็ก ๆ จนทุกวันนี้
54 55
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

ยั ง ถ่ า ยออกอยู่ มั้ ย ถ่ า ยออกอยู่ จนแก่ ยั ง ด้วย มียาพิษค้างอยู่ ในตัวเพียบ แทงเข้ามา


ถ่ า ยออกอยู่ พอตายไป เกิ ด ใหม่ ก็ ยั ง ถ่ า ย ทีเดียว ไปนอนเจ็บอยู่ตั้งนาน ถ้าเจอลูกศร
ออกอยู่อีก ยิ ง แล้ ว ไม่ ต้ อ งไปโทษอะไรใคร ต้ อ งถอน
๔. โดยความเป็นดังหัวฝี รูจ้ กั หัวฝี ลู ก ศรอย่ า งเดี ย วเลย ไปโทษคนโน้ น คนนี้

มั้ย หัวฝีนี่มันมีแต่พองโตขึ้น ๆ มันเจ็บมั้ย ก็ โง่ เ หลื อ เกิ น แล้ ว บางคนเขาโง่ ม ากนะ

เจ็บ หวาดเสียว แล้วถึงเวลามันแตกโพล๊ะ ถูกลูกศรยิง บอกว่า รอเดีย๋ ว ๆ อย่าเพิง่ ถอน


โอ้ โห.. เจ็บปวดทรมาน พวกเราก็เหมือนกัน ขอทราบก่อนว่า ลูกศรนี้ ใครเป็นคนยิง ลูกศร

รอเวลาความเจ็บปวดต่าง ๆ ทยอยกันขึ้น ๆ นี้ทำด้วยอะไร นี่มันโง่แล้ว พวกเรานี้ ทุกข์


เดี๋ยวเวลามันแตกโพล๊ะ ก็เจ็บปวดทรมาน กันเต็มทีแ่ ล้ว ต้องรีบถอน ไม่ตอ้ งไปหาคนผิด
ร้องไห้กันระงมทีเดียว ไม่ต้องไปโทษใครทั้งนั้น
๕. โดยความเป็นดังลูกศร ลูกศร
๖. โดยเป็นความลำบาก ได้รา่ งกาย
มั น แทงเป็ น ไง เจ็ บ มั้ ย เจ็ บ แบบทิ่ ม เข้ า ไป ได้แขนขามานี่ เราแบกมันไปมา กว่าจะเดิน
บางคนนี่ ไม่ ใช่ โดนลูกศรธรรมดา ลูกศรอาบ ไปถึงที่ ลำบากมั้ย ลำบาก นั่งลงแล้ว ลุกขึ้น
ยาพิษซะด้วย เจ็บกายยังไม่พอ ยังเจ็บใจ เป็นไง ลำบาก บางคนลุกไม่ขึ้น ยิ่งลำบาก
56 57
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

ลำบากตัวเองยังไม่พอ ทำความลำบากให้ มันเป็นอย่างอื่น เราคิดอะไรอยู่ เจ้าสังขาร


กับเพื่อน ๆ อีกนะ ช่วยพยุงขึ้นมา ยืนแล้ว มันเป็นอย่างอื่นตลอด ลูกเราก็ดี สามีเราก็ดี
นั่งไม่ลงก็ลำบาก มีแต่เรื่องลำบาก นี้ เ ป็ น ของเรา ทำให้ เ ราสบายใจ มั น เป็ น
อย่างที่คิดมั้ย ไม่เป็น เป็นอย่างอื่นตลอด
๗. โดยเป็นอาพาธ ความป่วยไข้
เกิดจากหลาย ๆ สาเหตุ มีที่ตั้งให้มันเกิด ๙. โดยเป็นของชำรุด เป็นทรุดโทรม
เพียบเลยในกายนี้ แค่อากาศเปลี่ยนแปลง เก่า คร่ำคร่าลงเรื่อย ๆ ร่างกายแข็งแรงดี
เท่านั้น ไอค่อก ๆ แค่ก ๆ เลย ร้อนมากก็ อยู่ มานัง่ อยูน่ ี่ ก็พงั ลงอีกหน่อยแล้ว นัง่ เฉย ๆ
เหงือ่ ออก ทนไม่ ไหว หนาวไปก็สนั่ ทนไม่ ไหว ไม่ ได้ทำอะไร ก็แก่ลง ๆ ไม่ ได้พยายามแก่
แต่ก็แก่
๘. โดยความเป็นอย่างอื่น มันไม่
ได้เป็นอย่างที่เราคิด มันเป็นอย่างอื่นจากที่ ๑๐. โดยเป็ น ของอั ป ปมงคล เบญจ
เราคิ ด เอาไว้ เราคิ ด ว่ า อย่ า งไร เราคิ ด ว่ า
นี่ ไม่ ใช่ ม งคล ไม่ ใช่ ข องดี เ ลย ได้ ม าแล้ ว
นี่ ข องเรา นี่ ข องดี นี่ อ ยู่ ในอำนาจ อยู่ ใน
ไม่มเี รือ่ งดีเข้ามาเลย มีแต่เรือ่ งร้าย ๆ เข้ามา
กำมือเรา แต่มันเป็นอย่างที่คิดมั้ย ไม่เป็น ไหนจะแก่ ไหนจะเจ็บป่วย ไหนจะเจ็บปวด

58 59
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

๑๑. โดยเป็นของอันตราย เรามัก มี อุ ป สรรคตลอด อุ ต ส่ า ห์ ตั้ ง ใจมาปฏิ บั ติ


จะว่า มีอันตรายจากที่อื่นนะ อันตรายจากงู จะทำให้เต็มที่ สักหน่อยก็ขี้เกียจ ปวดหลัง
จากนั่ น จากนี่ งู มั น กั ด กั ด ได้ เ พราะอะไร ปวดเอว ไม่ ส บาย นั่ ง สมาธิ ก ำลั ง ได้ ที่
เพราะมีเบญจขันธ์ ถ้าไม่มีขา งูจะกัดที่ ไหน อ้าว.. เสียงระฆัง ถึงเวลาทานข้าวอีกแล้ว
ไม่มีที่ ให้งูกัดนะ เส้นเลือดอันตรายกว่างูอีก ทำอะไรมีแต่อุปสรรค
พิษมันเข้ามาทางเส้นเลือด ถ้าไม่มีเส้นเลือด
๑๓. โดยความเป็นของหวั่นไหว
พิ ษ จะเข้ า มาทางไหน ไม่ มี ที่ ให้ เ ข้ า งู กั บ
๑๔. โดยเป็นของผุพัง
เบญจขั น ธ์ อั น ไหนน่ า กลั ว กว่ า เบญจขั น ธ์
๑๕. โดยเป็นของไม่ย่งั ยืน
เขี่ ย งู อ อกก่ อ น ตี งู ก่ อ น แทนที่ จ ะตี ตั ว เอง
โทษสิ่งอื่นก่อน ๑๖. โดยเป็นของไม่มอี ะไรต้านทานได้
๑๒. โดยเป็นอุปสรรค ท่านทัง้ หลาย ความแก่ ความเจ็บ ความตาย นี่ ไม่มีอะไร
มีอุปสรรคเยอะมั้ย กว่าจะได้มาปฏิบัติธรรม ต้ า นทานมั น ได้ เ ลย ไม่ อ ยากป่ ว ยมั น ก็ ป่ ว ย
จัดการนั่นจัดการนี่ กว่าจะได้มา อุปสรรค ไม่อยากตายมันก็ตาย จะมีอำนาจ มีทรัพย์
เยอะ มาแล้ว ตั้งใจเดินจงกรม ก็ง่วงนอน สินเงินทองมากมาย ก็หยุดแก่ ไม่ ได้ ซื้อลม

60 61
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

หายใจตอนจะตายก็ ไม่ ได้ ทำความดีเยอะ ของเราบ้าง เทออกมาดู เป็นไง มีแต่ของไม่


แยะต้ า นทานความแก่ ได้ มั้ ย ไม่ ได้ บารมี สวยไม่งาม เอาอะไรไปด้วยไม่ ได้เลย
มาก ตายมั้ย ตายเหมือนกัน ไม่มีอะไรช่วย
๒๑. โดยเป็นของเปล่า เหมือนกับ
เหลือเราได้เลย
ภาชนะเปล่า ไม่มีของกินเลย
๑๗. โดยเป็นของไม่มีตัวตน
๒๒. โดยความเป็ น สุ ญ ญตะ หรื อ
๑๘. โดยเป็นของไม่มีอะไรป้องกัน
สุญญตา ความว่างเปล่าจากตัวตน มีเหมือนกัน
๑๙. โดยเป็นของไม่มีที่พึ่ง
มีอะไรบ้าง มีรูปที่เกิดจากเหตุเป็นคราว ๆ
๒๐. โดยความเป็ น ของว่ า งเปล่ า รูปก็แปรปรวน ไม่เที่ยง สักหน่อยก็แตกไป
เหมือนเป็นบ้านว่าง ไม่มีอะไรพอที่จะเอาไป เหมือนกลุ่มก้อนฟองน้ำ ลอยไปตามแม่น้ำ
ทำประโยชน์ ได้ มองดู บ้ า น บ้ า นสวยดี สั ก หน่ อ ยก็ แ ตกไป มี เ วทนาที่ เ กิ ด จากการ
เหมื อ นจะมี อ ะไรให้อุ่นใจ เปิดประตูเข้าไป กระทบผัสสะเป็นคราว ๆ ไม่มตี วั ตน เหมือน
ข้างใน เอาอะไรไม่ ได้เลย เป็นไง ไม่เหมือน เม็ดฝนตกลงที่หนองน้ำ เกิดต่อมน้ำเล็ก ๆ
ที่ คิ ด เลย ว่ า งเปล่ า ไปหมด ร่ า งกายเรา
แป๊บเดียวก็แตกไป มีสญ ั ญา สังขาร วิญญาณ
คิดว่ามันน่าจะมีอะไรดี ๆ บ้าง มีอะไรเป็น ไม่มีตัวตนเลย ว่างเปล่าจากตัวตน
62 63
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

๒๓. โดยความเป็ น อนั ต ตา ไม่ มี ๒๕. โดยเป็ น ของมี ค วามแปรผั น ไป


อั ต ตา ตั ว ตนชนิดที่เที่ยงแท้ มั่นคง ถาวร เป็นธรรมดา
มีอำนาจบันดาล บังคับ บงการ เป็นผู้สร้าง
๒๖. โดยความเป็นของไม่มแี ก่นสาร
พระพรหมสร้ า ง พระเจ้ า สร้ า ง อั ต ตา
ไม่อาจจะเอามาเป็นที่ยึดเหนี่ยวอย่างจริงจัง
ลักษณะเช่นนี้ ไม่มี ตัวตน สัตว์ บุคคล หญิง
ได้ เหมือนเราต้องการแก่นไม้ จะเอาไปทำ
ชาย เป็นเพียงคำสมมติ ใช้ ในการสื่อสาร
เสาบ้ า น ไปตั ด ต้ น กล้ ว ยมา ลอกกาบออก
เพราะการประชุ ม รวมกั น ของรู ป เวทนา
ก็ ไม่เจอแก่น ไม่สามารถเอาไปเป็นเสาบ้านได้
สัญญา สังขาร วิญญาณ การประชุมของ
แบกไป ดู แ ลไป วุ่ น วาย หั ว หมุ น อุ ต ส่ า ห์
สภาวะต่าง ๆ เหล่านี้ คำว่า สัตว์ บุคคล
ลงทุนลงแรง เสียเวลากับมันไปมาก นึกว่า
ตัวตน จึงมีขึ้น
จะมีแก่นสาร ท้ายที่สุดเป็นสิ่งไร้แก่นสาร
๒๔. โดยความเป็นโทษ มีอาทีนวะ
๒๗. โดยเป็นมูลแห่งความลำบาก
มี โทษมากมาย จะดูแลดีขนาดไหน ก็ยังนำ
เป็นต้นตอ เป็นที่ตั้งให้เกิดความยากลำบาก
ภาระ และเรื่องเดือดร้อนใจมาให้อยู่เสมอ
มากมาย นั บ ตั้ ง แต่ เ กิ ด มา แม่ ก็ ล ำบากใน

64 65
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

การอุ้มท้อง ตอนคลอดก็เกือบตาย กว่าจะ ทางอากาศ ก็ถูกฆ่าทิ้งทั้งนั้น เรายังไม่อยาก


รอดมาได้ ไหนจะต้ อ งกิ น ต้ อ งดื่ ม เข้ า จะตาย ยังใช้ชีวิตไม่เต็มที่ ยังมีเรื่องจะทำ
โรงเรียนอนุบาล ประถม มัธยม มหาวิทยาลัย อยู่ เ ยอะแยะ ยั ง ไม่ ห มดเรื่ อ งทำเลย แต่ ก็
ต้องหาเงินทองมาเลีย้ งดูดว้ ยความยากลำบาก ต้องตายก่อนทุกที
ไปทำงานก็เหน็ดเหนื่อย ต้องต่อสู้กับเรื่อง ๒๙. โดยเป็นความเสื่อมไป ขณะที่
นั้นเรื่องนี้ มีครอบครัว มีลูก ก็ยิ่งมีเรื่องให้ ตั้งอยู่ ความเสื่อมก็ปรากฏ ท่านทั้งหลาย

ลำบากหนั ก ขึ้ น ตายแล้ ว ญาติ พี่ น้ อ งก็ นั่งอยู่นี่ ก็เสื่อมไปเหมือนกัน นี้เป็นลักษณะ


ลำบาก ก็ ไปหาวัดที่มีเมรุเผาทิ้ง พระก็ต้อง ของสังขารทัว่ ไป ความเกิดขึน้ ปรากฏ ความดับ
มาสวดอภิ ธ รรม แม้ แ ต่ ก ระดู ก เป็ น ขี้ เ ถ้ า
ไปปรากฏ ขณะตั้งอยู่ ความเสื่อมก็ปรากฏ
ก็ต้องลำบากเอาไปลอยน้ำ อะไร ๆ ที่เป็นสังขาร ล้วนกำลังเสื่อมไป ๆ
๒๘. โดยเป็นดังเพชฌฆาต เพชฌฆาต ๓๐. โดยเป็ น ของมี อ าสวะ เป็ น ที่
ถือดาบ คอยฟันเรา เราจะตายเมื่อไหร่ยัง ไหลออกของกิเลส ไหลไปทางตา หู จมูก
ไม่รู้เลย มันตามหลังเรามาไม่ ได้ห่าง หนี ไป ลิ้น กาย และใจ เมื่อรับรู้อารมณ์ กิเลสก็
ไหนก็ ไม่รอด จะขึ้นภูเขา ลงแม่น้ำ หรือไป ไหลไปทั่ว และเป็นอารมณ์ของกิเลส อำนาจ
66 67
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

ของกิ เ ลสติ ด ตามไปถึ ง กิ เ ลสไหลตามไป ของเรา ก็เสร็จเลย กินเหยื่อเข้าไป ติดเบ็ด


เรื่อย ไปเกิดเป็นเทวดา พรหม ก็ ไม่พ้น ติดอยู่กับโลก
๓๑. โดยเป็นของมีปัจจัยปรุงแต่ง ๓๓. โดยเป็ น ของมี ค วามเกิ ด เป็ น
เหตุปัจจัยเป็นตัวบีบบังคับให้มันเป็นไป มัน ธรรมดา
ไม่เป็นตัวของตัวเอง ไม่มีตัวของตัวเอง
๓๔. โดยเป็ น ของมี ค วามแก่ เ ป็ น
๓๒. โดยเป็นเหยือ่ ของมาร เบญจขันธ์ ธรรมดา
นี่ เ ป็ น เหยื่ อ ของมาร มี เ บ็ ด อยู่ ข้ า งใน เป็ น
๓๕. โดยเป็ น ของมี ค วามเจ็ บ ไข้ เ ป็ น
เหยื่อล่อปลา พวกเราเป็นปลา พญามารนี่
ธรรมดา
ทำให้ เ ราเกิ ด แก่ เจ็ บ ตาย มานานมาก
ทำให้วนเวียนอยู่กับโลก พญามารเขามีเบ็ด ๓๖. โดยเป็ น ของมี ค วามตายเป็ น
เราเห็นเบ็ดคงไม่กินนะ เขาก็มีเหยื่อมาล่อ ธรรมดา
เหยื่อล่อคือเบญจขันธ์ เราเห็นปั๊บ ก็กินเหยื่อ ๓๗. โดยเป็ น ของมี ค วามเศร้ า โศก
นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็นอัตตาตัวตน เป็นธรรมดา
68 69
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

๓๘. โดยเป็ น ของมี ค วามรำพั น เป็ น ทำให้ แ จ้ ง โสดาปั ต ติ ผ ล สกทาคามิ ผ ล

ธรรมดา อนาคามิผล อรหัตตผล


๓๙. โดยเป็นของมีความคับแค้นใจ ท่านทั้งหลายฟังถึงตอนนี้ คงจะรู้ว่า
เป็นธรรมดา ท่านยังขาดอะไรอยู่บ้าง ใครขาดเรื่องไหนก็
๔๐. โดยเป็นของมีความเศร้าหมอง ไปทำเพิ่มเอานะ ยังขาดเรื่องสติก็ ไปใส่สติ
เป็นธรรมดา ขาดศี ล ก็ ใส่ ศี ล ขาดสมาธิ ก็ ไป ใส่ ส มาธิ
ขาดปัญญาก็มาฝึกเอา บางคนว่า อาจารย์..
ทั้ง ๔๐ อย่างนี้เป็นการพิจารณา มอง ขาดทุกอันเลย ทำไงดี อย่างนี้ช่วยไม่ ได้นะ
ดูเบญจขันธ์ มองดูขันธ์ทั้ง ๕ ทั้งของตนและ ตั ว ใครตั ว มั น ละครั บ ต้ อ งฝึ ก เอาเอง
ของคนอื่น ในมุมมองแบบวิปัสสนา มองแล้ว พระพุทธเจ้าบอกให้เจริญ ให้ทำมาก ๆ สิ่ง
เกิดปัญญา เห็นความจริง ลงกับความจริง ไหนไม่มีก็ทำให้มี ถ้ามีแล้ว ก็ทำให้เพิ่มพูน
ได้ เรียกว่าได้อนุโลมขันติ ผู้ที่ ได้อนุโลมขันติ ไพบูลย์ขึ้น
เป็ น ไปได้ ที่ จ ะหยั่ ง ลงสู่ สั ม มั ต ตนิ ย าม ผู้ ที่
หยั่ ง ลงสู่ สั ม มั ต ตนิ ย าม ก็ เ ป็ น ไปได้ ที่ จ ะ
70 71
มองมุมวิปัสสนา สุภีร์ ทุมทอง

การพิ จ ารณาความจริ ง ของขั น ธ์ ๕


ความว่ า งเปล่ า โดยเป็ น ของไม่ มี แ ก่ น สาร

ทั้ ง ๔๐ อย่ า งนี้ ถ้ า พู ด แบบรวม ๆ แล้ ว


นี้เป็นการมองในแง่อนัตตา
ก็ คื อ มองแบบไตรลั ก ษณ์ นั่ น เอง ท่ า น

เอาละ จะให้ โอกาสท่านทั้งหลายไป


พระสารีบุตรรวบรวมมาจากพระสูตรต่าง ๆ
ปฏิบัติ โดยการเดินจงกรม นั่งสมาธิ ให้มี
ที่ พ ระพุ ท ธองค์ ต รั ส แก่ ค นนั้ น บ้ า งคนนี้ บ้ า ง
สติสัมปชัญญะ ทำความรู้ตัว ให้จิตสะอาด
นำมารวมไว้ ในที่ เ ดี ย วกั น เป็ น ๔๐ อย่ า ง
ปลอดโปร่ง ตั้งมั่น เป็นสมาธิ เมื่อจิตตั้งมั่น
เพื่ อ ให้ เ รามี มุ ม มองที่ ก ว้ า งขวางขึ้ น เช่ น
แล้ว หากมีสภาวะใดเกิดขึ้นก็ ให้มองอยู่ ในแง่
โดยเป็ น ของผุ พั ง โดยเป็ น ความหวั่ น ไหว
เหล่านี้ ถ้าใครไม่ค่อยมีสติ ก็ฝึกสติ ไปก่อน
โดยเป็นของไม่ยั่งยืน โดยเป็นความเสื่อมไป
ให้ละนิวรณ์ ได้ก่อน
โดยเป็ น ของชำรุ ด นี้ เ ป็ น การมองในแง่

ไม่เที่ยง โดยความเป็นโรค โดยความเป็น การบรรยายวันนี้ ก็คงสมควรแก่เวลา


ดั ง หั ว ฝี โดยความเป็ น ดั ง ลู ก ศร โดยเป็ น เท่านี้นะครับ อนุโมทนาทุกท่าน
ความลำบาก โดยเป็นอาพาธ นี้เป็นการมอง
ในแง่ เ ป็ น ทุ ก ข์ โดยเป็นอย่างอื่น โดยเป็น
72 73
บาลีแสดงอาการ ๔๐

(๑) อนิจฺจโต (๑๗) อตาณโต (๓๓) ชาติธมฺมโต


(๒) ทุกฺขโต (๑๘) อเลณโต (๓๔) ชราธมฺมโต
(๓) โรคโต (๑๙) อสรณโต (๓๕) พฺยาธิธมฺมโต
(๔) คณฺฑโต (๒๐) ริตฺตโต (๓๖) มรณธมฺมโต
(๕) สลฺลโต (๒๑) ตุจฺฉโต (๓๗) โสกธมฺมโต นนฺทิสญฺโชโน โลโก วิตกฺกสฺส วิจารณํ
(๖) อฆโต (๒๒) สุญฺโต (๓๘) ปริเทวธมฺมโต ตณฺหาย วิปฺปหาเนน นิพฺพานํ อิติ วุจฺจติ
(๗) อาพาธโต (๒๓) อนตฺตโต (๓๙) อุปายาสธมฺมโต
(๘) ปรโต (๒๔) อาทีนวโต (๔๐) สงฺกิเลสิกธมฺมโต สัตว์โลกมีความเพลิดเพลินเป็นเครื่องประกอบไว้
(๙) ปโลกโต (๒๕) วิปริณามธมฺมโต วิตกเป็นเครื่องเที่ยวไปของสัตว์โลกนั้น
(๑๐) อีติโต (๒๖) อสารกโต
(๑๑) อุปทฺทวโต (๒๗) อฆมูลโต เพราะละตัณหาได้ เราจึงเรียกว่านิพพาน
(๑๒) ภยโต (๒๘) วธกโต
ขุ.สุ. ๒๕/๑๑๑๖
(๑๓) อุปสคฺคโต (๒๙) วิภวโต
(๑๔) จลโต (๓๐) สาสวโต
(๑๕) ปภงฺคุโต (๓๑) สงฺขตโต
(๑๖) อทฺธุวโต (๓๒) มารามิสโต

อ้างอิง พระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สุญฺโต โลกํ อเวกฺขสฺสุ โมฆราช สทา สโต โย จ วสฺสสตํ ชีเว อปสฺสํ อุทยพฺพยํ
อตฺตานุทิฏฺึ อูหจฺจ เอวํ มจฺจตุ โร สิยา เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปสฺสโต อุทยพฺพยํ
เอวํ โลกํ อเวกฺขนฺตํ มจฺจุราชา น ปสฺสติ
ชีวิตแม้เพียงวันเดียว
ดูก่อนโมฆราช เธอจงพิจารณาเห็นโลกโดยความ ของผู้เห็นความเกิดและความดับ
เป็นของว่าง ประเสริฐกว่าบุคคลผู้มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี
จงมีสติทุกเมื่อ ถอนอัตตานุทิฏฐิเสีย แต่ ไม่เห็นความเกิดและความดับ
พึงเป็นผู้ข้ามมัจจุราชเสียได้ด้วยอาการอย่างนี้
ขุ.ธ. ๒๕/๑๑๓
บุคคลพิจารณาเห็นโลกอย่างนี้ มัจจุราชจึงไม่เห็น

ขุ.สุ. ๒๕/๑๑๒๖
รายชื่อผู้ร่วมบริจาค
ที่ ชื่อ - นามสกุล จำนวนเงิน
๑. คุณวิภาวี สุขเกษม ๒๐๐ ๑๘. คุณวันชื่น คุณจินตนา ธรรมไพโรจน์ ๑,๐๐๐
๒. คุณมณีรัตน์ อาชีพโกศล ๑,๐๐๐ ๑๙. คุณกรรณิดา นิธิอุทัย ๑,๐๐๐
๓. ไม่ออกนาม ๑,๐๐๐ ๒๐. คุณจินตนา วอสเบียน ๑,๐๐๐
๔. ไม่ออกนาม ๕๐๐ ๒๑. คุณพรทิพย์ สุริยสัตย์ ๒,๐๐๐
๕. คุณกัญชริญา กาญจนกูล ๔๐๐ ๒๒. คุณใจทิพย์ อิ่มปรีดี ๒,๐๐๐
๖. บ้านขนมนันทวัน ๑๐,๐๐๐ ๒๓. คุณอัจฉรา อังคีรสนันท์ ๕๐๐
๗. กองทุนวิปัสสนาบ้านขนมนันทวัน ๑๐,๐๐๐ ๒๔. ผู้ฟังธรรมชมรมคนรู้ ใจ ๒๗ มิ.ย. ๕๕ ๕,๐๑๐
๘. ผูฟ้ งั ธรรมบ้านขนมนันทวัน ๑๓ มิ.ย. ๕๕ ๑๒,๕๑๐ ๒๕. ผู้เข้าปฏิบัติกนกรัตน์รีสอร์ท ๒ ก.ค. ๕๕ ๑๙,๖๐๐
๙. คุณวรรัตน อิ่มสงวน ๑,๐๐๐ ๒๖. ไม่ออกนามรวม (ผูเ้ ข้าปฏิบตั ฐิ ณิชาฌ์รสี อร์ท ๓,๔๐๐
๑๐. ผู้เข้าปฏิบัติธรรมมูลนิธิมายาโคตมี ๒,๐๐๐ ๓ - ๕ ก.ค. ๕๕)
๑๘ - ๒๒ มิ.ย. ๕๕ ๒๗. กองทุนปฏิบัติธรรมฐณิชาฌรีสอร์ท ๕,๐๐๐
๑๑. ผู้ฟังธรรมบ้านจิตสบาย ๒๔ มิ.ย. ๕๕ ๘,๙๐๐ ๒๘. พ.ญ.นุสรา อรรฆศิลป์ ๗,๐๐๐
๑๒. คุณกัญชริญา กาญจนกูล ๔๐๐ คุณนันทิยา จิรายุสกมล
๑๓. คุณอาภรณ์ เจียมสายใจ ๑,๐๐๐ ๒๙. เงินร่วมบริจาคจากฐณิชาฌ์รีสอร์ท ๓,๐๐๐
๑๔. คุณกัลยาณี เสริมศิริวิวัฒน์ ๑,๐๐๐ ๕ ก.ค. ๕๕
๑๕. คุณวรรณา ๑,๗๐๐ ๓๐ คุณนันทลี จารุรัตน์ ๑,๐๐๐
๑๖. ไม่ออกนาม ๑,๐๐๐ ๑๐๔,๖๒๐
๑๗. ไม่ออกนาม ๕๐๐
ประวัต ิ
อาจารย์สุภีร์ ทุมทอง
วันเดือนปีเกิด
- ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๑๕
- บ้านหนองฮะ ต. หนองฮะ อ. สำโรงทาบ จ. สุรินทร์
การศึกษา
- เปรียญธรรม ๔ ประโยค
- ประกาศนียบัตรบาลี ใหญ่ วัดท่ามะโอ จ. ลำปาง
- ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- ปริญญาโท พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
งานปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๕๕)
- วิปัสสนาจารย์ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยฯ
- อาจารย์สอนพิเศษวิชาพระอภิธรรมปิฎก และวิชาปรมัตถธรรม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส จ. นครปฐม
- บรรยายธรรมะตามสถานที่ ต่ า ง ๆ ทั้ ง ในกรุ ง เทพฯ และ

ต่างจังหวัด
- เผยแผ่ธรรมะทางเว็บไซด์ www.ajsupee.com

You might also like