You are on page 1of 749

ความเปลีย่ นแปลงของเครือข่ายชนชั้นนาไทย

พ.ศ. 2495-2535

อาสา คาภา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาประวัตศิ าสตร์

บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรกฎาคม 2562
ความเปลีย่ นแปลงของเครือข่ายชนชั้นนาไทย
พ.ศ. 2495-2535

อาสา คาภา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาประวัตศิ าสตร์

บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรกฎาคม 2562
ความเปลีย่ นแปลงของเครือข่ ายชนชั้นนาไทย
พ.ศ. 2495-2535

อาสา คาภา

วิทยานิพนธ์ นีเ้ สนอต่ อมหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ เพือ่ เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษา


ตามหลักสู ตรปริ ญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาประวัติศาสตร์

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรกฎาคม 2562


ความเปลีย่ นแปลงของเครือข่ ายชนชั้นนาไทย
พ.ศ. 2495-2535

อาสา คาภา

วิทยานิพนธ์น้ ีได้รับการพิจารณาอนุมตั ิให้นบั เป็ นส่ วนหนึ่ งของการศึกษาตามหลักสู ตร


ปริ ญญาปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต
สาขาวิชาประวัติศาสตร์

คณะกรรมการสอบ คณะกรรมการทีป่ รึกษา

....................................... ประธานกรรมการ ....................................... อาจารย์ที่ปรึ กษาหลัก


(ศ. ดร. เกษียร เตชะพีระ) (ศ. เกียรติคุณ สายชล สัตยานุรักษ์)

...................................... กรรมการ ....................................... อาจารย์ที่ปรึ กษาร่ วม


(ศ. เกียรติคุณ สายชล สัตยานุรักษ์) (ศ. ดร. อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์)

...................................... กรรมการ ....................................... อาจารย์ที่ปรึ กษาร่ วม


(ศ. ดร. อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์) (รศ. สมชาย ปรี ชาศิลปกุล)

...................................... กรรมการ
(รศ. สมชาย ปรี ชาศิลปกุล)

...................................... กรรมการ
(อ. ดร. สิ ทธิเทพ เอกสิ ทธิพงษ์)

15 กรกฎาคม 2562
© ลิขสิ ทธิ์ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่



กิตติกรรมประกาศ

เมื่อปี พ.ศ. 2543 ครั้งเป็ นนักศึกษาปริ ญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์ ผูเ้ ขียนมีโอกาสเข้าไปนัง่ เรี ยน
วิช า 004271 A Survey of Thai History ซึ่ งเป็ นหนึ่ งในวิช าบังคับ ส าหรั บ การเลื อ กวิช าโท (Minor)
ประวัติ ศ าสตร์ และจาได้ดี ว่า วิ ช านี้ แบ่ ง สอนเป็ น 2 ส่ วนโดยอาจารย์ 2 ท่ าน คื อ อาจารย์ส ายชล
สั ต ยานุ รั ก ษ์ สอนช่ ว งสมัย จารี ต จนถึ ง ปฏิ รู ป การปกครองแผ่ น ดิ น สมัย รั ช กาลที่ 5 และอาจารย์
อรรถจักร์ สัตยานุ รักษ์ สอนตั้งแต่รัฐสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ ลงมาถึ งประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยจนถึ ง
ทศวรรษ 2540 น่ าแปลกที่ประวัติศาสตร์ ไทยซึ่ งครอบคลุ มระยะเวลายาวนานขนาดนี้ กลับเป็ นเรื่ อง
“ใหม่” ไปหมดสาหรับผูเ้ ขียน ซึ่ งก่อนหน้านี้ สนใจประวัติศาสตร์ อย่าง “สนุกๆ” ตามประสาคนชอบ
อ่ านหนัง สื อ “จัก รๆ วงศ์ๆ ” และเข้า ใจว่า ตนเองเดี ย งสาและ “รู้ ค วาม” ประวัติ ศ าสตร์ ไ ทยดี พ อ
สมควร ทว่า การเรี ยนวิชาสารวจประวัติศาสตร์ ไทยในครั้งนั้น เสมือนเป็ นการ “ปรับทัศนคติ” ครั้ง
ส าคั ญ ของผู ้เขี ย นต่ อ การพิ นิ จ พิ เคราะห์ ป ระวัติ ศ าสตร์ และท าให้ เกิ ด ข้ อ ตระหนั ก ว่ า การรู ้
ประวัติศาสตร์ แบบตั้งคาถามกับไม่ต้ งั คาถามแตกต่างกันอย่างไร

2-3 ปี ต่อมา ผูเ้ ขียนเปลี่ยนความสนใจไปทางด้าน Area Studies และมีโอกาสได้เรี ยนกับอาจารย์


อรรถจักร์ อีกครั้งในวิชา 004472 Problem in Lanna Thai History เพราะคาดว่าด้วยชื่ อของวิชานี้ น่าจะ
ตอบโจทย์การพัฒนาหัวข้อวิทยานิ พนธ์ของผูเ้ ขียนที่ขณะนั้นกาลังสนใจประวัติศาสตร์ รัฐในเขตตอน
ในลุ่ ม แม่น้ าโขง แต่ ไม่ ว่าจะด้วยเหตุ ผลใดก็ตาม กลับ กลายเป็ นว่าในการเรี ยนวิช านี้ ผูเ้ ขี ยนได้ท า
รายงานเรื่ อง
. . 2500-2519 ซึ่ งไม่เกี่ ยวกับความตั้งใจแรกเริ่ มแม้แต่น้อย อย่างไรก็ตาม แม้การเรี ยนวิชานี้ จะไม่
ตอบโจทย์การทาวิทยานิ พนธ์ของผูเ้ ขียนก็ตาม หากแต่รายงานฉบับดังกล่าวน่าจะเป็ นข้อเขียนแรกๆ ที่
ทาให้ผเู ้ ขียนสนใจประวัติศาสตร์ การเมืองไทยสมัยใหม่และประเด็นสถาบันพระมหากษัตริ ยก์ บั การ
เมืองไทยอย่างจริ งจัง อันเนื่องมาจากการจุดประกายในห้องเรี ยนจากอาจารย์อรรถจักร์

ครั้นเมื่อเริ่ มทางานสายวิชาการในฐานะนักวิจยั รายงานชิ้นนั้นคือพื้นฐานที่นาไปสู่ การทางาน


วิจยั ชิ้นแรกของผูเ้ ขียน เรื่ อง
2500-2535 (2550) ซึ่ งเป็ นการเขียนงานวิจยั ในบรรยากาศหลังรัฐประหาร 19
กันยายน 2549 งานชิ้ นนี้ ผเู ้ ขียนมีโอกาสยื่นให้กบั มืออาจารย์อรรถจักร์ ครั้งหนึ่ งเมื่อเราพบกันในงาน


สัมมนาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในส่ วนของอาจารย์สายชล นอกจากฐานะนักศึกษา
ที่ เคยเรี ยนกับอาจารย์ในคลาสใหญ่ห้องสโลปตั้งแต่สมัยเรี ยนปริ ญญาตรี ผูเ้ ขียนก็มิได้รู้จกั อาจารย์
เป็ นพิเศษ จวบจนกระทัง่ ได้อ่าน (2550) งานวิจยั เล่ ม
ใหญ่ที่ถูกตีพิมพ์เป็ นหนังสื อ ด้วยความรู ้สึกอยากสนทนาถกเถี ยง จึงนามาสู่ “บทวิจารณ์ คึกฤทธิ์ กับ
ประดิษฐกรรมความเป็ นไทย” ลงพิมพ์ในวารสารไทยคดีศึกษา แน่นอนว่าข้อเขียนนี้คือหนึ่งในพอร์ ต
งานที่ ผูเ้ ขี ยนส่ งไปเพื่ อการพิจารณาคัดเลื อกศึ กษาต่อระดับ ปริ ญญาเอกของภาควิชาประวัติศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในอีกหลายปี ต่อมา

ผูเ้ ขี ยนถู ก ชักชวนไปเรี ยนปริ ญ ญาเอกที่ ภาควิช าประวัติศาสตร์ มหาวิท ยาลัยเชี ยงใหม่ โดย
อาจารย์อรรถจักร์ หากแต่จาได้ดีว่าได้ตดั สิ นใจทาบทามขออาจารย์สายชลเป็ นที่ปรึ กษาตั้งแต่ที่ได้
พูดคุยกับอาจารย์เป็ นวันแรกๆ เพราะชอบจริ ตการทางานวิจยั แบบ
และเห็นว่าอาจารย์เปิ ดใจรับฟั งคาวิจารณ์ ที่สาคัญเพราะอาจารย์ศึกษาปั ญญาชน “ฝ่ ายขวา”
มามาก จึ ง น่ า จะเข้ า ใจนั ก ศึ ก ษาที่ ส นใจสอดรู ้ ส อดเห็ น “อี ลี ท ไทย” ดั ง ที่ ก ล่ า วมา ผู ้เขี ย นจึ ง
ขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ สายชล สัตยานุ รักษ์ และศาสตราจารย์ ดร.อรรถจักร์ สัตยานุ
รักษ์ ที่กรุ ณารับเป็ นที่ปรึ กษาหลักและที่ปรึ กษาร่ วม อาจารย์ได้ให้คาปรึ กษาอันเป็ นประโยชน์อย่าง
ต่อเนื่ องตลอดช่ วงระยะเวลาหลายปี ที่ ผ่านมา ขณะเดี ยวกันก็ให้อิสระอย่างมากในการคิดการเขียน
รวมถึ งยังได้ให้ความกรุ ณาทั้งกับผูเ้ ขียนและภรรยาเป็ นอย่างยิ่งในหลายครั้งหลายคราว นอกจากนี้
อาจารย์สายชลยังให้โอกาสในการเข้าร่ วมโครงการวิจยั ซึ่ งนับเป็ นประสบการณ์ อนั หาได้ยากที่ช่วย
เติมเต็มการทางานทางวิชาการของผูเ้ ขียนด้วย

ผูเ้ ขียนขอขอบพระคุ ณ ศาสตราจารย์ ดร. เกษียร เตชะพีระ ที่กรุ ณารับเป็ นประธานกรรมการ


สอบดุ ษ ฎี นิ พ นธ์ ทั้ ง นี้ ผู ้เขี ย นรู ้ สึ กโล่ ง ใจที่ อ าจารย์ช อบการวิ เคราะห์ ง านศึ ก ษานี้ พร้ อ มกั บ
ข้อเสนอแนะที่มีประโยชน์อย่างมากทั้งต่อการปรับปรุ งแก้ไขดุษฎีนิพนธ์ และการศึกษาประเด็นเรื่ อง
“สถาบัน พระมหากษั ต ริ ย ์เชิ ง เครื อ ข่ า ย” ในอนาคต นอกจากนี้ ผู ้เขี ย นขอขอบพระคุ ณ รอง
ศาสตราจารย์ สมชาย ปรี ชาศิลปกุล ที่รับเป็ นที่ปรึ กษาร่ วมและกรรมการสอบ พร้อมกับข้อชี้แนะที่ทา
ให้ ง านมี ค วามชั ด เจนขึ้ น และขอขอบคุ ณ อาจารย์ ดร.สิ ท ธิ เทพ เอกสิ ทธิ พ งศ์ กรรมการสอบ
วิทยานิพนธ์ ที่ให้ความเห็นอันเป็ นประโยชน์หลายประการ

ขอขอบคุ ณ พี่ ๆ เพื่อนๆ และน้องๆ ไม่ว่าจะเป็ น พี่วนั อาจารย์อภิวนั ท์ พันธ์ สุข, พี่โต้ ผูช้ ่ วย
ศาสตราจารย์มนตรา พงษ์นิล, เก๋ อาจารย์สิรีธร ถาวรวงศา ที่ได้ร่วมพูดคุ ยแลกเปลี่ ยนถกเถี ยงทาให้
บรรยากาศการเรี ยนปริ ญ ญาเอกของผูเ้ ขี ย นไม่ เงี ยบเหงาและโดดเดี่ ยวจนเกิ น ไป ขอขอบคุ ณ จ้าย
ดร.กฤษณ์ พ ชร โสมวัต ร ที่ ช่ ว ยสื บ ค้น ข้อ มู ล ในขั้น ตอนการแก้ไ ขดุ ษ ฎี นิ พ นธ์ , ขอบคุ ณ คุ ณ บุ๋ ม


วรัญธร คานาง ในเรื่ องการติดต่อประสานงานกับภาควิชา, ทศ ทศพล ศรี นุช ที่ช่วยเดิ นเรื่ องเอกสาร
ห้องสมุด, บาส พงศกร เฉลิมชุ ติเดช ในการเป็ นธุ ระช่ วยเดิ นเรื่ องเอกสารและขั้นตอนต่างๆ หลังการ
สอบดุษฎีนิพนธ์

นอกเหนื อไปจากบุคคลข้างต้น ผูเ้ ขียนต้องขอขอบคุ ณเป็ นอย่างมากต่อหน่ วยงานและบุ คคล


ที่ มี ส่ ว นท าให้ ก ารท าดุ ษ ฎี นิ พ นธ์ น้ ี ส าเร็ จ ลงได้ นั บ ตั้ง แต่ สถาบัน ไทยคดี ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลัย
ธรรมศาสตร์ ที่อนุ ญาตให้ผเู ้ ขียนลาศึกษาต่อระดับปริ ญญาเอก, แหล่งข้อมูลจากสานักหอจดหมายเหตุ
แห่ งชาติ, หอสมุดปรี ดี พนมยงค์, หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์ , ห้องสมุดศูนย์มานุ ษยวิทยาสิ รินธร,
ห้องสมุดรัฐสภา, ห้องสมุดกองวิชาประวัติศาสตร์ ส่ วนการศึกษา โรงเรี ยนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
ผูเ้ ขียนขอขอบพระคุ ณ พลตรี หญิ ง ปิ ยนุ ช รัตนวิชัย ที่ เอื้อเฟื้ อสถานที่ เขียนงาน ที่ ห้องสมุ ดกองวิชา
ประวัติศาสตร์ ฯ และขอบพระคุณ พลตรี ศาสตราจารย์ ดร.ศรศักดิ์ ชู สวัสดิ์ ในการพูดคุยแลกเปลี่ยน
ข้อมูลและไถ่ถามความก้าวหน้าของดุษฎีนิพนธ์อยูเ่ ป็ นระยะๆ

ขอขอบคุ ณผูร้ ่ วมงานที่ สถาบันไทยคดี ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อันได้แก่ อาจารย์พนั


วารุ ณี โอสถารมย์ นักวิชาการผูร้ ักในความรู ้ ข้อถกเถียงการสนทนาของอาจารย์พนั มีส่วนอย่างสาคัญ
ในการตามติด คิดต่อ ในการพัฒนาดุษฎีนิพนธ์, ขอบคุณ พี่เล็ก ดร.สิ โรตม์ ภินนั ท์รัชต์ธร และ ปาร์ ก
สุ ท ธิ เกี ย รติ อัง กาบู ร ณะ ที่ เข้า ใจผู ้เขี ย นและช่ ว ยเหลื อ ในการแบ่ ง เบาภาระงาน โดยเฉพาะงาน
ภาคสนามที่ตอ้ งลงพื้นที่ต่างจังหวัด โดยเฉพาะในช่วง 6 เดือนสุ ดท้ายก่อนการสอบดุษฎีนิพนธ์

ท้ายสุ ดผูเ้ ขียนขอขอบคุณครอบครัว “พ่อ” “แม่” และ “ภรรยา” ผูใ้ ห้กาลังใจ เข้าอกเข้าใจ และ
ช่วยเหลือในทุกสิ่ งทุกอย่าง ตลอดระยะเวลาในช่วง “สุ ข” และ “ทุกข์” ของการทาดุษฎีนิพนธ์น้ ี

อาสา คาภา


2495-2535

. . 2495-2535

2490
2500-2510

14
2516 2525 -

2520

2535

Consensus
Dissertation Title Changes of the Thai Elite Network, 2495-2535 B.E.

Author Mr. Asa Kumpha

Degree Doctor of Philosophy (History)

Advisory Committee Professor Emeritus Saichol Sattayanurak Advisor


Professor Dr. Atthachak Sattayanurak Co-advisor
Associate Professor Somchai Preechasilapakul Co-advisor

ABSTRACT

This dissertation aims to study how the Thai elite network had changed between 2495 and
2535 B.E., with special emphasis on the "Network Monarchy" which played a key role in the
network politics of the Thai elite. The study also focuses on the dynamics of the relationships within
the network monarchy and those between the monarchical network and many individuals and
groups among the Thai elite in each period of the said time frame.

The vital finding is that the dynamics of the network monarchy were related to the "Royal
Hegemony" of His Majesty King Bhumibol Adulyadej, King Rama IX. It resulted from interactions
among many factors. The network monarchy was highly dynamic as the said people and groups had
both cooperative and conflictual relations. Each individual or group was also relatively autonomous
from the monarchy. In this sense, their decisions on various matters were made under the dynamics
of changing social, economic and political context.
During the decade following the year 2490 B.E., military leaders held a hegemonic position
in the network politics of the elite, becoming a senior partner of the monarchy in the power nexus.
Even though initially the monarchical network was still limited to a narrow circle, a lot of efforts
had been expended to expand it as well as restore the status of the monarchy. Hence the conception
of the "Rajapracha Samasai" ideology, which would become a crucial tool to incorporate wider
individuals and groups into the networks for decades to come.
The dynamics of the network monarchy had increased greatly in the period between 2500
and 2510 B.E., attracting many leading groups, in particular elites in the bureaucratic such as the
judiciary, Ministry of the interior, the police, the military, the technocracy and some business elite.
Whilst royal power rapidly increased, it was nevertheless unstable due to the changing political
situation in the aftermath of the October th, 2516 uprising until 2525 B.E. Many new and diverse
groups of people became influential in politics, such as leading politicians, political parties, right-
wing groups, military reformers, military officers from the nd Army Area, the 21st Infantry
rk monarchy was therefore involved in the process of
fighting and negotiating intensely to win hegemony. In this sense, the dynamics of the monarchical
network were subject to a myriad of factors, be it individual personality and decision-making skills
as well as contest for status and role among the elite groups. Given that each of these groups had
their own respective political project, it was obvious that the actual degree of royal hegemony was
by no means of the king's making alone.

By the middle of the decade following the year 2530 B.E., the monarchy had become the
senior partner of the military in the power nexus and the network monarchy came to reign over the
Thai elite as a whole. As the Sino-Thai middle class came to identify with the monarchy and
became its mass base, the royal-nationalist political project turned into the state project that could
mobilize both public resources and funding as well as the populace at large. Royal hegemony
reached its zenith with the Black May incident in 2535 B.E.

Since then, consensual politics against monopolistic domination had been the rule of the
political game among the Thai elite groups, with the monarchy acting as the ultimate umpire in
formulating and keeping the elite consensus as well as removing any violators.

The study of the dynamics of the network monarchy helps us gain an in-depth
understanding of the complexities and developments of Thai politics especially among the elites
under the long and important reign of King Bhumibol.
ABSTRACT

STATEMENTS OF ORIGINALITY

1 1
1.1 1
1.2 9
1.3 9
1.4 9
1.5 1
1.6 3
1.6.1 (Faction)
3
1.6.2 Social Power 4
1.6.3 Hegemony
Cultural Politics 4
1.7 4
1.8 4

2 2475
4
2 -
2475-2500 4
2.2
9 6
2.2.1
6
2.2.2
2490 7
2.2.3 : -
2490 7
1) :

2) 8
3) 2490
2.3 2490 9

3
2500-2516 10
3.1 2500 10
3.2 1
3.2.1 -
11
3.2.2 12
3.2.3
2500 1
3.3
-
3.3.1
: 1
3.3.2
3
2506-2516

4 2500
2510 1
4.1 2500 1
4.2 - -
:
17
4.3 - : Pilot Projects

4.4 - 1
4.4.1 : 19
4.4.2 : 19
4 2

5
21
5.1 : 21
5.2 -
2510 22
5.2.1 22
5.2.2 23
5.2.3 2510 23
5.3.
:
24

6
14 2516 25
6.1 -
25
6.1.1 -
1, 2 25
6.1.2 :

14 2516 2
6.2 14 :
26
6.3 99:

27
6.4 :
2517 28

7
2518-6 2519 2
7.1
14 2516 2
7.1.1 29
7.1.2
7.2.
30
7.2.1 14 :
30
7.2.2
31
7.3 :
32
7.3.1 :
3
7.3.2
6 2519 34
8 -
14 2516 35
8.1
14 2516 3
8.2
2 3
8.2.1 3
8.2.2 2 37

9 6 2519:

38
9.1
2519:
38
9.2
39
9.3 41
9.3.1 - 41
9.3.2 42
9.3.3 4
9.3.4 43
9.4 43
9.5
44

10 :
2520-2523 45
10.1
45
10.2
20 2520 46
10.2.1 - :
4
10.2.2 2521

47
10.3
10.3.1 48
10.3.2 - 4
10.3.3
6 49
10.4
50

11
2520 5
11.1
2520 5
11.2
2520 5
11.2.1
5
11.2.2
54
11.2.3
2
5
11.2.4

66 2523 5
1) 7 5
2) 21 5
3) 66 2523 5

12 -
57
12.1
2520 57
12.2
58
12.2.1 - 5
12.2.2 -
12.2.3 - 6
12.2.4 61
12.2.5 62
12.3
2520 2530 6
12.3.1 :
200
5 63
12.3.2 :
2520 6
12.3.3
64
1) 64
2) 64
3) - 6

13 65
13.1
13.1.1
Bureaucratic Polity
13.1.2 ( )

13.2

13.3 :
. . 2535
1)
Network Monarchy
2495-2535
2) Network Monarchy

Royal Hegemony
9
STATEMENTS OF ORIGINALITY

1) This dissertation presents the history of the formation and development of the
network monarchy under the interaction with the Thai elite network between
2495 and 2535 B.E.

2) This dissertation proposes that the network monarchy is able to take the lead and
do

King Rama IX.


บทที่ 1
บทนำ

1.1 ทีม่ ำและควำมสำคัญของปัญหำ

บทบาทความส าคั ญ ของกลุ่ ม ชนชั้ นน าไทยเป็ นประเด็ น ที่ ถู ก หยิ บ ยกในการศึ ก ษา


ประวัติ ศ าสตร์ ไ ทยมาอย่างยาวนานและครอบคลุ ม ประวัติ ศ าสตร์ แทบทุ ก ยุค สมัย กระนั้น ก็ ตาม
โดยมากแล้วการศึ กษาส่ วนใหญ่ยงั คงมุ่งเน้นไปที่ ปั จจัยผูก้ ระท าการทางประวัติศาสตร์ (Historical
Actor) ที่ขบั เน้นแนวคิด “มหาบุรุษ” (Great Man) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาประเด็นอันเกี่ ยวเนื่ อง
กับสถาบันพระมหากษัตริ ยท์ ี่มกั วางบทบาทพระมหากษัตริ ยไ์ ว้เป็ นศูนย์กลางของกลุ่มชนชั้นนาไทย
อย่างไรก็ตาม ในความเป็ นจริ งที่ความเปลี่ ยนแปลงทั้งในทางการเมือง เศรษฐกิ จ และวัฒนธรรมได้
เกิ ดขึ้ นอย่างกว้างขวางและซับซ้อนในช่ วงหลายทศวรรษที่ ผ่านมาจนก่ อให้เกิ ดความเปลี่ ยนแปลง
อย่า งมากแม้ใ นกลุ่ ม ชนชั้น น าไทยเอง เช่ น การปรากฏกลุ่ ม ก้อ นตัว แสดงทางประวัติ ศ าสตร์ ที่
หลากหลาย ตลอดจนลักษณะความสัมพันธ์ ที่ ดาเนิ นไปในรู ปแบบ “อิส ระเชิ งสัมพัทธ์ ” (Relative
Autonomy) มากขึ้น กระทัง่ วิธีการวิเคราะห์ชนชั้นนาไทยตามแบบแผนเดิมไม่เพียงพอต่อการอธิ บาย
ทาความเข้าใจชนชั้นนาไทยได้อีกต่อไป

นับตั้งแต่ทศวรรษ 2500 เป็ นต้นมา กรอบแนวคิดทางรัฐศาสตร์ ที่ใช้วิเคราะห์กลุ่มชนชั้นนา


ไทยที่ ส าคัญ คื อ “Bureaucratic Polity” หรื อ “อ ามาตยาธิ ป ไตย” 1 ของ Fred W. Riggs2 นับ เป็ นชุ ด
คาอธิ บายซึ่ งเป็ นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางในแวดวงวิชาการ แม้วา่ ด้านหนึ่ งชุ ดคาอธิ บายนี้ จะยังไม่
ครอบคลุ มการอธิ บ ายพฤติ ก รรมของกลุ่ ม ก้อนตัวแสดงทางประวัติศ าสตร์ บ างกลุ่ ม เช่ น สถาบัน
พระมหากษัตริ ยซ์ ่ ึ งปฏิ เสธไม่ได้วา่ เป็ นส่ วนหนึ่ งและเป็ นองค์ประกอบสาคัญของกลุ่มชนชั้นนาไทย
ในประวัติศ าสตร์ ร่วมสมัย การอธิ บ ายสถาบัน พระมหากษัตริ ย ์ ตลอดจนบุ ค คลและกลุ่ ม คนที่ อยู่

1
ผูเ้ สนอใช้คาแปลนี้ คือ ศาสตราจารย์ พงษ์เพ็ญ ศกุนตภัย รายละเอียดโปรดดู เกษียร เตชะพีระ, “ไพร่ กบั อามาตย์
ปี ศาจวาทกรรม”, ใน สงครามระหว่ างสี ในคืนวันอันมืดมิด (กรุ งเทพฯ: Open books, 2553).
2
Fred W. Riggs, Thailand: The Modernization of a Bureaucratic Polity ( Honolulu: East-West Center Place,
1967).

1
แวดล้อมอย่างที่เป็ นส่ วนหนึ่ งในการวิเคราะห์มองภาพปฏิสัมพันธ์ พลวัต และความเปลี่ยนแปลงของ
กลุ่ มชนชั้นนาไทย จึงเป็ นประเด็นที่ ยงั ไม่มีการพิจารณาอย่างจริ งจัง ดุ ษฎี นิพนธ์ น้ ี สนใจที่ จะศึกษา
ความเปลี่ ย นแปลงทางการเมื อ งไทยระหว่ า ง พ.ศ. 2495-2535 โดยเลื อ กพิ จ ารณาผ่ า นความ
เปลี่ ยนแปลงของเครื อข่ายชนชั้นนาไทยที่ สัมพันธ์กบั สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ เนื่ องจากการที่จะทา
ความเข้าใจการเมื องไทยในช่ วงเวลาดังกล่าวได้อย่างลึ กซึ้ งจาเป็ นอย่างยิ่งที่ จะต้องเข้าใจพลวัตทาง
การเมือง เศรษฐกิ จ และวัฒนธรรม ที่ สัมพันธ์กบั เครื อข่ายชนชั้นนาไทยกลุ่มนี้ ซึ่ งเป็ นเครื อข่ายที่ มี
บทบาทสาคัญอย่างโดดเด่น ทั้งนี้ เราอาจใช้คาเรี ยกเครื อข่ายชนชั้นนาไทยที่เป็ นเป้ าประสงค์และวัตถุ
ในการศึกษาครั้งนี้ดว้ ยคาว่า “สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่าย” (Network Monarchy)

คาว่า “สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย” เคยเป็ นคาที่แพร่ หลายในวงวิชาการและความ


สนใจสาธารณะจากงานศึ กษาของ Duncan McCargo นัก วิชาการด้านรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยลี ดส์
ประเทศอั ง กฤษ ที่ ตี พิ ม พ์ บ ทความเรื่ อง Network Monarchy and Legitimacy Crisis in Thailand
(2005)3 ทั้งนี้ Network Monarchy หรื อ สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย4 เป็ นหนึ่ งในข้อเสนอที่
ท้าทายแนวคิด Bureaucratic Polity ที่ มีอิท ธิ พลครอบงาการวิเคราะห์ การเมื องไทยมาอย่างยาวนาน
เนื่องจาก Bureaucratic Polity ให้ความสาคัญกับชนชั้นนาในระบบราชการและการต่อสู ้ระหว่างกลุ่ม
คนในระบบราชการ คาอธิ บายดังกล่าวจึงสอดรับกับบทบาทของผูน้ าทหารไทยซึ่ งเป็ นกลุ่มที่ ครอง
อานาจในการเมื อ งไทยมาอย่า งยาวนาน นับ ตั้ง แต่ ห ลัง การเปลี่ ย นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
ต่อเนื่ องถึ งยุคสมัยจอมพลสฤษดิ์ -ถนอม อี กทั้ง Bureaucratic Polity ยังเป็ นแนวคิ ดที่ ส อดรั บ กับ มิ ติ
ประวัติศาสตร์ เชิ งพัฒนาการว่าด้วยกระบวนการเข้าสู่ ประชาธิ ป ไตย (Democratization) โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ นับตั้งแต่หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ที่บทบาทของทหารต่อการเมืองไทยค่อยๆ เสื่ อมถอย
ลงเป็ นลาดับ

อย่างไรก็ตาม กรอบคิด Bureaucratic Polity กลับบดบังและลดทอนความซับซ้อนของกลุ่ ม


ก้อ นตัว แสดงต่ า งๆ ในประวัติ ศ าสตร์ ไ ปไม่ น้ อ ย โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง กลุ่ ม ก้อ นตัว แสดงที่ อ ยู่ใ น
ปริ มณฑล “เหนื อการเมือง” เช่ น สถาบันพระมหากษัตริ ย5์ ต่อประเด็นนี้ McCargo มี ขอ้ เสนอว่าใน
การจะทาความเข้าใจวิเคราะห์การเมืองไทย สิ่ งที่จะสามารถช่วยให้เกิดความเข้าใจได้อย่างเป็ นระบบ

3
Duncan McCargo, Network Monarchy and Legitimacy Crisis in Thailand, The Pacific Review, 18(4) (December,
2005).
4
ผูเ้ สนอใช้คาแปลนี้ คือ ศาสตราจารย์ ดร. นิธิ เอียวศรี วงศ์.
5
ดู ธงชัย วินิจจะกูล, “ข้ามให้พน้ ประชาธิ ป ไตยแบบหลัง 14 ตุลาฯ”, ใน ประชาธิ ป ไตยที่ มีพ ระมหากษั ตริ ย์อ ยู่
เหนือการเมือง (นนทบุรี: ฟ้ าเดียวกัน, 2556).

2
ได้คือการมองการเมืองในฐานะการต่อสู ้แข่งขันกันระหว่าง “เครื อข่าย” (Network) ในกลุ่มของชนชั้น
นาไทยด้วยกันเอง โดยเครื อข่ายที่มีอิทธิ พลต่อการเมืองไทยเป็ นอย่างมากในช่ วงเวลา 3-4 ทศวรรษที่
ผ่านมา คือ สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่าย6

อนึ่ง หากพิจารณาจากคาว่า “สถาบัน” และ “เครื อข่าย” ย่อมแสดงให้เห็นว่ามิได้เฉพาะเจาะจง


ที่องค์พระมหากษัตริ ยใ์ นฐานะบุ คคลเพียงอย่างเดี ยว แต่หมายรวมถึ งบุ คคลแวดล้อมตัวแสดงอื่ นๆ
และองคาพยพที่อยูร่ ายล้อมรอบองค์พระมหากษัตริ ย ์ กลุ่มก้อนตัวแสดงเหล่านี้ อาจมีท้ งั มิติของความ
จงรักภักดี เงื่อนไขผลประโยชน์ อุ ดมการณ์ หรื อ สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งที่ กล่าวมาร่ วมกัน ทั้งนี้ ในการรับ รู ้
ปั จจุบนั กลุ่มก้อนตัวแสดงที่กล่าวได้วา่ สังกัดอยูใ่ นสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย จากการรับรู ้
โดยผ่านงานของ McCargo และงานวิช าการต่างๆ ได้แก่ องคมนตรี กองทัพ กลุ่ มธุ รกิ จขนาดใหญ่
ผูน้ าภาคประชาสังคม รวมถึงกลุ่มชนชั้นกลางซึ่ งมีลกั ษณะที่เป็ นแนวร่ วมทางอุดมการณ์

ขณะเดี ย วกัน ควรกล่ า วด้ว ยว่า การใช้ แ นวคิ ด การเมื อ งเชิ ง เครื อ ข่ า ย (Political Network)
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเจาะจงไปที่ “สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย” (Network Monarchy) ใน
ฐานะหน่ วยวิ เคราะห์ ใ นการท าความเข้า ใจการเมื อ งไทยดู จะมี ป รากฏในงานศึ ก ษาอยู่ห ลายชิ้ น
นอกเหนื อจาก Network Monarchy and Legitimacy Crisis in Thailand (2005) ของ Duncan McCargo
ก็ เช่ น King, Country and Constitution: Thailand Political Development 1932-2000. โด ย Kobkua
Suwannathat-Pian (2003),
(2006) โดย Pual M. Handley, โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ : การสถาปนาพระราชอานาจนา
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว (2547) โดย ชนิ ดา ชิตบัณฑิต, วิทยานิ พนธ์ เรื่ อง การเสด็จพระราช
ดาเนิ นท้ องที่ ต่างจังหวั ดของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว ภูมิพ ลอดุลยเดช พ.ศ.2493-2530 (2551)
โดย ปราการ กลิ่ นฟุ้ ง, งานเขี ยนประเภทบทความ เช่ น ควา่ ปฏิ วัติ โค่ นคณะราษฎร: การก่ อตัวของ
ระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข (2551) และ พระบารมีปกเกล้ าฯ ใต้ เงา
อิ นทรี : แผนสงครามจิ ตวิทยาอเมริ กันกับการสร้ างสถาบันพระมหากษัตริ ย์ให้ เป็ นสั ญลักษณ์ (2554)
โดย ณัฐพล ใจจริ ง ฯลฯ งานศึกษาเหล่านี้ ลว้ นปรากฏการใช้ “สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย”
เป็ นหน่ วยวิเคราะห์ร่วมอยูด่ ว้ ย เกี่ยวกับประเด็นนี้ นิ ธิ เอียวศรี วงศ์ เคยตั้งข้อสังเกตไว้วา่ การเมืองเชิ ง
เครื อ ข่ า ยเป็ นพลัง ของทุ ก กลุ่ ม ไม่ ใ ช่ เฉพาะแต่ ส ถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ หากแต่ ก รณี สถาบั น
พระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่ายถือได้วา่ ประสบความสาเร็ จมากกว่ากลุ่มการเมืองทุกกลุ่ม7

6
Dancan McCargo, Network Monarchy and Legitimacy Crisis in Thailand, p. 499.
7
นิ ธิ เอียวศรี วงศ์, “กระฎุมพี การเมืองมวลชนและชุดพระราชทาน”, ใน โมงยามไม่ ผันแปร (กรุ งเทพฯ: มติชน,
2558), หน้า 322.

3
อย่างไรก็ตาม แม้จะปรากฏการใช้แนวคิดการเมืองเชิ งเครื อข่ายและสถาบันพระมหากษัตริ ย ์
เชิ งเครื อข่ายในงานวิชาการร่ วมสมัย ทว่า การศึกษาโดยตรงที่ตวั สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย
ในฐานะที่ เป็ นปั จ จัย ตัว แสดงหลัก อย่า งเป็ นมิ ติ ท างประวัติ ศ าสตร์ ที่ ค รอบคลุ ม และลึ ก ซึ้ ง 8 เช่ น
พัฒนาการและเงื่อนไขที่นามาสู่ การก่อรู ปของเครื อข่ายพลวัตของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย
ในฐานะเครื อข่ายที่ “ประสบความสาเร็ จมากที่สุด” ดาเนิ นไปบนความสัมพันธ์เชิงการต่อสู ้ต่อรองกับ
เครื อ ข่ า ยชนชั้น น าไทยอื่ น ๆ อย่างไรในช่ วงระยะเวลาที่ ส ถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์เชิ ง เครื อ ข่ า ยมี
พัฒนาการก่อรู ปเป็ นร่ างขึ้นมา กล่าวได้วา่ ประเด็นเหล่านี้ ยงั ไม่มีงานศึกษาที่ชดั เจน ด้วยเหตุน้ ี การ
พัฒนาองค์ความรู ้ในเรื่ องนี้ จึงเป็ นสิ่ งที่น่าสนใจอย่างยิ่ง ไม่เพียงเท่านั้น การศึกษาประเด็นดังกล่าวยัง
จะก่อให้เกิดภาพความเชื่ อมโยงและความเข้าใจถึงพลวัตความเปลี่ยนแปลงของเครื อข่ายชนชั้นนาไทย
ที่เป็ นองค์รวมได้อย่างลึกซึ้ งมากขึ้น จากฐานคิดมุมมองที่เป็ นวิชาการและการให้คุณค่าความสาคัญกับ
กลุ่มก้อนตัวแสดงทางประวัติศาสตร์ กลุ่มนี้ (สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย) ซึ่ งมีอิทธิ พลทั้ง
ทางด้านการเมื องวัฒ นธรรม ความคิ ด ภูมิ ปัญ ญา ภายใต้เงื่ อนไขทางประวัติศาสตร์ ที่ การเมื องเชิ ง
เครื อข่ายของชนชั้นนาไทยกลุ่มอื่นๆ ต่างไม่ประสบความสาเร็ จในการครอง “อานาจนา” หรื อ “อริ ย
สิ ทธิ์” (Hegemony) ได้เท่ากับกรณี ของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่าย

กระนั้นก็ตาม เนื่ องจากคาว่า “เครื อข่าย” เป็ นคาที่สะท้อนความสัมพันธ์ได้ท้ งั ในเชิงกว้างและ


เชิงลึก อีกทั้งที่ผา่ นมายังไม่มีงานศึกษาที่ให้ภาพตลอดจนการจากัดความ “สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิง
เครื อข่าย” อย่างชัดเจนโดยตรงมาก่อน ต่อประเด็นนี้ จากการสังเคราะห์งานศึกษาจานวนหนึ่ ง9 ผูว้ ิจยั
ได้ต้ งั ข้อสังเกต 3-4 ประการ ถึ งลักษณะสาคัญ ตลอดจนนัยแห่ งความเปลี่ ยนแปลงอย่างสังเขปของ
สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย เพื่อใช้เป็ นกรอบในการทาความเข้าใจในการศึกษาดุษฎีนิพนธ์
ดังนี้

อัน ดับ แรก หากพิ จารณาอย่างวิเคราะห์ เจาะจงบนฐานคิ ดการเมื องเชิ งเครื อข่ าย “สถาบัน
พระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย” หรื อ Network Monarchy ย่อมสามารถพิจารณาได้ในฐานะที่เป็ นส่ วน
หนึ่ งของกลุ่ ม ก้อ นตัว แสดง (Faction) ภายใต้โ ครงสร้ า งการเมื อ งเชิ ง เครื อ ข่ า ยชนชั้น น าไทย อัน
ประกอบไปด้วยคนกลุ่มต่างๆ นับตั้งแต่ พระบรมวงศานุ วงศ์ ชนชั้นนาในระบบราชการ ผูน้ าทหาร
เทคโนแครต นักการเมือง ชนชั้นนาทางธุ รกิจ (ทั้งกลุ่มเก่า-ใหม่) ตลอดจนคนกลุ่มใหม่ๆ ที่ปรากฏตัว

8
แม้แต่งานเขียน Network Monarchy and legitimacy crisis in Thailand ของ Duncan McCargo (2005) ก็เป็ นลักษณะ
ของการตั้งข้อสังเกตและเชื่ อมโยงข้อมูลบทบาทของกลุ่มก้อนตัวแสดงในสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิง เครื อข่ายที่
เห็นในช่วงประวัติศาสตร์ยคุ ใกล้ คือราวทศวรรษ 2530-พ.ศ. 2549 ก่อนการรัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549.
9
ดูตวั อย่างงานศึกษาเหล่านี้ในหัวข้อที่ 1.5 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

4
ขึ้นมา เช่ น ชนชั้นกลางแรงงาน “คอปกขาว” (White Collar) เป็ นต้น ทั้งนี้ การจาแนกนิยามทาความ
เข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่างกลุ่ มก้อนตัวแสดงแต่ละกลุ่มสามารถพิจารณาลงลึ กได้อย่างซับซ้อน10
โดยองค์ประกอบและการจัดวางความสัมพันธ์ เครื อข่ายชนชั้นนาไทยที่ กล่ าวมาเหล่ านี้ ลว้ นเป็ นผล
สื บเนื่องจากเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็ นสาคัญ แม้วา่
บางส่ วนของสมาชิกเครื อข่ายชนชั้นนาไทยจะเคยมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันทั้งในทางวัฒนธรรม การ
แต่งงาน ตลอดจนผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เคยมีร่วมกันมาก่อน ทว่า ในสถานการณ์ ที่เปลี่ ยนไป
หลัง พ.ศ. 2475 ที่ เกิ ด การต่ อ สู ้ ต่ อ รองโดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง ระหว่ า งสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ กับ
คณะราษฎร จุดเปลี่ยนทางการเมืองไม่วา่ จะเป็ นการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐประหาร
พ.ศ. 2490 รัฐประหาร พ.ศ. 2500 ฯลฯ ตลอดจนปั จจัยจากภายนอก เช่ น สงครามโลกครั้ งที่ 2 ใน
ทศวรรษ 2480 อิทธิ พลของสหรัฐอเมริ กาในทศวรรษ 2490-2500 ฯลฯ

สิ่ ง เหล่ า นี้ ล้ว นมี ผ ลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงสถานภาพ การปรากฏตัว แสดงใหม่ ๆ รวมถึ ง
สัมพันธภาพและการจัดวางความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มก้อน ตัวแสดง ที่เป็ นสมาชิกเครื อข่ายชนชั้นนา
ไทยทั้งเก่า-ใหม่ ซึ่ งแตกต่างไปจากก่อน พ.ศ. 2475 อย่างสิ้ นเชิ ง ไม่ว่าจะเป็ นปรากฏตัวของกลุ่ มตัว
แสดงฝ่ ายกษัตริ ยน์ ิยมที่ห่างไกลจากคุณลักษณะ “เลือดสี น้ าเงินเข้ม” ดังเช่นยุคก่อน 247511 การปรากฏ
ตัวของกลุ่มผูน้ าทหารที่ไม่ศรัทธาแนวคิดรัฐธรรมนูญนิ ยม เช่น จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และพวกพ้อง
หรื อการเกิ ดขึ้นของบรรดา “เจ้าสัวใหม่” ในช่ วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 212 ซึ่ งแตกต่างไปจากกลุ่ ม
เจ้าสัวเก่า หรื อ “จีนผูด้ ีบางกอก”13 ตลอดจนการเกิ ดขึ้นของชนชั้นกลางประเภท “คอปกขาว” (White
Collar) ตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 2500 เป็ นต้นมา

10
รายละเอียดเกี่ยวกับประเด็นนี้ ผูส้ นใจสามารถดูได้จากงานเขียน รวมถึงปาฐกถาวาระต่างๆ ของ ศาสตราจารย์ ดร.
นิ ธิ เอียวศรี วงศ์ อาทิ นายกพระราชทาน, มติ ชนรายวัน (4, 11 เมษายน พ.ศ. 2554) พลวัตชนชั้นนาไทย, มติ ชน
รายวัน (1, 8, 15 ตุ ล าคม พ.ศ. 2555) ปาฐกถา “เสรี ภาพ ประชาธิ ป ไตยกับ สั งคมไทยในระยะเปลี่ ย นผ่า น” (21
กุมภาพันธ์ 2556) บทความขนาดยาว 8 ตอน ว่าด้วยการเมืองมวลชนกับกระฎุมพี ทยอยตีพิมพ์ใน มติชนสุดสั ปดาห์
ตั้งแต่ฉบับวันที่ 13 มิถุนายน 2557.
11
ตัวอย่างที่ชดั เจนที่ สุดคือการที่เจ้านายราชสกุล “มหิ ดล” (รัชกาลที่ 8 และรัชกาลที่ 9) ซึ่ งทรงมีเลือดสามัญชนอยู่
ครึ่ งหนึ่ง ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็ นพระมหากษัตริ ยโ์ ดยมติของรัฐสภาและความเห็นชอบในหมู่พระราชวงศ์.
12
ตัวอย่างของเจ้าสัวกลุ่มนี้ เช่น นายชิ น โสภณพนิ ช แห่ งธนาคารกรุ งเทพ นายถาวร พรประภา แห่ งสยามกลการ
นายเทียม โชควัฒนา แห่ งเครื อสหพัฒน์ นายสุ กรี โพธิ รัตนังกูร เจ้าพ่ออุตสาหกรรมสิ่ งทอไทย นายสหัส มหาคุณ
ผูร้ ิ เริ่ มตานานธุรกิจสุราและแบรนด์แม่โขง ฯลฯ.
13
คือ กลุ่มพ่อค้าจีน ที่ทาราชการมาแต่สมัยต้นรัตนโกสิ นทร์ โดยมากมักรับราชการในกรมท่าซ้าย บ้างเป็ นเจ้าภาษี
นายอากร ตัวอย่างเช่น บรรพบุรุษต้นตระกูล กัลยาณมิตร ไกรฤกษ์ โชติกเสถียร พิศาลบุ ตร โปษยานนท์ โปษยะ
จินดา ฯลฯ ในเวลาต่อมา พวกขุนนางเชื้อสายจีนเหล่านี้ ยังได้พฒั นาความสัมพันธ์กบั กลุ่มพ่อค้าจีนที่เป็ น Subjects

5
ดังที่ ได้กล่ าวข้างต้น เนื่ องจากสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ายไม่ใช่ ท้ งั หมด หากเป็ น
ส่ วนหนึ่ งในโครงสร้างการเมืองเชิ งเครื อข่ายชนชั้นนาไทย การก่อรู ปของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ ง
เครื อข่ายจึงเกิ ดขึ้นบนความสัมพันธ์อย่างมีพลวัตกับกลุ่มก้อนตัวแสดงต่างๆ ในโครงสร้างการเมือง
เชิ งเครื อข่ายนี้ เอง ด้วยเหตุน้ ี ช่วงหลายทศวรรษที่ผา่ นมาเส้นทางเดิ นของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ ง
เครื อข่ายจึงปรากฏการต่อสู ้ ต่อรอง ประนีประนอม ผสานผลประโยชน์ ทั้งโดยเปิ ดเผยและโดยนัย อา
พรางกับกลุ่มอื่นๆ ในสมาชิกเครื อข่ายชนชั้นนาไทยอยูเ่ สมอ

หากพิจารณาช่ วงระยะเวลาที่สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ายได้มีปฏิ สัมพันธ์ กบั กลุ่ ม


ก้อนตัวแสดงต่างๆ ในโครงสร้างการเมืองเชิ งเครื อข่าย อาจปักหมุดหมายสาคัญที่ พ.ศ. 2495 ซึ่ งเป็ นปี
ที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 (พ.ศ. 2470-2559) เสด็จฯ กลับมาประทับ
ณ ประเทศไทยอย่างเป็ นการถาวร เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงประทับอยูใ่ นประเทศไทย
พระองค์ไ ด้ด ารงสถานะเสมื อนศู น ย์ก ลางและสั ญ ลัก ษณ์ แห่ งสถาบัน พระมหากษัตริ ย ์อย่า งเป็ น
รู ป ธรรม หลังจากที่ ก่ อนหน้านี้ เป็ นช่ วงระยะเวลาเกื อ บ 2 ทศวรรษ ที่ ป ระเทศไทยไม่ มี พ ระมหา
กษัตริ ยป์ ระทับสถิตอยูอ่ ย่างเห็นองค์เป็ นหลักชัย ทั้งในความรู ้สึกของประชาชนและในมิติความมัน่ คง
ของกลุ่ ม กษัตริ ยน์ ิ ยมเอง ช่ วงเวลาดังกล่ าวจึ งเป็ นจุ ดเริ่ ม ต้นส าคัญ ของกระบวนการ “ก่ อรู ป ” ของ
สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย ที่มีกลุ่มคนต่างๆ เข้ามาเกี่ ยวข้องสัมพันธ์ ดว้ ยกับพระองค์ อาทิ
กลุ่ ม ข้าราชบริ พ าร ข้าราชการสายวัง (ตุ ล าการ มหาดไทย สาธารณสุ ข ตชด. ตารวจ ทหาร ฯลฯ)
นักการเมือง ชนชั้นนาทางธุ รกิ จ ฯลฯ เป็ นผลให้สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ายค่อยๆ ขยายตัว
ออกจากกลุ่มแวดวงใกล้ชิดดั้งเดิมในช่วงต้นรัชกาล

ทั้งนี้ สังเกตได้วา่ การก่อรู ปของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่ายจะมีพฒั นาการที่สัมพันธ์


กับ “พระราชอานาจนา”14 (Royal Hegemony) ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวฯ มาโดยตลอด ด้วย
การมองภาพอย่างกว้างๆ จะพบว่าบางช่วงบางจังหวะสถานการณ์ที่พระราชอานาจนาอยูใ่ นกระแสสู ง
เช่น หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาฯ 2516 สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ายได้ขยายตัวขึ้นจากการเข้ามา
สั ง กัด เข้าร่ วมของสมาชิ ก ชนชั้น น าไทยต่ างๆ ทั้ง โดยกระบวนการคัด เลื อ ก คัด สรร จากสถาบัน
พระมหากษัตริ ย ์เอง บ้างอาจเป็ นเพราะผลประโยชน์ ต่างตอบแทน ความพึ งพอใจตลอดจนความ

หรื อ “สัปเยก” ในบังคับต่างชาติ อาทิ ต้นตระกูลหวัง่ หลี ล่าซา ฯลฯ ซึ่งเป็ นพ่อค้าเอกชน ภายในระยะเวลาไม่ถึงสอง
ช่วงอายุคน บรรดา “จีนผูด้ ีบางกอก” เหล่านี้สามารถกลมกลืนกลายเป็ นส่ วนหนึ่ งชนชั้นนาไทยอย่างแนบสนิท ด้วย
สายสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับราชสานักและระบบราชการไทย.
14
ดูคาอธิบายนี้ในหัวข้อ 1.6 แนวคิดในการศึกษาและการประยุกต์ใช้.

6
ปรารถนาในระบบเกี ยรติ ยศซึ่ งสัม พันธ์ กบั พระราชอานาจนา หรื อบางครั้งสิ่ งนี้ ก็เกิ ดขึ้ นจากความ
พยายามสร้างการถ่วงดุลอานาจในกลุ่มชนชั้นนาไทยด้วยกันเอง

อย่างไรก็ ตาม บนตรรกะที่ ก ารก่ อรู ป ของสถาบัน พระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ าย (Network
Monarchy) สัมพันธ์กบั พระราชอานาจนา (Royal Hegemony) บางช่วงเวลาสถาบันพระมหากษัตริ ย ์
เชิ งเครื อข่ายก็อาจหดเรี ยวลงได้เช่ นกัน เช่ น หลังรัฐประหาร 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 ที่คณะปฏิรูปการ
ปกครองแผ่นดินทาการโค่นล้มรัฐบาลนายธานิ นทร์ กรัยวิเชียร พร้อมๆ กับการที่สมาชิ กเครื อข่ายชน
ชั้นนาไทยจานวนหนึ่ งดูจะถอยห่ างออกมาอย่างรักษาระยะกับสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ กระนั้นก็ตาม
การเมืองเชิ งเครื อข่ายและการก่อรู ปของสถาบันพระมหากษัตริ ยย์ งั คงดาเนิ นสื บเนื่ องมาในทศวรรษ
2520 จวบจนกระทัง่ ราวกลางทศวรรษ 2530 ที่การก่อรู ปดังกล่าว เดินทางมาถึงจุด “อยูต่ วั ” ด้วยเพราะ
ความสาเร็ จของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ายที่มีเหนื อสมาชิ กเครื อข่ายชนชั้นนาไทยทุกกลุ่ม
สิ่ งนี้ สั มพันธ์ กบั ช่ วงจังหวะที่ พ ระราชอานาจนาขึ้ นสู่ กระแสสู งอี กครั้ งในช่ วงกลางทศวรรษ 2520
และเดิ นมาสู่ จุดสู งสุ ดในช่ วงหลังเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ 2535 (และจักดาเนิ นต่อเนื่ องและดารงอยู่
เกื อบตลอดช่ วงทศวรรษ 2540) สังเกตได้ว่า ช่ วงเวลานี้ ส มาชิ กเครื อข่ายชนชั้นนาไทยทุ กกลุ่ มต่าง
ยินยอมน้อมรับพระราชอานาจนา (Royal Hegemony) โดยดุษณี

กระนั้นก็ ตาม อาจตั้งข้อสั งเกตได้ว่า กระบวนการ “ยิน ยอมน้อมรับ โดยดุ ษ ณี ” เช่ น นี้ ได้
เกิดขึ้นในสภาวการณ์ ที่สมาชิ กเครื อข่ายชนชั้นนาไทยต่างมี ฉันทามติร่วม (Consensus) ที่เห็นพ้องจะ
หยิบยกเชิ ดชู สถาบันพระมหากษัตริ ยข์ ้ ึ นมาอย่างมี จุดมุ่งหมายทางการเมื อง (Political Project) ของ
พวกเขาเองด้วยเช่นกัน โดยสิ่ งที่เรี ยกว่า ฉันทามติร่วม (Consensus) นี้ อาจเป็ นได้ท้ งั เรื่ องผลประโยชน์
เป็ นข้อตกลงในการอยู่ร่วมกัน ได้อย่างมี ดุ ล ยภาพซึ่ งอาจไม่ ไ ด้ระบุ ไ ว้อย่างเป็ นลายลัก ษณ์ อกั ษร
หากแต่เป็ นเงื่ อนไขที่ เกิ ดขึ้ นจากกลไกทางวัฒนธรรมมากกว่า เช่ น การแบ่ งสั นอานาจ คานอานาจ
ปฏิ เสธการควบรวมอานาจไว้แต่เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ ง การละเมิดฉันทามติร่วมของชนชั้นนาไทย
กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ งอาจนามาซึ่ งการเสี ยดุลยภาพตลอดจนอานาจผลประโยชน์ที่ แบ่งสันกันลงตัวแล้ว15
ดัง นั้ น ฉั น ทามติ ร่ ว ม (Consensus) จึ ง เป็ นสิ่ งส าคัญ ที่ ช นชั้ น น าไทยทุ ก กลุ่ ม ซึ่ งรวมถึ ง สถาบั น
พระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย จาเป็ นต้องเคารพยึดถือเพื่อการอยูร่ ่ วมกัน สาหรับคาอธิ บายเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปรพระราชสถานะของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในช่วงทศวรรษ 2520-ต้นทศวรรษ 2530
ที่สัมพันธ์กบั เงื่อนไข พระราชอานาจนา (Hegemony) (ที่เพิ่มมากขึ้น) และ ฉันทามติร่วม (Consensus)
ของชนชั้นนาไทย สิ่ งนี้ อาจเป็ นดังลักษณะที่ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล เคยตั้งข้อสังเกตไว้ นัน่ คือ พระองค์

15
โปรดดู นิธิ เอียวศรี วงศ์, “รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรมไทย”, ใน ชาติไทย เมืองไทย แบบเรี ยน และอนุสาวรี ย์ว่า
ด้ วยวัฒนธรรม, รั ฐ และรู ปการจิตสานึก (กรุ งเทพฯ: มติชน, 2538).

7
ได้ทรงเคลื่อนผ่านสถานะ ...จากประมุขของกลุ่มปกครอง16 กลายเป็ นประมุขของชนชั้นปกครอง...”
(From Head of a Ruling Clique to Head of Ruling Class)17

นอกจากนี้ หากพิจารณาในแง่บุคลิ กลักษณะ (Character) ของกลุ่มก้อนตัวแสดงที่ มกั เข้ามา


เกี่ ยวข้องและสังกัดอยู่ในสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย พบว่าปรากฏลักษณะความสัมพันธ์
แบบ “อิสระเชิ งสัมพัทธ์ ” (Relative Autonomy) อยูไ่ ม่น้อย สิ่ งนี้ อาจเห็ นได้ชดั เจนในกรณี กลุ่มก้อน
ตัว แสดงที่ มี ส ถานภาพบทบาทไม่ ส อดคล้ อ งนั ก กับ ภาพลัก ษณ์ ใ นทางพระราชกรณี ยกิ จ ของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ อาทิ ผูน้ าทหาร นักการเมือง เทคโนแครต โดยที่กลุ่มคนเหล่านี้ ต่างก็มี
เป้ าหมายทางการเมื อ ง อุ ด มการณ์ ผลประโยชน์ กระทั่ง กลุ่ ม มวลชนที่ ต้อ งให้ ค วามส าคัญ เพื่ อ
วัตถุประสงค์ทางการเมืองของตนเอง หรื อกรณี ของ “ข้าราชการสายวัง” ซึ่ งโดยสถานะบทบาทแล้ว
พวกเขาเป็ นทั้งข้าราชการที่ทาหน้าที่ฟันเฟื องขับเคลื่อนตอบสนองตามนโยบายรัฐและผูบ้ งั คับบัญชา
ขณะเดี ยวกัน ก็มีความใกล้ชิดกับสถาบันพระมหากษัตริ ยใ์ นบริ บทของการเป็ นข้าราชบริ พารอยูด่ ว้ ย
ด้วยเหตุน้ ี จึงเป็ นเรื่ องปรกติที่กลุ่มก้อนตัวแสดงซึ่ งมีภาพลักษณ์ใกล้ชิดในสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ ง
เครื อข่าย จึ งมักกลมกลื นอยู่ในโครงสร้ างการเมื องเชิ งเครื อข่ายของชนชั้นนากลุ่ มอื่ นๆ ด้วย ตราบ
จนกระทัง่ เมื่อเกิดปรากฏการณ์ช่วงจังหวะที่พระราชอานาจนา (Royal Hegemony) ในพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั ฯ ขึ้นสู่ กระแสสู ง เมื่อนั้นความเป็ นสมาชิ กภาพในสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย
จึงจะสาแดงปรากฏออกมาให้เห็ นอย่างโดดเด่นชัดเจน ปั จจัยเหล่ านี้ เองที่ มีผลให้การก่อรู ปสถาบัน
พระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย มักมีพลวัตที่ สัมพันธ์ กบั เงื่ อนไขทางประวัติศาสตร์ อยู่มาก ดังปรากฏ
ลักษณะการเข้า-ออก การแสดงตนเข้าหา การถอยห่ าง ตลอดจนกระบวนการคัดเลือกคัดสรรอยู่เป็ น
ระยะๆ ตราบเท่ าที่ ส ถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ าย ยังมิ อาจอยู่ในสถานะการครองอานาจนา
(Hegemony) เหนื อชนชั้นนาไทยกลุ่มต่างๆ ได้อย่างแท้จริ ง ซึ่ งก็คือช่ วงระยะเวลาที่ดุษฎี นิพนธ์น้ ี ให้
ความสาคัญ คือ ระหว่าง พ.ศ. 2495-2535 นัน่ เอง

ดังที่ ก ล่ าวมาทั้ง หมดจะเห็ น ได้ว่า สถาบัน พระมหากษัตริ ย ์เชิ ง เครื อข่ าย นับ เป็ นประเด็ น
การศึกษาที่มีความซับซ้อนทั้งในแง่กลุ่มก้อนตัวแสดงที่หลากหลาย ตลอดจนความซับซ้อนในแง่มิติ
ความสัมพันธ์ที่ไม่ได้หยุดนิ่งตายตัว โดยภาพรวมการศึกษาประเด็นว่าด้วยสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ ง
เครื อข่ายอย่างเป็ นมิติทางประวัติศาสตร์ ย่อมทาให้เห็นภาพความเป็ นจริ งของระบบความสัมพันธ์ทาง
อานาจในกลุ่มชนชั้นนาไทยที่ถือได้ว่าเป็ น “เครื อข่ายที่ ประสบความสาเร็ จมากที่สุด” ที่เกิ ดขึ้นและ

16
อนึ่ ง ค าว่า กลุ่ ม ปกครอง (Ruling Clique) ของ สมศัก ดิ์ เจี ย มธี ร สกุล ในความเข้าใจของผูเ้ ขี ย นย่อ มหมายถึ ง
สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่าย ในช่วงก่อนถึงจุด “อยูต่ วั ” นัน่ เอง.
17
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, “หลัง 14 ตุลา”, ฟ้ าเดียวกัน, 3(4) (ตุลาคม-ธันวาคม, 2548), หน้า 170.

8
คลี่ คลายเปลี่ยนแปลงไปท่ามกลางระบบการเมืองและเศรษฐกิ จ พร้อมกันนี้ ยงั ทาให้เห็ นพลวัตความ
เปลี่ยนแปลงที่เกิ ดขึ้นภายในเครื อข่ายชนชั้นนาไทยในประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยอย่างสาคัญ ซึ่ งช่วยให้
เข้าใจความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของไทยได้อย่างลึกซึ้ งขึ้นด้วย

1.2 วัตถุประสงค์ กำรวิจัย

เพื่อศึกษาการก่อรู ปและความเปลี่ ยนแปลงของเครื อข่ายชนชั้นนาไทย ระหว่าง พ.ศ. 2495-


2535 โดยให้ความสาคัญเป็ นพิเศษแก่ “สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่าย”

1.3 ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ำจะได้ รับ

1. องค์ความรู ้ใหม่ในวงวิชาการต่อประเด็นสถาบันพระมหากษัตริ ยผ์ ่านมุมมองการเมืองเชิ ง


เครื อข่ าย (Political Network) อัน จะมี ผ ลอย่างส าคัญ ในการท าความเข้าใจความเปลี่ ย นแปลงของ
เครื อข่ายชนชั้นนาไทยได้อย่างเป็ นมหภาคองค์รวม

2. แนวการวิเคราะห์เครื อข่ายทางการเมืองที่มีความซับซ้อนของกลุ่มก้อน-ตัวแสดง บนความ


เปลี่ยนแปลงที่มีลกั ษณะเฉพาะในมิติทางเวลา โดยที่บุคคลและกลุ่มบุคคลต่างๆ ล้วนมีบทบาท อานาจ
และผลประโยชน์ ในเครื อข่าย มิ ใช่ เป็ นเครื อข่ายที่ มี ลกั ษณะสถิ ตและมี แต่เฉพาะผูม้ ี อานาจนาหรื อ
ตัวแทนเท่านั้นที่มีบทบาทและอานาจอย่างโดดๆ

1.4 สมมุติฐำนในกำรวิจัย

“สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย” (Network Monarchy) นับเป็ นกลุ่มก้อนตัวแสดงหนึ่ ง


ในกลุ่ม (Factions) ต่างๆ ภายใต้โครงสร้างการเมืองเชิ งเครื อข่ายของชนชั้นนาไทย ที่เกิดขึ้นภายหลัง
เปลี่ ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ทั้งนี้ การก่อรู ปของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ายล้วน
เกิ ดขึ้นภายใต้ปฏิ สัมพันธ์การต่อสู ้ ต่อรอง ประนี ประนอม ประสานประโยชน์ ระหว่างกลุ่มก้อนตัว
แสดงต่างๆ ในโครงสร้างการเมืองเชิ งเครื อข่ายของชนชั้นนาไทยเหล่านี้ นนั่ เอง และเนื่ องจากการก่อ
รู ปของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย ตั้งอยูบ่ นสมมุติฐานที่ยึดโยงอยูก่ บั องค์พระมหากษัตริ ย ์
คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พลวัตการก่อรู ปของเครื อข่ายจึงสัมพันธ์
กับ “พระราชอ านาจน า” (Royal Hegemony) ตลอดจนเงื่ อ นไขทางประวัติ ศ าสตร์ ที่ มี ผ ลในทาง
เกื้ อหนุ นพระราชอานาจนาให้เพิ่มพูนขึ้น ซึ่ งสิ่ งนี้ เป็ นปั จจัยชักนาให้บุคคล กลุ่มก้อน ตัวแสดงอื่นๆ
ในโครงสร้ างการเมื องเชิ งเครื อข่ าย นาตัวเองเข้าไปมี ป ฏิ สั ม พันธ์ ก ับ สถาบันพระมหากษัตริ ยด์ ้วย
วัตถุประสงค์เป้ าหมายที่แตกต่างกัน โดยที่หากบุคคลหรื อกลุ่มคนเหล่านั้นไม่ละเมิดฉันทามติของชน
ชั้นนาในระดับที่ส่งผลกระทบต่อคนอื่นๆ หรื อกลุ่มอื่นๆ ก็จะเป็ นที่ยอมรับ แต่ถา้ เป็ นไปในลักษณะ

9
ตรงกัน ข้า มก็ จ ะถู ก ขจัด ออกไป ขณะเดี ย วกัน ฝ่ ายสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์เชิ ง เครื อ ข่ า ยเองก็ มี
กระบวนการคัดเลือกคัดสรรบุคคลเข้าสู่ เครื อข่าย ทั้งโดยการเลือกเพื่อตอบสนองจุดประสงค์ในการ
ทางานอย่างมีเป้ าหมาย ซึ่ งสะท้อนความพยายามที่จะจัดวางดุ ลอานาจภายใต้โครงสร้ างการเมืองเชิ ง
เครื อข่ายชนชั้นนาไทยอย่างสาคัญด้วยเช่นกัน

ต่อประเด็นนี้ จึงอาจกล่าวได้วา่ บุคลิกลักษณะ (Character) ของกลุ่มก้อนตัวแสดงที่เข้าสังกัด


อยู่ใ นสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์เชิ ง เครื อ ข่ าย ด้านหนึ่ งจึ ง เป็ นไปในลัก ษณะ “อิ ส ระเชิ งสั ม พัท ธ์ ”
(Relative Autonomy) ที่ เคลื่ อ นไหวเปลี่ ย นแปลงสถานะบทบาทตนเองไปตามสถานการณ์ ท าง
ประวัติศาสตร์ และหมุดหมายแห่ง “พระราชอานาจนา” นอกจากนี้ ในฐานะที่สถาบันพระมหากษัตริ ย ์
เชิ งเครื อข่าย คือ หนึ่ งในกลุ่มก้อนตัวแสดงภายใต้โครงสร้ างการเมืองเชิ งเครื อข่ายของชนชั้นนาไทย
ดังนั้น สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย ย่อมต้องอยู่ภายใต้เงื่ อนไขกรอบโครงของสิ่ งที่ เรี ยกว่า
“ฉันทามติร่วม” (Consensus) ของชนชั้นนาไทย ซึ่ งสิ่ งนี้ มีผลอย่างสาคัญทั้งในแง่การเกื้ อหนุ น หรื อ
บั่น ทอน “พระราชอ านาจน า” ได้ ท้ ัง สองทาง โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในกรอบห้ ว งเวลาที่ ส ถาบัน
พระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย ยังมิอาจอยูใ่ นสถานะการครองอานาจนา (Hegemony) เหนื อชนชั้นนา
ไทยกลุ่ มต่างๆ ได้อย่างแท้จริ ง ปฏิ กิริยาระหว่างบุ คคลหรื อกลุ่ มก้อนตัวแสดงต่างๆ ก็จะเป็ นไปใน
ลักษณะของการต่อสู ้ทางการเมืองภายในเครื อข่ายชนชั้นนาไทยอย่างเข้มข้น

ดังที่กล่าวมา การศึกษาที่ให้ความสาคัญเป็ นพิเศษแก่ “สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย”


(Network Monarchy) ทั้งในแง่กระบวนการก่อรู ปและพลวัตที่เกิดขึ้น ด้านหนึ่ งจึงน่าจะเป็ นข้ออธิบาย
ที่สอดรับเป็ นอย่างดี ในการทาความเข้าใจความเปลี่ ยนแปลงของเครื อข่ายชนชั้นนาไทยอย่างเป็ นมห
ภาคองค์รวม และช่วยให้สามารถเข้าใจความเปลี่ยนแปลงของการเมืองไทยได้อย่างลึกซึ้ งมากขึ้น

1.5 เอกสำรงำนวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

เนื้ อ หาในส่ ว นนี้ เป็ นการทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) เพื่ อ ให้ ภ าพพรมแดน
ความรู ้ ที่ เกี่ ย วข้อ งกับ ประเด็ น เครื อ ข่ า ยชนชั้น น าไทย โดยให้ ค วามส าคัญ เป็ นพิ เศษแก่ “สถาบัน
พระมหากษัตริ ย ์เชิ ง เครื อข่ าย” กลุ่ ม ตัวอย่างในงานทบทวนวรรณกรรมผูว้ ิจยั จะได้วิเคราะห์ เพื่ อ
ประเมินสถานะ “การมี อยู่/ไม่ มีอยู่” ของประเด็น “สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ าย” จากงาน
ศึกษานั้นๆ การนาเสนอจะให้ภาพที่ไล่เรี ยงลาดับงานศึกษาจากอดีตถึงมาจนถึงช่วงเวลาของการศึกษา
ครั้งนี้ (พ.ศ. 2558)

ในแวดวงวิช าการไทยศึ ก ษา หมุ ดหมายแรกเริ่ ม ส าคัญ ของงานวิช าการที่ ป รากฏประเด็ น


เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริ ยใ์ นประวัติศาสตร์ ร่วมสมัย คือ วิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาเอกของ

10
ทักษ์ เฉลิ มเตียรณ (1974) เรื่ อง The Sarit Regime, 1957-1963: The Formative Years of Modern Thai
Politics. ซึ่ งต่ อ มาได้ รั บ การแปลเป็ นภาษาไทยในชื่ อ การเมื อ งระบบพ่ อขุ น อุ ป ถั ม ภ์ แ บบเผด็ จ
การทหาร (2526) แม้วา่ ใจความหลักของงานจะเป็ นการศึกษาการเมืองไทยในยุคจอมพลสฤษดิ์ ธนะ
รัชต์ (พ.ศ. 2501-2506) หากแต่มีประเด็นวิเคราะห์ เกี่ ยวกับสถาบันพระมหากษัตริ ยท์ ี่ สาคัญคือ การ
ฟื้ นฟูสถาบันพระมหากษัตริ ยข์ องจอมพลสฤษดิ์ในช่วงต้นทศวรรษ 2500 ซึ่ งเป็ นปั จจัยสาคัญหนึ่งใน
การสร้ างความชอบธรรมของรัฐบาลเผด็จการทหารในการโค่นล้มอานาจ จอมพล ป. พิบูลสงคราม
นัยหนึ่ งทั้งจอมพลสฤษดิ์และสถาบันพระมหากษัตริ ยจ์ ึงต่างสนับสนุนซึ่ งกันและกัน ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ อง
ที่รัฐบาลสนับสนุ นการฟื้ นฟูพระราชพิธีต่างๆ ซึ่ งเคยถูกยกเลิกไปในช่วงหลัง พ.ศ. 2475 ให้ปรากฏแก่
สาธารณะอี ก ครั้ ง ตลอดจนธรรมเนี ย มปฏิ บ ัติ ที่ เป็ น “ประเพณี ป ระดิ ษ ฐ์ ” ใหม่ ที่ ส ะท้อ นการให้
ความส าคัญ แก่ ส ถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ นอกจากนี้ จอมพลสฤษดิ์ ยัง ได้ ส่ ง เสริ ม ให้ ส ถาบั น
พระมหากษัตริ ยม์ ีบทบาทในฐานะสถาบัน ที่เชื่อมโยงบูรณาการกลุ่มคนต่าง ๆ ในสังคมไทยซึ่ งทาให้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มีโอกาสประกอบพระราชกรณี ยกิจที่สัมพันธ์กบั สังคมภายนอกมาก
ขึ้ น ทั้ง นี้ การเชิ ด ชู ส ถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ข องจอมพลสฤษดิ์ ส่ ง ผลดี ต่ อ รั ฐ บาลหลายด้า น ทั้ง
ความรู ้ สึ ก ของคนในประเทศที่ ใ ห้ ค วามเคารพศรั ท ธาต่ อสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ และชื่ น ชมใน
ภาพลักษณ์ อนั ทันสมัยและทรงเสน่ ห์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และพระราชิ นี การเชิ ดชู
สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ยังส่ งผลดี ต่อรัฐบาลในด้านอื่นๆ ด้วย เช่ น ภาพลักษณ์ ของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั ฯ ที่มีความเป็ น “ผูด้ ี” ก็ได้ช่วยลดสถานภาพในเชิงลบของรัฐบาลแบบ “พื้นๆ” ในสายตา
ของต่างชาติ ตลอดจนลดภาพลักษณ์ ในเชิ งลบของรัฐบาลเผด็จการที่ เป็ นปฏิ ปักษ์ต่อการเมืองระบบ
รัฐสภาที่ตนได้โค่นล้มมา

สาหรับคาอธิ บายถึงเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ ที่มีผลต่อการจับมือเป็ นพันธมิตรกัน ระหว่าง


ผูน้ าทหารอย่างจอมพลสฤษดิ์ กับ สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ทักษ์ วิเคราะห์วา่ เนื่ องจากจอมพลสฤษดิ์
ตลอดจนนายทหารลูกน้องที่ใกล้ชิดอย่าง พลเอกถนอม กิตติขจร พลโทประภาส จารุ เสถียร เป็ นกลุ่ม
นายทหารที่ไม่ได้มีประสบการณ์ในการศึกษาต่างประเทศ เช่น จอมพล ป. พิบูลสงครามและผูก้ ่อการ
ยุค 2475 โลกทัศ น์ ท างความคิ ด ของทหารกลุ่ ม นี้ ถู ก หล่ อ หลอมมาจากสั ง คมไทย ดัง นั้ นความ
ประทับใจในแนวคิดประชาธิ ปไตย การเมืองระบบรัฐสภา หรื อแนวคิดการเมืองแบบตะวันตก ย่อมมี
น้อยกว่า18 และการที่จอมพลสฤษดิ์เป็ นนายทหารรุ่ นหลังที่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 2475 ทาให้เขาไม่
มีอคติกบั ราชวงศ์ ขณะที่ สถาบันพระมหากษัตริ ยก์ ็รู้สึกไว้วางใจสฤษดิ์ ได้มากกว่าผูน้ าซึ่ งเป็ นอดี ต
คณะราษฎรเช่น จอมพล ป. พิบูลสงคราม
18
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ, การเมืองระบบพ่ อขุนอุปถัมภ์ แบบเผด็จการ แปลโดย พรรณี ฉัตรพลรักษ์ ม.ร.ว. ประกายทอง
สิ ริสุข และธารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ (กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548), หน้า 354.

11
ด้วยต้นทุนทางวัฒนธรรมที่มีอยู่สูงของสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ประกอบกับการที่จอมพล
สฤษดิ์ส่งเสริ มให้สถาบันพระมหากษัตริ ยม์ ีบทบาทในฐานะสถาบันที่เชื่อมโยงบูรณาการกลุ่มคน ต่าง
ๆ ในสังคมไทย ส่ งผลให้ในระยะเวลาไม่นานสถาบันพระมหากษัตริ ยไ์ ด้กลายเป็ นศูนย์รวมแห่ งความ
ชื่นชมยินดีและเป็ นระบบเกียรติยศในที่สุด ประเด็นทิ้งท้ายของทักษ์ที่น่าสนใจ คือ แม้อาจเป็ นไปโดย
มิได้ต้ งั ใจ แต่จอมพลสฤษดิ์ก็ได้ทาให้พระมหากษัตริ ยม์ ีพระราชอานาจมากพอที่จะทรงมีบทบาทเป็ น
อิสระหลังจากที่จอมพลสฤษดิ์ ถึงแก่อสัญกรรมแล้ว ความบกพร่ องในทางการเมืองของผูส้ ื บอานาจ
ต่ อมาเมื่ อ เที ย บกับ จอมพลสฤษดิ์ ได้ท าให้ส ถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ยิ่ง กลายเป็ นศู น ย์รวมของเวที
การเมื องมากขึ้ นอย่างเห็ นได้ชัด19 และเนื่ องจากงานของทักษ์ เน้นการศึ กษาที่ ยุคสมัยของจอมพล
สฤษดิ์ (พ.ศ. 2501-2506) เป็ นส าคั ญ ดั ง นั้ น เขาจึ ง ไม่ ไ ด้ ใ ห้ ภ าพถึ ง กระบวนการที่ ส ถาบั น
พระมหากษัตริ ย ์เริ่ ม กลายเป็ นศู น ย์รวมของเวที ก ารเมื อง ซึ่ งแน่ น อนว่ากระบวนการดังกล่ าวย่อม
สัมพันธ์กบั การก่อรู ปของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่ายในช่วงทศวรรษ 2500 ด้วยเป็ นสาคัญ

หลังจากงานชิ้ นส าคัญของ ทักษ์ (1974) ไม่ ป รากฏงานศึ ก ษาที่ มี ป ระเด็ นใจกลางเกี่ ยวกับ
สถาบันพระมหากษัตริ ยใ์ นประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยอย่างชัดเจน เนื่ องจากงานศึ กษาโดยมากให้ภาพ
กว้า งในเชิ งพั ฒ นาการของการเมื อ งไทย อาทิ งานศึ ก ษาของ David Morell and Chai-anan
Samudavanija (ชั ย อ นั น ต์ ส มุ ท ว ณิ ช ) เรื่ อ ง Political Conflict in Thailand: Reform, Reaction,
Revolution (1981)20 หรื อ งานของ Prudhisan Jumbala (ม.ร.ว. พฤทธิ ส าณ ชุ ม พล) เรื่ อ ง Nation-
Building and Democratization in Thailand: Political History (1992) 21 ใ น ง าน ก ลุ่ ม นี้ ส ถ า บั น
พระมหากษัตริ ยม์ กั ถูกให้ภาพในฐานะตัวแสดงหนึ่งในกระบวนการพัฒนาการการเมืองไทย หากแต่
ก็ไม่ได้เป็ นตัวแสดงที่ถูกศึกษาอย่างลงลึกเจาะจง สิ่ งที่น่าสนใจเห็นจะได้แก่การปรากฏ “ข้อสนเทศ”
และร่ องรอยที่ช้ ี ชวนให้เห็นนัยความสัมพันธ์ที่ไม่ได้เป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันระหว่างราชสานักกับผูน้ า
รัฐบาล ดังตัวอย่างงานศึกษาของ Morell และChai-anan ที่กล่าวถึ งความไม่เห็ นพ้องต้องกันระหว่าง
พระบาทสมเด็ จพระเจ้าอยู่หัว กับ รั ฐบาลจอมพลถนอม เช่ น นับ แต่ ช่ วงปลายทศวรรษ 2500 เริ่ ม
ปรากฏพระราชดารัสถึงข้อวิพากษ์วิจารณ์ รัฐบาลในขณะนั้น ตลอดจนทรงแสดงความห่ วงใยต่อการ

19
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 374.
20
David Morell and Chai-anan Samudavanija, Political Conflict in Thailand: Reform, Reaction, Revolution
(Cambridge, Massachusetts: Oelgeschlager, Gunn & Hain, 1981).
21
Prudhisan Jumbala, Nation-Building and Democratization in Thailand: Political History ( Bangkok:
Chulalongkorn University Social Research Institute, 1992).

12
ใช้ความรุ นแรงในการปราบ พคท. ตลอดจนประเด็นเรื่ องการทุจริ ตคอรัปชัน่ ของบุ คคลในรัฐบาล22
หรื อ งานศึกษาของ ม.ร.ว. พฤทธิ สาณ ที่ระบุวา่ ช่วงต้นทศวรรษ 2510 หลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ
ฉบับ พ.ศ. 2511 และมี การเลื อกตั้งทัว่ ไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเคยมี พระราชดารั สใน
ทานองว่า “รัฐประหารไม่ใช่ สิ่งที่จาเป็ นอีกต่อไป”23 ซึ่ งสื่ อความหมายได้ถึงการปราม “ดักคอ” ผูน้ า
ทหาร ดังนั้น การท ารั ฐประหารตัวเองของจอมพลถนอมเมื่ อปลาย พ.ศ. 2514 จึ งสร้ างรอยร้ าวใน
ความสัมพันธ์ระหว่างราชสานักและผูน้ าทหารที่คาดเดาได้ดงั ที่กล่าวมา แม้วา่ ข้อมูลเหล่านี้ จะเป็ นที่
รับรู ้ รับทราบในหมู่นกั เรี ยนประวัติศาสตร์ และผูส้ นใจประวัติศาสตร์ การเมืองไทย หากแต่คาอธิ บาย
ในเชิงวิเคราะห์เชื่อมโยงเพื่อทาความเข้าใจพลัง พลวัตและปฏิบตั ิการของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ ง
เครื อข่ายที่ก่อตัวขึ้นมานับตั้งแต่ทศวรรษ 2500-ต้นทศวรรษ 2510 ยังคงไม่เห็ นภาพในงานศึกษากลุ่ม
นี้24

การไม่เห็ นภาพกระบวนการก่อรู ปสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย ที่อยูใ่ นงานวิชาการ


ด้านหนึ่ งจึงหมายถึงการไม่มีคาอธิ บายที่กระจ่างชัดถึ งความสัมพันธ์เชิ งอานาจในกลุ่มชนชั้นนาไทย
ยุค หลัง จอมพลสฤษดิ์ ซึ่ งนับ เป็ นช่ อ งว่างในแวดวงวิช าการประวัติ ศ าสตร์ ก ารเมื อ งไทย ช่ วงต้น
ทศวรรษ 2540 สมศักดิ์ เจียมธี รสกุล เคยตั้งข้อสังเกตไว้ในบทความ พระราชหั ตถเลขาสละราชย์ ร.7:
ชี วประวัติของเอกสารฉบับหนึ่ง (2543)25 ว่า ภายหลังการตายของจอมพลสฤษดิ์ พันธมิตรระหว่างราช
ส านักกับ รั ฐบาลทหารเริ่ ม แตกสลายลง ทว่า มรดกการเชิ ดชู ส ถาบันพระมหากษัตริ ยข์ องจอมพล
สฤษดิ์ไม่ได้สูญหายตายตามไปด้วย แต่กลับ “มีชีวิตอิสระ” ของตนเองขึ้นมาอย่างงดงาม26 ทั้งนี้ แม้วา่
สมศักดิ์ จะไม่ได้อธิ บายความเอาไว้ หากแต่คาว่า “มรดกการเชิ ดชูสถาบันพระมหากษัตริ ย ์” และการ
“มี ชี วิตอิ ส ระ” ย่อมน่ าจะเข้าใจได้ถึ งการก่ อตัวของ “พระราชอานาจนา” (Royal Hegemony) และ
เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ายทั้งในมิติทางกายภาพ และอุดมการณ์ซ่ ึ งทั้งสองส่ วน
นี้มีความสัมพันธ์กนั
22
David Morell and Chaianan Samudavanija (1981) อ้างถึ ง ใน ผาสุ ก พงไพษ์จิ ต ร และคริ ส เบเคอร์ , เศรษฐกิ จ
การเมืองไทยสมัยกรุ งเทพฯ (กรุ งเทพฯ: ตรัสวิน, 2539), หน้า 507.
23
Prudhisan Jumbala (1992) อ้างถึงใน ผาสุก พงไพษ์จิตร และคริ ส เบเคอร์, เรื่ องเดียวกัหน้า
24
ควรกล่าวด้วยว่าเนื่ องจากงานศึ กษาในกลุ่มนี้ ถูกใช้เป็ นข้อมูล “ทุติยภูมิ” ในงานประวัติศาสตร์ เชิ งเศรษฐศาสตร์
การเมืองที่ให้ภาพกว้างเล่มสาคัญๆ อาทิ เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุ งเทพฯ (2539) ประวัติศาสตร์ ไทยร่ วมสมัย
(2557) ของผาสุก พงษ์ไพรจิตร และคริ ส เบเคอร์ ดังนั้น งานศึกษาของ ผาสุ ก พงษ์ไพจิตร และคริ ส เบเคอร์ ที่กล่าว
มาจึงยังคงไม่มีความชัดเจนของภาพสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่าย ในงานศึกษาของพวกเขาเช่นกัหน้า
25
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, “พระราชหัตถเลขาสละราชย์ ร.7: ชีวประวัติของเอกสารฉบับหนึ่ง”, ใน ประวัติศาสตร์ ที่เพิ่ง
สร้ าง (กรุ งเทพฯ: 6 ตุลาราลึก, 2544). (เขียนร่ วมกับ ประจักษ์ ก้องกีรติ).
26
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 24.

13
อย่างไรก็ตาม แม้คาว่า “เครื อข่าย” ที่ใช้ในการพิจารณาความสัมพันธ์ทางอานาจระหว่างกลุ่ม
ก้อน ตัวแสดงในโครงสร้างการเมืองไทย จะยังไม่ได้เป็ น “คาหลัก” ที่ถูกใช้ในทางวิชาการ ณ เวลานั้น
หากแต่การคิดเชื่ อมโยงตัวแสดงในเหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ อย่างเป็ นเครื อข่าย น่าจะอยูใ่ นวิธีคิดของ
นักประวัติศาสตร์ เป็ นพื้นฐาน ดังจะพบว่า บทความบางชิ้นของ สมศักดิ์ เจียมธี รสกุล เช่น ใครเป็ นใคร
ในเหตุ ก ารณ์ 6 ตุ ล า (2542)27 ตลอดจนงานเขี ย นที่ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ลทางความคิ ด จากสมศัก ดิ์ เช่ น
บทความของ พุทธพล มงคลวรรณ เรื่ อง กลุ่มพลังฝ่ ายขวาและสถาบันพระมหากษัตริ ย์ในเหตุการณ์ 6
ตุลาคม 2519 (2546)28 ล้วนมองภาพความสั มพันธ์ ของชนชั้นนาไทยอย่างเป็ นเครื อข่ายกลุ่ มอานาจ
ทั้งนี้ สมศักดิ์ และ พุทธพล ตั้งข้อสังเกตถึงการมีอยูข่ องเครื อข่ายกลุ่มอานาจต่างๆ ในช่วงก่อน 6 ตุลาฯ
2519 ที่อาจแบ่งได้เป็ น 4-5 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ 1) กลุ่มทหารของ พล.อ. กฤษณ์ สี วะรา 2) กลุ่มศักดิ นา
ประชาธิ ปั ต ย์-กิ จ สั ง คม 3) กลุ่ ม ฝ่ ายขวาจัด ราชครู -พรรคชาติ ไ ทย 4) กลุ่ ม อ านาจเก่ า ของถนอม-
ประภาส และ 5) กลุ่ม “ศักดินาใหญ่ราชสานัก” ซึ่ งอาจกล่าวได้วา่ กลุ่มท้ายสุ ดนี้ เองคือ แกนกลางของ
สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย ทั้งนี้ สถานภาพบทบาทที่ น่าสนใจของกลุ่ มศักดิ นาใหญ่ ราช
สานัก ที่ได้รับการวิเคราะห์ไว้ นัน่ คือ เนื่ องจากกลุ่มนี้ ไม่มีฐานกาลังของตนเอง ดังนั้น จึงไม่ได้ยืนอยู่
กับกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ งอย่างเด็ดขาดลงไป หากแต่ใช้วิธี “เหยียบเรื อหลายแคม” และสร้างความสัมพันธ์
กับทุกกลุ่ม29 ข้อได้เปรี ยบของกลุ่มศักดินาใหญ่ราชสานัก (หรื อสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย
ในเวลานั้น) คือ ความสาคัญในฐานะที่ เป็ นสัญลักษณ์ ในทางอุ ดมการณ์ และเป็ นศูนย์รวมจิตใจของ
กลุ่ มพลัง “ฝ่ ายขวา” ทั้งปวง30 คาอธิ บายดังกล่าวสะท้อนความสัมพันธ์ เชิ งอานาจภายใต้โครงสร้ าง
การเมืองเชิงเครื อข่าย ณ ขณะนั้นได้เป็ นอย่างดี อย่างไรก็ตาม พุทธพลยังไม่ได้วิเคราะห์วา่ แต่ละบุคคล
และแต่ละกลุ่มเข้ามา และ/หรื อ ออกไปจากเครื อข่ายอย่างไรเพราะเหตุใด

ในเชิ ง รายละเอี ย ด บทความของสมศัก ดิ์ (ใครเป็ นใครในเหตุ ก ารณ์ 6 ตุ ล า) ได้วิเคราะห์


เชื่ อ มโยงบทบาทของบุ ค คลและองค์ก รที่ มี ส่ วนเกี่ ย วข้องกับ เหตุ ก ารณ์ ที่ เกิ ดขึ้ น ในมหาวิท ยาลัย
ธรรมศาสตร์ ช่วงเช้ามืดของวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ซึ่ งโดยสรุ ปแล้ว กล่าวได้วา่ ผูท้ ี่เกี่ยวข้องไม่ว่า
จะเป็ นหน่วยงานหรื อตัวบุคคล ล้วนมีที่มาของประวัติที่คล้ายคลึ งกัน คือมีความใกล้ชิดกับราชสานัก
เช่ น กลุ่ ม ลู กเสื อชาวบ้านที่ ถู ก จัดตั้งโดย ตชด. ตั้งแต่ ตน้ ทศวรรษ 2510 กรณี ของตารวจ ทั้งตารวจ

27
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, “ใครเป็ นใครในเหตุการณ์ 6 ตุลา”, ใน ประวัติศาสตร์ ที่เพิ่งสร้ าง.
28
พุทธพล มงคลวรรณ, “กลุ่ม พลังฝ่ ายขวาและสถาบัน พระมหากษัตริ ยใ์ นเหตุการณ์ 6 ตุ ลาคม 2519”, ใน รวม
บทความทางวิชาการ 25ปี 6 ตุลา ในบริ บทสังคมไทย บรรณาธิการโดย สุ ธาชัย ยิม้ ประเสริ ฐ (กรุ งเทพฯ: 6 ตุลาราลึก,
2546).
29
พุทธพล มงคลวรรณ, เรื่ องเดียวกัน, หน้า 207.
30
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 201.

14
ตระเวนชายแดน ตารวจพลร่ ม กลุ่มเหล่านี้เป็ นผลพวงในยุคสมัยรัฐตารวจของ พล.ต.อ. เผ่า ศรี ยานนท์
ซึ่ งถู กลดบทบาทอานาจลงตั้งแต่ สมัยจอมพลสฤษดิ์ แต่ ได้พ ฒ ั นาความสั มพันธ์ ใกล้ชิดกับสถาบัน
พระมหากษัตริ ยต์ ้ งั แต่ช่วงทศวรรษ 2500 จากพระราชกรณี ยกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯใน
เรื่ องการพัฒ นาชนบท 31 นับ ได้ว่างานของสมศักดิ์ เริ่ ม ท าให้เกิ ดการปะติ ดปะต่อภาพกระบวนการ
ประกอบสร้ างของกลุ่มก้อนตัวแสดง (บางกลุ่ม) ในสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย ที่น่าจะใช้
เป็ นแนวทางในการศึกษาเงื่อนไขที่มีผลต่อกระบวนการประกอบสร้างโดยกลุ่มหรื อบุคคลอื่นๆ ที่เข้า
มาสัมพันธ์ในเครื อข่ายได้เช่นกัน

ช่ วงครึ่ งหลังทศวรรษ 2540 นับ เป็ นระยะเวลาที่ ป รากฏงานศึ ก ษาในประเด็ นเกี่ ยวข้องกับ
สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ กิ ดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน พ.ศ. 254832 หนึ่ งในนั้นคือ งานเขียน
ของ สมศักดิ์ เจียมธี รสกุล เรื่ อง หลัง 14 ตุลา (2548)33 ที่ได้ขยายภาพมิติความสัมพันธ์เชิงอานาจในหมู่
ชนชั้นนาไทยที่สอดรับกับมุมมอง “การเมืองเชิงเครื อข่าย” ทั้งนี้ ควรกล่าวด้วยว่า “หลัง 14 ตุลา” เป็ น
งานเขียนที่สมศักดิ์เขียนขึ้นเพื่อแย้งแนวคิดของ ธงชัย วินิจจะกูล ในบทความขนาดยาวเรื่ อง ข้ ามให้
พ้ นประชาธิ ปไตยแบบหลัง 14 ตุลาฯ (2548)34 สื บเนื่องจาก ธงชัย ต้องการ “ให้สติ” สังคมในขณะนั้น
ที่กาลังหลงลืมประวัติศาสตร์ และมักมีมุมมองต่อความก้าวหน้าและพัฒนาการของประชาธิ ปไตยแต่
เพี ยงมิ ติก ารต่อสู ้ ข องประชาชนกับ ความเลวร้ ายของผูม้ ี อานาจ ไม่ว่าจะเป็ นอานาจเผด็ จการทหาร
(ก่อน 14 ตุลาฯ) หรื อความฉ้อฉลกลโกงของนักการเมือง (หลัง 14 ตุลาฯ) มุมมองดังกล่าวจึงทาให้มกั
มองข้ามปั ญหาว่าด้วยบทบาทสถาบันพระมหากษัตริ ยท์ ี่ครั้งหนึ่ งก็เคยเป็ นตัวแสดงที่ตอ้ งต่อสู ้ดิ้นรน
บนเวทีการเมื องไทย เนื่ องจากความจริ งชุ ดนี้ ถูกแทนที่โดยภาพ “ธรรมราชาผูอ้ ยู่เหนื อการเมือง” ที่
พระมหากษัตริ ยม์ ีส่วนสาคัญในการช่วยให้ภารกิจการสร้างประชาธิ ปไตยบรรลุผล อันเป็ นภาพจาที่มี
อิ ทธิ พลต่อความคิ ดทางการเมื องของคนไทยนับ ตั้งแต่เหตุ การณ์ 14 ตุ ลาฯ 2516 และถู กตอกย้ าใน
เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ 2535

ด้วยเหตุน้ ี คาอธิ บายประชาธิ ปไตยแบบหลัง 14 ตุลาฯ ของธงชัย จึงเป็ นภาพการก่อรู ปของ


ระบอบรัฐสภาโดยกลุ่มทุนและนักการเมือง (ซึ่ งเข้ามาแทนที่อานาจนาของกองทัพ) เป็ นตัวแสดงที่อยู่

31
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, “ใครเป็ นใครในเหตุการณ์ 6 ตุลา”, ใน ประวัติศาสตร์ ที่เพิ่งสร้ าง, หน้า 193-194.
32
ส่ วนหนึ่ งเป็ นผลจากกระแสเรี ยกร้องของสังคมเรื่ องการ “ทวงคืนพระราชอานาจ” โดยกลุ่มพันธมิตรประชาชน
เพื่อประชาธิปไตยเพื่อต่อสู ้กบั รัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ที่ก่อตัวขึ้นใน พ.ศ. 2548 นับเป็ นการปลุกความสนใจ
ทั้งในแง่พลังมวลชนที่ต่อมาได้พฒั นามาเป็ นกลุ่ม “เสื้ อเหลือง” ตลอดจนก่อให้เกิดกระแสวิวาทะในทางวิชาการของ
บรรดานักรัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ซึ่งมีท้ งั ฝ่ ายสนับสนุนและคัดค้านในประเด็นนี้.
33
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, “หลัง 14 ตุลา”, ฟ้ าเดียวกัน, 3(4) (ตุลาคม-ธันวาคม, 2548).
34
ธงชัย วินิจจะกูล, “ข้ามให้พน้ ประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาฯ”, ฟ้ าเดียวกัน, 3(4) (ตุลาคม-ธันวาคม, 2548).

15
“ในการเมือง” พร้อมกันนี้ ก็มีสถาบันพระมหากษัตริ ยท์ ี่อยู่ “เหนือการเมือง” เหตุที่อยูเ่ หนื อการเมืองก็
เพราะคาว่า “การเมือง” มักถูกเข้าใจแต่เพียงในความหมายแคบๆ เพียงแค่การต่อสู ้เพื่อเข้าครอบครอง
เป็ นรัฐบาลและรัฐสภาเพื่อใช้อานาจรัฐในการบรรลุวตั ถุประสงค์หรื อนโยบายต่างๆ ดังนั้น การปฏิบตั ิ
พระราชกรณี ย กิ จ ของสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ จึ ง เป็ นสิ่ ง ที่ ถู ก มองว่า อยู่เหนื อ การเมื อ ง-ไม่ เป็ น
การเมือง เพราะกิ จกรรมเหล่านี้ ถือว่าไม่เกี่ ยวข้องกับการเมืองในสายตาของสังคม35 และด้วยสถานะ
“เหนื อการเมือง” นี้ เองจึงทาให้สถาบันพระมหากษัตริ ยพ์ น้ ไปจากความเลวร้ายทางการเมืองต่างๆ ที่
เป็ นปฏิปักษ์ต่อพัฒนาการประชาธิ ปไตย ทั้งความเลวร้ายจากเผด็จการทหารในอดีต และความเลวร้าย
จากนักการเมืองที่ฉอ้ ฉล

งานเขียนของ ธงชัย วินิจจะกูล (2548) ดังกล่าว ถูกโต้แย้งโดย สมศักดิ์ เจียมธี รสกุล ซึ่ งมอง
ว่าคาอธิ บาย “ประชาธิ ปไตยแบบหลัง 14 ตุลาฯ” ของธงชัย ให้ภาพในเชิง “เหมารวม” มากจนเกินไป
เนื่ องจากบริ บททางการเมืองตั้งแต่ช่วงหลัง 14 ตุลาฯ 2516 ครอบคลุมระยะเวลานานพอสมควรที่จะ
ปรากฏลักษณะเฉพาะของแต่ละช่ วง สมศักดิ์ เสนอว่า การเมืองหลัง 14 ตุลาฯ 2516 สามารถแบ่งได้
ออกเป็ น 2 ช่วง ช่วงที่หนึ่งคือ หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาฯ จนถึงการขึ้นมามีอานาจของรัฐบาล พล.อ. ชาติ
ชาย ชุ ณหะวัณ ซึ่ งมาจากการเลื อกตั้งใน พ.ศ. 2531 ช่ วงที่ สองอาจปั กหมุ ดหมายที่ พ.ศ. 2535 และ
ระยะเวลาต่อเนื่ องหลังจากนั้นเป็ นต้นมา ทั้งนี้ สมศักดิ์กล่าวว่าทั้งสองช่วงนั้นมีความแตกต่างกันอย่าง
มีนยั สาคัญ โดยช่วงแรกพบว่าอานาจรัฐยังไม่ได้รวมศูนย์อยูท่ ี่รัฐสภา หากแต่มีกลุ่มการเมืองต่างๆ ที่
ยังดิ้นรนต่อสู ้และประนีประนอมกันทั้งกลุ่มทหารซึ่ งก็แบ่งแยกเป็ นหลายขั้ว กลุ่มคนในระบบราชการ
นักการเมือง กลุ่มธุ รกิจ รวมทั้งราชสานัก

สาหรับช่วงที่สอง อาจประมาณได้วา่ คือหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ 2535 เป็ นต้นมา ซึ่ งพบว่า


รัฐสภาได้กลายเป็ นศูนย์กลางของอานาจการเมือง รัฐสภา และฝ่ ายบริ หารที่มาจากรัฐสภาสามารถคุม
กลไกรัฐได้ท้ งั หมด สมศักดิ์ต้ งั ข้อสังเกตว่าทั้งสองช่วงนี้ บทบาทของสถาบันพระมหากษัตริ ยม์ ีความ
แตกต่างกันอย่างสาคัญ กล่ าวคื อ สถาบันพระมหากษัตริ ยใ์ นช่ วงแรกยังคงแสดงบทบาทเข้ามาเล่ น
การเมืองโดยตรงหลายครั้ง เพราะในเวลานั้นราชสานักเป็ นเพียงกลุ่มอานาจหนึ่ งในหลายกลุ่มอานาจ
บนเวทีการเมืองไทย (ภายใต้โครงสร้างการเมืองเชิงเครื อข่าย) แต่ในช่วงที่สอง หลังจากที่การเมืองถูก
รวมศู น ย์ม าอยู่ที่ รัฐ สภา พระมหากษัต ริ ย ์จะทรงมี บ ทบาททางการเมื อ งเป็ นไปตามที่ ก าหนดใน
รัฐธรรมนูญ โดยอาจเป็ นครั้งแรกที่รัฐไทยมีลกั ษณะเป็ นเหมือนรัฐสมัยใหม่ที่มีการรวมศูนย์ผา่ นกลไก
การเลื อ กตั้ ง และทั้ งหมดดั ง กล่ า วนี้ อยู่ ภ ายใต้ พ ระราชอ านาจน า (Royal Hegemony) ของ

35
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 151.

16
พระมหากษัตริ ย36์ โดยสรุ ปแล้ว สมศักดิ์ มีความเห็ นว่า พัฒนาการของสถาบันพระมหากษัตริ ยห์ รื อ
บทบาทขององค์พ ระมหากษัต ริ ย ์ใ นช่ ว งหลัง 14 ตุ ล าฯ 2516 แบ่ ง ออกเป็ นสองช่ วง ในช่ ว งแรก
พระองค์ทรงเป็ นประมุขของกลุ่มปกครอง ต่อมาพระองค์ทรงเป็ นประมุขของชนชั้นปกครอง (From
Head of a Ruling Clique to Head of Ruling Class)37

ช่ วงเวลาใกล้เคี ยงกันนี้ การปรากฏใช้คาว่า “เครื อข่าย” (Network) ในการวิเคราะห์สถาบัน


พระมหากษัตริ ยใ์ นประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยเกิ ดขึ้ นเป็ นครั้งแรก โดยข้อเสนอของ Duncan McCargo
จากบทความ Network Monarchy and Legitimacy Crisis in Thailand (2005)38 ซึ่ งมี ขอ้ เสนอสาคัญว่า
การจะทาความเข้าใจการเมืองไทยได้ดียิ่งขึ้ นและเข้าใจได้อย่างเป็ นระบบ คือ การมองการเมืองใน
ฐานะการต่อสู ้แข่งขันกันระหว่าง “เครื อข่าย” (Network) ทางการเมืองต่างๆ ซึ่ งเครื อข่ายที่ มีบทบาท
มากที่ สุ ดนับ แต่ช่ วงหลัง 14 ตุ ล าฯ 2516 ในทัศนะของ McCargo คื อ “สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ ง
เครื อข่าย” (Network Monarchy) ทั้งนี้ ลักษณะสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่าย คือ การ
มีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวฯ เป็ นศูนย์กลางของเครื อข่าย โดยเครื อข่ายนี้ จะเข้ามาแก้ไขตลอดจน
เข้าแทรกแซงในวิกฤตการณ์ทางการเมืองต่างๆ และเนื่ องจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงเป็ น
ศูนย์กลางของความชอบธรรมทางการเมือง พระราชกรณี ยกิ จของพระองค์จึงเป็ นเสมือนเครื่ องชี้ นา
ทิศทางการเมืองของประเทศที่มีลกั ษณะเป็ น “วาระแห่ งชาติ” ดังจะเห็ นได้จาก “สาร” ที่ปรากฏใน
พระราชดารัส 4 ธันวาคมของทุ กปี อย่างไรก็ตาม การเข้าไปเกี่ ยวข้องหรื อแทรกแซงการเมื องของ
สถาบันพระมหากษัตริ ยจ์ ะดาเนิ นการผ่าน “ตัวแทน” (Proxy) ต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นคณะองคมนตรี หรื อ
ผูน้ าทหารที่ เป็ นเครื อข่ ายของพระองค์ ซึ่ งในทัศ นะของ McCargo ผูท้ ี่ มี บ ทบาทโดดเด่ นที่ สุ ด คื อ
พล.อ. เปรม ติ ณ สู ล านนท์ อดี ตนายกรัฐมนตรี (พ.ศ. 2523-2531) ประธานองคมนตรี (พ.ศ. 2542-
2562)39

McCargo เห็ นว่าบทเรี ยนของสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ หลังจากที่รัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร


ถูกโค่นอานาจลงไปเมื่อ พ.ศ. 2520 เนื่องจากการผูกพันตนเองกับรัฐบาลที่เอียงข้างกษัตริ ยน์ ิ ยมสุ ดขั้ว
อาจไม่ ป ระสบความส าเร็ จ ได้ ใ นระยะยาว ดั ง นั้ น สถาบัน พระมหากษัต ริ ย์ จึ ง หั น มาใช้ ก าร
ประนี ประนอมประสานประโยชน์กบั ทุกฝ่ าย เช่ น นักการเมือง ผูน้ าทหาร ที่มนั่ ใจได้วา่ มีความโน้ม

36
สมศักดิ์ เจี ยมธี รสกุล, “Mass Monarchy”, ใน ยา้ ยุค รุ กสมัย เฉลิมฉลอง 40 ปี 14 ตุลา บรรณาธิ การโดย ชัยธวัช
ตุลาธน (กรุ งเทพฯ: Fong Tong Enterprise, 2556), หน้า 114-115.
37
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, “หลัง 14 ตุลา”, ฟ้ าเดียวกัน, หน้า 170.
38
Duncan McCargo, Network Monarchy and Legitimacy Crisis in Thailand, pp. 499-519.
39
Ibid, p. 501.

17
เอี ย งมาในทางฝ่ ายสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ อาทิ พล.อ. เปรม ติ ณ สู ล านนท์ รั ฐ บาลจากพรรค
ประชาธิ ปั ต ย์ ฯลฯ นอกจากนี้ บุ ค คลในสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์เชิ ง เครื อ ข่ า ยในความเห็ น ของ
McCargo ยัง หมายรวมถึ ง บุ ค คล เช่ น นายแพทย์ป ระเวศ วะสี อดี ตนัก เรี ย นทุ น อานัน ทมหิ ดลที่ มี
เครื อ ข่ า ยกว้า งขวางในหมู่ นัก พัฒ นาองค์ก รเอกชน (NGOs) นายอานัน ท์ ปั น ยารชุ น อดี ต นายกฯ
พระราชทานหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ 2535 ซึ่ งจากการตั้งข้อสังเกตของ McCargo บุคคลเหล่านี้ มี
ส่ วนต่อกระบวนการชี้ นาและแทรกแซงการเมืองไทยให้เป็ นไปตามกระแสเรี ยกร้องของสังคมและ
เป็ นไปตามแนวโน้มทิศทางของสถาบันพระมหากษัตริ ย ์40 เช่ น กรณี พล.อ. เปรม ติณสู ลานนท์ กับ
การสร้างความกดดันเพื่อเปลี่ยนรัฐบาล พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ที่ลม้ เหลวในการแก้ไขปั ญหาวิกฤติ
เศรษฐกิจ พ.ศ. 254041 หรื อ กรณี นายอานันท์ ปั นยารชุ น ในฐานะภาพตัวแทนของฝ่ ายที่ยืนอยูค่ นละ
ฝั่งกับรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ต่อประเด็นเรื่ องการแก้ไขปั ญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้42

แม้วา่ งานศึกษาของ McCargo จะเป็ นการเปิ ดประเด็นข้อเสนอใหม่ดว้ ยการใช้ “การเมืองเชิ ง


เครื อข่าย” ในการวิเคราะห์การเมืองไทย ทั้งก่อให้เกิ ดกระแสความสนใจในแวดวงวิชาการอย่างมาก
ทว่ า ด้ า นหนึ่ งการวิ เคราะห์ ข อง McCargo ก็ ถู ก มองว่ า ไม่ ใ ช่ เรื่ อ งใหม่ ด้ว ยเพราะการมองภาพ
ความสั ม พัน ธ์ เชื่ อมโยงอย่างเป็ นเครื อข่ าย คื อตรรกะวิธี ที่ นัก ประวัติศาสตร์ ใช้ ในการท างานเป็ น
พื้นฐานอยูแ่ ล้ว43 นอกจากนี้ ควรกล่าวด้วยว่าการวิเคราะห์ของ McCargo ก็ดูจะให้น้ าหนักบทบาทตัว

40
แนวการวิ เคราะห์ ข อง McCargo นั บ ว่าสอดคล้อ งกับ สถานการณ์ ก ารเมื อ งไทยในเวลาต่ อ มาคื อ ช่ ว งก่ อ น
รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 อยู่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บทบาทของ พล.อ. เปรม ติ ณสู ลานนท์ ประธาน
องคมนตรี ในการเดินสายบรรยายปลุกจิตสานึ กความเป็ นทหารในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ให้แก่โรงเรี ยนนาย
ร้อยเหล่าต่างๆ ทั้งนี้ วาทะประวัติศาสตร์ที่สาคัญของ พล.อ.เปรม คือครั้งการบรรยายให้แก่นกั เรี ยนนายร้อยโรงเรี ยน
นายร้อยพระจุลจอมเกล้า (วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2549) ที่ ปรากฏคาเปรี ยบเปรยว่า “ม้า” คือ “ทหาร” และรัฐบาล
เป็ นเพียง jockey คือ คนดูแลม้า ไม่ใช่เจ้าของม้า ดังใจความที่ วา่ “...รั ฐบาลก็เหมือนกับ jockey คื อเข้ ามาดูแลทหาร
ไม่ ใช่ เจ้ าของทหาร เจ้ าของทหารคื อ ชาติ แ ละพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หั ว...” จาก ASTV ผูจ้ ัด การออนไลน์
http://www.manager.co.th/Politics (เผยแพร่ เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2549]
41
Dancan McCargo, Network Monarchy and Legitimacy Crisis in Thailand, p. 510.
42
โ ป ร ด ดู Duncan McCargo, “ Thaksin and the resurgence of violence in the Thai South: Network Monarchy
Strikes back?”, Critical Asian Studies, 38(1) (2006), pp. 39-71.
43
ดังตัวอย่างทัศนะของ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ในงานเสวนา “6 ปี รัฐประหาร 19 กันยา 49 อดีต ปั จจุบนั และอนาคต
การเมื องไทย” วัน ที่ 17 กั น ยายน พ.ศ. 2555 ณ ห้ อ งประชุ ม คึ ก ฤท ธิ์ ปราโมช สถาบั น ไทยคดี ศึ กษ า
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่ าพระจันทร์ และทัศนะของ สมศักดิ์ เจี ยมธี รสกุล ในงานเสวนา “กษัตริ ยศ์ ึกษาในรัฐ
ไทย-รั ฐ ไทยกับ การศึ ก ษาสถาบัน กษัต ริ ย ์” วัน ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ณ ห้ อ งประชุ ม ประกอบ หุ ต ะสิ ง ห์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์.

18
แสดงตัวใดตัวหนึ่ งในฐานะ “ผูก้ ระทา” มากจนเกิ นไป เช่ น บทบาทของ พล.อ. เปรม ติณสู ลานนท์
อี ก ทั้ง เนื่ อ งจากงานเขี ย นนี้ เป็ นลัก ษณะของการวิเคราะห์ เชิ ง น าเสนอประเด็ น ที่ ค รอบคลุ ม ช่ ว ง
ระยะเวลาและการอธิ บายเหตุการณ์ในช่วงทศวรรษ 2540 เป็ นสาคัญ งานศึกษาของ McCargo จึงไม่มี
ภาพกระบวนการก่ อ รู ป ของสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์เชิ ง เครื อข่ า ยในเชิ ง พัฒ นาการที่ ค รอบคลุ ม
ระยะเวลาสื บย้อนไปไกลเท่าใดนัก ซึ่ งหมายถึงการไม่ปรากฏกลุ่มก้อนตัวแสดงสาคัญๆ ที่มีบทบาท
อย่างซับซ้อนอย่างที่ควรจะเป็ น

นอกจากมุมมองการเมืองเชิ งเครื อข่ายทัศนะอื่นๆ เช่น แนวคิดพระราชอานาจนา ก็เริ่ มมีการ


นามาใช้วิเคราะห์สถาบันพระมหากษัตริ ยม์ ากขึ้น ตัวอย่างที่สาคัญ คือ วิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาโท
ของ ชนิ ดา ชิ ตบัณฑิ ตย์ เรื่ อง โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ : การสถาปนาพระราชอานาจนา
(B.E. 2494-2547) (2547/ได้รับการพิมพ์เป็ นหนังสื อ พ.ศ. 2550) ที่ใช้แนวคิด อานาจนา (Hegemony)
หรื อการครองความเป็ นเจ้าในทางอุดมการณ์ของ Antonio Gramsci นักทฤษฎีมาร์กซิ สต์ชาวอิตาเลียน
มาวิ เคราะห์ ก ารสร้ า ง “พระราชอ านาจน า” (Royal Hegemony) ผ่ า นโครงการอัน เนื่ อ งมาจาก
พระราชดาริ ทั้งนี้ เนื่ องจากชนิ ดามองว่า โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ ถือเป็ นลักษณะเฉพาะ
อันเป็ นเอกลักษณ์ (Identity) ของพระราชกรณี ยกิ จในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 ซึ่ ง
แตกต่างจากพระราชกรณี ยกิจของพระมหากษัตริ ยท์ ี่ทรงมีต่อราษฎรในอดีต ทั้งรู ปแบบที่หลากหลาย
พัฒ นาการของการด าเนิ น กิ จ กรรมที่ แ ตกต่ างกัน ในแต่ ล ะยุค สมัย ดัง นั้น การศึ ก ษาโครงการอัน
เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ ใ นฐานะที่ เป็ นทั้ง รู ป ธรรมและขั้น ตอนของการพัฒ นาที่ น าเสนอโดย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จึ งเป็ นกุ ญแจสาคัญในการไขไปสู่ การท าความเข้าใจกระบวนการ
สถาปนาพระราชอานาจนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั 44

ในมิติเชิ งพัฒนาการ ชนิดาให้ภาพโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ โดยแบ่งตามยุคสมัย


นับแต่ ยุคการก่ อกาเนิ ด (พ.ศ. 2494-2500) ที่การดาเนิ นงานยังคงขาดแคลนทรัพยากรทั้งงบประมาณ
และบุคลากร และไม่ได้รับการสนับสนุ นจากรั ฐบาลมากนัก สื บเนื่ องจากสัมพันธภาพที่ ไม่ราบรื่ น
ระหว่างสถาบันพระมหากษัตริ ยก์ บั รัฐบาล ต่อมาคือ ยุคการพัฒนาเพื่อความมั่นคง (พ.ศ. 2500-2523)
ซึ่ งพบว่าโครงการพระราชดาริ จะดาเนิ นควบคู่ไปกับนโยบายภาครัฐในด้านการป้ องกันการขยายตัว
ของลัทธิ คอมมิ วนิ สต์ขณะที่ช่วงกลางทศวรรษ 2520 คือ ยุคกาเนิ ดองค์ กรประสานงาน (พ.ศ. 2524-
2530) สื บเนื่องจากสัมพันธภาพอันดีระหว่างสถาบันพระมหากษัตริ ยก์ บั รัฐบาล พล.อ. เปรม ติณสู ลา
นนท์ มีผลให้โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ ได้รับการสนับสนุ นเป็ นอย่างดีจากรัฐบาล เห็นได้

44
ชนิ ดา ชิตบัณฑิตย์, โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ : การสถาปนาพระราชอานาจนาในพระบาทสมเด็จพระ
เจ้ าอยู่หัว (กรุ งเทพฯ: มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2550), หน้า 4.

19
จากการเกิ ดขึ้นขององค์กรประสานงานในชื่ อ “สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อการประสานงาน
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ” (กปร.) ซึ่ งสะท้อนการเติบโตของกิจกรรมด้านการพัฒนาของ
พระมหากษัตริ ย ์ และท้ายสุ ดคือ ยุคกาเนิดองค์ กรเอกชนสนับสนุนด้ านงบประมาณ (พ.ศ. 2531-2546)
ภายใต้การดาเนินงานของ “มูลนิธิชยั พัฒนา” ซึ่ งนับเป็ นองค์กรพัฒนาภาคเอกชนของพระมหากษัตริ ย ์
(เอ็นจีโอเจ้า) ที่ทาหน้าที่สนองงานโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ด้วย
ข้อได้เปรี ยบด้านการระดมทรัพยากร ทุนเอกชน และงบประมาณรัฐ มาสนองโครงการและแนวทาง
การพัฒนาได้อย่างกว้างขวาง ผ่านการถวายเงินและทรัพย์สิ นโดยเสด็จพระราชกุศล ขณะเดี ยวกันก็
ปราศจากระเบียบข้อกาหนดของหน่วยงานราชการในด้านความล่าช้าในการอนุ มตั ิโครงการมูลนิธิชยั
พัฒนาจึงเป็ นองค์กรสาคัญที่ ทาให้มิติการพัฒนาจากแนวทางพระราชดาริ เกิ ดขึ้ นอย่างเป็ นรู ปธรรม
ผ่านโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ พร้อมๆ กับการเผยแพร่ อุดมการณ์โครงการพระราชดาริ ที่มี
มิ ติข องอุ ดมการณ์ ก ารพัฒ นาควบคู่ ก ับ อุ ดมการณ์ ก ษัตริ ย ์นิ ยมที่ เน้น บทบาทกษัตริ ยน์ ัก พัฒ นาแก่
สังคมไทย

ชนิ ด าวิ เคราะห์ ว่ า ในขณะที่ Gramsci เสนอตัว แบบในการครอบครองความเป็ นเจ้าใน


ทางอุดมการณ์ในฐานะเครื่ องมือและยุทธศาสตร์ ของชนชั้นกรรมาชี พ ซึ่ งตกอยูใ่ นฐานะผูเ้ สี ยเปรี ยบ
ทางสังคม โดยอาศัยการสร้างกลุ่มทางประวัติศาสตร์ ของปั ญญาชน (Historical Bloc) ที่อยูน่ อกกลไก
รัฐเป็ นตัวเชื่ อมประสานเพื่อช่ วงชิ งพื้นที่ ท างความคิ ดจิ ตใจ (War of Position) หากแต่กระบวนการ
สร้างกลุ่มทางประวัติศาสตร์ ของโครงการพระราชดาริ กลับดาเนินผ่านปั ญญาชนที่อยูใ่ นระบบราชการ
เป็ นหลัก แม้ว่าต่อมาจะขยายไปเชื่ อมต่อกับปั ญญาชนนอกระบบราชการด้วยก็ตาม และแน่ นอนว่า
ภายใต้บ ริ บ ทสั งคมไทยกระบวนการนี้ ย่อมไม่ได้นาไปสู่ ก ารปฏิ วตั ิ ท างชนชั้นของกรรมาชี พ ดังที่
Gramsci เสนอ กระนั้นก็ตาม เมื่อนาแนวคิดนี้ มาศึกษาอุดมการณ์ โครงการพระราชดาริ ที่ถูกผลิตโดย
พระมหากษัตริ ยผ์ ดู้ ารงสถานภาพสู งสุ ดในสังคมไทย กลับพบลักษณะสองด้านของอุดมการณ์ที่ยอ้ น
แย้งในตัวเอง (ทวิลกั ษณ์ของอุดมการณ์) เนื่องจากองค์ประกอบของอุดมการณ์โครงการพระราชดาริ มี
ทั้งมิ ติที่ หนุ น เสริ ม อุดมการณ์ รัฐ และมิ ติที่ วิพ ากษ์อุดมการณ์ รัฐ กล่ าวคื อเนื่ องจากอุ ดมการณ์ ข อง
โครงการพระราชดาริ มีมิติของความเป็ นอุดมการณ์กษัตริ ยน์ ิ ยมและอุดมการณ์การพัฒนา ในขณะที่
องค์ประกอบของอุดมการณ์กษัตริ ยน์ ิ ยมเป็ นอุดมการณ์ที่หนุนเสริ มอุดมการณ์หลัก ได้แก่ อุดมการณ์
ชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซึ่ งท าหน้า ที่ ในการธ ารงรั ก ษาและค้ าจุ น ระบบเดิ ม โดยอาศัย กลไกรั ฐในการ
เผยแพร่ อุดมการณ์ แต่องค์ป ระกอบของอุ ดมการณ์ การพัฒนาของโครงการพระราชดาริ กลับ มี ท้ งั
ลัก ษณะในการวิพ ากษ์ทิ ศ ทางการพัฒ นาของรั ฐในระบบทุ น นิ ย ม จุ ดอ่ อ นของระบบราชการที่ มี
ลักษณะแยกส่ วน ขาดการประสานงาน ทั้งนี้ อุดมการณ์โครงการพระราชดาริ นาเสนอตัวแบบของการ

20
พัฒนาที่มีลกั ษณะประสานการดาเนินการของหน่วยงานราชการอย่างเป็ นองค์รวม ซึ่ งมีบทบาทในการ
หนุนเสริ มและเติมเต็มช่องว่างให้กบั การพัฒนาของรัฐ45

นอกจากนี้ เนื่ อ งจากการศึ ก ษานี้ อ้า งอิ ง แนวคิ ด “อ านาจน า” (Hegemony) ชนิ ด าจึ ง ให้
ความสาคัญกับการสร้างกลุ่มทางประวัติศาสตร์ (Historical Bloc) และบทบาทของปั ญญาชน ซึ่ งเป็ น
ปั จจัยสาคัญของสงครามช่ วงชิ งพื้นที่ (War of Position) ทางอุดมการณ์ เพื่อสถาปนาอานาจนา ดังจะ
พบการให้ความสาคัญกับกลุ่ มคนที่ เรี ยกว่า “เครื อข่ายในหลวง”46 ซึ่ งบุ คคลในเครื อข่ายนี้ ล้วนเป็ น
“ปั ญ ญาชนของโครงการพระราชด าริ ” ผูม้ ี บ ทบาทขับ เคลื่ อ นด าเนิ น กิ จ กรรมและแพร่ ก ระจาย
อุดมการณ์โครงการพระราชดาริ สู่สังคม ทั้งนี้ น่าสนใจว่า “เครื อข่ายในหลวง” ในงานศึกษาของชนิดา
แท้จริ งแล้วล้วนเป็ นบุคคลกลุ่มเดียวกันที่ถูกคัดเลื อกคัดสรรและสังกัดใน “สถาบันพระมหากษัตริ ย ์
เชิงเครื อข่าย” หากแต่เป็ นกลุ่มที่เน้นเฉพาะความเกี่ยวข้องกับโครงการพระราชดาริ เป็ นแกนกลาง47 ดัง
ตัวอย่างปั ญญาชนของโครงการพระราชดาริ ในยุคก่อกาเนิด (พ.ศ. 2494-2500) ที่ชนิดาหยิบยกมา เช่น
ขวัญแก้ว วัชโรทัย ผูม้ ี บทบาทในแง่สื่อมวลชนส่ วนพระองค์ (นายสถานี วิทยุ อ.ส.พระราชวังดุ สิ ต
ส่ วนพระองค์) ตลอดจนปั ญญาชนในหน่วยงานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เช่น ม.ร.ว. เทพฤทธิ์ เท
วกุล วิศวกรของโครงการพระราชดาริ ขณะที่ปัญญาชนของโครงการพระราชดาริ ในยุคการพัฒนาเพื่อ
ความมัน่ คง (พ.ศ. 2501-2523) ที่ ได้รับการยกตัวอย่าง คื อ ม.จ. วิภาวดี รังสิ ต ผูแ้ ทนพระองค์ในการ
เสด็ จพระราชด าเนิ น เยือนราษฎรภาคใต้ ม.จ. ภี ศ เดช รั ช นี ผูอ้ านวยการโครงการส่ ว นพระองค์
โครงการหลวง พล.ต.อ. วศิษฐ เดชกุญชร นายตารวจราชสานัก หรื อกรณี ปัญญาชนของโครงการ
พระราชดาริ ในยุคกาเนิ ดองค์กรประสานงาน (พ.ศ. 2524-2530) ก็คือ สุ เมธ ตันติ เวชกุล เลขาธิ การ
มูลนิธิชยั พัฒนา เป็ นต้น48

45
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 446.
46
คาแปลภาษาอังกฤษ คาว่า “Network Monarchy” ในสานวนของ ศาสตราจารย์ ดร. เกษียร เตชะพีระ ซึ่ งเป็ นหนึ่ ง
ในกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ของ ชนิดา ชิตบัณฑิตย์.
47
ด้วยเหตุน้ ี “ปั ญญาชนของโครงการพระราชดาริ ” ในงานของชนิ ดา จึงครอบคลุมบางกลุ่มก้อนตัวแสดงในสถาบัน
พระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่ายในกลุ่มที่สัมพันธ์กบั งานพัฒนาชนบท ตลอดจนเทคโนแครต “สายวัง” เช่น สุ เมธ ตันติ
เวชกุล หากแต่อาจไม่เห็นภาพชัดเจนนัก กรณี กลุ่มก้อนตัวแสดงในสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่ายอื่นๆ อาทิ
กลุ่ม ปั ญญาชนอนุ รักษ์นิยมที่ เป็ น “นักการเมืองวัฒนธรรม” (Cultural Politicians) เครื อข่ายในสายข้าราชการอื่นๆ
อีกเป็ นจานวนมาก อาทิ ตุลาการ ข้าราชการมหาดไทย ตารวจ ตชด. ที่มีเงื่อนไขและบริ บททางประวัติในการเข้ามา
เกี่ยวข้องยึดโยงใน “เครื อข่ายในหลวง” หรื อ “สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่าย” ค่อนข้างมาก.
48
ชนิ ดา ชิตบัณฑิตย์, โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ : การสถาปนาพระราชอานาจนาในพระบาทสมเด็จพระ
เจ้ าอยู่หัว, หน้า 371-453.

21
ดัง ที่ ก ล่ า วมา งานศึ ก ษาของชนิ ด าจึ ง นั บ ว่ า มี ป ระโยชน์ ต่ อ การศึ ก ษาประเด็ น สถาบัน
พระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่ายอยูไ่ ม่นอ้ ย เนื่องจากสามารถใช้ขอ้ มูลตัวแสดงชุดเดียวกันในการวิเคราะห์
ตลอดจนอาจใช้เป็ นแนวทางในการพิจารณากลุ่มก้อนตัวแสดงในสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ครื อข่าย
อื่ น ๆ ที่ อ ยู่ใ นเงื่ อ นไขบริ บ ทใกล้เคี ย งกัน อัน ได้แ ก่ ก ลุ่ ม ข้าราชการมหาดไทย ตชด. ทหาร และ
ข้าราชการ “สายวัง” ที่ เกี่ ยวข้องกับมิติการพัฒนาชนบทอีกจานวนหนึ่ งที่ชนิ ดายังไม่ได้หยิบยกเป็ น
ตัวอย่างศึ กษา นอกจากนี้ ข้อแตกต่ างที่ ดุษ ฎี นิพ นธ์ น้ ี อาจมองต่างจากงานศึ กษาของชนิ ดา คื อ การ
ไม่ ไ ด้ม องบุ ค คลในสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์เชิ ง เครื อ ข่ า ยเฉพาะในแง่ ที่ เป็ นเครื่ อ งมื อ ขององค์
พระมหากษัต ริ ย ์ โดยมิ ไ ด้พิ จ ารณาเครื อ ข่ า ยในมิ ติ ที่ แ ต่ ล ะคนหรื อ แต่ ล ะกลุ่ ม ต่ า งมี อ านาจและ
ผลประโยชน์และมีบทบาทในเชิง Active หรื อ มีอิสระเชิงสัมพัทธ์ (Relative Autonomy) ในตัวเอง ซึ่ ง
ทาให้เห็นภาพพลวัตภายในเครื อข่ายได้มากกว่า

ช่ วง พ.ศ. 2549 ปรากฏงานเขี ย นชี วประวัติข องพระบาทสมเด็ จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ซึ่ งเป็ นที่
กล่าวถึงและก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วจิ ารณ์อย่างกว้างขวาง คือ The King Never Smiles: A Biography
(2006)49 โดย Paul Handley นั ก หนั ง สื อ พิ ม พ์ ช าวอเมริ ก ัน งาน
เขียนนี้ เป็ นการนาเสนอพระราชประวัติของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวภูมิพลอดุ ลยเดช ควบคู่ไป
กับประวัติศาสตร์ การเมืองไทยนับตั้งแต่หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475-ทศวรรษ 2540 ทั้งนี้
ข้อเสนอหลักของงานเขียนนับว่าท้าทายต่อกรอบการรับรู ้ เดิ มในประเด็นที่ว่า พระมหากษัตริ ยม์ ิได้
ทรงยุ่ ง เกี่ ย วกับ การเมื อ ง ด้ ว ยการวิ เคราะห์ ไ ปในอี ก ทิ ศ ทางหนึ่ งที่ ใ ห้ ภ าพพระมหากษัต ริ ย ์ คื อ
“ผูก้ ระทาการ” โดยตรง ตลอดจนการนาเสนอข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่าในช่วงกว่า 6 ทศวรรษที่ผา่ นมา
นับตั้งแต่ทรงครองราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงใช้กุศโลบายทางวัฒนธรรมและ
ประเพณี ไทยในการสร้ างพระราชอานาจเพื่ อกอบกู้อานาจของสถาบัน กษัตริ ย ์ก ลับ คื น มาได้เป็ น
ผลสาเร็ จ อาจด้วยเพราะทัศนะในงานเขียนที่เป็ นการวิพากษ์วจิ ารณ์สถาบันพระมหากษัตริ ยอ์ ย่างมาก
เช่น การวิเคราะห์ที่ให้ภาพจุดยืนและทัศนะทางการเมืองของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ที่ยืนตรง
ข้ามกับอุดมการณ์ ประชาธิ ปไตย การปฏิ บตั ิพระราชกรณี ยกิ จที่ เป็ นไปอย่างหวังผลในทางการเมื อง
ตลอดจนเรื่ องราวภายในของสมาชิ กราชวงศ์ในลักษณะข้อมูล “ซุ บซิ บนิ นทา” งานเขียนนี้ ถูกจัดให้
เป็ น "หนังสื อต้องห้าม" ในประเทศไทยอย่างไม่เป็ นทางการตั้งแต่ก่อนตีพิมพ์

แม้ว่า The King Never Smiles (2006) จะเสนอกรอบคาอธิ บายใหม่และข้อมูลรายละเอียดที่


น่าสนใจจานวนมาก ตลอดจนปรากฏภาพของกลุ่มก้อนตัวแสดงจานวนไม่นอ้ ยที่มีปฏิสัมพันธ์อยูร่ าย

49
Paul M. Handley, (Yale University
Press: New Haven and London, 2006).

22
รอบพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวฯ ตลอดช่วงระยะเวลาหลายทศวรรษ จนสามารถจินตนาการได้ถึง
การสร้ างความสัมพันธ์เชิ งเครื อข่ายที่ มีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เป็ นแกนกลางของเรื่ อง ทว่า
งานของ Handley กลับไม่ปรากฏเห็ นบทบาทการกระทาของกลุ่มคนต่างๆ เหล่านี้ อย่างที่ควรจะเป็ น
มากไปกว่าบทบาทการตัดสิ นใจกระทาการหรื อไม่กระทาการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ เป็ น
หลัก50 ด้านหนึ่ง The King Never Smiles จึงเสมือนการให้ภาพที่ผลิตซ้ า “ทฤษฎีมหาบุรุษ” (Great Man
Theory) หากแต่เป็ นการนาเสนอในมุมมองที่เป็ นปฏิภาคกลับด้าน ที่แตกต่างไปจากงานเขียนพระราช
ประวัติแนวเฉลิ มพระเกี ยรติ ซึ่ งการอธิ บายเช่นนี้ มกั ลดทอดความซับซ้อนของบริ บท ตลอดจนความ
ซับซ้อนของกลุ่มก้อนตัวแสดงต่างๆ ที่อยูร่ ายรอบ “มหาบุรุษ” ลงไปอย่างมาก

ปลายปี พ.ศ. 2549 งานวิช าการเฉลิ มพระเกี ยรติ ในชื่ อ พระผู้ทรงปกเกล้ าฯ ประชาธิ ปไตย
ไทย: 60 ปี สิ ริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย (2549)51 เรี ยบเรี ยงโดย นคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์
ปรากฏขึ้นมาในห้วงวาระแห่ งการเฉลิมฉลอง 60 ปี แห่ งการครองราชย์ ด้านหนึ่งงานชิ้นนี้ อาจถูกผลิต
ขึ้นเพื่อโต้ตอบทัศนะใน The King Never Smiles (2006) ที่ให้ภาพพระมหากษัตริ ย ์ ในฐานะ “ผูก้ ระทา
การ” ทางการเมืองโดยตรง52 ดังข้อความที่ปรากฏในบทนาของหนังสื อตอนหนึ่งว่า

50
ตัวอย่างบทวิจารณ์ที่น่าสนใจ โปรดดู Nidhi Eoseewong,
Smiles,” (Panel Discussion) เอกสารแจกสื่ อมวลชน งานประชุมทางวิชาการนานาชาติไทยศึกษา ครั้งที่ 10 จัดโดย
สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2551.
51
นคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์ , พระผู้ทรงปกเกล้ าประชาธิ ปไตยไทย 60 ปี สิ ริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย
(กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549).
52
อนึ่ ง ตัวอย่างงานศึกษาที่ อาจกล่าวได้ว่าเป็ นกระแสโต้ทศั นะใน The King Never Smiles (2006) อย่างชัดเจน คือ
งานเขียนของ วิมลพรรณ ปี ตธวัชชัย เรื่ อง เอกกษัตริ ย์ใต้ รัฐธรรมนูญ (2553) ที่ให้ภาพชีวประวัติพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ ัวภูมิพลอดุลยเดชในบริ บทของการเมืองไทยนับตั้งแต่หลัง พ.ศ. 2475-ทศวรรษ 2540 (เช่นเดียวกับงานของ
Handley) นับเป็ นหนังสื อเฉลิมพระเกี ยรติ “กึ่ งวิชาการ” ที่ มีการค้นคว้าข้อมูลและใช้ขอ้ มูลอย่างหลากหลายทั้งใน
และนอกประเทศ กระนั้น งานเขี ยนนี้ ยงั คงปรากฏโครงเรื่ องแบบ “มหาบุ รุษ ” ท่ ามกลาง “หมู่มาร” ที่ ได้รับการ
วิจารณ์วา่ ผูแ้ ต่งได้นากลวิธีการประพันธ์ที่จาลองมาจากชาดกมาใช้ในการแต่งประวัติศาสตร์แบบรอยัลลิสต์ (ดู ณัฐ
พล ใจจริ ง, “ชาดกในประวัติศาสตร์ นิพนธ์ไทย บทวิจารณ์หนังสื อ เอกกษัตริ ย ์ใต้รัฐธรรมนู ญ ของวิมลพรรณ ปี ต
ธวัชชัย”, ฟ้ าเดียวกัน, 8(2) (ตุลาคม-ธันวาคม, 2553)) หลังจากนั้นไม่นาน
Thailand's Monarchy in Perspective (2012) หรื อ ในชื่ อฉบับแปลภาษาไทย คือ กลางใจราษฎร์ : หกทศวรรษแห่ ง
การทรงงาน (2556) ซึ่งเขียนโดยนักวิชาการทั้งไทย-เทศ อาทิ พอพันธุ์ อุยยานนท์ คริ ส เบเคอร์ เดวิด สตรี คฟัส ฯลฯ
ก็ถูกผลิตออกมา ทั้งนี้ หากพิจารณารายชื่อคณะผูเ้ ขียน หลายคนเป็ นนักวิชาการที่ผลิตงานเชิงวิพากษ์ ตลอดจนคณะ
ที่ปรึ กษาก็ลว้ นเป็ นบุคคลที่ใกล้ชิดสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ อาทิ นายอานันท์ ปั นยารชุน ดร.สุ เมธ ตันติเวชกุล ท่าน
ผูห้ ญิ งบุ ต รี วีร ะไวทยะ ดร.ประพจน์ อัศ ววิรุ ฬ หการ ฯลฯ ดู เหมื อ นว่า
(2012) ต้องการจะสื่ อให้สังคมเห็ นด้วยว่า งานเขียนนี้ ถูกเขียนขึ้นอย่างไม่มีอคติ ใช้มุมมองหลายด้าน อีกทั้งคงไม่

23
... เรามีพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว ทรงเป็ นผู้ปกเกล้ าฯ พวกเราเหล่ า
พสกนิ กร และพระองค์ ไม่ ได้ ทรงมีความสามารถและไม่ ได้ ทรงอยู่ใน
ฐานะที่ ทาให้ ประชาธิ ปไตยของไทยมีความรุ่ งเรื องและยิ่งใหญ่ ไปได้
โดยตลอด หรื อในทางกลับกั น พระองค์ ก็ไม่ ทรงสามารถที่ จะทาให้
ระบอบประชาธิ ไตยตกตา่ ถึ งขี ดสุ ดด้ วยพระองค์ เองตามลาพัง ซึ่ งการ
พิจารณาอย่ างสุ ดโต่ งในด้ านหนึ่ งด้ านใด ล้ วนไม่ มีความสอดคล้ องกับ
การศึ ก ษาระบอบประชาธิ ป ไตยทั้ งที่ ไ ด้ มี วิวัฒ นาการอยู่ในประเทศ
ต่ างๆ และวิวฒั นาการในประเทศไทยด้ วยในตลอดระยะเวลาภายหลังปี
พ.ศ. 2475 เป็ นต้ นมา ...53

สาหรับ หนังสื อ พระผู้ทรงปกเกล้ าฯ (2549) นคริ นทร์ วิเคราะห์ ภายใต้กรอบความคิ ดที่ ว่า
พัฒ นาการการเมื องการปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตยไทย คื อ กระบวนการปรั บ สภาพของ
แนวความคิดประชาธิ ปไตยให้ผสมผสานกลมกลืนกับโครงสร้างอานาจ วิถีชีวติ สถาบันการเมืองและ
การปฏิบตั ิการทางการเมืองที่เป็ นจริ งของประชาชนชาวไทย ทั้งนี้ นับตั้งแต่ พ.ศ. 2475 กระบวนการ
ดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็ นลาดับใน 4 ช่วงเวลาด้วยกัน ได้แก่ 1) สมัยระบอบกึ่งประชาธิ ปไตย
(พ.ศ. 2475-2500) 2) สมัย ระบอบประชาธิ ป ไตยแบบไทย (พ.ศ. 2501-2516) 3) สมัย ระบอบ
ประชาธิ ปไตยแบบแบ่งปั นอานาจ (พ.ศ. 2516-2544) และ 4) สมัยระบอบประชาธิ ปไตยของรัฐบาล
พรรคเดียว (พ.ศ. 2544-2549) ทั้งนี้ ความเปลี่ ยนแปลงใน 4 ช่ วงเวลาดังกล่าว สะท้อนความผันผวน
และความไม่แน่ นอนของระบอบประชาธิ ปไตยของไทย ซึ่ งในทางหนึ่ งพิจารณาได้วา่ เป็ นการแสดง
ระบบความสัมพันธ์ทางอานาจระหว่างกลุ่มคนและระหว่างสถาบันทางสังคมการเมืองต่างๆ ซึ่ งมีการ
ปรับดุลยภาพทางอานาจเป็ นระยะๆ อย่างไรก็ตาม นคริ นทร์ ตั้งข้อสังเกตว่าภายใต้พลวัตและความผัน
ผวนทางการเมื องดังกล่ าว สถาบันพระมหากษัตริ ยน์ ้ ี เองที่ กลับ ดารงอยู่ในฐานะศูนย์รวมจิตใจของ
ประชาชนในชาติมาอย่างต่อเนื่ องยาวนาน เสมือนว่าประเทศไทยและประชาชนชาวไทยได้ตดั สิ นใจ

ต้องการให้มีภาพ “อนุ รักษ์นิยม” มากจนเกิ นไป (หากเที ยบกับ เอกกษัตริ ย์ใต้ รัฐธรรมนูญ ของ วิมลพรรณ) ดังจะ
พบว่า แม้ประเด็นที่อยูใ่ นกระแสวิพากษ์วจิ ารณ์ก็มีปรากฏอยูด่ ว้ ย เช่น ทรัพย์สินส่ วนพระมหากษัตริ ย ์ กฎหมายหมิ่น
พระบรมเดชานุ ภาพ บทบาทของคณะองคมนตรี ฯลฯ สิ่ งนี้ อาจสะท้อนนัยความพยายามปรั บตัวเพื่อให้เข้ากับ
สถานการณ์ปัจจุบนั อย่างไรก็ตาม อาจกล่าวได้วา่ ภาพรวมของงานศึกษาทั้งสองเล่ม คือ ตัวอย่างของพระราชประวัติ
ที่เป็ นแบบฉบับทางการที่ได้รับการพิจารณาแล้วว่าควรเป็ น “ภาพจา” ทางประวัติศาสตร์ ของยุคสมัยรัชกาลที่ 9 ใน
อนาคตต่อไป.
53
นคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์, พระผู้ทรงปกเกล้ าประชาธิ ปไตยไทย 60 ปี สิ ริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย,
หน้ า 7.

24
แล้วที่จะปกครองประเทศในระบอบประชาธิ ปไตย ซึ่ งมีการปรับเปลี่ยนได้เป็ นระยะๆ โดยที่มีองค์
พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นองค์พระประมุข โดยถือเป็ นหลักการที่มีความเด็ดขาดและเป็ นนิจนิรันดร54

บนกรอบวิเคราะห์ดงั กล่าว เนื้ อหาในงานศึกษาจึงแบ่งเป็ นตามยุคสมัยของความเปลี่ยนแปลง


ทั้ง 4 ช่ วง ได้แก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ในระบอบกึ่ งประชาธิ ปไตย, พระบาทสมเด็จพระ
เจ้า อยู่ หั ว ฯ ในระบอบประชาธิ ป ไตยแบบไทย, พระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ หั ว ฯ ในระบอบ
ประชาธิ ป ไตยแบบแบ่งปั นอานาจ, พระบาทสมเด็ จพระเจ้าอยู่หัวฯ ในระบอบประชาธิ ป ไตยสมัย
ปั จจุ บ ัน งานศึ ก ษามาจบที่ พ.ศ. 2549 หรื อ ปี ที่ 60 แห่ ง การครองสิ ริราชสมบัติ ข้อเสนอหลัก ของ
นคริ นทร์ คื อ ภายใต้ พ ลวัต และความผัน ผวนทางการเมื อ งในช่ ว งหลายทศวรรษที่ ผ่ า นมา
พระบาทสมเด็จพระจ้าอยูห่ วั ฯ ได้ทรงดารงบทบาทในฐานะพระมหากษัตริ ยผ์ รู ้ ักษาและสร้างเสริ มให้
เกิดดุลยภาพทางการเมืองไทยมาตลอดช่วงระยะเวลา 60 ปี แห่งรัชสมัย (พ.ศ. 2489-2549) ทั้งนี้ การที่
ประเทศไทยมี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ทรงเป็ น “ผูป้ กเกล้าฯ” (Reign) โดยที่พระองค์มิได้
ทรงทาการปกครอง (Rule) โดยการใช้อานาจหรื อตัดสิ นใจให้ฝ่ายหนึ่ งฝ่ ายใดผิดหรื อถูกหรื อว่าได้
ประโยชน์หรื อเสี ยประโยชน์ สิ่ งนี้ เป็ นปั จจัยส าคัญที่ ท าให้การเมื องในระบอบประชาธิ ป ไตยของ
ประเทศไทยวิวฒั นาการสื บเนื่องมาได้ดว้ ยดี

นิธิ เอียวศรี วงศ์ คือ ผูห้ นึ่ งที่วิพากษ์วิจารณ์งาน พระผู้ทรงปกเกล้ าฯ (2549) ของนคริ นทร์ ไว้
อย่างแหลมคม ด้วยข้อสังเกตที่ว่า เนื้ อหาทั้งหมดของงานล้วนคือบทบาททางการเมืองของกลุ่มพลัง
ต่างๆ อาทิ ทหาร นัก การเมื อง ขบวนการนิ สิ ตนัก ศึ ก ษา ภาคธุ รกิ จ ฯลฯ ซึ่ งอาจมี ค วามสั ม พัน ธ์ ที่
ราบรื่ นบ้างไม่ราบรื่ นบ้างกับสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ กลุ่มพลังเหล่านี้มีปฏิสัมพันธ์กนั ในทางการเมือง
อย่างเข้มข้น โดยมีสถาบันพระมหากษัตริ ยต์ ้ งั อยู่แต่เพียงห่ างๆ ยกเว้นแต่เมื่อเกิ ดวิกฤติทางการเมื อง
ครั้ งใด พระมหากษัตริ ยก์ ็ จะทรงเข้ามาแก้ไขเพื่ อให้อย่างน้อยรู ป แบบของประชาธิ ป ไตยสามารถ
ดาเนิ นต่อไปได้55 แต่ภายใต้กรอบแนวคิดของ นคริ นทร์ ที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว “ทรงเป็ นผู้
ปกเกล้าฯ มิได้ทรงปกครอง” ด้านหนึ่ งกลับผลิ ตซ้ าภาพความเป็ นสถาบันที่ “ไม่เป็ นการเมื อง” ซึ่ ง
ความคิดเช่นนี้ทาให้พระราชกรณี ยกิจทั้งหมดจึงไม่เคยถูกพิจารณาในฐานะ “การกระทาทางการเมือง”
ไม่ ว่าการเสด็ จเยี่ยมเยือนประชาชน โครงการพระราชดาริ หรื อ การมี พ ระราชดารั สและพระบรม

54
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 4-5.
55
โป รดดู ร ายละเอี ย ดใน Nidhi Eoseewong “Critical Comments on Paul Handley’s The King Never Smiles”
(Panel Discussion).

25
ราโชวาทต่างๆ ฯลฯ56 และด้วยความ “ไม่เป็ นการเมือง” นี้ เอง วิกฤตการณ์ ทางการเมืองต่างๆ จึงเป็ น
วิกฤติที่เกิดขึ้นจากพลังกลุ่มต่างๆ ที่ไม่อาจจัดความสัมพันธ์ให้ลงตัวได้เอง สถาบันพระมหากษัตริ ยไ์ ม่
มีส่วนในพัฒนาการของวิกฤติน้ นั ๆ ยกเว้นแต่การระงับความขัดแย้งที่รุนแรงเกินไป

ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาลงไปในเชิงรายละเอียด งานเรี ยบเรี ยงของนคริ นทร์ ชิ้นนี้ ได้จดั วางตาแหน่ง


แห่ งที่ของสถาบันพระมหากษัตริ ยโ์ ดยตั้งไว้ห่างๆ จากระบบความสัมพันธ์ทาง “การเมือง” อย่างเห็ น
ได้ชัด ดังคาอธิ บายสถานการณ์ ทางการเมื องในช่ วงต้นทศวรรษ 2510 ที่ รัฐบาลจอมพลถนอม กิ ตติ
ขจร เริ่ มเผชิญกับแรงกดดันจากกลุ่มการเมืองต่างๆ ซึ่ ง นคริ นทร์ ให้คาอธิ บายว่า

... ความขัดแย้ งที่ เกิ ดขึ น้ จากกลุ่มการเมืองต่ างๆ อาทิ กลุ่มทหาร กลุ่ม
ธุรกิจ กลุ่มกรรมกร และกลุ่มนักศึกษา เริ่ มกดดันรั ฐบาลจอมพลถนอม
มากขึน้ เรื่ อยๆ การประนี ประนอมที่ ไม่ เคยปรากฏมาก่ อนในสมัยของ
จอมพลสฤษดิ์ จึงมาปรากฏขึ น้ ในสมัยจอมพลถนอม ไม่ ว่าจะเป็ นการ
ริ เริ่ มนโยบายเกี่ยวกับสมาคมธุรกิจเป็ นครั้ งแรกเพื่อเอาใจกลุ่มนักธุรกิ จ
หรื อ เอาใจกลุ่ม กรรมกรด้ วยการออกพระราชบัญ ญัติจัดหางานและ
คุ้มครองแรงงาน ที่ สาคัญจอมพลถนอมยังต้ องประนีประนอมกับกลุ่ม
ทางการเมืองอื่นๆ ในสั งคมอีก โดยเฉพาะกลุ่มนักศึกษา จนต้ องจัดให้ มี
รั ฐ ธรรมนู ญ ขึ ้น ในปี พ.ศ. 2511 และจั ด ให้ มี ก ารเลื อ กตั้ งในปี พ.ศ.
2512 ...57

ดั ง เนื้ อความที่ ย กมา จะเห็ น ได้ ว่ า ความพยายามจั ด วางต าแหน่ ง แห่ งที่ ข องสถาบั น
พระมหากษัตริ ย ์ที่ ต้ งั ไว้ห่ างๆ จาก “การเมื อง” ดังกล่ าว จึ งท าให้ แทบไม่ป รากฏภาพการมี อยู่ข อง
สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย ณ ขณะนั้นแต่อย่างใดเลย หรื อถ้ามีก็อาจเห็นได้แต่เพียงรางๆ ไม่
เป็ นรู ปธรรม (ด้วยการใช้คาว่า “กลุ่มทางการเมืองอื่นๆ ในสังคม”) อย่างไรก็ตาม แม้วา่ สิ่ งนี้ อาจเป็ น
ข้อด้อยของงานศึกษา ด้วยเงื่อนไขของงานเขียนที่ถูกผลิตขึ้นมาอย่างมีวาระและวัตถุประสงค์เพื่อการ
เฉลิ มพระเกียรติ หากแต่ขอ้ เสนอหลักบางประการของนคริ นทร์ คือบทบาทของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ ัวฯ ในฐานะผูร้ ักษาและสร้างเสริ มให้เกิดดุ ลยภาพทางการเมืองไทยกลับเป็ นคาอธิ บายที่สอด

56
ควรกล่าวด้วยว่า คาวิจารณ์ ของนิ ธิ ต่องาน พระผู้ทรงปกเกล้ าฯ (2549) ของนคริ นทร์ ยังสอดคล้องกับใจความ
สาคัญในงานศึกษาของ ธงชัย วินิจจะกูล เรื่ อง ข้ ามให้ พ้นประชาธิ ปไตยแบบหลัง 14 ตุลาฯ (2548) ในประเด็นเรื่ อง
มโนทัศน์การอยู่ “เหนือการเมือง” ของสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ อีกด้วย.
57
นคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์, พระผู้ทรงปกเกล้ าประชาธิ ปไตยไทย 60 ปี สิ ริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย,
หน้า 135-136.

26
รับกับบริ บทบางช่ วงสมัยได้เป็ นอย่างดี เช่ น สถานการณ์ ทางการเมืองในช่ วงทศวรรษ 252058 ทั้งยัง
สอดรั บ กับ ค าอธิ บ ายที่ ว่าสิ่ งนี้ ย งั เป็ น “ฉัน ทามติ ร่วม” (Consensus) ของชนชั้นนาไทยในช่ วงเวลา
ดังกล่าวอีกด้วย

นอกจากนี้ ในการศึกษาประเด็นสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย ข้อสนเทศส่ วนหนึ่ งยัง


ปรากฏอยูใ่ นกลุ่มงานศึกษาประวัติศาสตร์ การเมืองในช่วงทศวรรษ 2490 เช่น งานศึกษาของ กอบเกื้อ
สุ วรรณทั ต -เพี ย ร เรื่ อง un through Three Decades 1932-1957.
(1995)59 ที่ผศู ้ ึกษาใช้เอกสารการทูตร่ วมสมัยบรรยายความขัดแย้งทางการเมืองไทยในทศวรรษ 2490
โดยคู่ขดั แย้งสาคัญหนึ่ งก็คือ ความขัดแย้งระหว่างราชสานัก กับ คณะรัฐประหารที่มี จอมพล ป. พิบูล
สงคราม เป็ นผูน้ า ทั้งนี้ แม้วา่ จุดเริ่ มต้นในการขึ้นครองอานาจของคณะรัฐประหารใน พ.ศ. 2490 กลุ่ม
ทหารจะได้รับ การสนับ สนุ นจากกลุ่ ม กษัตริ ยน์ ิ ยมและพระราชวงศ์ โดยข้อแลกเปลี่ ยนส าคัญ คื อ
รัฐธรรมนู ญฉบับ พ.ศ. 2492 ที่ ให้พ ระราชอานาจแก่ พ ระมหากษัตริ ยเ์ พิ่ มขึ้ นเป็ นอย่างมาก แต่แล้ว
“การรัฐประหารเงียบ” ปลาย พ.ศ. 2494 ที่เกิ ดขึ้นก่อนที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ จะเสด็จกลับ
มาถึ งประเทศไทยเพียงแค่ 3 วัน ได้ทาลายสัมพันธภาพนี้ ลง กอบเกื้อ อ้างอิงเอกสารการทูตชิ้นหนึ่ งที่
ระบุ ว่าเหตุ ผ ลส าคัญ ของการยึดอานาจเป็ นเพราะกลุ่ ม ทหารกลัวว่าการเสด็ จฯ กลับ มาประทับ ณ
ประเทศไทยเป็ นการถาวรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวฯ จะก่อให้เกิ ดการฟื้ นฟูอานาจของกลุ่ม
กษัตริ ยน์ ิยม60

ต่อประเด็นนี้ งานศึกษาของกอบเกื้อจึงน่ าจะเป็ นภาพตัวแทนที่ดีของยุคเริ่ มต้นกระบวนการ


ก่อรู ปสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย ในสถานการณ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ และกลุ่ม
ผูส้ นับสนุ นต้องเผชิ ญหน้ากับคณะรัฐประหารนับตั้งแต่เสด็จฯ กลับมาประเทศไทย (ธันวาคม พ.ศ.
2494) ทั้งยังเห็ นบทบาทของกลุ่มก้อนตัวแสดงที่สาคัญของเครื อข่ายในช่วงเวลานั้น อาทิ พระวรวงศ์
เธอ พระองค์เจ้าธานี นิวตั ิฯ พระยาศรี วิสารวาจา ม.ร.ว. เสนี ย ์ ปราโมช ฯลฯ จุดเด่นสาคัญในงานของ
กอบเกื้ ออยู่ที่การให้ภาพกระบวนการต่อสู ้ ต่อรอง ระหว่างสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย กับ
คณะรัฐประหาร ในช่ วงครึ่ งหลังทศวรรษ 2490 ไม่ว่าจะเป็ นการยื้อยุดการประกาศใช้รัฐธรรมนู ญ
พ.ศ. 2475 (ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2495) ความเห็นที่ไม่ลงรอยกันต่อเรื่ องพระราชบัญญัติการถื อครองที่ดิน

58
โปรดดู อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์, ประชาธิ ปไตยคนไทยไม่ เท่ ากัน (กรุ งเทพฯ: มติชน, 2557).
59
Kobkua Suwannathat-Pian, , 1932-1957 (New
York: Oxford University Press, 1995).
60
Ibid, p. 95.

27
พ.ศ. 2497 ซึ่ งราชสานักไม่อาจยับยั้งทัดทานมติของสภาได้61 ดังที่กล่าวมา งานศึกษาของกอบเกื้ อ จึง
นับเป็ นข้อมูลชุ ดสาคัญที่ทาให้เห็นสภาวการณ์ ของสถาบันพระมหากษัตริ ยใ์ นช่วงต้นรัชกาล ที่ยงั อยู่
ในสถานะ “คู่ข ดั แย้ง” และมีค วามเป็ นการเมื องสู งชัดเจนมากยุคหนึ่ ง ขณะเดี ยวกันก็สะท้อนภาพ
สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่ายที่ยงั จากัดกลุ่มอยูใ่ นวงแคบและกระทาการได้อย่างจากัด

หลังจากงานศึกษาของ กอบเกื้อ สุ วรรณทัต-เพียร (1995) ไม่ปรากฏงานศึกษาประวัติศาสตร์


การเมืองยุคจอมพล ป. ในทศวรรษ 2490 อย่างลึกซึ้ งอีก อาจกล่าวได้วา่ งานศึกษาของณัฐพล ใจจริ ง ที่
เขียนขึ้นในช่วงต้นทศวรรษ 2550 อาทิ วิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาเอก เรื่ อง การเมืองไทยสมัยรั ฐบาล
จอมพล ป. พิ บูลสงคราม ภายใต้ ระเบี ยบโลกของสหรั ฐอเมริ กา (พ.ศ.2491-2500) (2552)62 และ พระ
บารมี ป กเกล้ าฯ ใต้ เงาอิ น ทรี : แผนสงครามจิ ตวิ ท ยาอเมริ กั น กั บ การสร้ างสถาบั น กษั ต ริ ย์ ใ ห้ เป็ น
“สั ญ ลัก ษณ์ ” แห่ งชาติ (2554)63 ที่ แ ม้จะเน้น ให้ ค วามส าคัญ กับ ปั จจัย ภายนอก คื อ สหรั ฐ อเมริ ก า
หากแต่ก็เป็ นการต่อยอดงานยุคสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ของกอบเกื้ อ สุ วรรณทัต-เพียร อย่าง
สาคัญ แน่ นอนว่าการศึ กษาประวัติศาสตร์ การเมื องในช่ วงนี้ อย่างลึ กซึ้ ง ย่อมเห็ นภาพบทบาทของ
สถาบันพระมหากษัตริ ยใ์ นฐานะกลุ่ม ก้อนตัวแสดงสาคัญ ซึ่ งในงานศึ กษาทั้งสองชิ้ นของณัฐพลชี้
ประเด็นให้เห็นว่า ภายใต้ระเบียบโลกใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริ กาซึ่ งมีอิทธิ พลต่อการ
เมืองไทยและอยูใ่ นฐานะพันธมิตรของรัฐบาลจอมพล ป. ในการต่อสู ้กบั คอมมิวนิสต์ กลับมีส่วนอย่าง
มากในการสนับสนุ นให้สถาบันพระมหากษัตริ ยฟ์ ้ื นคืนความสาคัญทางการเมือง ทั้งนี้ ปรากฏการณ์
ดังกล่าวเป็ นผลจากความพยายามของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย ในการแสวงหาวิธีการต่อสู ้
ทางการเมืองแบบใหม่ หลังจากที่ตกเป็ นฝ่ ายเพลี่ยงพล้ านับตั้งแต่หลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2494 วิธีดงั
กล่าวคือ การหันไปเป็ นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริ กา

ณัฐพล ชี้ ให้เห็ นว่าเนื่ องจากแกนนาส าคัญหลายคนในสถาบันพระมหากกษัตริ ยแ์ ละกลุ่ ม


กษัตริ ยน์ ิ ยมล้วนเคยมี ส่วนร่ วมในการกาหนดนโยบายต่ างประเทศของไทย อี กทั้งมี ท กั ษะในการ
วิเคราะห์และทาความเข้าใจสถานการณ์ ทางการเมืองระหว่างประเทศเป็ นอย่างดี เช่น พระยาศรี วิสาร
วาจา องคมนตรี อดีตปลัดทูลฉลองและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ ม.ร.ว. เสนี ย ์
ปราโมช อดี ต เอกอัค ราชทู ต ประจ า วอชิ ง ตัน .ดี .ซี . อดี ต นายกรั ฐ มนตรี แ ละรองหั ว หน้ า พรรค
61
Ibid, p. 79.
62
ณัฐพล ใจจริ ง, การเมืองไทยสมัยรั ฐบาลจอมพล ป. พิ บูลสงคราม ภายใต้ ระเบี ยบโลกของสหรั ฐอเมริ กา (พ.ศ.
2491-2500), วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.
63
ณัฐพล ใจจริ ง, “พระบารมีปกเกล้าฯ ใต้เงาอินทรี : แผนสงครามจิตวิทยาอเมริ กนั กับการสร้างสถาบันกษัตริ ยใ์ ห้
เป็ น ‘สัญลักษณ์ ’ แห่ งชาติ”, ใน ขอฝั นใฝ่ ในฝั นอันเหลือเชื่ อ ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิ ปักษ์ ปฏิ วัติสยาม
(พ.ศ. 2475-2500) (นนทบุรี: ฟ้ าเดียวกัน, 2556).

28
ประชาธิ ปัตย์ บุ คคลเหล่านี้ ล้วนมี ส่วนในฐานะผูเ้ ชื่ อมต่อและพยายามสร้ างความสนิ ทสนมใกล้ชิด
ระหว่างสถาบันพระมหากษัตริ ยก์ บั สหรัฐอเมริ กา64 และทาให้สหรั ฐฯ เริ่ มเล็งเห็ นถึ งศักยภาพของ
สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ซึ่ งมีอิทธิ พลสู งต่อความคิดจิตใจของประชาชนว่าน่ าจะเป็ นเครื่ องมือที่ดีใน
การทาสงครามจิ ตวิทยาต่อต้านคอมมิวนิ สต์ได้ ทั้งนี้ เมื่ อสหรัฐฯ มี นโยบายต่อต้านคอมมิวนิ สต์ใน
ไทยที่ชดั เจนขึ้น ด้วยการสร้างสถาบันพระมหากษัตริ ยใ์ ห้เป็ น “สัญลักษณ์ ” แห่ งชาติ และตอกย้ าว่านี่
คือสิ่ งที่จะถูกคุ กคามจากคอมมิวนิ สต์ เงื่อนไขนี้ มีส่วนทาให้แผนการเสด็จฯ เยี่ยมเยือนประชาชนใน
ชนบทซึ่ งเป็ นความปราถนาของราชสานักสามารถเกิดขึ้นได้จริ ง65 โดยที่รัฐบาลจอมพล ป. จาต้องยอม
โอนอ่อนผ่อนตาม

เมื่ อประกอบกับท่าที ของรั ฐบาลจอมพล ป. ในช่ วงปลายทศวรรษ 2490 ที่ เริ่ มถอยห่ างจาก
สหรัฐฯ ด้วยการเริ่ มนโยบายต่างประเทศที่เป็ นกลาง ตลอดจนการแอบติดต่อกับ “จีนแดง” เป็ นการ
ลับ ๆ โดยคณะทู ตใต้ดิน อี กทั้งรั ฐบาลจอมพล ป. เองก็ ไม่ก ระตือรื อร้ น ที่ จะสนองต่อนโยบายการ
ลงทุนภาคเอกชนที่ช้ ี นาโดยสหรัฐฯ เท่าที่ควร ด้วยเหตุน้ ี ท่ามกลางความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลจอมพล
ป. กับ สถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์และกลุ่ ม ทหารภายใต้ก ารน าของจอมพลสฤษดิ์ ส่ งผลให้ ส หรั ฐ ฯ
ตัดสิ นใจให้การสนับสนุ นกลุ่มการเมืองใหม่ คือ สถาบันพระมหากษัตริ ยแ์ ละกลุ่มทหารของจอมพล
สฤษดิ์ ให้ข้ ึ นมามี อานาจแทน เพื่ อให้การเมื องไทยมี เสถี ยรภาพและดาเนิ นนโยบายตามที่ ส หรัฐฯ
ต้องการต่อไป66 การสิ้ นสุ ดอานาจของจอมพล ป. นับเป็ นจุดเริ่ มต้นของโครงสร้างอานาจการเมืองที่
สาคัญระหว่าง สหรัฐอเมริ กา-สถาบันพระมหากษัตริ ย-์ กองทัพ หรื อ “อานาจไตรภาคี” ที่มีผลสาคัญ
ต่อการแปรเปลี่ ยนโฉมหน้าและบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ายซึ่ งจากนี้ ไปจะมี
พัฒนาการควบคู่ไปกับระบอบสฤษดิ์-ถนอม

วิท ยานิ พ นธ์ระดับ ปริ ญ ญาโทของ ปราการ กลิ่ น ฟุ้ ง เรื่ อง การเสด็จพระราชดาเนิ น ท้ องที่
ต่ างจังหวัดของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พ.ศ. 2493-2530 (2551)67 เป็ นอีกงาน
ศึกษาหนึ่ งที่มีความน่าสนใจและเกี่ ยวข้องกับประเด็นสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย เนื่องจาก
การเสด็จพระราชดาเนิ นท้องที่ต่างจังหวัดเป็ นพระราชกรณี ยกิ จที่ตอ้ งเกี่ยวข้องกับบุคคลจานวนมาก

64
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 320-321.
65
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 331.
66
ณัฐพล ใจจริ ง, การเมืองไทยสมัยรั ฐบาลจอมพล ป. พิ บูลสงคราม ภายใต้ ระเบี ยบโลกของสหรั ฐอเมริ ก า (พ.ศ.
2491-2500).
67
ปราการ กลิ่นฟุ้ ง, การเสด็จพระราชดาเนิ นท้ องที่ ต่างจังหวัดของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
พ.ศ. 2493-2530, วิทยานิ พนธ์อกั ษรศาสตรมหาบัณฑิ ต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2551.

29
ทั้งนี้ ปราการตั้งข้อสังเกตเบื้องต้นว่าการเสด็จฯ ท้องที่ต่างจังหวัดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวฯ
เป็ นพระราชกรณี ยกิจที่เกิดขึ้นเฉพาะในรัชกาลปั จจุบนั เท่านั้น เมื่อสังคมการเมืองไทยเปลี่ยนแปลงไป
ใน พ.ศ. 2475 ส่ งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันพระมหากษัตริ ยแ์ ละสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไป
เช่ นกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเป็ นพระมหากษัตริ ยพ์ ระองค์แรกที่ทรงปฏิ บตั ิพระราช
กรณี ยกิ จการเสด็จฯ ท้องที่ ต่างจังหวัดภายใต้ระบบความสัม พันธ์ แบบใหม่น้ ี ประกอบกับ เงื่ อนไข
แวดล้อมอื่ นๆ ที่ เกิ ดขึ้ นเฉพาะยุคสมัยเช่ นกันที่ ท าให้การเสด็จฯ ท้องที่ ต่างจังหวัดเกิ ดขึ้ น เช่ น การ
คมนาคมสมัยใหม่ การคุ กคามของภัยคอมมิวนิ สต์ แนวคิดเรื่ องการพัฒนาในยุคสงครามเย็น เป็ นต้น
จะเห็ นว่าปั จจัยเหล่ านี้ ไม่ปรากฏในรัชสมัยของพระมหากษัตริ ยพ์ ระองค์ใดก่ อนหน้านี้ ดังนั้น การ
เสด็จฯ ท้องที่ต่างจังหวัดจึงเป็ นพระราชกรณี ยกิจที่มีลกั ษณะเฉพาะของรัชกาลปั จจุบนั โดยแท้จริ ง

และเนื่ องจากเป็ นปรากฏการณ์ใหม่เฉพาะรัชสมัย การเสด็จฯ ท้องที่ต่างจังหวัดจึงมีลกั ษณะที่


เป็ น “ประเพณี ประดิ ษฐ์” ที่สัมพันธ์ กบั บริ บ ททางการเมื องและพระราชอานาจอยู่มาก ดังจะพบว่า
ในช่วงทศวรรษ 2490 ด้วยความเคร่ งครัดของหลักการพระมหากษัตริ ยท์ ี่อยูภ่ ายใต้รัฐธรรมนูญ ทาให้
การเสด็จฯ ท้องที่ ต่างจังหวัดในช่ วงเวลานี้ ตอ้ งเป็ นไปภายใต้การดาเนิ นการของรัฐบาล68 ตัวอย่างที่
สาคัญคือ การเสด็จพระราชดาเนิ นภาคอีสานเมื่อปลาย พ.ศ. 2498 ซึ่ งการเสด็จคราวนั้นสะท้อนการ
ปฏิบตั ิตามหลักการนี้อย่างเคร่ งครัด เช่น พระราชดารัสที่ทรงมีกบั ข้าราชการและประชาชนที่มาเข้าเฝ้ า
ณ จังหวัดต่ างๆ ล้วนอยู่ในกรอบแบบแผนเดี ยวกัน การเสด็ จไปพบปะกับ กลุ่ ม คนต่ างๆ ที่ ไม่ อาจ
กระทาได้ดว้ ยพระองค์เอง ฯลฯ อย่างไรก็ตาม การปฏิบตั ิตามหลักการดังกล่าวนี้ สิ้นสุ ดลงเมื่อจอมพล
สฤษดิ์ กระท ารัฐประหาร พ.ศ. 2500 หลังจากนั้น พระราชกรณี ยกิ จการเสด็จฯ ท้องที่ ต่างจังหวัด มี
รู ป แบบที่ เป็ นอิ ส ระมากขึ้ น และเป็ นไปตามพระราชอัช ฌาสั ย สะท้อ นการข้ามพ้น ข้อ จ ากัด ของ
หลักการเรื่ องพระราชอานาจแบบยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

นอกจากนี้ การเสด็จฯ ท้องที่ ต่างจังหวัด ยังสะท้อนเงื่ อนไขทางการเมืองในแต่ละช่ วงเวลา


อย่างมี นัยสาคัญ เช่ น ในบริ บ ทการเมื องช่ วงทศวรรษ 2490 ที่ ส ถาบันพระมหากษัตริ ยแ์ ละรัฐบาล
ขณะนั้น มี ค วามเป็ น “คู่ ข ัด แย้ง ” และมิ ไ ด้ส นับ สนุ น การกระท าซึ่ งกัน และกัน การเสด็ จฯ ท้อ งที่
ต่างจังหวัด อันหมายถึง การปรากฏองค์ของพระมหากษัตริ ย ์ ให้ประชาชนในท้องที่ห่างไกลได้เห็ น
รับรู ้ และชื่ นชมพระบารมี จึงเป็ นเรื่ องที่ตอ้ งผ่านกระบวนการต่อรองอย่างสู งจากหลายฝ่ ายทั้งรัฐบาล
ราชสานัก ตลอดจนด้วยการวิ่งเต้นทางการทูตระหว่างประเทศ ทั้งนี้ ปราการยังตั้งข้อสังเกตด้วยว่า
ความขัดแย้งทางการเมื องระหว่าง 3 ผูท้ รงอานาจในขณะนั้น คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม จอมพล

68
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 40-41.

30
สฤษดิ์ ธนะรัชต์ และ พล.ต.อ. เผ่า ศรี ยานนท์ มีส่วนที่ทาให้ จอมพล ป. ต้องหันมาสนับสนุ น เรื่ องการ
เสด็จฯ ท้องที่ต่างจังหวัดอย่างจริ งจังเพื่อหวังความช่วยเหลือจากราชสานัก69

งานศึกษาของปราการยังแสดงข้อมูลเชิ งปริ มาณที่ ช้ ี ให้เห็ นว่า ช่ วงปี ที่ พระบาทสมเด็จพระ


เจ้าอยูห่ วั ฯ เสด็จฯ ท้องที่ต่างจังหวัดตามจานวนวันต่อปี มากที่สุดคือในช่วงทศวรรษ 2510-2520 และ
เสนอว่าเงื่ อนไขทางการเมื องที่สาคัญที่สุดในการกาหนดให้การเสด็จฯ ท้องที่ต่างจังหวัดเป็ นไปใน
ทิ ศทางเช่ นนั้น คือ การคุ กคามของภัยคอมมิ วนิ สต์ภายในประเทศ การเสด็จฯ ท้องที่ ต่างจังหวัดใน
ช่ ว งเวลาดัง กล่ า วยัง เป็ นที่ ม าของโครงการพัฒ นาชนบทของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่หั ว ฯ ที่
ก่อให้เกิดการรับรู ้อย่างกว้างขวางต่อบทบาทด้านการพัฒนาของสถาบันพระมหากษัตริ ยไ์ ทย อันเป็ น
เงื่อนไขที่ก่อให้เกิด “พระราชอานาจนา” (Royal Hegemony) ขณะเดียวกัน พระราชกรณี ยกิจนี้ ยงั เป็ น
บ่อเกิดและสัญลักษณ์ของการพัฒนา เป็ นภาพตัวแทนของเมืองหลวงที่ไม่ทอดทิ้งชนบท ตลอดจนเป็ น
ที่มาของความคาดหวังในสังคมไทยว่า สถาบันพระมหากษัตริ ยต์ อ้ งมีความใกล้ชิดกับประชาชน70 ซึ่ ง
ความคาดหวังดังกล่าวเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นใหม่ในรัชกาลปั จจุบนั เช่นกัน

ในแง่มุมที่เกี่ ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย งานศึ กษาของปราการนับว่ามี


ประโยชน์ไม่น้อยในแง่ของการให้ภาพบทบาทและกิ จกรรมของ “กลุ่มคน” ที่เกี่ ยวข้องกับพระราช
กรณี ยกิ จการเสด็จฯ ท้องที่ต่างจังหวัด เช่น กลุ่มข้าราชการปกครองกระทรวงมหาดไทย ตชด. หมอ
ชนบท ฯลฯ ซึ่ งเป็ นกลุ่ มก้อนตัวแสดงที่ ถูกคัดเลื อกคัดสรรและเป็ นส่ วนหนึ่ งของเครื อข่ายมาตั้งแต่
ทศวรรษ 2500 เป็ นอย่างน้อย ดังตัวอย่าง เช่น บทบาทของกลุ่มข้าราชการมหาดไทย “สายวัง” ที่มีส่วน
เกี่ ยวข้องกับการฟื้ นภาพลักษณ์ อนั ศักดิ์ สิทธิ์ ของสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ผ่านธรรมเนี ยมปฏิ บตั ิเดิ ม
และ “ประเพณี ประดิ ษฐ์” ใหม่ ในบริ บ ทของการเสด็จฯ ท้องที่ ต่างจังหวัด อาทิ การถวายพระแสง
ศัตราวุธประจาเมือง การรับพระราชทานพระพุทธนวราชบพิธประจาจังหวัด ขณะเดียวกัน เครื อข่าย
เหล่านี้ ก็มีส่วนสาคัญต่อการสนับสนุ นพระราชกรณี ยกิจด้านการพัฒนาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ชนบท ผ่าน
ความสัมพันธ์ ในข่ายงานองค์กรมูลนิ ธิ อันเกี่ ยวข้องกับการพัฒนาของพระมหากษัตริ ยท์ ี่ อยู่ภายใต้
โครงสร้างเดียวกับโครงสร้างระบบราชการ เช่น มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ พอ.สว. ฯลฯ อันเป็ นส่ วน
สนับสนุนการทางานด้านการพัฒนาของพระมหากษัตริ ยใ์ นพื้นที่ต่างจังหวัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

69
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 127.
70
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 225.

31
งานศึ ก ษาประวัติ ศ าสตร์ ค วามคิ ด ปั ญ ญาชนกระแสหลัก นับ เป็ นงานอี ก ประเภทหนึ่ ง ที่
เกี่ยวข้อง เช่น งานของ สายชล สัตยานุรักษ์ เรื่ อง คึ กฤทธิ์ กับประดิ ษฐกรรม “ความเป็ นไทย” (2550)71
คือตัวอย่างของการศึกษาวิเคราะห์ปัญญาชนกระแสหลัก ผูม้ ีส่วนในการสร้างวาทกรรมความเป็ นไทย
ซึ่งกรณี ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นับเป็ นบุคคลสาคัญคนหนึ่ งในสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย
ทั้งนี้ ข้อสมุมติฐานที่น่าสนใจของสายชล คือ การนิยามความเป็ นไทยของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ดูจะสัมพันธ์
กับ ความปรารถนาในตาแหน่ งนายกรั ฐมนตรี ของ ม.ร.ว. คึ ก ฤทธิ์ เองวิธี การดังกล่ าวคื อการสร้ าง
“อานาจทางปัญญา” ที่จะหนุนส่ งให้ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ กลายเป็ นปราชญ์ เป็ นผูน้ าทางปั ญญาแก่สังคมอัน
จะเป็ นผลดีต่อการเข้าสู่ อานาจทางการเมืองในภายภาคหน้า

สาหรับตัวอย่างการนิ ยามความเป็ นไทยของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ จากข้อค้นพบในงานศึกษา เช่ น


ความเป็ นไทยที่ปรากฏในนวนิ ยาย “สี่ แผ่นดิน” ซึ่ งเขียนขึ้นช่วงกลางทศวรรษ 2490 โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งความสาคัญของพระมหากษัตริ ยท์ ี่ เป็ นแก่นกลางของเรื่ อง รวมไปถึ งภาพสังคมที่ จรรโลงไปด้วย
พุทธศาสนา งานประเพณี พิธีกรรม และระบบความสัมพันธ์ทางสังคมแบบรู้ที่ต่าที่สูง อันทาให้ยุค
สมัยสมบู รณาญาสิ ท ธิ ราชย์เป็ นยุค ที่ “มี ค วามสุ ข ความหวัง และความแน่ น อน” ขณะเดี ย วกัน สี่
แผ่ น ดิ น ก็ ไ ด้ ใ ห้ ภ าพราชาธิ ป ไตยที่ ป ราศจาก “การเมื อ ง” ซึ่ งท าให้ ผู้ป กครองอัน หมายถึ ง
พระมหากษัตริ ย ์ ไม่ ตอ้ งเสี ยเวลาไปกับ การเมื องและสามารถแก้ไขปั ญหาและสร้ างความเจริ ญแก่
บ้านเมื องและประชาชนได้อย่างเต็มที่ ดังนั้นคาว่า “การเมือง” ตามนัยที่ปรากฏใน “สี่ แผ่นดิ น” จึง
ไม่ใช่สิ่งที่ดีนกั 72 นวนิยาย “สี่ แผ่นดิน” นับเป็ นความสาเร็ จของการแสดงตนเป็ นผูร้ อบรู้ในความเป็ น
ไทยและสร้าง “อานาจทางปั ญญา” ให้แก่ตวั ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ พร้อมๆ กับการเกิดขึ้นของความจริ ง
เกี่ยวกับความเป็ นไทยขึ้นมาชุดหนึ่ง

นอกจากนี้ สายชล ให้ภาพว่าในช่วงสมัยจอมพลสฤษดิ์ การนิยามความเป็ นไทยของ ม.ร.ว.คึก


ฤทธิ์ เป็ นผลดี อย่างยิ่งต่ อรั ฐบาลเผด็ จการทหาร เนื่ องจาก ม.ร.ว. คึ ก ฤทธิ์ ได้ท าให้ คนไทยเห็ น ว่า
ระบอบอานาจนิ ยมหรื อระบอบเผด็จการของจอมพลสฤษดิ์ คือการปกครองแบบไทยในอุดมคติ และ
“การปกครองแบบไทย” ที่แม้จะไม่เป็ นประชาธิ ปไตยนี้จะก่อให้เกิดระเบียบความสงบสุ ข ความมัน่ คง
และความเจริ ญก้าวหน้า เพราะภายใต้ “การปกครองแบบไทย” การพัฒนาประเทศและการต่อต้าน
คอมมิวนิ สต์จะดาเนิ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ความสัมพันธ์ของคนในสังคมไทยก็จะเป็ นไปในทาง

71
สายชล สัตยานุรักษ์, คึ กฤทธิ์ กับประดิษฐกรรม “ความเป็ นไทย” (เล่ม 1 ยุคจอมพล ป.พิบูลสงคราม) และ (เล่ม 2
ยุคจอมพลสฤษดิ์ ถึงทศวรรษ 2530) (กรุ งเทพฯ: มติชน, 2550).
72
สายชล สัตยานุรักษ์, คึกฤทธิ์ กับประดิษฐกรรม “ความเป็ นไทย” (เล่ม 1), หน้า 186-188.

32
ช่วยเหลื อเกื้ อกูลกันระหว่างคนที่ มีสถานภาพต่างกัน73 ขณะเดี ยวกันสิ่ งที่ควบคู่ไปกับ “การปกครอง
แบบไทย” ก็คือ “ผูป้ กครองแบบไทย” ซึ่ งถู กนิ ยามว่าควรเป็ นผูท้ ี่ มีอานาจเด็ดขาด หากแต่เสี ยสละ
ตนเองเพื่อส่ วนรวม ไม่ถวิลหาในอานาจ และปฏิบตั ิหน้าที่เพื่อชาติและประชาชนอย่างแท้จริ ง นัยหนึ่ ง
การปกครองที่ มีผนู ้ าเช่นนี้ คือสิ่ งที่ถูกต้องดีงามและแน่นอนกว่าประชาธิ ปไตยระบอบรัฐสภาซึ่ งเป็ น
สิ่ งที่ตรงกันข้ามกับระบอบสฤษดิ์

พร้อมกันนี้ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ก็ได้นิยามสถานะและบทบาทของพระมหากษัตริ ยใ์ นระบอบการ


ปกครองแบบไทยไว้ดว้ ย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ต่อความเชื่ อที่วา่ พระมหากษัตริ ยค์ ือ ผูท้ ี่ทรงควบคุมดูแล
การใช้อานาจของรัฐบาล ซึ่ ง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ยืนยันว่า การที่สังคมไทยใช้ “หัว” แห่ งสังคมคือ สถาบัน
พระมหากษัตริ ย ์ เพื่อควบคุม “แขนขา” คือฝ่ ายบริ หารนั้นเป็ น “การปกครองแบบไทย” ผูน้ ารัฐบาลที่มี
ความชอบธรรมจึงต้องมี ความจงรักภักดี อย่างสู งต่อพระมหากษัตริ ย ์ ซึ่ งจะทาให้ยอมอยู่ภายใต้การ
ควบคุ มดูแลของพระองค์โดยดุ ษณี และด้วยเหตุดงั นั้นนอกจาก ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ จะกล่าวถึ งความเป็ น
“สถาบัน” ของพระมหากษัตริ ยเ์ พื่อเน้นมิติแห่ งความศักดิ์ สิทธิ์ สู งส่ งเหนื อคนทั้งปวงในฐานะที่ ทรง
เป็ น “เทวราชา” แล้ว ยัง พยายามน าเสนอภาพพระบาทสมเด็ จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ในฐานะที่ ทรงเป็ น
“บุคคล” มากกว่าความเป็ น “สถาบัน ” เพื่อเน้นให้เห็ นถึ งความใกล้ชิดระหว่างพระมหากษัตริ ยก์ บั
ประชาชน และหลอมรวมความรู ้สึกของประชาชนให้มีความผูกพันและจงรักภักดีอย่างลึกซึ้ งต่อองค์
พระมหากษัตริ ยใ์ นฐานะ “หัวใจของชาติไทย”74 ซึ่ งทาให้รัฐบาลทุกรัฐบาลไม่อาจปฏิเสธความสาคัญ
ของพระมหากษัตริ ยไ์ ด้เลย นอกจากนี้ ในการให้ความหมายของพระมหากษัตริ ย ์ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ยัง
เป็ นต้น ต ารั บ ในการนิ ย ามความหมายของพระมหากษัต ริ ย ์ที่ ก ล่ า วถึ ง การ“พึ่ ง พระบารมี ” ของ
ประชาชนในเรื่ องต่างๆ รวมทั้งกล่ าวถึ งสิ ทธิ ของประชาชนในการ “ถวายฎี กา” 75 และกล่าวด้วยว่า
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงให้ความสาคัญอย่างยิ่งแก่การแก้ไขปั ญหาของประชาชน ทรงเป็ น
ศูนย์กลางในการทาให้ขา้ ราชการกระทรวงต่างๆ สามัคคีกนั และเข้ามาร่ วมมือกันในการแก้ไขปั ญหา76
สิ่ งเหล่ านี้ ลว้ นเป็ นรากฐานสาคัญ ของโครงการในพระราชดาริ และแนวคิด “ราชประชาสมาสัย ”อีก
ด้วย

ดังที่กล่าวมาจะเห็ นได้ว่า ปั ญญาชนอนุ รักษ์นิยม เช่ น ม.ร.ว. คึ กฤทธิ์ ปราโมช โดยแท้จริ ง


แล้วสามารถเล่นได้หลายบทบาท ทั้งในฐานะปั ญญาชนผูน้ ิยามความเป็ นไทยในการสนับสนุ นระบอบ

73
สายชล สัตยานุรักษ์, คึกฤทธิ์ กับประดิษฐกรรม “ความเป็ นไทย” (เล่ม 2), หน้า 33.
74
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 110-112.
75
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 304-305.
76
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 229-233.

33
เผด็จการทหาร ขณะเดี ยวกันก็เป็ นปั ญญาชนผูม้ ี ทกั ษะในการใช้การเมืองวัฒนธรรมเพื่อสนับสนุ น
สถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ มิ พ ัก ที่ ต้อ งกล่ า วถึ ง บทบาทของ ม.ร.ว. คึ ก ฤทธิ์ ในหลายสถานะ เช่ น
นักหนังสื อพิมพ์ นักการเมืองที่เคยเป็ นถึงนายกรัฐมนตรี นักการธนาคาร ฯลฯ ข้อเท็จจริ งนี้ แสดงให้
เห็นถึงแง่มุมส่ วนบุคคลที่มีลกั ษณะ “อิสระเชิงสัมพัทธ์” สู ง มีบทบาทหลายบทบาท ขณะเดียวกันก็มี
วัตถุ ป ระสงค์ในทางการเมื องของตนเองที่ ชัดเจน นับ เป็ นตัวอย่างที่ ดีใ นแง่ ก ารพิ จ ารณาบทบาท
เชิงซ้อนของตัวแสดงในสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่าย

นอกเหนื อ จากงานวิ ท ยานิ พ นธ์ งานวิ จ ัย ที่ เกี่ ย วข้ อ งเชื่ อ มโยงกั บ ประเด็ น “สถาบั น
พระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย” ดังที่ กล่ าวมาแล้ว งานเขี ยนวิชาการที่ ได้รับการพิ มพ์เผยแพร่ ในช่ วง
ทศวรรษ 2550 หลายชิ้นก็นบั ว่ามีความโดดเด่น เช่น หนังสื อชุ ด กษัตริ ย์ศึกษา ที่เป็ นการรวมบทความ
ตีพิมพ์ของ ณัฐพล ใจจริ ง ในชื่อหนังสื อ ขอฝั นใฝ่ ในฝั นอันเหลือเชื่ อ ความเคลื่อนไหวของขบวนการ
ปฏิ ปักษ์ ปฏิ วัติสยาม พ.ศ. 2475-2500 (2556) ทั้งนี้ บทความในหนังสื อที่ควรกล่าวถึ ง คือ ควา่ ปฏิ วัติ
โค่ นคณะราษฎร การก่ อตัวของระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข (2556)77
ปรับปรุ งมาจาก เอกสารเรื่ อง The Monarchy and Royalist Movement in Modern Thai Politics, 1932-
1957. (2550)78 งานเขี ยนของณั ฐพลชิ้ นนี้ ให้ภาพประวัติศาสตร์ การเมื องไทยในช่ วงระหว่าง พ.ศ.
2475-2500 บนคาอธิ บายเรื่ องปั ญหาและอุปสรรคของกระบวนการสถาปนาระบอบประชาธิ ปไตย
ไทยที่มีความไม่มนั่ คงสู ง สื บเนื่ องจากต้องเผชิ ญกับการต่อต้านของสถาบันพระมหากษัตริ ยแ์ ละกลุ่ม
กษัตริ ยน์ ิ ยมทั้งโดยเปิ ดเผยและโดยนัยอาพราง ทั้งนี้ แม้ว่าฝ่ ายต่อต้านจะประสบความล้มเหลวใน
ช่วงแรก ในกรณี เหตุการณ์กบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 และการกวาดล้างจับกุมในช่วงต้นทศวรรษ 2480
หากแต่รัฐประหาร พ.ศ. 2490 เปิ ดโอกาสให้บุ คคลกลุ่ มนี้ กลับคื นสู่ พ้ื นที่ ทางการเมื องอี กครั้ ง และ
ต่อมาความใฝ่ ฝั นของบุ คคลกลุ่ มนี้ ก็ได้ปรากฏเป็ นจริ งจากการรัฐประหาร พ.ศ. 2500 อันทาให้การ
เมืองไทยพ้นจากยุค “คณะราษฎร”

นอกจากนี้ ณั ฐ พล มองการความเคลื่ อ นไหวขบวนการต่ อ ต้ า นการปฏิ ว ัติ 2475 เป็ น


“เครื อข่าย” ที่มีศูนย์กลางอยู่ที่พระมหากษัตริ ย ์ พระราชวงศ์ ผูส้ าเร็ จราชการแผ่นดิน องคมนตรี และ
ห้อมล้อมไปด้วยเครื อข่ายกษัตริ ยน์ ิ ยมในระบบราชการ กองทัพ พรรคการเมือง และนักหนังสื อพิมพ์

77
ณัฐพล ใจจริ ง, “คว่าปฏิ วตั ิ โค่นคณะราษฎร การก่อตัวของระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ น
ประมุข”, ใน ขอฝั นใฝ่ ในฝั นอันเหลือเชื่ อ ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิ ปักษ์ ปฏิ วตั ิสยาม พ.ศ. 2475-2500.
78
บทความนาเสนอในการสัมมนา ณ มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ ก วันที่ 23-24 พฤศจิ กายน พ.ศ.
2550 ต่ อ มาบทความนี้ ได้ รั บ การตี พิ ม พ์ ใ นหนั ง สื อเรื่ อง Saying the Unsayable Monarchy and Democracy in
Thailand, edited by Soren Ivarsson and Lotte Isagar (2011).

34
เป็ นสาคัญ ทั้งนี้ ข้อสังเกตที่น่าสนใจของณัฐพล คือ กระบวนการสร้ างพันธมิตรกับกลุ่มทหารและ
กลุ่มการเมืองที่แตกแยกจากคณะราษฎรของกลุ่มต่อต้าน ซึ่ งบางครั้งพวกเขาก็ร่วมมือกับพลเรื อนโค่น
ล้มทหาร (ร่ วมมือกับกลุ่มปรี ดี ล้มจอมพล ป.) บางครั้งก็ร่วมมือกับทหารโค่นล้มพลเรื อน (ร่ วมมือกับ
คณะรัฐประหาร 2490 ล้มกลุ่ มปรี ดี) และบางครั้งก็ร่วมมือกับทหารกลุ่มใหม่โค่นล้มทหารกลุ่มเก่ า
(ร่ วมมื อกับจอมพลสฤษดิ์ ในการโค่นอานาจ จอมพล ป. กับกลุ่มราชครู ) จนกระทัง่ สามารถเปลี่ ยน
โครงสร้างอานาจในยุคคณะราษฎรไปสู่ ทหารกลุ่มอื่นที่ไม่ได้ผกู พันกับการปฏิวตั ิ 2475 อีกเลย กล่าว
โดยสรุ ปแล้ว ความเคลื่ อนไหวต่อต้านการปฏิ วตั ิที่เกิ ดขึ้นระหว่าง พ.ศ. 2475-2500 ก้าวถึ งจุดสาคัญ
ด้วยการกวาดล้างคณะราษฎรและคติการจากัดอานาจพระมหากษัตริ ยใ์ ห้ตกไปจากหน้าประวัติศาสตร์
ซึ่ งเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์หลังการรัฐประหาร พ.ศ. 250079

แม้ว่างานศึ กษาของณัฐพล อาจถูกมองได้ว่าให้ภาพเชิ งลบกับสถาบันพระมหากษัตริ ยแ์ ละ


กลุ่มกษัตริ ยน์ ิ ยมมากจนเกิ นไป ตลอดจนอาจยกย่องบุคคล เช่ น จอมพล ป. เสมื อนเป็ นหัวหอกของ
ฝ่ ายประชาธิ ปไตยซึ่ งเป็ นเรื่ องที่น่าคิดและควรโต้เถียงกันได้ อย่างไรก็ตาม การฉายภาพประวัติศาสตร์
ดังกล่าว สะท้อนการเมืองเชิ งเครื อข่ายของชนชั้นนาไทยได้เป็ นอย่างดี อีกทั้ง ยังเป็ นการฉายภาพที่ทา
ให้เห็นได้ถึงความเชื่อมโยงและความต่อเนื่ องของกลุ่มก้อนตัวแสดงระหว่างขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวตั ิ
สยาม กับ สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิงเครื อข่าย ในช่วงต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพล
อดุลยเดช รัชกาลที่ 9

หนังสื อ ชุ ด กษั ต ริ ย์ ศึ ก ษา อี ก เล่ ม หนึ่ ง ในชื่ อ พระพรหมช่ วย อานวยให้ ชื่ น ฉ่ า เศรษฐกิ จ


การเมืองว่ าด้ วยทรั พย์ สินส่ วนพระมหากษัตริ ย์หลัง 2475 (2557) ให้ภาพเกี่ยวกับมิติทางเศรษฐกิจของ
สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ บทความที่ โดดเด่ นน่ าสนใจ คื อ งานวิจยั ของ พอพัน ธ์ อุ ยยานนท์ เรื่ อง
สานักงานทรั พย์ สินส่ วนพระมหากษัตริ ย์กับบทบาทการลงทุนทางธุรกิจ (2557)80 ซึ่ งปรับปรุ งมาจาก
งานวิจ ัย ของ สกว.ใน พ.ศ. 2549 ทั้ง นี้ ในแง่ มุ ม ประวัติ ศ าสตร์ เศรษฐกิ จ ภาพกว้า ง พอพัน ธ์ ใช้
ประโยชน์ จ ากงานศึ ก ษารุ่ น บุ ก เบิ ก อย่า ง Capital Accommodation in Thailand 1855-1985 (1989)81
ของ สุ เอะฮิโร อากิ ระ ที่เคยชี้ ให้เห็ นว่า สานักงานทรัพย์สินส่ วนพระมหากษัตริ ย ์ เป็ นกลุ่มทุนระดับ

79
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 62-63.
80
พอพันธ์ อุยยานนท์, “สานักงานทรัพย์สินส่ วนพระมหากษัตริ ยก์ บั บทบาทการลงทุนทางธุรกิจ”, ใน พระพรหม
ช่ วยอานวยให้ ชื่นฉา่ เศรษฐกิจการเมืองว่ าด้ วยทรั พย์ สินส่ วนพระมหากษัตริ ย์หลัง 2475.
81
Suehiro Akira, Capital Accommodation in Thailand 1855-1985 ( Tokyo: The Center for East Asian Cultural
Studies, 1989).

35
แนวหน้าของเศรษฐกิ จไทยมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 และเป็ นเสมือนทุนภาครัฐที่บุกเบิกการพัฒนา
อุตสาหกรรมใหม่ๆ ในเศรษฐกิจไทยสมัยนั้น82

นอกเหนื อจากข้อมูล ประวัติศาสตร์ เชิ งพัฒ นาการของสานักงานทรัพ ย์สิ นฯ ซึ่ งมีที่ มาจาก
“พระคลังข้างที่” ตลอดจนข้อมูลประเภทการจาแนกโภคทรัพย์ของสานักงานทรัพย์สินฯ แล้ว สิ่ งที่
เห็ นได้จากงานของพอพันธ์ คือ ภาพความเติบโตของธุ รกิ จหลักที่สานักงานทรัพย์สินฯ เป็ นผูถ้ ื อหุ ้น
ใหญ่ อันได้แก่ บริ ษทั ปูนซิ เมนต์ไทยและธนาคารไทยพานิชย์ ที่ขยายตัวไปพร้อมๆ กับกลุ่มทุนสาคัญ
ระดับชาติ อื่นๆ ทั้ง กลุ่ มทุ นการเงิ น กลุ่ มทุ นอุ ตสาหกรรม กลุ่ มทุ นการค้า ภายใต้บ ริ บ ทการพัฒนา
กระแสหลัก นับ ตั้งแต่ ยุค สมัยจอมพลสฤษดิ์ ในทศวรรษ 2500 ทั้งนี้ ค วามเชื่ อมโยงที่ น่ าสนใจ คื อ
กระบวนการสะสมทุนของธุ รกิจในสานักงานทรัพย์สินฯ มีความสัมพันธ์กบั การเติบโตของเศรษฐกิจ
ในอัตราเร่ งอันสื บเนื่ องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับ ที่ 1 และ 2 เป็ นอย่างมากเช่น การผลิต
ปูนซิ เมนต์ที่สอดรับกับการขยายตัวเมืองกรุ งเทพฯ และภาคบริ การ83 อีกทั้งในบริ บทของการพัฒนา
เศรษฐกิจ ช่วงทศวรรษ 2500-2510 ธุ รกิจในเครื อปูนซิ เมนต์ไทย รวมทั้งธุ รกิจภาคอุตสาหกรรมชั้นนา
อื่นๆ ล้วนได้รับความคุม้ ครองจากรัฐบาล ทั้งจากนโยบายคุ ม้ ครองอุตสาหกรรมทดแทนการนาเข้า
และการส่ งเสริ มการลงทุนด้านอื่นๆ จากสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน

พอพันธ์ยงั วิเคราะห์ถึงปั จจัยสาคัญที่มีผลต่อการขยายตัวทางธุ รกิจและรายได้ของสานักงาน


ทรัพย์สิ นฯ อันได้แก่ ลักษณะของการเป็ นผูผ้ ูกขาดน้อยรายของบริ ษทั ในเครื อ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
บริ ษ ัท ปู น ซิ เมนต์ไ ทย การเกาะกลุ่ ม ทางธุ รกิ จในรู ป ของการถื อ หุ ้ น ระหว่า งบริ ษ ัท การเกาะกลุ่ ม
กรรมการที่ผบู ้ ริ หารจากสานักงานทรัพย์สินฯ และธุ รกิจในเครื อของสานักงานทรัพย์สินฯ มักเข้าไป
เกี่ ยวข้องกับธุ รกิ จของกลุ่มทุ นที่ทรงอิทธิ พลในระบบเศรษฐกิ จไทย ตลอดจนการเป็ น “หน่ วยงาน”
ของสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ที่ มี ส ถานภาพพิ เศษและได้รับ การคุ ้ม ครองโดย พ.ร.บ. จัด ระเบี ย บ
ทรั พ ย์สิ นฝ่ ายพระมหากษัตริ ย ์ พ.ศ. 249184 นอกจากนี้ พระราชอานาจน าในพระบาทสมเด็ จพระ
เจ้าอยูห่ วั น่าจะเป็ นผลสาคัญที่ทาให้สานักงานทรัพย์สินฯ และบริ ษทั ในเครื อมีภาพลักษณ์ที่ดูดี มัน่ คง
เป็ นเหตุให้กลุ่มทุนอื่นๆ ปรารถนาที่จะอาศัยความร่ วมมือกับสานักงานทรัพย์สินฯ ในฐานะเป็ น “ทุน”
ที่มีอานาจทางเศรษฐกิจมาเนิ่นนาน

ด้า นแง่ มุ ม ในประเด็ น สถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์เชิ ง เครื อ ข่ าย แม้ว่าบริ บ ทและการด าเนิ น
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของสานักงานทรัพย์สินฯ อาจดูไม่สัมพันธ์กบั ภาพลักษณ์ในทางพระราชกรณี ย
82
พอพันธ์ อุยยานนท์, เรื่ องเดียวกัน, หน้า 245.
83
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 279.
84
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 291-292.

36
กิ จของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มากนัก หากแต่ผบู ้ ริ หารระดับสู งของสานักงานทรัพย์สินฯ
กลับ มี ค วามสั ม พัน ธ์ ที่ ใ กล้ชิ ด กับ สถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์เป็ นอย่างยิ่ง ดัง จะพบว่า ผูอ้ านวยการ
สานักงานทรัพ ย์สิ นฯ ทุ กคนนับ ตั้งแต่ พล.ต. หม่อมทวีวงศ์ ถวัลยศักดิ์ (ม.ร.ว. เฉลิ มลาภ ทวีวงศ์)
(พ.ศ. 2491-2513) นายพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ (พ.ศ. 2513-2530) นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา (พ.ศ. 2530-
2561) หาได้มีภาพลักษณ์ที่เป็ นเพียง “นักบริ หารมืออาชี พ” เท่านั้นไม่ เนื่ องจากบุคคลเหล่านี้ ท้ งั โดย
สถานะ ตระกูลวงศ์ และความใกล้ชิด ล้วนจัดอยูใ่ นสาย “ข้าราชบริ พาร” ดั้งเดิม พอพันธ์ยงั ชี้ให้เห็นว่า
ผูอ้ านวยการสานักงานทรัพย์สินฯ มักดารงตาแหน่ งเลขาธิ การพระราชวังควบคู่กนั ไปด้วย นอกจากนี้
นับตั้งแต่ราวทศวรรษ 2510 เป็ นต้นมา มักพบความเกี่ยวข้องที่เทคโนแครตระดับนาของประเทศเริ่ ม
เข้ามามี ปฏิ สัมพันธ์กบั ส านักงานทรั พย์สินฯ และบริ ษทั ในเครื อ ในฐานะผูบ้ ริ หารมื ออาชี พ ดังนั้น
ธุ รกิ จในเครื อส านัก งานทรั พ ย์สิ น ฯ จึ ง มี ข ้อได้เปรี ย บในเรื่ องบุ ค ลากร การเข้าถึ งข้อ มู ล และรั บ รู้
รับทราบนโยบายเศรษฐกิจระดับชาติ ที่จะส่ งผลต่อการตัดสิ นใจในการดาเนิ นธุ รกิจได้ดีและมากกว่า
องค์กรทางธุ รกิจอื่นๆ

1.6 แนวคิดในกำรศึกษำและแนวทำงประยุกต์ ใช้

ในการศึกษาดุ ษฎี นิพนธ์หัวข้อ “ความเปลี่ ยนแปลงของเครื อข่ายชนชั้นนาไทย พ.ศ. 2495-


2535” โดยให้ความสาคัญเป็ นพิเศษแก่ “สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่าย” ผูศ้ ึกษาหยิบยืมแนวคิด
ทฤษฎีทางสังคมบางเรื่ องมาใช้เพื่อเป็ นแนวทางในการวิเคราะห์ อย่างไรก็ตาม เนื่ องจากลักษณะของ
งานศึกษาทางประวัติศาสตร์ ที่ การยึดตามกรอบทฤษฎี อย่างเคร่ งครัดอาจกลายเป็ นข้อจากัดในการ
วิเคราะห์ ตี ค วามเชิ ง บริ บ ท ผูศ้ ึ ก ษาจึ งขอหยิบ ยกใจความส าคัญ ของแนวคิ ด ทฤษฎี ที่ มี ผ ลต่ อ การ
วิเคราะห์เนื้อหาเป็ นหลัก ตลอดจนแนวทางการประยุกต์ใช้จากงานศึกษาที่ผา่ นมาบางชิ้น ดังนี้

1.6.1 แนวคิด “กลุ่มการเมือง” (Faction) และ “เครื อข่ายทางสังคม” (Social Network)

สื บเนื่ องจากข้อเสนอสาคัญของ Duncan McCargo (2005) ต่อประเด็นที่ว่า ในการวิเคราะห์


ทาความเข้าใจการเมืองไทย เครื่ องมื อสาคัญที่ จะช่ วยในการมองภาพการเมื องไทยได้อย่างทะลุ ป รุ
โปร่ ง คื อ การใช้ “การเมื องเชิ งเครื อข่าย” (Political Network) และจากข้อเสนอดังกล่ าวจึงเป็ นที่ ม า
ของค าว่า “Network Monarchy” ด้ว ยเหตุ น้ ี การท าความเข้า ใจการเมื อ งเชิ ง เครื อ ข่ า ยจึ งควรได้รั บ
คาอธิ บายเพื่อให้เห็นถึ งจุดเริ่ มต้นและการคลี่คลายปรับใช้ ทั้งนี้ อาจกล่าวได้วา่ จุดเริ่ มต้นของแนวคิด
“การเมื องเชิ งเครื อข่ าย” ของ McCargo (2005) มี รากฐานจากแนวทางการศึ ก ษาทางมานุ ษ ยวิท ยา
ในช่ วงทศวรรษ 1950-1960 ในประเด็นเรื่ อง “กลุ่ ม การเมื อง” (Faction) และ “เครื อข่ายทางสั งคม”
(Social Network) ซึ่ งการศึ กษาดังกล่ าวเป็ นความพยายามของนักสังคมศาสตร์ กลุ่ มหนึ่ ง ที่ ตอ้ งการ

37
เปลี่ ย นแนวทางการศึ ก ษาสั ง คมจากเดิ ม ที่ เน้ น ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ท างสั ง คมที่ ย ั่ง ยื น (Enduring
Relationship) และกลุ่มทางสังคมที่มีลกั ษณะเป็ นทางการ มีกฏระเบียบทางสังคมที่ควบคุมพฤติกรรม
สมาชิ กของกลุ่ม ไปเป็ นลักษณะการศึกษาการรวมตัวของบุคคล ที่ทฤษฎี เกี่ ยวกับกลุ่มที่เป็ นทางการ
ไม่อาจอธิ บายได้85 ด้านหนึ่ งแนวคิด “กลุ่มการเมือง” เริ่ มต้นนาไปใช้ศึกษาสังคมชนบทเพื่อพยายาม
สร้างคาอธิ บายที่แตกต่างไปจากกรอบแนวคิดโครงสร้างหน้าที่นิยม (Structural Functionalism)

ตัวอย่างในการนิ ยามความหมาย “กลุ่มการเมือง” ของนักสังคมศาสตร์ กระแสนี้ อาทิ Jeremy


Boissevain (1974)86 และ F.G. Bailey (1969) 87 ซึ่ งได้นาแนวคิ ด “กลุ่ ม การเมื อง” มาใช้ศึก ษาสังคม
ชนบทในประเทศยากจนเช่นในอินเดีย ได้ให้คาจากัดความ “กลุ่มการเมือง” ว่าหมายถึง การรวมกลุ่ม
กัน (Coalition) ของบุคคล (ผูต้ ิดตาม) ที่ถูกคัดเลือกสรรหาโดยส่ วนตัวตามกฏเกณฑ์หลายประการ ใน
นามของบุ คคลหนึ่ งซึ่ งมี ความขัดแย้งกับ บุ คคลอี กคนหนึ่ งหรื อหลายคนในการควบคุ ม ทรั พ ยากร
ผลประโยชน์และชื่ อเสี ยง ปั จจัยหลักของกลุ่มการเมืองคือบุคคลที่เป็ นผูน้ าของกลุ่มหรื อแกนนาของ
การรวมกลุ่มที่ทาหน้าที่สรรหากลุ่มผูต้ ิดตามหรื อสมัครพรรคพวก ผูน้ าของกลุ่มการเมืองอาจจะเป็ น
บุคคลเพียงคนเดียวหรื อหลายคนก็ได้ ซึ่ งต่างก็มีพรรคพวกติดตามของตน ความผูกพันที่ผตู ้ ิดตามมีกบั
ผูน้ าของกลุ่ มอาจเกิ ดจากปั จจัยความเป็ นญาติ พี่ น้อง เพื่ อนร่ วมเรี ยน หุ ้นส่ วนทางธุ รกิ จ หัวใจของ
ความสั ม พัน ธ์ ระหว่า งบุ ค คลในกลุ่ ม การเมื องคื อ การแลกเปลี่ ย นผลประโยชน์ และการให้ ค วาม
ช่วยเหลือต่างๆ

ลักษณะความสัมพันธ์ร ะหว่างผูน้ าของกลุ่ มกับผูต้ ิ ดตามอาจจะเป็ นความสัมพันธ์เชิ งเดี่ ยว


(Uniplex Relationship) หรื อความสัมพันธ์เชิงซ้อน (Multiplex Relationship) ก็ได้ และการแลกเปลี่ยน
ผลประโยชน์ ข องทั้ง สองฝ่ ายอาจเป็ นไปได้ ท้ ัง ในแบบที่ มี ค วามสมดุ ล ทั้ ง การให้ แ ละการรั บ
(Symmetrical Relationship) หรื อแบบที่มีการให้มากกว่าการรับ (Asymmetrical Relationship) ถ้าผูน้ า
ของกลุ่ ม การเมื องใดให้ผ ลประโยชน์ แก่ ผูต้ ิ ดตามมากกว่าที่ ได้รับ ตอบแทนจากผูต้ ิ ดตาม ลัก ษณะ
ภายในองค์ก ารกลุ่ ม การเมื องนั้น จะเป็ นแบบสายการบังคับ บัญ ชา (ความสั ม พันธ์ แนวตั้งมากกว่า
แนวนอน) นั่ น คื อ ทรั พ ยากรและผลประโยชน์ ข องกลุ่ ม จะอยู่ภ ายใต้ก ารควบคุ ม ของผูน้ าหรื อ
ศูนย์กลางซึ่ งอาจประกอบไปด้วยบุคคลไม่กี่คนที่เรี ยกว่า “แกนนากลุ่ม” ซึ่ งมักมีความสัมพันธ์ส่วนตัว

85
ชาติชาย ณ เชียงใหม่, “การเมืองของกลุ่มในหมู่บา้ นภาคเหนือ การวิเคราะห์โดยใช้แนวคิดข่ายสังคม”, รั ฐศาสตร์
สาร, 9(2) (พฤษภาคม-สิ งหาคม, 2526), หน้า 45.
86
Jeremy Boissevain, Friends of Friends: Network, Manipulators and Colitions (Oxford: Basil Blackwell, 1974).
87
F.G. Bailey, Political and Social Changes: Orisa in 1959 (London: Oxford University Press, 1959).

38
ที่ ใ กล้ชิ ด กัน 88 นอกจากนี้ ปั จ จัย ส าคัญ ของการวมตัว กัน ของบุ ค คลเป็ นกลุ่ ม การเมื อ ง คื อ การมี
ผลประโยชน์ร่วมกันในการควบคุมทรัพยากร ผลประโยชน์และชื่ อเสี ยง กลุ่มการเมืองเกิดขึ้นก็เพราะ
มีการแข่งขันทางการเมืองเพื่อปกป้ องและแสวงหาผลประโยชน์ต่างๆ เพื่อบรรลุเป้ าหมายนี้ ผูน้ าของ
กลุ่มการเมืองจึงระดมการสนับสนุนจากผูต้ ิดตามแข่งขันกับกลุ่มการเมืองอื่นๆ ดังนั้น การแข่งขันต่อสู ้
จึงเป็ นปั จจัยพื้นฐานของการดารงอยูข่ องกลุ่มการเมือง

นอกเหนือจาก “กลุ่มการเมือง” แนวคิด “เครื อข่ายสังคม” (Social Network Concept) ก็ได้รับ


การพัฒนาขึ้นในช่วงเวลาเดียวกัน เครื อข่ายสังคม ในที่น้ ี หมายถึงกลุ่มของความสัมพันธ์ที่บุคคลกลุ่ม
หนึ่ งมี ต่ อ กัน เครื อ ข่ ายสั ง คมประกอบขึ้ น ด้ว ยความสั ม พัน ธ์ ท างสั ง คมทั้ง หมดของคนในสั ง คม
ความสัมพันธ์ที่ครอบคลุมเครื อข่ายสังคมพิจารณาได้จากสัมพันธภาพที่เกิดขึ้นจริ ง เช่น เครื อข่ายของ
เพื่อน ญาติพี่นอ้ ง เพื่อนร่ วมงานตลอดจนพฤติกรรมที่เกิ ดขึ้น ได้แก่ การไปมาหาสู่ เยี่ยมเยียนกัน การ
ต่อรอง การซุ บซิ บนิ นทา รวมถึงการใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวที่มีกบั ผูอ้ ื่นให้เป็ นประโยชน์ หรื อระบบ
เส้นสาย การใช้แนวคิดเครื อข่ายสังคมยังช่วยให้เห็นภาพพฤติกรรมทางการเมืองที่ไม่เป็ นทางการแต่มี
ประสิ ทธิ ผลในการแก้ปัญหา อย่างไรก็ตาม เนื่องจากในระดับที่กว้างที่สุดแล้ว เครื อข่ายทางสังคมย่อม
หมายถึงความสัมพันธ์ทุกๆ ด้านที่บุคคลทั้งหมดมีต่อกันนับตั้งแต่อดี ตไปจนถึงอนาคต ทาให้ไม่อาจ
ศึกษาเครื อข่ายสังคมในระดับนี้ได้ จึงจาเป็ นจะต้องศึกษาเฉพาะบางส่ วนของเครื อข่ายสังคมของบุคคล
ข้อเสนอของนักวิชาการที่ใช้แนวคิดเครื อข่ายสังคม เช่น John A. Barnes (1954)89 เสนอว่า ควรศึกษา
เครื อข่ายสังคมบางส่ วนที่สามารถแยกออกจากเครื อข่ายสังคมทั้งหมด โดยอาจพิจารณาเฉพาะประเด็น
เช่น ระบบเศรษฐกิจ การแต่งงาน เครื อญาติ การเมือง เป็ นต้น

น่ าสนใจว่าแนวคิ ด “กลุ่ มการเมือง” (Faction) และ “เครื อข่ายทางสังคม” (Social Network)


สอดรับกับพฤติกรรมทางการเมืองของไทยที่มีมาแต่เดิม คือ การใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวเป็ นเครื่ องมือ
ทางการเมื องในการแก้ปัญ หาหรื อเพื่ อบรรลุ เป้ าหมายต่างๆ ตลอดจนแนวคิ ดเรื่ องระบบอุ ปถัม ภ์90
ขณะเดี ยวกัน แนวคิด “กลุ่มการเมือง” และ “เครื อข่ายทางสังคม” ยังถูกนามาใช้ในการศึกษาชนบท
และสังคมชาวนาในโลกวิชาการไทย เช่น งานศึกษาของ ชาติชาย ณ เชียงใหม่ เรื่ อง การเมืองของกลุ่ม
ในหมู่บ้ า นภาคเหนื อ การวิ เคราะห์ โดยใช้ แนวคิ ด ข่ ายสั งคม (2526) ที่ ม องว่าการใช้แนวคิ ด กลุ่ ม
88
F.G. Bailey (1959) อ้างถึงใน ชาติชาย ณ เชียงใหม่, เรื่ องเดียวกัน, หน้า 48-49.
89
John A. Barnes, “Class and Committees in Norwegian Island Parish”, Human Relation, 7 (1954). อ้ า งถึ ง ใน
ชาติชาย ณ เชียงใหม่, เรื่ องเดียวกัน, หน้า 57.
90
ภาพรวมเกี่ ยวกับแนวคิ ด “ระบบอุปถัมภ์” โปรดดู ม.ร.ว. อคิน รพีพฒ ั น์, ปาฐกถาเรื่ อ ง “ระบบอุปถัมภ์กบั การ
พัฒนาสังคม: ด้านหนึ่ งในการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย”, ใน ปาฐกถาพิเศษ “ป๋ วย อึ๊ งภากรณ์ ” ครั้ งที่ 9 จัดโดย คณะ
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .

39
การเมืองและเครื อข่ายสังคม สามารถช่วยให้เห็ นภาพชี วิตการเมืองอีกด้านหนึ่ งของชาวนา กล่าวคือ
ภายใต้พ ลังกดดันต่ างๆ จากภายนอก ด้านหนึ่ งชาวนาก็มี ความตื่ นตัวทางการเมื องโดยสามารถใช้
ความสัมพันธ์ส่วนตัวที่มีกบั ชาวนาด้วยกัน หรื อกับข้าราชการหรื อคนในเมืองเป็ นเครื่ องมือหนึ่ งใน
การแก้ปัญหาต่างๆ หรื อส่ งผ่านความต้องการทางการเมืองและมีส่วนร่ วมในการกาหนดนโยบายของ
รัฐบาล แนวความคิ ดนี้ จึ งไม่ เพี ยงแต่ช่วยให้เข้าใจพฤติ ก รรมทางการเมื องของชาวนาในแต่ล ะวัน
หากแต่ ย งั แสดงให้ เห็ น ถึ ง ความสั ม พัน ธ์ ระหว่างคนในชนบทกับ คนในเมื อ งตลอดจนผูน้ าและ
นักการเมืองระดับประเทศที่ประกอบกันเป็ นระบบการเมืองไทย

ต่อประเด็นนี้ ข้อวิพากษ์วิจารณ์ หนึ่ งในประเด็นงานศึกษาของ Duncan McCargo (2006) คือ


ข้อเสนอเรื่ องการใช้ “เครื อข่าย” (Network) ในการศึกษาการเมืองไทย จึงไม่ใช่ขอ้ เสนอใหม่ท้ งั ในทาง
วิชาการและในความคุ ้นเคยของคนไทย ทว่า สิ่ งที่ ใหม่ คื อ McCargo ได้นาแนวคิ ดนี้ ซึ่ งเคยใช้ใ น
การศึ ก ษาชาวบ้า น “ข้า งล่ า ง” เปลี่ ย นมาใช้ก ับ กลุ่ ม ชนชั้น น าเพื่ อ ใช้อ ธิ บ ายการเมื อง “ข้างบน”91
กระนั้น ปฏิเสธไม่ได้วา่ อิทธิ พลจากงานศึกษาของ McCargo ในประเด็นเครื อข่ายชนชั้นนาไทย มีผล
ต่องานศึกษาของนักวิชาการไทยรุ่ นต่อมา เช่น งานศึกษาของนวลน้อย ตรี รัตน์ และภาคภูมิ วาณิ ชกะ
เรื่ อ ง เครื อข่ า ยผู้ บ ริ หารระดั บ สู ง ผ่ า นเครื อข่ า ยทางการศึ ก ษาพิ เศษ (2557)92 ที่ แ สดงให้ เห็ น ว่ า
ความสัมพันธ์ หรื อการเจรจาแบบไม่เป็ นทางการผ่าน “ความเป็ นพวกพ้อง” เป็ นลักษณะของระบบ
เศรษฐกิจการเมืองไทย และเป็ นเงื่อนไขสาคัญของความสาเร็ จไม่วา่ จะเป็ นด้านใดก็ตาม และถึงแม้จะ
ไม่ได้เป็ นญาติเป็ นเพื่อนกันมาก่อน ความเป็ นพวกพ้องก็สร้างกันขึ้นมาได้ผา่ นเครื อข่ายต่างๆ93

1.6.2 แนวคิด “อานาจทางสังคม” (Social Power)

แนวคิ ดนี้ มีที่มาจากทฤษฎี ว่าด้วย “อานาจทางสังคม” (Social Power) โดยการนาเสนอของ


Michael Mann (2005)94 นักสังคมวิทยาการเมือง ที่ มองว่าโครงสร้ างสังคมประกอบไปด้วยเครื อข่าย
ของอานาจจานวนมากที่ซอ้ นทับเหลื่อมล้ ากัน ทว่า ไม่มีเครื อข่ายใดหรื อปั จจัยใดปั จจัยหนึ่ งสามารถที่

91
ธเนศ อาภรณ์ สุวรรณ, คาบรรยายในงานเสวนา “6ปี รั ฐประหาร 19 กัน ยา 49 อดี ต ปั จจุ บัน และอนาคตการ
เมื อ งไทย” วัน ที่ 17 กัน ยายน พ.ศ. 2555 ณ ห้ อ งประชุ ม คึ ก ฤทธิ์ ปราโมช สถาบัน ไทยคดี ศึ ก ษา มหาวิท ยาลัย
ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์.
92
นวลน้อย ตรี รัตน์ และภาคภูมิ วาณิ ชกะ, “เครื อข่ายผูบ้ ริ หารระดับสู งผ่านเครื อข่ายทางการศึ กษาพิเศษ”, ใน สู่
สังคมไทยเสมอหน้ า บรรณาธิการโดย ผาสุก พงษ์ไพจิตร (กรุ งเทพฯ: มติชน, 2557).
93
เรื่ องเดียวกัน, หน้า 108.
94
Michael Mann, The Source of Social Power (Volume 1. A History of Power from the Beginning to AD 1760)
(Cambridge: Cambridge University Press, 2005).

40
จะก าหนดควบคุ ม หรื อมี อิท ธิ พ ลครอบงาโครงสร้ างสั งคมได้ท้ งั หมด อย่างไรก็ ตาม สิ่ งที่ เรี ยกว่า
อานาจทางสังคม (Social Power) กลับเกิ ดขึ้นได้จากปฏิ สัมพันธ์ระหว่างเครื อข่าย (Networks) ต่างๆ
ในสังคมเหล่านี้ โดยที่อานาจทางสังคมเป็ นผลสาคัญจากกระบวนการสร้างความเป็ นสถาบันที่นามาสู่
การสร้ างความหมายและคุ ณค่าเพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคลที่สังกัดอยู่ในเครื อข่ายได้เป็ น
ผลสาเร็ จ

อาจกล่ า วได้ ว่ า แนวคิ ด อ านาจทางสั ง คม (Social Power) เน้ น ความส าคัญ ในประเด็ น
ปฏิ สัมพันธ์ระหว่างเครื อข่ายอานาจต่างๆ ทั้งนี้ ข้อเสนอหลักของ Michael Mann มองว่าแหล่งที่ มา
ของอานาจทางสังคม (Source of Social Power) มี ที่มาจาก 4 แหล่ ง ได้แก่ 1) อานาจทางอุดมการณ์
(Ideology) ซึ่ งเกี่ ยวข้องกับการสร้ างความหมายให้แก่ วิถีปฏิ บตั ิในชี วิตทางวัตถุ ตลอดจนระบบคุ ณ
ค่าที่แสดงออกในความเชื่ อทางศาสนา ธรรมวิทยาแห่ งพลเมือง และอุดมการณ์ แห่ งรัฐ 2) อานาจทาง
เศรษฐกิ จ (Economics) ได้แก่ ความสัม พันธ์ ท างการผลิ ต วงจรทางการการผลิ ต ตลอดจนชนชั้นที่
สัมพันธ์ กบั ระบบการผลิ ตและการถื อครองทรั พยากรและปั จจัยการผลิ ตทั้งปวง 3) อานาจกองทัพ
(Military) คืออานาจรวมศูนย์ของการใช้กาลัง ซึ่ งมักสัมพันธ์กบั การธารงรักษาอานาจรัฐและเกื้อหนุ น
ชนชั้นปกครอง 4) อานาจทางการเมือง (Politics) ที่ แสดงออกในนามรั ฐชาติ และการเมื องระหว่าง
ประเทศ ตลอดจนกระบวนการจัดการภายในรัฐ ระบบการเมืองและการจัดการความสัมพันธ์ระหว่าง
เครื อข่ายสังคมต่างๆ ต่อประเด็นนี้ จึงอาจสรุ ปได้วา่ เครื อข่ายอานาจสาคัญซึ่ งเป็ นที่มาและนาไปสู่ การ
เกิดขึ้นของ “อานาจทางสังคม” (Social Power) ประกอบไปด้วย 4 เครื อข่าย คือ อุดมการณ์ (Ideology)
เศรษฐกิ จ (Economics) กองทัพ (Military) และ การเมื อง (Politics) ทั้งนี้ Michael Mann ได้ส ร้ างคา
เรี ยกปฏิสัมพันธ์ทางอานาจทั้ง 4 แหล่ง/เครื อข่าย ของเขาว่า “IMEP Model”95

อนึ่ง การยกระดับนามธรรมและหยิบยืม แนวคิด “IMEP Model” ของ Michael Mann มาปรับ


ใช้ อาจเห็ น ได้จากข้อ เสนอของ อรรถจัก ร์ สั ต ยานุ รัก ษ์ (2556)96 ในการอธิ บ ายอ านาจทางสั งคม
(Social Power) ในกรณี ของไทย ซึ่ งอรรถจักร์ มองว่าที่มาของอานาจอย่างน้อยที่ สุดจะต้องมาจาก 3
ด้าน คื อ การเมื อง เศรษฐกิ จ และวัฒนธรรม ทั้งนี้ ในประวัติศาสตร์ ยุคหลัง พ.ศ. 2475 อานาจทาง
สั งคมได้เคยเกิ ด ขึ้ น มาแล้วอย่างน้อย 2 ครั้ ง ครั้ งแรกคื อ การเกิ ด ขึ้ น ของสิ่ ง ที่ เรี ย กว่า รั ฐ นิ ย ม-มติ
มหาชน ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม (ทศวรรษ 2480) ซึ่ งเป็ นเรื่ องที่ครอบคลุ มทั้งการใช้อานาจ

95
Ibid, pp. 2-3.
96
อรรถจักร์ สัตยานุ รักษ์, “ดุ ลยภาพทางการเมื องในสายตาชนชั้น น าไทย”, ใน การประชุ มวิ ชาการนานาชาติ :
ไทยศึ กษาในสายลมตะวันออก (International Conference: Thai Studies through the East Wind) (วันที่ 24 สิ งหาคม
พ.ศ. 2556).

41
การเมื องที่ เน้นให้ความส าคัญกับ “ผูน้ า” ภายใต้ระบอบรัฐธรรมนู ญ อานาจทางเศรษฐกิ จ ด้วยการ
สร้ า งทุ น นิ ย มโดยรั ฐ เพื่ อ เป็ นฐานทางเศรษฐกิ จ ในการสนั บ สนุ น คณะราษฎร และอ านาจทาง
วัฒ นธรรมด้ว ยความพยายามเปลี่ ย นความหมายในการด ารงชี วิ ต ประจ าวัน เช่ น ความคิ ด เรื่ อ ง
ความก้าวหน้าของชาติ การลดทอนโครงสร้ างความสัมพันธ์ที่เหลื่ อมล้ าสู งต่ าผ่านการเปลี่ ยนแปลง
เรื่ องภาษา สรรพนาม การแต่งกาย สุ ขภาวะอนามัยของประชาชน ฯลฯ ทั้งหมดนี้ รัฐนิ ยมของจอมพล
ป. ล้วนเป็ นความพยายามที่จะสถาปนาอานาจทางสังคม (Social Power) ชุ ดใหม่ให้เกิ ดการน้อมรั บ
เกิ ดความเข้าใจที่ ตรงกันจนเป็ นมติ ม หาชน เพื่ อสิ่ งนี้ จะมาแทนที่ อานาจทางสังคมเดิ มของระบอบ
สมบูรณาญาสิ ทธิราชย์

อย่างไรก็ตาม หลังการรั ฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ พ.ศ. 2500 อานาจทางสังคม (Social


Power) อีกชุ ดหนึ่ งได้ถูกสร้ างขึ้ นมาแทนที่ รัฐนิ ยม-มติ มหาชน แบบจอมพล ป. นั่นคือ อานาจทาง
สั ง คมในแบบที่ มี ส ถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์เป็ นผู้รั ก ษาดุ ล ยภาพ ภายใต้ค วามเป็ น “หุ ้ น ส่ ว น”
(Partnership) ทางอ านาจร่ ว มกัน ของชนชั้น น าไทยกลุ่ ม ต่ า งๆ ดัง จะพบว่า อ านาจทางการเมื อ ง
เศรษฐกิ จ และวัฒนธรรมจะมีลกั ษณะที่แยกส่ วนแบ่งสันกันชัดเจน เช่น อานาจการเมืองที่กระจุกตัว
อยู่ใ นกลุ่ ม ข้าราชการ โดยมี ก องทัพ เป็ นบทบาทน าแม้ว่า อิ ท ธิ พ ลนี้ จะค่ อยๆ ลดลงไปตั้ง แต่ ห ลัง
เหตุการณ์ 14 ตุลาฯ 2516 อานาจทางเศรษฐกิจยังคงกระจุกอยูท่ ี่กลุ่มนายทุนการเงินการธนาคารที่เป็ น
ชาวไทยเชื้ อ สายจี น และคนเหล่ า นี้ ก็ ไ ม่ เข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ งกับ การเมื อ งโดยตรง ขณะที่ ส ถาบัน
พระมหากษัตริ ยซ์ ่ ึ งได้รับการฟื้ นฟูในสมัยจอมพลสฤษดิ์ กลับมาเป็ นอานาจในทางวัฒนธรรม และ
ทั้งหมดนี้ ก็มีสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ น อานาจทางสังคม (Social Power) ในฐานะผูร้ ักษาดุลยภาพ
ทั้ง นี้ อรรถจัก ร์ มี ข ้อสั งเกตว่า อ านาจทางสั งคมแบบที่ มี พ ระมหากษัตริ ย ์เป็ นผูร้ ั ก ษาดุ ล ยภาพซึ่ ง
ก่อให้เกิดภาพจาถึงความสงบสุ ขของสังคม ความเจริ ญรุ่ งเรื องอันเกิดจากพระบารมี หาใช่สิ่งที่เพิ่งเกิด
ขึ้นมาไม่นานมานี้97 หากแต่ค่อยๆ เกิดขึ้นทีละน้อยนับตั้งแต่ทศวรรษ 2500 และชัดเจนขึ้นในช่วงหลัง
14 ตุลาฯ 2516 กระทัง่ ลงตัวอย่างสมบูรณ์ในช่วงทศวรรษ 2520

อรรถจักร์ เสนอว่าอานาจทางสังคมเช่ นนี้ เอง ที่ก่อให้เกิดการสถาปนาโครงสร้างการเมืองใน


แบบประชาธิ ป ไตยครึ่ งใบ 98 ที่ มี ก ารแบ่ ง สั น อ านาจ และการดุ ล อ านาจกัน อย่า งรั ก ษาระยะห่ า ง

97
ข้อเสนอในลักษณะนี้ โปรดดู สมศักดิ์ เจียมธี รสกุล, “หลัง 14 ตุลา”, ฟ้ าเดียวกัน, 3(4) (ตุลาคม-ธันวาคม, 2548)
และ สมศัก ดิ์ เจี ย มธี ร สกุ ล , การเสวนาเรื่ อ ง “จากพฤษภาประชาธรรม ถึ ง รั ฐ ประหารเพื่ อ ประชาธิ ป ไตยอัน มี
พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข” (19 ธันวาคม 2552), ฟ้ าเดียวกัน, 8(1) (มกราคม-กันยายน, 2553).
98
โปรดดู อรรถจักร์ สัตยานุ รักษ์, “บทที่ 1 โครงสร้างการเมือง ‘ประชาธิ ปไตยครึ่ งใบ’ อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รง
เป็ นประมุข”, ใน ประชาธิ ปไตยคนไทยไม่ เท่ ากัหน้ า

42
ตลอดจนไม่กา้ วก่ายกันมากนักระหว่างกลุ่มอานาจต่างๆ อาทิ ระหว่างนักการเมืองกับระบบราชการ
หรื อ ระหว่างนายกรั ฐ มนตรี กับ ผูน้ ากองทัพ ฯ ฯลฯ หากแต่ อ านาจทางสั ง คม (Social Power) ที่
ก่อให้เกิ ดดุ ลยภาพในหมู่ชนชั้นนาไทยและความรู ้ สึกของประชาชนไทยภายใต้ร่มพระบารมีเช่ นนี้
กลับถูกท้าทายในช่วงทศวรรษ 2540 เมื่ออดีตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท. ทักษิณ ชิ นวัตร ขึ้นสู่ อานาจด้วย
เงื่อนไขการชนะเลื อกตั้งอย่างถล่ มทลาย ตลอดจนท่าที ต่อการควบรวมอานาจในด้านต่างๆ ทั้งด้าน
การเมือง เศรษฐกิจ กองทัพ และวัฒนธรม (วัฒนธรรมประชานิ ยม) ซึ่ งเป็ นอันตรายต่อดุลยภาพที่มีมา
ตั้งแต่ทศวรรษ 2520

ต่อประเด็นนี้ การประยุกต์แนวคิด “IMEP Model” ของอรรถจักร์ ในการอธิ บายอานาจทาง


สังคมในกรณี ของไทย จึงนับว่าสอดรับกับแนวทางการศึกษาประเด็นการเมืองเชิ งเครื อข่ายในหมู่ชน
ชั้น น าไทย ที่ ไ ม่ ไ ด้ใ ห้ ค วามส าคัญ กับ ตัวแสดงใดเป็ นพิ เศษในฐานะผูก้ ระท าการหลัก -ผูน้ าเดี่ ย ว
หากแต่เป็ นด้วยเพราะโครงสร้างของระบบคือสิ่ งที่ ชกั นาพาไป อีกทั้งแนวคิ ดเช่ นนี้ ยงั น่ าจะนาไปสู่
การสร้ างคาอธิ บ ายเกี่ ยวกับ บทบาทของกลุ่ ม ก้อน ตัวแสดง อันหลากหลาย ที่ มีส่ วนกระท าการให้
สถาบันพระมหากษัตริ ยก์ ลายเป็ น อานาจทางสังคม (Social Power) ในกรณี ของประเทศไทยอีกด้วย

1.6.3 “อานาจนา” (Hegemony) และ “การเมืองวัฒนธรรม” (Cultural Politics)

แนวคิ ด “อ านาจน า” (Hegemony) หรื อ การครอง “อริ ย สิ ทธิ์ ” เป็ นแนวคิ ด ที่ นัก ทฤษฎี
ตะวันตกกลุ่มหนึ่ งได้พฒั นาแนวทางดังกล่าวไว้ ที่สาคัญคือ Antonio Gramsci (ค.ศ. 1831-1937) นัก
ทฤษฎีมาร์ กซิ สม์ชาวอิตาเลียน Gramsci ที่ได้เสนอมโนทัศน์ “อานาจนา” ในฐานะที่เป็ นยุทธศาสตร์
การปฏิวตั ิของชนชั้นกรรมาชี พ ด้วยเพราะต้องการอธิ บายสาเหตุที่มวลชนยังคงยินยอมอยูใ่ นภาวะถูก
กดขี่ขดู รี ดและไม่ลุกขึ้นมาปฏิวตั ิ แม้วา่ ในสถานการณ์สากลจะเกิดเหตุปฏิวตั ิรัสเซี ยใน ค.ศ. 1917 แล้ว
ก็ตาม99 ทั้งนี้ ข้อเสนอสาคัญของ Gramsci มองว่า อานาจที่จะปกครองรัฐได้น้ นั มีสองส่ วน ส่ วนที่หนึ่ ง
คืออานาจครอบงา (Domination) หรื ออานาจจัดตั้ง ซึ่ งหมายถึ งการเข้าไปควบคุ มกลไกของรัฐ เช่ น
กองกาลังติดอาวุธ ระบบราชการ เครื่ องมือสื่ อสาร ฯลฯ เป็ นอานาจครอบงา เป็ นอานาจใหญ่ที่สุดของ
รัฐที่ไม่มีใครต้านทานได้ ตลอดจนผูกขาดความรุ นแรง อย่างไรก็ตาม อานาจครอบงาอย่างเดี ยวแม้จะ
สามารถปกครองได้ก็ไม่ยงั่ ยืน เพราะการใช้อานาจประเภทนี้ คือ การกดขี่และปราบปราม จึงเป็ นการ
ยากที่จะได้รับความยินยอมจากผูอ้ ยู่ใต้ปกครอง (Consent) ดังนั้น อานาจส่ วนที่สองจึงมีความสาคัญ
ไม่ยงิ่ หย่อนกว่าการครอบงา นัน่ คือ อานาจนา (Hegemony) ซึ่ งก็คือ ฐานทางวัฒนธรรมที่ทาให้สังคม

99
จิอูเซ็ปเป ฟิ โอรี , ชี วิตของอันติ นิโอ กรั มชี่ แปลโดย นฤมล-ประที ป นครชัย (กรุ งเทพฯ: มูลนิ ธิโกมล คีมทอง,
2526), หน้า 38.

43
ยอมรั บ อานาจครอบง าซึ่ งรั ฐต่ างๆ ยึดกุ ม อยู่100 อานาจเช่ น นี้ เองที่ ท าให้ ผูค้ นสยบยิน ยอมพร้ อมใจ
กระทัง่ รัฐสามารถเสนออะไรออกมาแล้วผูค้ นย่อมเห็ นด้วยและพูดแบบเดี ยวกับที่ รัฐพูด นอกจากนี้
หากพิ จารณาในแง่ บุ ค คล อานาจนา ยังหมายถึ งความสามารถในการแสดงบทบาทนา โดยผูต้ าม
ยินยอมให้นาและยินดีตามโดยสมัครใจ มิใช่ดว้ ยกาลังบังคับข่มเหง อันเป็ นความสามารถทางการเมือง
วัฒนธรรมหรื ออุดมการณ์ มิใช่เรื่ องของตาแหน่งตามฐานะตัวบทกฏหมายโดยตัวของมันเอง101

อนึ่ ง ในงานวิ ช าการไทย แนวคิ ด อ านาจน า (Hegemony) ถู ก น ามาใช้ ใ นการศึ ก ษาการ


เมืองไทยรวมถึงประเด็นสถาบันพระมหากษัตริ ยม์ ากว่าทศวรรษแล้ว ตัวอย่างที่สาคัญคือ วิทยานิ พนธ์
ของ ชนิ ดา ชิ ตบัณฑิ ตย์ เรื่ อง โครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ : การสถาปนาพระราชอานาจนา
(B.E. 2494-2547) (2547) ซึ่ งอธิ บ ายความส าเร็ จของพระบาทสมเด็ จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ พ ลอดุ ลยเดช
รัชกาลที่ 9 ในการสถาปนาพระราชอานาจนา (Royal Hegemony) โดยผ่านการปฏิบตั ิพระราชกรณี ย
กิ จโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ ทั้งนี้ งานศึ ก ษาดังกล่ าวมี การใช้ Network Monarchy หรื อ
สถาบันพระมหากษัตริ ย ์เชิ งเครื อข่าย ในการวิเคราะห์ อย่างสาคัญด้วยเช่ นกัน หากแต่ชนิ ดาใช้คาว่า
“เครื อข่ายในหลวง”102 และเป็ นการเฉพาะเจาะจงไปที่ กลุ่ ม “ปั ญญาชนโครงการพระราชดาริ ” ใน
ฐานะผูม้ ีส่วนร่ วมในการสร้างพระราชอานาจนา (Royal Hegemony) ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
ฯ อย่างไรก็ตาม เนื่ องจากการศึกษาประเด็นสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ายในดุษฎีนิพนธ์ของผู ้
ศึกษาครั้งนี้ ครอบคลุ มกลุ่มก้อนตัวแสดงที่ กว้างขวางมากกว่า ปั ญญาชนโครงการพระราชดาริ (ใน
งานของชนิ ดา ชิ ตบัณฑิต) ดังนั้น การใช้แนวคิดที่ครอบคลุม-เลื่อนไหลและสามารถวิเคราะห์บทบาท
ของกลุ่มก้อนตัวแสดงได้อย่างหลากหลายมากขึ้น เช่ น การเมืองวัฒนธรรม (Cultural Politics) จึงถูก
นามาพิจารณาควบคู่กบั แนวคิด อานาจนา (Hegemony)

การเมืองวัฒนธรรม 103 (Cultural Politics) มีนัยที่หมายถึ งการต่อสู ้ทางการเมืองในปริ มณฑล


ทางวัฒนธรรม โดยปั จเจกบุ คคลและกลุ่มสังคมเพื่อนาเสนอ สื่ อสาร ประชันขันแข่ง และช่ วงชิ งยึด

100
นิธิ เอียวศรี วงศ์, “มองการเมืองไทยผ่านกรัมชี่”, มติชนรายวัน (5 มกราคม, 2548).
101
เกษียร เตชะพีระ, “อธิปไตยกับอานาจนา”, ใน ทางแพร่ งและพงหนาม ทางผ่ านสู่ประชาธิ ปไตย (กรุ งเทพฯ: มติ
ชน, 2551).
102
ผูเ้ สนอใช้คาแปลนี้ คือ ศาสตราจารย์ ดร. เกษียร เตชะพีระ ซึ่ งเป็ นหนึ่ งในกรรมการสอบวิทยานิ พนธ์ของชนิ ดา
ชิตบัณฑิตย์.
103
ตัวอย่างทางความคิดจากทฤษฎีการเมืองวัฒนธรรม โปรดดู Walter Benjamin, The Author as Producer (London:
Verso, 1984). และ The Work of Art in the Age of Mechanical Reproduction (New York: Schocken Book, 1983).
สาหรับผูเ้ สนอใช้คาแปล Cultural Politics ในศัพท์พากษ์ไทยว่า “การเมืองวัฒนธรรม” คือ ศาสตราจารย์ ดร. เกษียร
เตชะพีระ.

44
ครองพื้นที่แห่ งการนิยามความหมายคุณค่าต่างๆ104 หรื อ อาจกล่าวได้วา่ คือ แนวทางการพินิจพิเคราะห์
การต่อสู ้ทางการเมืองในฐานะที่เป็ นพื้นที่ของการช่ วงชิ งอานาจนา (Hegemony) ด้วยเหตุน้ ี การเมือง
วัฒนธรรม จึงเป็ นมุมมองที่ประยุกต์ปรับใช้ได้กบั เรื่ องต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย นับตั้งแต่ ศาสนา
วรรณกรรม ภาพยนตร์ ดนตรี แบบเรี ย น อนุ ส าวรี ย ์ สถาปั ต ยกรรม ไปจนถึ ง พิ ธี ก รรมต่ า งๆ
ขณะเดียวกัน การเมืองวัฒนธรรมก็มีลกั ษณะที่สามารถเลื่อนไหลเปลี่ยนแปลงไม่หยุดนิ่งตายตัว เพราะ
เล็ งเห็ นว่าองค์ป ระกอบต่ างๆ ในสั งคม ไม่ ว่าจะเป็ นความรู ้ ค่ านิ ยม จารี ต ประเพณี สถาบันต่ างๆ
รวมทั้งสังคมเองไม่ได้มีความหมายหรื อสารัตถะที่ตายตัว หากมีคุณสมบัติที่เปิ ดกว้างให้กลุ่มฝ่ ายต่างๆ
เข้ามาต่อสู ้ ช่ วงชิ งนิ ยามให้ค วามหมายที่ ส ามารถแปรเปลี่ ย นมันไปตามวาทกรรม 105 ต่ อประเด็น นี้
แนวคิดการเมืองวัฒนธรรม จึงช่ วยเปิ ดแนวทางใหม่ๆ ในการศึกษากระบวนการสร้างสมอุดมการณ์
รวมถึงวิธีการที่โครงสร้างอุดมการณ์อาจถูก “รื้ อ” และ “สร้าง” ใหม่ หรื อ องค์ประกอบทางอุดมการณ์
บางส่ วนอาจถูกคัดเลือกมาประกอบสร้างใหม่106

น่าสนใจว่านับตั้งแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การใช้การเมืองวัฒนธรรม


เป็ นหนึ่ งในแนวทางของการต่อสู ้เพื่อช่วงชิ งอานาจนาของชนชั้นนาไทย ไม่วา่ จะเป็ น “รัฐนิยม” และ
การเชิ ดชู “ผูน้ า” ของจอมพล ป. (ทศวรรษ 2480) อุ ดมการณ์ พ่อขุนอุ ป ถัม ภ์ (ทศวรรษ 2590) ฯลฯ
ขณะเดียวกัน ภายใต้บริ บทที่สถาบันพระมหากษัตริ ยอ์ ยูภ่ ายใต้รัฐธรรมนูญ การเมืองวัฒนธรรมก็เป็ น
เครื่ องมื อส าคัญ ในการตั้งรั บ เผชิ ญ หน้า ตลอดจนใช้สู้ ก ลับ อย่างแยบยลของฝ่ ายสถาบัน พระมหา
กษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ายด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ แม้จะมีความได้เปรี ยบจากต้นทุนทางสังคมวัฒนธรรมในอดีตที่
ฝังลึกอยูก่ ่อนหน้านี้ (อานาจนาอันเป็ นผลสื บเนื่ องมาแต่สมัยสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์) เป็ นปั จจัยหนุ น
ช่วยให้การต่อสู ้ทางการเมืองวัฒนธรรมของสถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ชิ งเครื อข่ายดาเนิ นไปอย่างมีแต้ม
ต่ อ และแยบคาย หากแต่ ก ารต่ อ สู ้ ท างการเมื อ งวัฒ นธรรมเพื่ อ สร้ างอานาจน าแบบใหม่ กลับ เป็ น
สารัตถะสาคัญที่แท้จริ งมากกว่า ดังที่ เกษียร เตชะพีระ เคยตั้งข้อสังเกตไว้วา่ ธรรมเนี ยมประเพณี ว่า
ด้วยบทบาทของพระมหากษัตริ ยไ์ ทยภายใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเท่าที่มีลว้ นเป็ นสิ่ งที่สร้างขึ้นทาขึ้นใน
รัชกาลปั จจุบนั หลัง พ.ศ. 2494 (หลังการเสด็จฯ กลับมาประทับประเทศไทยเป็ นการถาวร) เป็ น The
Invention of Tradition หรื อการประดิ ษฐ์สร้ างธรรมเนี ยมประเพณี ข้ ึนใหม่ที่ไม่เหมือนใครในรัชกาล

104
เกษี ยร เตชะพี ระ, “ค าน าเสนอ”, ใน และแล้ วความเคลื่ อ นไหวก็ป รากฏ การเมื อ งวัฒ นธรรมของนั กศึ กษา
ปั ญญาชนก่ อน 14 ตุลาฯ (กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548).
105
ประจักษ์ ก้องกีรติ, การเมืองวัฒนธรรมไทย ว่ าด้ วยความทรงจา วาทกรรม อานาจ (นนทบุรี: ฟ้ าเดียวกัน, 2558),
หน้า (13).
106
แอนดรู ว์ เทอร์ทนั่ , การครอบงาและความหวาดกลัวในสังคมไทย แปลโดย อู่ทอง ประศาสน์วนิ ิจฉัย (นครปฐม
: คณะบุคคลบ้านเรี ยนน้ าริ น, 2551), หน้า 14.

45
ปั จจุบนั โดยที่ก่อนรัชกาลนี้ ไม่มี107 ดังนั้นสิ่ งต่างๆ ที่เกิ ดขึ้นตลอดรัชสมัยไม่ว่าจะเป็ นการเสด็จพระ
ราชดาเนิ นท้องที่ ต่างจังหวัด โครงการพระราชดาริ วัฒนธรรมการบริ จาคโดยเสด็จพระราชกุศล
แนวคิดราชประชาสมาสัย พ่อแห่ งชาติ ฯลฯ สิ่ งเหล่ านี้ จึงล้วนเป็ นผลสั มฤทธิ์ ของปฏิ บตั ิ การด้าน
การเมืองวัฒนธรรม (ชัยชนะของการต่อสู ้ทางการเมืองวัฒนธรรม) ที่นาไปสู่ พระราชอานาจนา ซึ่ งมี
บุ ค คลที่ อ ยู่เบื้ อ งหลัง ความส าเร็ จนี้ มากมาย (สถาบัน พระมหากษัตริ ย ์เชิ ง เครื อข่ าย) ดังที่ ก ล่ าวมา
แนวคิดการเมืองวัฒนธรรม (Cultural Politics) จึงน่าที่จะนามาประยุกต์ใช้ในหัวข้อการศึกษาครั้งนี้ ได้
เป็ นอย่างดี

1.7 ระเบียบวิธีวจิ ัย

ดุษฎี นิพนธ์น้ ี ใช้วิธีการศึกษาทางประวัติศาสตร์ แบบวิเคราะห์พรรณนา โดยปรับใช้แนวคิด


ทฤษฎี ทางสังคมศาสตร์ ดงั ที่ ได้ระบุในหัวข้อที่ 1.6 เป็ นแนวทางวิเคราะห์ ทั้งนี้ ข้อมูลในการศึกษา
พิจารณาจากเอกสารหลากหลายประเภท อาทิ จดหมายเหตุราชกิจรายวัน ประมวลพระราชกรณี ยกิ จ
ประมวลพระราชดารัสและพระบรมราโชวาท เอกสารชั้นต้นบางส่ วนที่เก็บรักษาไว้ที่หอจดหมายเหตุ
แห่ งชาติ ห้องสมุดรัฐสภา หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์ ฯลฯ ตลอดจนใช้ขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์
ร่ วมด้วย นอกจากนี้ “ข้อสนเทศ” จานวนไม่น้อยที่ตอ้ งผ่านวิเคราะห์ตีความมีปรากฏอยูใ่ นงานเขียน
ประเภท บันทึกความทรงจาของบุคคลสาคัญ อัตชีวประวัติ ชีวประวัติ บทสัมภาษณ์ หนังสื อที่ระลึก
งานพระราชทานเพลิงศพ ตลอดจนข้อมูลประวัติหน่วยงานองค์กรทางการที่มีความสัมพันธ์กบั บุคคล
ในเครื อ ข่ า ย นอกจากนี้ ผูศ้ ึ ก ษายัง สามารถใช้ป ระโยชน์ จากข้อมู ล งานวิช าการ วิ ท ยานิ พ นธ์ ท าง
ประวัติ ศ าสตร์ รั ฐ ศาสตร์ งานเขี ย นที่ มี ป ระเด็ น เกี่ ย วข้อ งกับ สถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ใ นบริ บ ท
ประวัติศาสตร์ การเมืองไทยสมัยใหม่ ซึ่ งมีอยูจ่ านวนมากทั้งไทยและเทศ

1.8 คำเฉพำะทีเ่ ป็ นข้ อตกลงเบือ้ งต้ นในกำรวิจัย

“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ” ในดุษฎีนิพนธ์น้ ี หมายถึง พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหา


ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พ.ศ. 2470-พ.ศ. 2559)

“สมเด็ จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ” ในดุ ษ ฎี นิ พ นธ์ น้ ี หมายถึ ง สมเด็ จ พระนางเจ้าสิ ริกิ ต์ ิ
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปี หลวง (พ.ศ. 2475-ปัจจุบนั /2562)

107
เกษียร เตชะพีระ, “บทวิจารณ์ การสร้าง ‘ความเป็ นไทย’ กระแสหลัก และ ‘ความจริ ง’ ที่ ‘ความเป็ นไทย’ สร้าง”,
ฟ้ าเดียวกัน, 3(4) (ตุลาคม-ธันวาคม, 2548), หน้า 78-80.

46
พระนาม พระอิสริ ยยศ เจ้านายพระบรมวงศานุ วงศ์ ในดุ ษฎี นิพนธ์น้ ี ออกพระนามและพระอิสริ ยยศ
ตามที่ได้รับการเฉลิมพระยศ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 (พ.ศ.
2489-2559)

47
2
: 2475

9
2475
-

Network Monarchy

2475-2500

2 -
2475-2500

2475

49
Bureaucratic
Polity

1-2

2475,

24761

7
2
2477

1
2475 1 :
2543 .
2
2476
19 32

50
2467
2476-2489

2480

24 2475

State Co-
operativism

2475

2476
2475

3
: 2539 432

51
2481-2487

2481

5 8

4
Royalist

2( 2484-2488

-
5
439-440

52
2485-2488

1 2487

1 2487-31 2488

-
: 2525

53
2

17 2488-15
2488

Consensus
2489

24 2489

2489

2475

2
2488- 2489
7 2489

54
2489
2

2475

9 2489

2467

8 2490

2
1
11
1

55
2490
-
2490

2490 2492 2490

78

33 2492 6

8 2491

2490
2492

60 :
2549 5

56
8

2490 Royalist

8 1
9 1
3

2490
2490
4
2492
2495

( 26 2492) 18
29
2494

2490
The Lost of Elites Consensus

8
3 :
2540 40
9

, 17 2 (2016)

57
2
Consensus
2
2489

10

2490

2490
2492

2490

11

29 2494
2490
2492 2475

10
2500 1 59 YouTube
1 2559 .
11
Kobkua Suwannathat-Pian Kings, Country and Constitutions: Thailand's Political Development, 1932-2000
(London: Routledge Curzon, 2003), p. 150.

58
2 249412

2475 6
13
2494
2494- 2495

8 2595

14

12

2528 -

15-16.
13
Pual Handley The King Never Smiles: A Biography of Thailand’s Bhumibol Adulyadej (New Haven: Yale
University Press 2006), p. 115.
14
Ibid p. 118.

59
15

2495

2
16
2 3
2490

2490
2490

2490 1
1

29 2494

2497

15
2542
502
2495.
16
Kobkua Suwannathat-Pian Thailand ’s Durable Premier: Pibun Through Three Decades 1932-1952 p. 79.

60
2
2475

2490

2490
3 Authoritarian Triumvirate Rule

17

Royalist
Network Monarchy

2.2
9

2477

17
2547 147.

61
8

5
2477 8

2476

2 1

2477-2489

18

2 2481-
2482 2488- 2489

2.2.1

2434-2472 19 69

18

: 2549 34
19
2472

62
5

2460

1 2466-2551
9

2 2468-2489
8

3 2470-2559
920

2470

2477 9
2513.
20

2470 7

2460

63
7

21

22

2472

2475

2477

2467 8

21

, 2527 96
22
4 : 2517 673-676

64
2475

2475

23

24 25

2463
26

23
: 2539 42.
24

:
2507
25
6
6

6
7:

26
1 : 2516 318

65
27

4 2472-2476

28

29

5 2498 2475

30
2471-2476

27
6
: 2538 177
28

23 2541.
29
158-159.
30

23 2541.

66
31

8
9

32

2538

33

8
2481

31
52

32
: 60
42
33
177

67
5

40 3-4
8,

34

2475
8

9
29
2481

435
6 7

2475

36

34
: 2550 28
35

4 6
2465 9
36
: 2556
177

68
37

2475-2489

38

2481-2486

8 2477-2489

2 8 2489- 2489

37
10-11.
38
6
-
4

90
3
2556

69
The Old Siamese Concept of Monarchy

39

9
2495-2517 8 2490

40

2
Network Monarchy
9
2490

2.2.2
2490

39
34 -
2548 166.
40
2556 8
2490
:

70
2490

2490
2492

2490

2475
41
2492
249342
2491-2492

41

31
1
2482 2487
1
2490-2493

42
2503
2493

71
2490

43

44

43

23 2514 64
44
2

72
2471
45
2472

2475

2480
2490
46

6
47

2490

48

45

46
3
47
2 64
48
: 2536 21

73
2491
49

2490
8 2493 28-
29 2493 5 2493

2494

2490
2493

2494
2495-2517

50

51
5

2490

49

22 2536 270
50
46
51
24

74
5
4.4.1
52
2475

2490
53

54

55

2490

29 2494

-
56

52
27
53
15.
54
5, 27, 42.
55
21.
56
3 3 -
101-102.

75
5 Return to Chulalongkorn

2499
5
244057
5

58

2490

2490
3.2.3

57

58
100

76
2.2.3 : -
2490

1) :

Network Monarchy
-

2
8
859

60

61

2493

62

59
Pual M. Handley The King Never Smiles: A Biography of Thailand’s Bhumibol Adulyadej p. 69-70.
60
170
61
80
23 274 2550 70

62
5

77
5
7
2475-2477

2477

-
2475 -

2493

5
63

Network Monarchy

63

78
5 2493

64

65

66

2495
7
67
2475
68

2490

769

64
2494

65
4

66
234
67
4
68
4

69

79
7

2500

2494

70

71
2490

4
8
2

70
4

71
3 :
2544

80
72
2488

73

74

75

2495
2488

6
7
2477-2478

72
2481.
73

1 2554 156
74
157
75
2490

: 2547 .

81
2480

76

77

9 2489

78
2490-2493
2 1 4
79

2493 28

76
, , ,
30 2537 10-11
77
13.
78

79
, , ,
30 2537 13

82
2493

80

2490

2490
1
11

8 2490

249081

Relative Autonomy
Network Monarchy

80
2548
81

Paradoxocracy (YouTube) 23
2557

83
4 6

2490

2)

-
2490

2489

2475
2 2
2487-2488 8
2490

84
2481 1

1 2487-31 2488

82

2475

2490
83

2491

29 2494
2492

29 2494

- 3-4

82
2550 69-70, 84
83
42.

85
84

85

86

2484 2

87

8 2490
2492
2475

88

84
73, 75
85
151
86

87
100 1 182 2543
88
91
- 2554 97.

86
29 2494

2497

2 2497
2
2498
89

2490

90

2490

89
103-104
90
:

2475-2500 : 2556

87
91

2493

28-29 2493
28 2493 5
2493

92
2494
93

91
1 :
2550 31 72
92
: 2546 74
93
2493
Political Project
10
1.

88
94
2481
95

2494

Consensus

96

2498

97

29
2494

94

2478-2485
95
2493 147
96
123.
97
124-125.

89
Relative
Autonomy

98

3) 2490

2475

2480

98
22

90
99

2495-2517 7

25 2473

12
100
2480- 2490

2487-
2492

2490

101

99

2558 23
100
123
101

2555 29.

91
102

2489103

2490

104

2492
9
2490-2491

2490
2491105

2490

102
3
: 2550 116
103
45
104
:
2531 102-103.
105
: 2550 182

92
2490
2495
2494
2497

4.3

2494
2496
106

107

2500

2490

106
, , ,
30 2537 36
107
2 : 2547 55

93
2
108

2490

2494

109

2480

3 2476, 2478 2481 6


2475

3
110

108
15
109
2 15, 25-26, 32-33.
110
2476 2478 2481
2521 53

94
2476
4

10
111
2480
2481

112

2480- 2490

111
57-58
112
:
3(42) - 2538 160-182

95
2494
26 2495

113

2490
2500-2510

113
84
, 2555 226-246.

96
2.3 2490

2475

2475

114

2490

115

2498-2499

2491

114
Royal Hegemony

115
50 35 3
- 2552

97
24550
116

The Old Siamese Concept of


Monarchy 1946

6 7
117

2492
2492

116

: 2546 .
117
The Old Siamese Concept of Monarchy
: 2517 99-113

98
118

7
119

2492

8
3 2489

2498 4 2498

118

19
119

99
120

2490

120
: 14 3
- 2541 8-9.

100
2490

1 2495

121

2495

122

123

2490

121
23 274 2550 78
122
2 55
123
https://blogazine.pub/blogs/
kasian/ post/

101
2490 2494

2494

124
2

2490125

126
2498

- -

124
109
125
100
126
Kobkua Suwannathat-Pian Thailand ’s Durable Premier: Pibun Through Three Decades 1932-1952 p. 79.

102
2-20 2498

2490

Network Monarchy

103
3

2500-2516

Authoritarian Triumvirate Rule 2500

16 2500

Consensus

2500 Senior
Partnership

2490 Factions
2490

2494
29 2494
2490

105
2

2500-2501
2500-2501 2
16 2500
2 20 2501
1

3.1 2500

2500

2490
2500 2501
14 2516

2
1

16 2500

Southeast Asia Treaty Organization SEATO


21 -31 2500
1 -20 2501

20
2501

106
2490

The Ethno-Ideology of Thainess


4

2
2
2530 : 2550 .
3
: 2559
4
The Ethno-Ideology of
Thainess

: :
2537 .

107
5

6
2480-2490

2500 -
2510
7
14
2516

2510

: 2550
6
14 40 14 :
Fong Tong Enterprise 2556 98
7
: 2547 95-96

108
-

2500

16
2500
1

King-Prime Minister Partnership 9

Palladium-Ization 10
2475 Senior Partnership

17 2502

Virtual
Public Morality

8
- , 2550 3

9
Kobkua Suwannathat-Pian, Kings, country and constitutions: Thailand's political development, 1932-2000
(London: Routledge Curzon, 2003), pp. 164-165
10
Palladium-Ization
Benedict Anderson Withdrawal Symtoms: Social and Cultural Aspect of the Octorber 6
Coup :
6 14 6
4 : 2551

109
11

Hard Power
Soft Power

12

Bureaucrati Polity Fred W. Riggs Thailand: The


Modernization of a Bureaucratic Polity 1967
2475
Effective Control Ligitimacy

13

2475

14

11
!
!! YouTube 16 2561.
12

Network Monarchy
9

13
Fred W. Riggs, Thailand: The Modernization of a Bureaucratic Polity Honolulu: East-West Center Place,
1967 p. 323.
14

2475

110
Hard Power Soft Power

2500

Consensus

World Bank

3.2

2451-2506
16
2500 20 2501

2545 2 2550

111
15

1
1 1 1
8 2490 1
1 2593 2495
2497
2499 47
247516
2490

2426

2497

2493-2496
1 1
17

1 1

15
2500
16 2500
16
2 :
2548 114
17
115-116

112
2484-2488

18

2490

8 2490

26 2492 29 2494
29 2494
2

19

16
2500

18

28 2541 34, 42
19
25 2555
2555

113
:
20

2500

21

:
2500

22

20
:
2525 121.
21
: 2548 115-117.
22
: 2558
219

114
3.2.1 -

20 2501

23

1
2501
20 2501

24
29 2501

20 2501

16 2500 25

23
: 2549 172
24
- 58
25
16 2500

115
1
2501

26
1

1 1

27

26

: 2517 86-90
27

2525

8 2490:
: 1
:
114-115
2500-2501

2519

116
2 1 2504

28

29

3 2502

240
180
110 60

20

28

2551
29
6 :
2559 26-27

117
30

2475 2490
The
Ethno-Ideology of Thainess

Senior Partnership
2500

2485-2489

31

2
2493
1

30
2506-2516 112-113.
31
100 2555 33

118
1
1
2493
2501
32

2494
2500

2503

33

34

2501

35
1 2

32
2541 51-55
33
57-58.
34
63.
35
81-82

119
2502-2508

2494 2499

2506
2516

16 2500

36

36

16 2500
10 2498

120
20 2501
2501-2507

16
14 2516

-
2506-2515
20
1 1

1 5

1 2504-2505
37

2501

:
2531 81-83.
37
2549

121
2503
50

38

39

2512

38

2502-2508 2519
2503

25
2519 : 2519
39

5 2490

2499

: 2556 .

122
30 2512

40
36.48

3.2.2

41

42

40
? ?
: 2554 54-55.
41
: 2560 173
42
: 2 58

123
20 2501

43

44

45

46

20 2501

43
16 :
2526 35
44
:
2525 122
45
: 2560 174
46
: 2549 153.

124
2502-2512
2502-2514

1 1
47

Technocrat

48

49

47
:
2554 32
48
5
: 2543 99
49

125
50

51

2490

2501

20 250152

50
:
: 2529 91
51
; 2556 91
52
6-10.

126
53

2493-2499
:

2501-2506

2502-2504
Visiting Professor of Government

2502

54

55

56

53
16 218.
54

23
55
50 :
2527
56
16 103-104.

127
2505

2506
BOI
57

58

57
: 2547 62-63.
58

2 2499-2506
4 2512-1516
5 2516-2518 7 2523-2532
2518-2520

2512-2528

128
59

2510

251160
61

59
76.
60
2506-2516

2550 307
61

2507

133 12 2539 .

129
2514-251562

3.2.3
2500

2500
2475
16 2500
20 2501

63

62

2514-2515

63
Thailand: The Politics of Despotics
Parternalism 1979

130
5

64

2503
65

9 5
24 2503

2530 .
64

: 2557
65
39.

131
The Theatre State 66

2502

1
21

5 7

2501

2502-2506

2504
67

66
Clifford Geertz Negara: The
Theatre State in Nineteenth Century Bali 1980
1-7 2555
67
373

132
68

69

247570

Paul M. Handley
68
Adulyadej (New Haven: Yale
University Press, 2006), p. 140.
69
355-356
70
354.

133
-
71

2475

72

-
29
2494
2492

2.1

16 2500
2501

71

8 9 -

2500

.
72
: 2525 237

134
73
3 2501
20 2501

74

75

73
2506-2516 151-152
74

133
75

2475

: - 2528

135
2505
76

2500

-
2500

2499 2505
4.2

76

2505

16 107 128

136
5

2500
2503

27
77
2504 2504

2500

2505

78

77
: 2558 44-
45.
78
: 2542 44

137
79

1
2502-2505

250580

81

79
51.
80
134-135.
81
2490

138
Relative Autonomy

2500
2490

4.2, 4.3

82

83

2500
2506

82
2500

Paul M. Handley The King Never Smiles: A Biography of


pp. 175-176.
83

2502
2506 2510 2510 2513
2515 2515 2525

139
2490
2492

84

2528 2541 2541


68 Hi Class 15 172 2541 .
84
: 2544
60

140
85

86

3.3 -

3.3.1 :

- - -
Senior Partnership

Consensus

Development

87
Situational Consensus

85

2489
8 9 - 3 2489

7 2528
200
2 : 2530
86

25 2551 , 2551
106.

141
Fundamental Consensus

2435-
2475

Divided Loyalty
88

89

87
Situational Consensus
2
8 2490

2520
88

YouTube 17 2555.
89
: 2562 208.

142
6
90

Divided Loyalty

2475 Bureaucratic
Polity Fred W. Riggs 3.1
Effective Control Ligitimacy

Political

90
: 2552 29.

143
Culture Fundamental Consensus

2475- 2490

247091
2481- 2487 2.1
92

2475
The Lack of Elites Consensus
2476

Situational Consensus
2

The Lack of
Elites Consensus The Lost of Elites
Consensus

2490
2.1

2490

91

92

2481-2492
2531

144
- 2497

Consensus 2490

Network Monarchy

Cultural Politics
247593
25
94
2500

250095

93

2480 2481-2487

Cultural Politics

94

25 13 12 2555 .
95

145
2498

16 250096

-
2500

2480

97

24 2500

16 2500 9 2489:
23 3 2546
96
- :
2498-2500 29 2551 .
97
2490

2500
16
2500
2500

146
Fuadamental Consensus

17

3.3.2

20 2502
- 2501

98

2500: :6
2544
98
- 59-60.

147
99

1
2501

2501

100

101
2503
2505

99
69.
100
6 :
2529 27.
101
- 71

148
102
2505

2550 -
20 2501

103

1 2503

16 2500
102
69

103
2506-2516 125, 172

149
2506

104

105

16 2500
20 2501

106

2500

107

2500-2511

104
173
105
1 :
2534 186, 190-191.
106
84
107
2 83-84

150
2494-2500
2500

108

109

2500

108

2506-2516 2550
-

30 2500-30 2506

2502

109
2506-2516 303.

151
2506-2515

110

20
2502

2502111

25 2501

110
89
111
17 2502
17

2521

152
112

2502

113

2502 20

108 100 1

114

112
152-153
113
140
114
97

153
-

9 2501-2511

2506

2502
2504
2506

2550

115

115
2506-2516 315-317.

154
116

2506 2515

2502

117

3.3.3
2506-2516

9
2506-2516
116
316-317.
117

: 2553

155
Factions -
Consensus

11 2506 11 2507
2507

2516

1 2506-11
2506
118

1 1 2506-30
2508 2508

118
2506-2516 302

156
2509 2500
-
Senior
Partnership

2500-2516

2500-2511
2

119

120

2500-2515

1 1

2506-2515

121
2506-2512

119
60 : 2534
58
120
16 94
121
David Morrell Asain Survey February 1973

157
122

2475
2.

2497123

122
A 8.6/53
14 2516

123
2497
.. .. . .

. . . . 5
. .

. . . . . . 5

4 .. 11

158
2500 16
2500
2497

2500
8

124

17 2502

17
125

. .

Individual Study 1

124
59-61
125
2506-2516 324

159
Consensus

2502- 2514

126

127

- 2550

2512-2514

126
4 : 2559 13
127
16 206

160
128
Vietnamization
5.2.3
2510

17 2514

2502

1 2502-2505
2 2505-2511

128
- 183-187.

161
129

130
:

2511-2517
2517-2523

Consensus
-
-
-

2511 10
131
2512 3.3.2

17 2514

129

130

2559 225
131

74
55
21

90

162
132
Factions 5 1
2 3 4
5
1

133

134

135

132

2512 2520 69.


133

-
134
Devid Morrell Power and Parliament inThailand: The futile challenge, 1968-1971 Doctoral dissertation,
Princeton University p. 953.
135
2511
2501-2511

163
136

-
-

2514

1
2515

2514137

138

2512

2512-2513
2516

14 2516.
136
: 2545 62.
137
David Morrell Asain Survey February 1973 p. 164.
138
7

164
2515

2516

2509

2516
139

1 2516

140

1
1
141

A 8.6/53 14 2516.
139
- 287-288.
140
A 8.6/53
14 2516.
141
342-343.

165
142
-
- -
14 2516

2512
44
50 33

142

2530

166
143
22
2510

2504144

2556
145

143
, 2539 470.
144
1 5
227
145
: 2556 93

167
2502-2514

Network Monarchy

2511

146

Intellectual

146

8 2511 2511

168
2512-2514
3

147

148

14
2516

Consensus
2500-2516
-

147
:
2498-2514
2524 140.
148
120-121

169
14 2516
14 2516

149
Actors
Network Monarchy
-
2510 14 2516

149
A 8.6 53
14 2516

170
4

2500 2510

Network Monarchy -
Factions
Actors

Political Project

Formal Informal

2510

4.1 2500

171
16 2500

2490

2500
2490 60

2.2.2

2490

2500
Network Monarchy

172
2502 45

2502 2500

2501

2 2549 .

173
2

2502

2503
3
2504
2515

2521

25004
2
318
3
319.
4
2556

2508-2509

174
2500
5

2517

2500

: 2556 350
5
2541 115
6

20 2540
2540 102-103
7
295

175
2504
State Visit
8

25009

2500

Home Economics

10

2510

8
28 25
2559 14
9
2504-2507 : 2557 57.
10

: 2540

176
11

12

2515

13

2471 1

11
315
12

13
: - 2553 140

177
-Walkie Talkie Radio
14
66

2500- 2510

2504
15

Informal Network Network


Monarchy

4.2 - - :

14
142-147
15

2553 , 2548

178
Network Monarchy

16

-
-
2500 3.2.3

17

16

2501 2502

2501-2506

17
2490

179
2506-2516

18

19

20

2506

2505

18
2471-2560
9

9
19

2542 50-51.
20
51.

180
21

-
2490- 2500 -
-

Network Monarchy
2480- 2490

2475

23 Mass Politics

2500
-

9 2489-2559

2503

21
80
23 274 2550 76-77

181
2506 2512
2518 2519

2531 -

4.4.2
22

23

2500

24

22

2518

23

14
2516 -

24
50
: 2543 574

182
Network
Monarchy

-
2500

-
2500

4.3 - : Pilot Projects

25

25
2542 74

183
-

Pilot Projects

26

27

2500

28

26

2502-2504
-

2502-2518
, 2539
27

2500 -
28
: 2560 123, 130.

184
29

60,000
300 250630

2505-2506

31

29
: 2550 13
30
74
31
130

185
32

2505 -

2507

33

2500-2510

32

2530
30 2537
, 2537
33
, 2560
72-77.

186
34

7
600
2490

35
2500
36

34

2512

1,002,000
100

9 YouTube 6 2559.
35
1 :
2543 586.
36

2543 2592

187
! That So the cost of
production is very hight.
resolved :
He
: was impressed.
: advise project
advise
project
37

2500

2506
1 2543

37
1 85.

188
- 2500
Pilot Projects

Engineering Agricultural

38

39

2501-2511

38
: O.S. Printing House 2528 30
39

2492
Food and
Agriculture Organization of United Nation FAO
-
2511
51

189
40

2514
41

250642
2556
8
43

44
2510
40
75.
41
30
2555 : 2555 59
42
75
43
: 2556 57
44
2502-2518 403-410

190
Pilot Projects

2507
2514

2500

2510
2513
50,000

2512
-

2505

2500- 2510

191
2500-
2510
4

45
-

2504
46

8.1
2556

47

Political Project

2500

45
236, 238, 291.
46

25 145
47

192
14 2516

8.1

4.4 -

2 1
2

48 49

50 51 52

48
2497 2504
2512 2516-2517
2518-2536 .
49
2489-2500
2500-2512 2508-2514
50
2492-2510 2500-
2507 2508
2507 2512
51
2496-2501
2502-2506 2506-2510 2511-2516
2514-2517 2516 -2518 2518-2545

193
9
2490

2500

Network Monarchy

4.4.1 :

53

52
2511-2515
2515-2517
53
5 2416

194
54

30 200

55

1 2 3
4 5 1
2 3 4 5

54
: 2554 243-244
55
:
2547 92.

195
56

2505

2507
2509

56
2490-2510
2517
- 2480

18
2501 1-4
2500
2501-2512

2505

2558

196
57

2511
2518

2515

57
- 2500-2516

2502
2504
2507
2511
2511 Senior
Partnership

14 2516
Royal Hegemony 9 51
14
14
2510-2520
14
14

197
58

2519
2541

59

4.4.2 :

2500- 2510

2506-2510
60

2510

2511

58
11 : 2559 149
59
125
60
2510

2501

198
2510
2510-2515
61

Generation Network Monarchy

62

2495

26 2495

61

23 2540 :
2540 131-132.
62
2516-2518) 40
-41.

199
63
2 2.3

2490

2506-2510
2507
64

2510-2515

2512

65

Hegemony

63
84 :
2555 293
64
281-282.
65
303.

200
Senior Partnership
2490- 2510
-

14
251666

2507-2510

67

Middle Temple
2509

68

66
: 14
2552 69.
67

9
2544.
68

10 2548 2548 104-105

201
2510-2513

69
2512

70

71

2510

69

4 2534
2534 78
70
Hi Class
4 37 2530 33 35.
71
2524

2527 2531

26 2534.

202
1
2511
10 2502

2511

72

2 -
Pilot Projects
-

2506

72

Hi Class.

203
2511-2515
2500

73

2507

74

2508

73

.
74
Chiang Mai: Silkworm Books 2545 207

204
75

2515

76

77

Political Project

2518

75
189.
76
: 1 - 2548 104.

2545 :

77
1 1
0204/2477 25 2515

2
01000/3430 8 2516
4 :
459.

205
2517-2518 11 2501-2511

78

2503-2514

2505

78

2511-2516

2512

6 2543 2543

206
251279

2515-2518

80

16 2500

81

2505

79

2527 83.
80
311-312
81
:6 2544 192-194

207
25-26 2507
82

83
-

82
10
83
52.

208
84

14 2516

85

2500-2510

2503

2510
86

2510

87

84
15, 31
85
A 8.6/53
14 2516.
86
128
87
121, 136, 182.

209
Senior
Partnership

14
88
2516

89 90

9
91

88

89

2509-2521 2522-2539
9.
90

2530-2559
9.
91

2509

210
3.2.1
2500 2501

14 2504-2517
2503-2517

2513

30 2532 : 2532 .

211
92

-
-
2510
3 2512-
93
2516

1 2510-
2511
1

1
1
3

1
2515

92

2551 77.
93
A8.6/53
14 2516.

212
2514
94

2518

Network
Monarchy

Relative Autonomy

-
2492-2509

2510

94

7 2541
2541 350

213
2490

95
20 2501

2501-2506
2506-2516
96

2515-14 2516

1 2498

2502-2506
2506-2510

95
79
96
266-267

214
2512-2522

2512

5 2513
97

2504-2514

98

2500

97

28 2547 2547 81-


83.
98
: 2531
23

215
2520

Network Monarchy
Relative Autonomy

216
5

8 2506 2
- 3
1
3
-
3.3.2

9
2

1
25
2519 : 2519
2
17.00

2506 -2516
2550

217
11 2507

2503
6 3 2504-
2506

-
2

2495
2501 2510
2512
25134

2480-2490
9

3
2506-2516 154 180.
4
:
2560 172-173.

218
2506-2516
Senior Partnership

3 1
2506- 2511
2512 2 2512-2514
3 17
2514
14 2516

5.1 :

2516

35 25095

28

5
: 2542 121.

219
6

2509 2542

25 2512
37

2516

2475

6
123.
7
124.
8

23 2514
: 2514 61

220
9
2476

10

11

12
1

2510

9
: 2534 73, 74, 89.
10
: 2495
11

17 2541 :
2541 80.
12

2551 35

221
13

14

2507

2
1

13
Restow to President Johnson September 12 1967 in
Foreign Relation of United State, 1964 1968, Volume XXVII, Mainland Sotheast Asia Regional Affairs
2506-2516 276
14

9
2510
4 1 2512

1 13 : 14 16 :
14 2546 118

222
2511

250715

251016 2505

-
2506
2512
2 2506-2515

15
:
2547 519, 506.
16
50
: 2543 576

223
2506

2512-2516
-

17
2513 31 1

3.3.2

Network Monarchy

17

10 19 2538- 2539 74

224
18
-
2508

19

18

20 2501

2510.
19

: 2558 263-264

225
2502

20

21

Political Project
2508

20

: 2508 196
21
112-113

226
2508 2509
2511 20
2511
2508

9
2530
2511

22

2511
-

28 2512

22
9
: 2560 247.

227
2514
23

2511-2512
-
2511 20
2511 10 2512
2512-2514

Hierarchy

20 2511
24

25 2512
9
37

23

: 2520 99-100.
24

9 2489-2559
2 1 2475
2495 8 2495 2 2511
20 2511 2511

2511
.

228
5.2 -
2510

2500
Consensus

- -
Network Monarchy

5.2.1

-
Pilot Projects 9

2494-2519

229
2505-
2509 1 6 4
2

25

Toshio Yatsushiro
2500
500,000

26

2510

25
2494-2519

2548 345-346
26
Toshio Yatsushiro The Appeal of Communism in Northeast Thailand Usom Community Development in
Thailand Bangkok: USOM n.d. p. 5

230
27

2500

28

29

9 Network Monarchy
2500

27

20 2540
2540 183.
28
: 6
4 : 2551 109
29

, 2548 303.

231
- Pilot Projects

2510

-
13 2512

...

30

13 2512)

30
2511-
2512 : 2513 131-132

232
...31

5.2.2

2510

31
78-79

233
32

Network Monarchy
33

2500

2554
2524-2526

2501-2505
17
34
2504

32
42-43
33

2510

: 2531 143.
34
? : 1987) , 2554 215-
216

234
35

Search and Destroy

2511-2513 3
2515

3
2
36

Network
Monarchy -

35
31
36
156, 224

235
2508
37

-
2508-2516

37
7 2508

236
2510
38

Network Monarchy

39

40

38
? 155.
39

39
333
-

Network Monarchy

40
: 2557 222-224.

237
4

2514

100,000
41

5.2.3 2510

-
2510

2 20 2511
10 2512 2512-2514

2510

41
Katherine Bowie Rituals of national loyalty: an anthropology of the state and the village scout movement in
Thailand New York: Columbia University Press 1997 pp. 55-59, 82

238
30 -20 2511

commitment
42
-

43

2511 2511 1

2550

2512-2517 the Nixon Doctrine

42
: 2533 347
43
351 403

239
44

2510-2512 3
45

2511

2511

Lotus Project

2511

251146

2512-2514

44
- 175-177
45
691-692.
46
164 169

240
75
215

47
17
2514

Network Monarchy

2510

2510

47

15

241
48

2510

1 2

17 2514

48
2 : 2547 217

242
2516

49

14 2516

50

Mass Politics

49
- 258.
50
Frank C. Darling, Thailand: Stability and Escalation Asain Servey February 1968

243
5.3 :

Network Monarchy
2510 Key Persons

14 2516

- 2510
Political Projects

2511

9 2490

16 2500

51

51
2 : 2550 63-72

244
9
2505 16 2505
9

1 2 3
9
52

53

2500

52
23 274 2550 138.
53
2 109-110

245
- 2510
Key Persons Network Monarchy

2511
2514

54

2500

55
2505

54
2516-2518)
: 2554 49
55
2500

2502

2506
2542
2503

2505

246
2510

2509
2514 2514

56

- 2510

57

Consensus

15 3 - 2542 .
56
:
2553 .
57

2500
90 2559

90 :
2559 .

247
17 2514

58

2515 299

59

2514

2
11 2515
2515- 2516
60

58
- 14
2552 56
59
29 344 2556 129
60

248
17 251661
14 2516

62

2550, 2558
2514

11 2514

63

2515

64

61
: 2538 56.
62

: 2550
63
66.
64
2 221-222.

249
-

1 3 2515

2-3

65

66

65
75 28 1 -
2552 141-142.
66

250
2515
2515
40-80

2515

67
17
2514
300
2515

2515

68

2515
2515 15 2515
2515

69

67

68

69

2530

251
2510 14
2516 Network Monarchy
Actors
-
Relative Autonomy

17 2514
-
70

14 2516

2515
2515

15 2515

21
2515 : 2554 356-357.
70
A 8.6/53
14 2516

252
71

-
3.3.2

14
2516
14
- 14
2 1
2

72

73

14 2516

14 2516

14
-

71
: 6
14 6 123
72
- 69
73

2533 94

253
14 2516

14 251674

15

75

15 20 2501

74

-
4 -
18 2551

2512-2514

2550
75
- 389

254
6

14 2516

14 2516
9

1
-

14 2516

Royal Hegemony

2489

1
: 60
: 2549 121
2
John L. S. Girling Thailand, society and politics Ithaca: Cornell University Press 1981 p. 193

255
6.1 -

6.1.1 -
1, 2

3
1
1 14 2516-22 2517

14
25164

29 2519 : 2519
13
4

: 2558
5-6
5
6

256
14 15-16 2516

14

16 1 2

10

6
16 :
2526 142
7

8
18 2516
9

2544 89
10
14

257
14 -

11

14
2517
-
7.1.2

1 14 2516-22
2517

12

Paul M. Handley
11
ibol Adulyadej New Haven: Yale
University Press 2006 p. 218
12

14
Informal Network Formal
Organization

258
13

2 27 2517-14 2518

99

13
2516-2518)
69

259
14

2514-14 2516

14
2518
26 2518

15

16

14
2516
15

16
Network Monarchy
2500-2510
23 2511

260
Network Monarchy 14 2516

6.1.2 :
14 2516

14 1 2

2,347 299
2517

- 14

2515

14

18

27 2513
8 2517
8 2518
25 2519.

261
28 251617
18

10
2516
2,347
2 23 00 02.00

19

17
28 2516 18

-
- -

18

2517
19
90 161 10 2516

262
20

95
21

20

2516-2518 2552

21
12 2516

263
2515 5.3

22

2,347

23

24

25
2 347

22

.
23
: 2518 210
24
18 2516
25

2544

264
26

27

2,347

28

29

188
2558 238

26
: 2538 126.
27
: 2555 50
28
15 2516
29
17 2516

265
18 2516

299

9
14
2516 Royal Hegemony

Void
14

30

2517-2519

2510

30

2534
128

266
6.2 14 :

14

299
31

32

14 2516
33

34

31
Paul M. Handley, The p. 216.
32
2537 74
33
6 :
2529 42
34

2 347 10
2516

267
27
35

36

16-17 2516
18 2516 19
2516

Chiang Mai: Silkworm Books 2545


288-293.
35
2529

18-19 2516 1

!
2 2

6
42
36
2521

2516

268
14
-

- 3

14

39
16 10
8.6 - 11
37

4,000
25
75 5
2516 7 8

: :

:
2521 230-231
37

2548 108

269
14

14 2516

-
3
1
38
14

38

188-189

270
39
-

39
14
2 2
2,347

2517

18
20

14 2516

271
Social Action Party

40

14

: 2559 .
40

2489
2489

272
1
2

2517

14

-
14

Royal Hegemony
14
Network Monarchy Factions

273
6.3 99:

14

Relative Autonomy

14
23 2516-10
2517

14

:
41

14

41
82
2536 109

274
42

17

14

43

17

move
44
:

42
: 2555 50
43

44

275
2517

20 2517
17
2515

17

1 2

45

14
46

45
47
46
2
27
2517
44 18 2517 97 55
3 1

17

276
3
19 2517

47

48

99

22 2517

17 17

2516-2518 2554

47

: 2558 7
48
11 2517

277
99
49

2 27 2517-14
2518
Social Action Party
50

99

99

51

49
10 1 29 6 2517 21-23.
50

2517
9 2517

2533 192
7
2517 2518.
51
2537 74

278
99

52
99 106 114
99
53

99

52
,5 2517
53
99

99

99
22-23 2519
A12/79 71 85

279
54

55
2518
44
56
10

99

14 2516
99

99 2

54
? http://blogazine.in.th/blogs/
pandit-chanrochanakit/ post/ 2 2559
55

26 2559 2559 228.


56
2518

280
57

2512

2510

58

99

2512-2528

57
7-8.
58
: 2537 67

281
59
2-3
60

2528-2530 -
310
2510

2530

99

61

2510
99
-

59

: 2553 63.
60

2500-2520
2508 2509 -
2514 2515
2520 2524
61
, ,
, 2549
33.

282
62

63

64

99
14
-
14

Relative Autonomy
Hegemony

99

99

62

26 2495

63

17 2539 2539
146.
64
245

283
Network Monarchy 99

2518 2527 2530


2534

99

2
2519-2523

2520 14 2516

99

6.4 :
2517

2516

10
2517 7 2517
2
14
2517 2
1 2

14

177

284
179
65

2517

107

66

65

2522 237-242
66
110

285
67

3 10
2517
68

14

Royal Hegemony
69

Factions

Relative Autonomy

67
8
68
110
69

9
14

64

286
14 2516

70

2 14 2518

6 3

2518

2517
factions

70

14
2518

2559 73

287
90 60

71

99
2518

4 251972

2518

71
67 2475-2542
2542
72
73-75

288
6

73

2517
14

14
2517- 2518

73
67 2475-2542

289
7

2518-6 2519

14 2516

14

1
3
-

6.1.1

6.1.2 14
2

1
Fine Day Night (YouTube) 6
2560
2
3 8
2516 31 - 2548 133.
3
-
50 2550 376.

2
14
2518-2519

14 6.4

2518-2519 6 2519

Consensus

7.1 14
2516

14 2516

14

Senior Partnership
1 2516-30
2518 14 2516

2490 2500

292
-

-
1 2500
2 2503 1 2506
1 2508 2509
2510 -

14
3.3.2

14

Network Monarchy -

14

25 2519
2519 14

293
5

14

7.1.1

2517

2516
14

1
16 2516-22 2517

2 30 2517-14 2518

294
6

3
3
3
7

14 6.2

1 2518-30
2519 1 2519-30 2520
1 2520-30 2521

3
14

6
2510-2520

2517-2519 2519

21

295
1

2517
2519

2524

1 2516 19
25169

1 2518-30 2519

8
30-31
9
139-147.

296
10

1 2518-30
2519
1

11

23 2519

1 2519

10
16 , 2523 29-30
11
:
2524

297
12

2503

2517

13

2519 28 2519

1 2517-31 2520
1 2519-30 2520

12

8 2519 :
2519
13
, 2542 391

298
5.2.2
14

14

14

15

Open Arm
Project

16

14
14 2516 2548
26-28.
15
2554 14

12 83

: 1987) , 2554 8-10.


16
4-5

299
14

17

14
2516- 2518
30 2518

18

2517
19

17
: 1987 2549 266
18
269
19

23 2519

300
39
14
12 . 83

14

- 1

14 2516 2518

3 1 251820
Relative Autonomy

2518

20
3
1

2500

301
Relative Autonomy -

2517

21

2519

22

Hegemony Consensus

Mentality

14

7.1.2

14

21
391-392
22

17 2541
, 2541 69

302
2517

-
2518
179

2517

64

1 2

Whip
2512-2514
23

14
24

2518 26 2518

23
45.
24
-
32

303
25

26 2518

2517

42 7-8

14

25

2500

2514

14 2516
: 2548 115-
118.

304
26
JUSMAG

27

28
-

26
: 6
14 6
4 :
2551 147
27
2517

28

2544 89

305
29

14

29
:
2558 237-238.

306
26 2518

72 45
28 19 18 16
15 12
10

14
2516 3

14

72

19
91

6 2518
18
16

307
30

14
18
31

2490

2514

45

2517

28

30

- 18 2551

31
3/2518 6 2518.

308
32

18

11
2518
12 2518
33

34
72 2 91

6
2518

32
2 67 27 2518 8-10.
33

34
3/2518 6 2518.

309
35

152
111

8 251836
4
37

13
2518 16 4

12

35

2559

36
: 2521 114-115.
37

89

310
38

14

39

40

14
26
41
2518

38
241.
39
- 14
2552 107.
Pual M Handley
40
Adulyadej New Haven: Yale
University Press 2006
41
: 2555 48

311
42
2518

7.2

7.2.1 14 :

14 2516

14
14 2517-2518

43

44

42
- 107
43
6
: 2544 111
44

14 14

( : 2549) 49

312
14
2516-2519
14

14 1 180
45
2517 357 3
6 2519

2517

2518

46

14

45
6 82-83
46
2475-
2540 : 2537 88-89

313
37

2496
47

14
2516 2516

14
48

2517

47
6 79
48
: , 2516 112-116.

314
49

14

50

14

51
14

24 2517
52

49
2516-2518)
147-148.
50

Hi Class, 2530 35
51
2516-
2517 : 2518 355.
52
, 139.

315
2517

( 23 2517)

53

14 14
14 radical

54
14

55

53
, 218.
54
Mass Monarchy 40 14 : Fong Tong
Enterprise 2556 111
55

6 2519

129-130.

316
2518

2518

2519

7.2.2

18
16

6.3
Consensus

317
14 2518-12 2519

14 251656

57

Consensus

Populism

58

56

14 2516
.
57
193-194.
58
: 2549 394

318
2.5
5,000

59

60

250061

1,000
1,000 Poverty Line
62

99

59
195
60
2545 121-122
61

2538 14
62
123

319
63

:
64

65

2519
62,000 48,000

1 2518 15
2518

62,000
48,000

63
127
64
2547 112
65
2548 122

320
66

1
2518

20 2519 20,000
67
350

68

66
1 2518 15 2518
67
2510 7

2518 21,745 2512


49,000 2516 45,000

30 - 600
25 2548
68
82 45

321
69
13-15
2518 1,100

17 2518
14 2516

70

2518

69
(Mayaguez Incident) 3
13-15 2518
(SS Mayaguez)
( )
39

70
2475-
2540 91

322
14
71

72

71
6 2519 14 6 47
72

82 45

323
- 29 -6 2518
73

74

75

73

26 2559 233.
74
: 2518 101
75
157

324
14
-

76

19 2518

77

76

77
9

19
2518

325
14
78
2518

79

78
6 157
79

2526
2518-2519

2-3

16 :
2526 , 152.

326
80

4 2519

20 2519

81

Consensus

82

80
15 2518 2 2518.
81
Fine Day Night YouTube 6
2560
82
98

327
-

83

84

Network Monarchy
14 5.3

4 2519

83
17
84
Paul M. Handley Adulyadej p. 229

328
23 251985

7.3 :

14

14 2516-6 2519

6 251986

Relative Autonomy 14
2516-6 2519
Consensus 2

85

4-5

86
https://prachatai.com/journal/

329
1

14

2518

2544

2518

87

87

1 2518

330
! !88

17
2518 -

30 2518

17
2518.
88
128-129

3
3

2538

331
89

14

14

89

200

2514
14 2516
: :
2559

332
2518

2519

7.3.1 :

2518

2
2518

1 2

90

14

14

2516-2517 14
251691

90
15 2518 2 2518.
91
:
2525 226 -227.

333
92

93
3-4

2519

12 . 83

92

14

1
19
YouTube 20
2559
93
- 107

334
94

7.1.1
95

4 2519

14

96

94
49
95

2545 33-34.
96
2 30 + 28 28 2521 .

335
97
12 . 83

99

98

97

2541
3
3

Fort Levenworth

2541 126-128.
98
23
: 2537 254

336
14

50

99

100

101

14 2516

12

99

28 2541 2541 127-129.


100
: 2556 213
101
23
246

337
2519

102

103

104
5 4

102
65-66
103

2476 5
2481.
104

2541

1,000

338
14

105

106

- -

107

105
? 148-150.
106
6 2519-2549
2551

6 2519

107
: 2551 154-155.

339
108

9
3
001109

110

2510

111

Protector of the Throne

6 2519112

2551

108
A 11.1/11
109
6 137
110
Katerine A. Bowie Rituals of National Loyalty: an Anthropology of the State and the Village Scout Movement
in Thailand New York: Columbia University Press 1997 p. 319.
111
A 11.1/11
112
62 -
2551 18

340
6 2519

113

Dual
Identity

114

113
:
14 62 - 2551 93
114
155

341
115

116

117

- -

5,000
20 2519

115
: 2521 131
116

30 28 28 2521 .
117
A11.2/38 36-40

342
Hate Speech -
-
:

- -

118

-
-

:
119

Consensus
Royal Hegemony

118
A11.1/15 - -
119
:6 2544 168

343
7.3.2
6 2519

23 2519 20
2519-6 2519

120

2518- 2519

121

122

14

120
24 2519
121
: 2560
26
122
Paul M. Handley, Adulyadej p. 167.

344
123

2519
124

14
20 -6 2519
125

123

2490
2494

: 2556

3
Mega Scope, 2553 88-106.
124
35
125

16 2525

345
14 2516

31 2519 6 2519

126

2541

5 2519

5 :

:
4

125-126.
126

2541 57-61.

346
127

2519
128
-

127
2540
: :

130.
128
167-169.

347
129

2519

2507
130

2544
6
2519

131

129
287 15 2519 .
130

2527
131

6 2519 6

348
2519 2518
1,494 203,715 2519
132
2,387 1,915,604

133
2519

2512-2514
134
14

6
132
23 134.
133
120.
134

349
2518 2519

4 2519

135

2519

9 1, 9.2
136

137

135

2518

2518
2

7-10.
136

: 2543 70-75.
137
https://bangkokrecorder.wordpress.com/tag 1 2561 .

350
15-22 2519 2519
19 2519 -
138

138

2547
2542
14
2517

:
:

245-246

1 2519

6 2519

351
139
-
3.3.2

140

141

142

2519 19 2519

139
300 30 2519 17
140

2519

406-407.
141
301 2 2519 .
142
,
, 14
2553 2553 229

352
143

2517
144
47

145

-
1
146

1147

2519

148

143
300 30 2519 .
144
125.
145
20 2519
146

7 2541 2541 55
147
300 30 2519 .
148
, 2 23 24 2521

353
1
149
1

150

151

- -
2519

149
:
2521).
150

2531 61
151
24 2519

354
6 2519
18 00

6 2519

22.00

152

152

2519 6

333 2535 2549


2559
6 2519

18 00 6

355
6 2519
-
153

10
2519

8 2519

6 2519

6 2519 ?1 (2)
7-13 14-20 2559.
153
! 6 20 www.matichonweekly.com/
column/article_29893 30 2560

356
8
-
14 2516

- 14 2516-6 2519

20 2518

357
14
14 5.1.2

2517 2518-2519

Thailand: Society and


Politics John Girling 1981 Girling
14 :

25182
3

Sir David Cole 2516-2521

2556 161
26 2559
2559 230-231
2
John Girling Thailand: Society and Politics Ithaca: Cornell University Press 1981 p 218.
3

30

358
9
2519 3 6 2519

14

14

2518-2519

2518-2519
2540
- 2550
Facebook
2559
4
-
50 2550 117

359
3 001
2518 19 2518

14

2517-2519 190 2517


168 2518 169 25195
2510
150

2516
25196

2551 4
6

2511

2518
2515

2545 103, 109

11 : 2544 203.

360
4

2510 43
Ideological Practices

9 2489-2559

2475

14 2516

8.1 14
2516

14
Network Monarchy

361
8

2517
9
14

10

14 Consensus

14

Network Monarchy

8
2538- 2539
10 19 66
9
10 19
2538- 2539 75
10
50 :
2553 580

362
11
2518

251912

14

2519 21 2519

2518 2 2518

13

251914

11
Chiang Mai: Silkworm Books, 2545 121
12
2560
114-115.
13

, 2534
14
: 2523 .

363
4.1

15

14 2516

2500- 2510

16

17

18

2500- 2510

15
9
2549
16

14 2516
17
: 2559 119
18
226

364
-
4.3

14

2516

Survey
19

14
2500- 2510

14

14

19
2540 183

365
14

2
20

2517

21
1

2517

22

20
: 2551 160
21
11 : 2559 25 44
22

366
14 2516

23

24

14 2516:

14

23
39-40.
24
Thairath TV 9
(YouTube) 9 2559.

367
25

26

25

200 300

( )

25
2520
: 2559
26

5 2501-2504

6 2505-2556

2510
...

368
14

251627

2518

28

J.L. Taylor, Forest Monks and the Nation-


State: An Anthropological and Historical Study in Northeastern Thailand Singapore: Institute of Southeast Asian
Studies 1993 2545
27
: 2521 432
28

9 2519-
2526
11 2521-2533
12 2523-2535

, 2539

369
29

2516

2517-2518

30

29
104
30

2559

370
14

2518-2522

9
3
2510

7-8

2515 5

371
31

14

Mass Politics
Network Monarchy 14

8.2
2

8.2.1

14 2516
2515

2518
2519

31
, 2555 61-62.

372
2516-2517 2518-
32
2519

2518
2518 2518
33
2519 23 22

500-800
2519
34
=

13

10 2517

32
Katerine A. Bowie Rituals of National Loyalty: an Anthropology of the State and the Village Scout Movement
in Thailand New York: Columbia University Press 1997 p. 99.
33
1 - 2548 108.
34
Majorie A Muecke 23
, 2537 129

373
35

1 2518

5
36
4

37

35
23
140-141
36
: 1 - 2548 109-
110
37

2516

374
2519

12 2519

38

4 2519

39
24.00

2520

2528

9
2556
38
23 86-88

39

2515

375
5 2519
40

2519

Soft Power

23
66-70.
40
5 2519

376
2519
2500 4.4.2

41

21

2520

8 2

14 2516

3 2512-2516
-

14

2519

41
2510

377
-

14

2 2517-2520
2520

-
2515
2511
2502 14
2516

14
42

2 2516
2517 2

42

: 2522 .

378
5.2.2
2518-2519 2 2
43

44

43
: 1987) , 2554 255
44
A11 2 8 1-10

379
2

45

2500

5 2517
2 14
251846 2
2

2516
23
2518
23
13 3

45

2510

46
263

380
47

23

2516

48

47
: , 2529 48.
48
73-74
2529

31 2529

2527 2528
2529

2520

381
2

14
2516

Network Monarchy
2520
14 2516

2500

2 21
2504

13 2516
49
14

2516

49
: 2557
59-60

382
2518
4
50

2520 11.2.3

2510

14
2518-2519
2518-2519 2519-2521
2520-2521

14

14

14
6 1.2

Royal Hegemony
14

50

17
2538 2538 .

383
9.1
Senior Partnership

2518-2519
Relative Autonomy

Consensus

7.3.1

Relative Autonomy

6
2519 Network
Monarchy

384
9
6 2519:

6 2519 -

Network Monarchy

Consensus
Factions
8 2519-20 2520

Royal Hegemony

9.1 2519:

8 2519 2

385
Royal Hegemony 14 2516
2518-2519
7.3.1

14

14

Network Monarchy

99
2518-2519
6 2519

14 2516

386
2510 4.2.2
2519

14

2519
2518

Look

Network Monarchy

1
:
2519 38-39.

387
2

14 2516 6.1.1

14 2516 6 2519

6 2519

- -
14 2516

2
2519 1 2
3 4 5 6
7 8 9 10
11 12 13 14
15 16 17 18
19 20 21 22
23 24
3
:
2546 .

388
2518

7.3

Senior Partnership

2518-2519

2525
2519

3
4

15

4
2519
12 2519 4 2519
23 2519

389
5

2518

19 2520
20 2520 1
2519

15

1-3 2524 :
2525 185-187 9
19
2520.

390
2495
6

9.
7
50-60 100

24 2518 :
40

:
2

:
2519 38-39.

391
2519 4
2519
4
5 6 10

20 2519-6
2519

Master Plan

Network Monarchy

6 2519

10

Sir David Cole 9


2519 3 6 2519

2533 131.
9
136-137.
10
John Girling Thailand: Society and Politics Ithaca: Cornell University Press 1981 p. 218.

392
11

12

6 2519

340
141 41.4713
14 8.6

11

30 2519 23

2519

12
- 117
13
2519-2529)
2533 60

393
14 6.1.2
-

14

14

2518-2519

Agent Set Zero

14
14 2516

14
6.1.2

394
14 2516
15

Master Plan
12
16

17
6 2519

15

14

16
Master Plan 12
2519 22 2519

Master Plan
279-286.
17
6 36 6
2556 48.

395
4 4.2

18

19

18
6 2529

3 2517:

6 : 2529 57-58.
19

I know His Majesty assesses people Well and is proud to

396
6 2519

20

21

1 20

have you have a part of your nation Etc.


6 286-287.
20
16 2520
21
139.

397
2520

9.2

Network Monarchy

14 2516-6 2519

22

6 2519

23

22
2519-2529) 56
23
141

398
24

25
2519 29

2519

26

24
The King Never Smiles Pual Handley 2006

25
13

2519
22
2519.
26
16 166

399
1

27

27
: 2521 30-34

400
28

17
29

30

28
Hi Class 5 55 2531 42
29
B4/25 1 3 2520
30
4 2520

401
1

7
31
25
2495

32

22

6
4
171-172.
31
93 131 18 2519 : 1
32
93 130 17 2519 : 3

402
33

30

34
1
35
8,000

36

33
22 93 128 13
2519
34
88.
35
: 2539 522.
36
160

2495

9.

403
21
2519
37
21
17 2502
17
21

1
21
9 29 17
2501-2516
38
76 53

37
21

18.
38

2531

404
6 2519

39

27 2519

103 2519

40
1
22
3 5
41
15

39

: 2520
148-150.
40
103 2519

41
40.

405
42

15 2520

43

14
44

45

46

42
6 - https://
mgronline.com politics/detail 15 2551
43
14 2520.
44
522.
45
: : 2558 12
46

406
2519
2520 2520
2519

47

2519

48

1 1 2520
49

6 2519

47
224-227.
48
The Tai Race: The Eleder Brother of the Chinese 2466
William Clifton Dodd
4,000
Dodd

Eleder Brother
49

14

11 2520 : 122.

407
8.00 18.00
14

50

51

2517

50
22 263 2550 85
51
141

408
government hand-outpublication

52

53
-
Network Monarchy

54
2

55

52

18-19.
53

20
2517 67 47
54
6 49
55
160-161.

409
12

2520
56

57
realistic

58
6 2519

59

56
3 - : 2553 85
57
16 :
2526 167-168.
58
2542
552.
59

410
60

61

62

-
1 2518

6 49.
60

14 3
2519
93

14
60
61
- -
: 2543 21
62
306 :
2545 180.

411
63

6 2519

64

63
2 30 + 28 28 2521 6.
64
6 59

412
1

1
65

66

20,000 29 2519
20
2520 12 319 14.6 15,809
67
2521 19.5 2521

65

6
28.
66
60 , 2538 202-203
67
23 2520 2.

413
22 2520
468 203
68
145 13 90

69
6 2519

70

14 2516

71

68
2 2520 : 2520
1015.
69
, 2547 111.
70
133-134.
71
67, 170.

414
6 2519

72
48
1
3-4
26
2520

11.1

20
2520

6 2519

23 2520

72
333 171.

415
73

15 2520

9.3

2525
over-conservative

74

2558

75

14

76

73
60 208
74
16 165, 220
75
https://prachatai.com/journal/
76

14 2516

416
14

99
14
6.3
53

99
77

1 2

Liberalism
2490

2 3
4

22
2514
77
, 2536 110

417
realistic

realistic

Network Monarchy
Royal Hegemony

9.3.1 -

6 2519 14 2516

Master Plan 12

1
8 2519-20 2520

2520

418
78

6
56
4 2519
6
79

6 2519

80

78
1-3 2524 160
79
, 2553 100
80

6
36 6 2556

419
81

2520 -
6-12
252082

6 2519

6 2519

81
2541
116.
82
B4/25 1 3 2520

420
83

Relative Autonomy

84

2
16
60
6 2519

85

27 2519

83
4 2520
178-180.
84
6 62-63
85
5

421
6 2519

7.3.1

86

2519

87

86
2 30 +30 12 2521 .
87
2521 11

422
2527

2520

19 2520

88

88

2527 162.

423
20 2520

29 29
2521
21 2519

29 2,000

89

29

5 2520

89
2 30 +30 12 2521 .

424
5 2519

8.2

3 2520

90

9.3.2

90

: 2520 269-270.

425
14 2516
91
14
99

2517
6.3 6.4

2518-2519

6 2519

5
92

2518

1 2518

91
95.
92
1-3 2524 166.

426
93

CIA The Nation

94

95

96

93

: 35 35 - :
2553 87.
94
The Nation

- YouTube 28 2560
95
, 2542 30-33.
96
-

427
97

99

2518 12 6 2519

98

14
14

99

97
121.
98
,
2558 .
99
197.

428
12 2520
2513 7

100

100
: , 2520

429
101

102

103

9.3.3

101
111 117.
102

take over 16
167.
103
164

430
14

2519 6
2517
1 17

5.9
30.8
104
32.4

2518 35

104
:
: 2527 144

431
105

12

4 2520-
2524

106

107

108

105

2539 44-45
106
4
107
, ,
19 2541 2541 193
108

432
109

22

6 2519

110

109
6 36 6
2556
110
198.

433
2520111

2520 12 2.3

9.3.4

2518-2519
2518-2519

111
2519

2520

2520

2534 18-19

434
6 2519

2516-2518
2519
112

6 2519
113

112
! 6 20 30
2560
113
16 224

435
114

6 2519
115

114
16 : 2523 26
115
17-23
2560

436
6 6 2519 1,500
116

2,000-3 000 2522 10,000


117

118

116
80
117
526-527.
118
: 2546 145-147.

437
14 2516
Open Arm Project
119

2554

2520
120

121

119
180
120
? 188
121
146, 157

438
122
2520
123

20 2520

9.2

9.4

6 2519

realistic

122
2519-2529) 61
Montri Chenvidakarn, One Year of Civilian Rule in Thailand in Thai Press Coverage of China since the
123

Normalization of Sino-Thai Relation in 1975 Research Paper Presented at the Conferen


at the Communication Institute, East-West Center, Honolulu, Hawaii, January 6-12,
1980 .

439
Agent
Network Monarchy

Actor

1
Royal Hegemony
14 2516 6.1

440
124

125

126

127

14
128

2520

124
2519
3 45 114 56
2518 27
6 2519

125

2520

126
Paul M. Handley The King Never Smiles: bol Adulyadej p. 266.
127
Montri Chenvidyakarn, Thai Press Coverage of China since the Normalization of Sino-Thai Relation in 1975,
p. 20.
128
8 2520.

441
129

130

131

129
: 2539 24, 50, 52, 55, 58,
66, 117.
130
38.
131
60

442
2520
2520
132

133

132

19-23 2520
15 2520
facebook

133
19-23 2520
: 2524 109.

443
Royal Hegemony

9.5

The King Never Smiles 2006 Paul M.


Handley
134
2519
19

20

135

134
Paul M. Handley ibol Adulyadej p. 260.
135
17

444
2518

Network Monarchy

:
136

50,000
2518
137

136
558, 569
137

14 2516

445
-
Pilot Project

4.3

2517

138

2500

14 2516

2517

25 2518
8

226

: , 2521 312-315
138
118.

446
6 2519

50,000

102

139

140

155

139
376-377.
140
3
2553 7

447
141
30 20

142

4 2520-2524

1-3143

141
10

20
142
3
26-27.
143
http// www. coop.eco.ku.ac.th.>learning1> five 28.

448
5.2.1 6
2519
144

14

3 2520

- -

145

2490
2.2.2

144
2494-2519

2548 345-347.
145

258

449
Theatre State

146

14 2516

147

Network Monarchy 4.4.2

14

146
261-265.
147
: , 2521 345.

450
148

149

2513

148

7
84
84 60 2538

2 24 2520
The King Never Smiles
2006 Paul M. Handley

149
390

451
2520

150

2520

:
151

2520

20, 21, 22, 23

150

5 : 2540 166.

4-5
2525

151
360-363.

452
152

9
14 2516 8.1
6 2519 2520

153

152

27 2559 :
2559 173
153

2520 31 2519

2520

2500-2535
2551

453
-
100
1 2524

2517-2518

154
16

1
155
2521 9

Theatre State

2520 50
200

154

30 2539 2539
195, 221.
155
6 129.

454
2525

455
10
:

2520-2523

20 2520

2520- 2521
11 2523-3 2523
2

1
2520

2521 2522 22 2522

1
2520 9 2520-21
2521

457
2521

2520

2
-

Consensus

Consensus

10.1

2
2519-2529)
2533 89

458
-
2511
2515

3
2505

93 4 2492

3
15
6-7.
4
93
2
93 93
2 2
2492 93
2496 93

3
5
2506 3 5
-

93
2537

459
2514
-
-
5

14 2516

2517-2518 2518-2519
2519-2520

14

2515
2509
5

5 3

6
93 : 2537
64.

460
2517-2520
2517-2518
2518-2519
2519-2520 7.1.1

2519
5

2519

2520

461
26 2520

21 2519

7
1

21 2519
15 2520
21 2520
26 2520 7
17-23 2560 5-11 2560.
8
16 :
2531 172

462
9

10 1

26
2520

3
2 2520
50
5 2520

10
20 2520

9
26 2520

2545
10
3 2520.

463
11

12

13
6

11
26 2520
5
2520

6 2520

15 2520
20 2520

12
, 24 ( : , 2549.), 134.
13
6 2519
3 000
2 6
5 2519

464
6 2519 26 2520
14

6
26 2520

6
6
18
6 252015

6
18
14
2520 2520
6
50
5
100
6
60 6
B5.1.1 69, 83, 85

15
30 2520

465
11 2.2

6
26 2520 1 6

10.2
20 2520

14 2516

16

16
: 2545
355

466
17

2521
2520

20 2520

1
2519 2520

20
2520

20 2520

17

7 2541 2541 56-57.

467
18

19
20 2520

3
20

20 2520

251921

18

2533 168.
19
16 173.
20
16 : 2523 33-34
21
20 2520 1 2
3 4 5 6
7 8 9 10
11 12 13 14
15 16 17 18
19 20 21 22
23 24 24
- 23 2519

26 2520

468
22

2516-2517
-

2519 2520

22
16 34-36

20 2520

469
Political Projects

22 2522

20 2520
1

360

10.2.1 - :

470
2 2517-2520

1 24 -
2519
23 4
23

24
2519
20
2519-6 2519
2
25

23

2538 8

: 2538 65.
24
2
2517 3 2518
1 4
2519.
25
2519
2

471
26

14 2516
8.2.2

6 2519 2

27

2520 2

20 2520

30 2519

14

6.3.1
26
16 10-11
27
25-26.

472
:

:
28

29

28
68-69.
29
76

473
2517-2520
8.2.2

( .)30

30
15 6-7.

474
31

32

20 2520

2521 2524

31
16 108.
32

95

2545
:

475
2517-2518

2521

2545
3 1
11 2521 2 3
33

2521
11 2521

34

33
72
34
73

476
11 2521

2521

35
2

25 2521

2521

36

2521

35
Voice of Taksin 1 8
2552 .

36
77

477
2521

37

2521

38

Relative Autonomy

10.2.2 2521

37
14 2521 16-17.
38
Voice of Taksin.

478
2521

39

2520
9 2520
18

23

7
40
2520 360

41
209

39
:
2525 103.
40
2520 94 111 9
2520 5-11.
41
17 2520
2520

479
2521
2520

1 10 35

2517
2511
2

42

42

480
2

2 19 35
4 2

2 2
2 1 2
3 4

43

43
32 35 9, 2521 197

481
2
44

:
252145

20 2520

46

2521 2

47
2521
3 4

44
:
2525 103.
45
: 2524 66
46
105.
47
27
2520
17 13
2520 2521

482
4

186 112 38 34
10 32 126
2520 99

48

2521

49
2521
50

51

48
29 2521.
49
88.
50
: 2544 22.
51
Irony

483
2521

Master Plan 12

22 2522

2521
75

2521

52

22 2522
52

2521

2526

484
2522

2521
2519

2 3
53

54

55

2521 75
6
: 2529 150-152.
53
Paul M. Handley The King Never Smiles: A Bi bol Adulyadej p. 268.
54

https://sites.google.com/site/free thai/home/
55
2521 5 56

485
10.3

20 2520
Consensus

Senior Partnership

10.3.1

20 2520
2521 22 2522
2517 179

2521

99

486
2520
56
14

57
99

58

93
2510

56
Hi Class 10 111 2536 42
57
: 2537 115
58
117.

487
14

2518 7.2.2

2559 :

59
2 22 2522

252360

59

26 2559 2559 236


60
248

488
2 2517-2518 99

2
3

61

ESCAP
62

63
Network Monarchy

2493-2499

61
:
2556 5
62
1-3 2524 :
2525 150
63

2475

489
64
2 2499-2506

14 2516 7.2.2

2523-2531

22 2522 42
12 - 10
65
22

66

64
5
2543 218, 228
65
92.
66
https://th.wikipedia.org/wiki/ https://th.wikipedia.org/wiki/
10 2562

490
22
2522

10.3.2 -

2521 Consensus

6 2519

20
2520 2 1 12
2
67

2522

67
60 , 2538 209

491
6
Political Project

50
6 24
2520 100
18 6
68
9 2520

20 2520
2521

25 2521

69

70

68
B5.1.1 69, 83, 85
69
: 2522 127-128.
70
6 370 16 2530 23.

492
71

29 -4
2521

71

2520

- : 6 1975-1977 2518-
2521 39 12 2561

493
72

1
2

2521

2517

73
2517

72

2541 116.
73
6 2519

3 2519

2519

494
2521

74

2521 2 6
99,900
75

2517
74
2545 92
75
2 30 + 28 28 2521 .

495
4 2519 2
56

30
2521
76

2521 29

2521
77
22 2521

76
2 30 + 29 5 2521 .
77
2521
6 19
19

496
78

2521 22 2521
22 2522

99

Agents

14 2516

78
B4 29 6

497
2521

2523

2523

The Ethno-Ideology of Thainess

79

22 2522

79

2534 21

498
80

2520

10.3.3
6

3 -
14
2516

Mass Politics

22 9.2

80
192-193

499
20 2520

1
81

Mass
Politics

2520 61 7
2521 156 21
205 64 2522

2521 23
82
52 55 2522 2523

81
2515-2534
: 2534 160-
161
82
135-136

500
2545

83

6
2519 1 19
6

6
84

6 2519

26 2520
9.1

83
62.
84
17-23
2560 .

501
6

11 . . 2521

6 251985

4 2521

86

6
2521
6

6
6

85
15
86
1: 30 + 8 17 2521 10-12.

502
87

6
Consensus

6
13 2521 6
88
14 2521

89

6
15 2521 3
180 1

87
FineDayNight YouTube
6 2560
88
B4 29 6
89

503
1 19 6

90

Royal Hegemony

6
19

91

92

6
19

90
YouTube 17 2556.
91
B4 29 6
92

504
93

2500

2521

94

10.4

Consensus Political
Project
2521
22
2522

93

94

505
Consensus

22 2522
95

82 38 34
32 22

96
55 301

2521
4

2518-2519

95
2522- 2524
22 2522

96
2521
2533 133

506
97

22 5

99
14 6.3

98
4
22
2522
2

97
138.
98
94.

507
2522
82 301

17 13
2518

22 2522

99

2521

2522
2521

2529

99
145 191-192.

508
100

22 2522

101

2522102
11 2522

100

14 2516
6 156-157.
101

22 2522 2
102

509
103

104

2521

105

2519

103
6 161-164.
104
16

: 2527
105

209

510
Relative Autonomy

106

2521

107

9.3.1

106
2 30 + 28 28 2521
11
107

511
14 2516

108

2521 2

108
30 2522 8

512
Clean Run

2
109
1 3

22 2522

30
110

2523

109
: 2559
110
16 174.

513
2556

111

112

14 2516
3.3.2

OPEC
13 2522

111
: 2556 134-135.
112
135.

514
22 2522

99

113

9 2523
4

114

115

113
.
114
16 125
115
112

515
116
2522

116
2500
USOM United States Overseas
Missions to Thailand
2504
20 2520 Welfare Economics

16

516
2522
2522

117

118

117
16 71
118
72.

517
2545

2522
119
2

6 2519

120

2523
121

119
233.
120
16 12
121
87

518
122

Consensus Hegemony

2522
123

122
86
123
:
2549 55, 60

519
124

60 22 2522 25
125

2523

126

29 2523

127

Autonomy

124
11.2.3
2 .
125
www.mgronline.com.
126
16 174-175.
127

520
Royal Hegemony

521
11

2520

2520 9 10
7

Network Monarchy
Actor

523
11.1 2520

2520
14 2516
6 2519
2519 20 2520

2521

48 6 2519
1

6
9
26 2520

1
2519 3

14 2516

333 : 2535 171-172.

524
21
2
2519
21 2520

26

2
2533
21

2 1 2

2519

21

2533 164-166.
3
1 3 2520
1
26 2520

5
B4/25 1 3
2520

525
9

21
4

22 2520

2 2

2532
26 2520
9
1
5

M16 Hi Class 5 58
2532 28-40

2553 26
2520

Mega Scope 2553 190-192.


4
40 26 : 5-11 2560 .

526
2520

2 3
5

10.2.1

2520
3 26
3 20

20 2520

2520

7
1 2520

5
16 12-16.
6
41-44.
7
:
Voice of Taksin 1 8 2552
1
1
.1

527
26 2520

26 2522
20
2520

2525
2516
7 2503
14
2516

9
6 6
2519

1 2521

8
:
2525 86.
9
2525
1 42

528
Conspiratorial Group
7

2500
2510

07

:
10

11

3 2518

3 14
15 6

10
YouTube 12
2561
11
92-93.

529
14

12

14

2518-2519 2519-2521
1 1

13
1

Pressure Group

6 2519

6 2519

12
83
13
81-83.

530
14

3 2520

15

16

2520
2
2520

14
97.
15

6 2519
1

6 2519

26
2520
1

16
16 25

531
20
2520

20
2520

20 2520
17

18

17
1 2
3 4
20 2520
2525
2547
2549

18
: 2547 196- 197
2549

532
19

20
20
2520

21

14
2520

20
2520 4

2521 13

: 1987 2549
526-527 1

19
16 73
20
526.
21
196

533
2522- 2524
2524
1
14

22

23
7
24
7

2520

22
120-123.
23
7 5
2533-
2535
7 5
7

: 2545
362
24
339.

534
2523

2
1 1 2522-2523

25

26

2524

25
: 2525 242-243.
26

2524

535
2524
1 2523- 2524

30 1 2524

27

28
8 42

27

2538
2
16
2 1-3 2524
1-3 2524 2525

1-3 2524 203

28
Chi-Anan Samudavanija The Thai Young Turks Singapore: ISEAS 1982 pp. 46, 65.

536
2
2

2
29

1 2524

30

29
23
:
2537
30
4 18 -30
2519

2523

1 2524

537
31

20
32

Autonomy

33 34

31
1-3 2524 :
2525 17-18.
32
205-206
33
481.

538
2
35

1-3 2524
13

2525
11.2.3

2524

36

Royal Hegemony Consensus

11.2 2520

2520
6

34
2543 96
35
235
36
103

539
2519 1-3 2524

-
2
66 2523

11.2.1

2519-2523
14 2516

2515

2494

14 2516

7.1.1
2516-2519
2518-2519

540
2519

37

2
6 2519 20 2520

38

6
Network Monarchy
39

2519

40

37
2541 129
38
6 59
39
1-3 2524 187.
40
2519 6
2519 9.1

541
6 2519
41

42

43

2518

41
129
42
16 160
43
167 170.

542
44

2519
45

1 8 2519-20 2520

44
144-149.
45
1-3 2524 186.

543
46

2522-2525

47

11.2.2
2522

48

2 22 2522

46

22 2555
2555
47
50 :
2553 583.
48

7 2524 263

544
6 2519

2518-2519

2519-2522
49

50

21 2523
-
6 2519 2520

11.2.2

Network Monarchy 2520


Royal Hegemony
20 2520

49
Voice of Taksin 1 8
2552
50
202

545
26 2520

20 2520

6
2521

6 2521
6
6
51

51
6 2521

6
2520]

546
15 2521

6 : 10.3.3

52

2521
boat people

6 21
52
6
https://www.facebook.com/photo.php?fbid= &set=a.

547
boat people

53

2522

2522

54

26 2522

55

21

53
28 2559
2559 55
54

2559 4-7.
55
10.

548
boat people

Soft Power

56

-
2521-2523

56
12.

549
2521-
2522 2521

6 2519 2

5
57

57
A11.1/13 1-17

550
Network Monarchy
58

50 2520

5
2520
28 2520
59
2521
6 2521

58

2520

B4/25
1 3 2520
-
14 2516
2490
-
8
2489
59
2510- 2520
: 2521

551
60

11
2522

5
2522 5
12 12 3
Theatre State

50

200
2525

61

Network Monarchy
20 2520

60

: 2546
205.
61
:
2527 111

552
62

63

64

65

62
6 85-86
63

: 2560
188.
64
1-3 2524 150-151.
65
16 176.

553
10.3.3

Consensus

11.2.3 2

2 2517-2520
23 2
2523-2524 14 2516

8.2

2521-2524

2521

554
-
66

2522

66

2521-2522
4 2554
3 2517

6 7

555
67

14

2517 2521

200,000

68

69

14 2516

67
80 23 274
2550 109
68
A11 2 8 1-10
69

7
.

556
Network Monarchy

6 2519

Network Monarchy 2520


Royal
Hegemony

70

71

1 2523- 2524

70
16 174-175.
71
12.2.5

557
2

2
8.2
1 1
2522

72

2523
2
73

1-3
2524 2

30 1

72
: 2529 50
73
110-111

558
74 75

3 2524

2524
3
1
2524
1
2525
76

74
2
1-3 2524 1-3 2524 208-216.
75

2530

?
20 2559
76

1
1

559
1
2524-
2525
77

22 2524

1 5
1

77
2524- 2525

2524
5
2525 5
2526

14 2516

560
30 2524

78

2525

19 252579

5 2523

2525

78
2 1-3
2524 1-3 2524 208-216.
79
: , 2540

561
2526

80

Soft Power

2528
2526

2520

2520

12 2 Royal Hegemony

80
58

562
11.2.4
66 2523

1) 7

20 2520

81

82

81
196
82
6 36 6
2556 50
16 2526
2500
2501
20 2501

6 2519

563
17
83

2521

84

2511
5.2

6
85
2519

2521
6

20 2520
83
16 17-18.
84
1-3 2524 23.
85
101-102.

564
2523

1
1

2
2524

2510

86

86
2 30 + 28 28 2521 11

565
87

88

89

90

87

YouTube 12
2561
88
17 3 2524
1-3 2524 208-216.
89
2 1-3
2524 1-3 2524 210.
90
, 1 : 2524 41-43.

566
91

2) 21

2520
21

2 21
2504 3.2.3

14 2516
Informal
2 21

5
12
2516 2
14 2516

91
21 1-3 2524
237.

567
92

93

2
21 15
4 25 14 94
2510
19 8

- -

14 2516
2510

21
21 2519

Soft Power

92

17
2538. 2538
93
: 2557 60.
94
21

15 4 15 4
19 8 21
17 6 21 10 23 12
25/ 14
21

568
8.2

21 21

21
95

6 2519
2523-2531

2520

96
-

95
, 41
96
2520

569
-

97
5

2 21
21 19 8
15/ 4 15 4
2 21
98
21 2520

2
2)
2

Thairat TV 9,
2 YouTube 9 2559.
97
75-79 90
98
2528
2 21 2526
21

570
2528

2540

2524
21
23
2524
99

2
21

100

101

21
99
35
100
YouTube 29
2516.
101

28 2516

571
1
2 3
2520
1-3 2524
2 21
5.00
3
102
2
21
103

2510

: - 2526
2 21
104
-

21 21
1 1

102
20 2524

21
100
21
14
1-3 2524
103
36
104

4 2526

572
2
21

105

2520
21

2520
Royal Hegemony

-
2521-2523 2525-2529

2523 ( 3 2523)

106

Hi Class 3 30 2529 80-89


105
69.
106
( 3 2523)

573
2520

Network Monarchy

3) 66 2523

66 2523107
66 2523

66 2523

108

...
2523
: 2524
107

108
FineDayNight YouTube 6
2560

574
2521

2521-2523
2
109

2522

66 2523

2524 1-3 2524

2524-2526
4
2528
2529-2533
2530

66 2523

66 2523

109
16 154.

575
66 2523
110

2520

66 2523

66 2523

66 2523

111

112

6 2519

110
2519-2529)
2533 90
111

2490

2510
2508

6
112
414 .

576
113

66 2523

Status Quo

66 2523
114

115

12.1

113
1-3 2524 78-79.
114
6 252-253.
115
:
2531 241.

577
2530

2520

Royal Hegemony

578
12
-

8 2523-
2531
-

-
Factions
Royal Hegemony
2520 Consensus
-

12.1 2520

2520
2520

2521
66/2523
23 2523

579
1
- 2525

2527
2527
2

2520

3
Resource Base
2520

resource base

Consensus

1
: 1987) 2554 269
2

2556 212
3
: 2559

580
2520
-

14 2516

14 2516

14 2516 7.2.1

2521

2524

4
2520

2520

64 - 2551 108
5

2529 : 2530 .

581
2520

2521
12 22 2521-23 2534

Status Quo

2518-2519

1 3 2523-10 2524

582
Micro-
Macro-
6

Political Project

2529

66 2523

6
1-3 2524 :
2525 220
7
151.

583
2526

2532

2520

Consensus

10
Status Quo

8
15 2526
9
2 : 2538
143, 146
10

584
-

Senior Partnership

2510

1 2 3
11

2545

!
! 82
11
16 50-51

585
2523

Consensus
2520
Royal Hegemony

-
200 2525

1 8 2519-20 2520

9.4

2522 Soul of a Nation: The Royal Family


of Thailand 1979 BBC
Soul of the Thai nation

586
The monarchy I would say it is soul of the Thai nat
of the clan. He is the father of very big family of Thais He is the source
of Thai culture. Everything emanates from him; good manners, well living,
the source of thought and the way of thinking wish regard as the best of
Thai thinking 12

13

Royal Hegemony

1-3 2524
14

12
BBC Soul of a Nation: The Royal Family of Thailand [Part1/2] YouTube 15
2555.
13
Soul of a Nation: The Royal Family of Thailand 1979
Devid Lomax
They usually regards king
as father of the nation 2523
5
12.3.1
14
1-3 2524

587
2524

200
15

2520

16

15

: 66.
16

2524

4 2524

588
1

8 2523-2531
2521
2520-2523

17

10.4

17
2545 210.

589
Factions

2521

2520

Network Monarchy

6 2519
18

Blue Blood

- 5
2 8.2.2

Political Projects

18

- - 3
6 2519 2526

6 .

590
12.2.1 -

2521- 2524
3 2523

2522-2529

591
Relative Autonomy

19

- 2526

4 2521
22 2526

1 1
16 2526

19
2523-
2531
2549 195

592
20

21

22

18 2526 1 18
2526

1
2

20
2475-
2540 : 2537 135.
21
6 248
22
16 186

593
2527

23
5
1

Relative Autonomy

F16
2526 12,000
16

24
12,000

F16

25

90

23
2523-
2531 164-165.
24

11 1 2535 75
25
:
16 3 - 2533 18.

594
18 2528 F16 A 12
2528-2532
26
8,901

2530

53
27

15 2
2527

7 2527
1
28

26
76
27
68
28
1 3 45 64 17-23 2527 13

595
Royal Hegemony

1
1-3
2524
2525 11.2.3

:
29

2523
30

31
1

29
Lisa Hong, Thailand in 1984: Toward a Political Modus Vivendi Southeast Asian Affair 1985 Singapore :
ISEAS 1985 p 324.
30
3 2 : 2533 38
31
4 182 14 2524 8

596
32

2
2526
2526-2527

33
2527
7 2527

2527
1 1

2
2528

34

32
9
33
:
18
34
2523-
2531 221.

597
2528 16 2528
1 1 2528-30 2529

9 2528 2

35

11

35
9 2528
- - - -

Hi Class 5 55 2531 43-44

598
36

9 2528

37

38

2527 9 2528
2529

39

36
41 - 2549 107
37
2523-
2531 227.
38
5 239 3-9 2528 9.
39
5 258 12-18 2529
12

599
2529
40
40

24 2529

2522 2529

1
252941

40
5 264 26 -1 2529 16
41

Suchit Bunbongkarn The Change of Military Leadership and Its Impact on Thai Politics Southeast Asain
Affairs 1987 Singapore: ISEAS 1987 .

600
42

27 2529
43

30 2529

1 9 2528

2
2549

44
2529

12.2.2 -

2520
4-5
14 2516
7.2.2, 7.3.1

42
:
30
43
107
44
2523-
2531 231-232.

601
8
4-5

1 3 2523-10 2524
11.1 2
2524 1- 3
45
2523-2526
4 30 2526-4 2529

2529 5

46

45

22 2524

46
61 62 YouTube
29 2561.

602
2531

2519
2

10.2.1

2520

2519 6 2519
22 2522

-
2522

47

2520

47
4 182 14 2524 25

603
-
48

2520
1 5
26 2522-3 2525 3 2525-26
2534

49

50

48
1
2 3
4
1 4
5
2 3
4 5
5
49
: 93 -
2554 55
50
2523-
2531 171

604
51

52

18 2526
92
4

53

2522
22 2526

51
141
52
141
53
2 76 27.

605
18 2526

2522
4

2526

54

2 2527

7 2527

5 7

54

26 2559 2559 252-253.

606
3 9
55

2520

2528

2530 Thai
Politics at the Cross Road 1 2530

:
7

56

55
5+1 44 -
2549 218.
56
6 270 16 2530 23

607
:

3-4

57

14 2516

2523 1 3 2523-2526

57
24

608
18 2526
2

1 3
58

58
62 YouTube 19
2562.

609
59

2526-2529

29 2527

100

1
1
3 2527

60

61

59
UNSEEN : 2547 304-305.
60
3 153 12-18 2527 8
61
10.

610
62

5 5 2529-3 2531

63

8
2523-2531

-
-

62
: 2548 246.
63
254

611
5 2529 86.7
64
2535

Royal Hegemony

- -

12.2.3 -

2520-2523

3.2.2

64

113.

612
14 2516

2500

5 2524-2530

65
2 World Bank
2523

66

65
Hi Class 6 64
2532 3 -37.
66
:
4

613
2 11 2523-22
2524 1
1

2524 2524

2517-2518 29

67

67
10

614
2523-2531
6

Super Board
68

Political Projects

68

615
69

6
70

5 2524-2529
2523

- 2520

2518-2519
71

2526

69
: 2556 .
70
,
, 30 2551
: 2551 61
71
16 152

616
72

F16
2527

73

72
:
14
73
19

617
Political Space
74

75

76

12.2.4

6 2519
8
2519-20 2520
9.3.3

74
26
75
264.
76
: 2557 52.

618
1
2520-3 2523

41 42
77
8.6 6.7

3
1 34.278
14 2516
7.2.2

1 2 2

5
2525-2529
79

77
:
: 2527
146
78

79
:
8

619
30 2524
2523

80

80

2534 88-93

620
2524-2531

1 5
46 34

81

2527

82

81
:
23-24
82

11 11
2520) 2521)

621
2523-2531

2534

6 2519
26
2520

242483

1 2520

2522)

2523) 11"

16 2553 https://net209.blogspot.com/2010/02/blog-post_241.htm.
83
36 16
25 2532 46.

622
2527-2529
2529
1 2529
27 2529

2532

84

85
2532

84

2539 99
85
1

55

623
86

2 2533

87

22 2522
2521 75
2

22 2526

8 2531

2526
2532 2532

86
Hi Class 2534 130
87
131

624
2530

22 2535

88
2535

2520
The Ethno-
Ideology of Thainess

12.2.5

89

88
67 2475-2542
2542
89
30

625
14 2516
2 2517-2520

2521
2522
2522

90

3
2523

3 2523

90
16 : 2523 81

626
91

4 2523

2524 9 2524

2519-2520
9.5

92

91

19 2540 :
2540 114.
92
219-220

627
93

94

2500

93
7 : 2555 17-18
94

2512

2512

: 2555 61-63.

628
- 4.3

2-3

2522
2524
2525 2525
2525 2526

95

Pilot Project

95

629
2520
30
96
3 5
2525-2529:

1
2523

4
2523

96

5 : 2540 142.

630
97

Royal Hegemony
2520

6 2519
98

2526
2521 4

99
?

2 2529

100

97
4 168 33
98
103-104
99
6 768.
100
5 263 13

631
2 8
2

1 1-3 2524

11.1 11.2.4
1982

101

2
2527

101
Chi-Anan Samudavanija The Thai Young Turks Singapore: ISEAS 1982 p. 66

632
102

103

25 2529

104

2520

105

2520

102

2530 2545
82
103

81 - 2553 204
104
26 2527.
105
, : 60
: 2549 145

633
Factions

Royal Hegemony
Consensus

2520
-

12.3 2520 2530

200
106
2525
2520

-
Consensus

106
37

634
Royal Hegemony
200
2525 2530

1 :
200 5

Theatre State 107 8


2519-20 2520 50
2520
Political Projects
200 2525
20 2520
9.5
2520-2523
2523-2531
200 2525

107
Negara, The Theatre State in Nineteenth-
Century Bali 1980 Clifford Geertz
(Theatrical State)

1-7
2555

635
200
9

200

200
200

108

1 -31
2525109 4-21
2525

-
200

8 11
110
2525

108
2542
382-383
109
383
110
200
2 : 2530 13-14.

636
200 2525 2530
5

5
2530

5 2530
111

2531

42

3 5 2531
2531 2528
7 8-13
2528 2599

2525

111
383

637
2525-2531
Theatre State

112

5 2530

5 12

Royal Hegemony
5

6 2519

112

3.2.3

200 2525 200

5
2525

638
113

114

5 2522
1
115

116

5 12

2520

113

3
5
114
399-401.
115
5 https://www.thairath.co.th/content/
116
5 : 2536

639
117

5 2520

5
2540 -

118

5 12

119
5

117

:
: 2558 -
118
5
119

5 12

640
5
2530 5 2536

120

5 12

Royal Hegemony
2520-2530

120
5

641
121

122

2530-
2540

1 2 :
2520

Void
14

121
5 12

2530

9
122
48

642
123
2526

124

123

2514

14
2515-2539

2529-2544
2540
2549

9.2 9.5

124

, ,
2534 127-128.

643
14 2516

Macro Consultant
125

126

Royal Hegemony

37

125

2548
3
The Right to be Consulted
The Right to be Encourage The Right
towarn

126
128.

644
127

2526 3
2489 200

Senior Partnership

2520

1
9.4

12.3.3

127
128-129.

645
6 2519
Comparative Macro Historical Approach
3 1
128
2 3
129
3
2520

1)

128
3 1

2518
2490

2490-2510

2513
2500

2,000
17
: 2560
Modern Monarchies in Global Comparative Perspective

129
: ( ) YouTube
2 2556
YouTube 30 2558.

646
2
130

2500

131

132

5
133

Cultural Politics

130
: 2551 160
131

:
: 2558 .
132
-
2557
133

5 2545-2449 - 2547.

647
2)

2520

134

2525-2529
2526-2529

135

134
42
135
2527
2528

27 2529
30 2529
4
2529
30 2530

648
136

2529-2533
2530-2533

11.2.4

15 2530

137

10 86
5

136
: 2549 297.
137
a day 17 196 2559 44

649
17 2530138
2532

2530

139

2533
140

138
http://www.pangmalakul.com
139

30 3 2530 74
140
: 2539 582

650
2529-2532 3

141

142

2520

143

11.2.4

144

141
339-340
142
Hi Class 5 57
2532 44-45
143

, 2556 209-210.
144
44.

651
145

2500-2510
4.3

2535
2536

2520

Royal Hegemony

2540146

145

146
15 4 2
21
2528 1 2540
2541 2544
2545
14 3
2
2520 2 2543 2544

652
3)

2520-
2530

147

148

9 2490- 2500
2.3
14 2516

14 2516

6 2519
2490-2510

147
: 6
14 6 4 : 2551 126.
148
: 2558 185.

653
2500

14
8.1
2520

2520
2520
150 2529 2 30
65
149

2-3
2553 to shift
150

200 2525

2520 2530
Theatre State

2518 2520
2523
2526

149

2551 4-5.
150

205

654
2526
6 -
151

Green Belt Zone


152

8 2530

151

:
2551 46-47.
152
43-44.

655
153

2520
Consensus
-
Network Monarchy

153
Nidhi Eoseewong Panel Discussion
10
10 2551

656
13

2495-2535

Network Monarchy 2495-2535

2540
Duncan McCargo Network Monarchy and Legitimacy Crisis in Thailand 2005

Royal Hegemony
9

Relative Autonomy

Thai Elite Consensus

657
Network Monarchy
Senior Partnership

Hegemony

Network Monarchy 4
Royal Hegemony Agency
Thai Elite Consensus Structure of
Political Culture
-
Relative Autonomy

Political Projects

658
1

13.1.1
Bureaucratic Polity

Thai Elite Consensus

Network Monarchy
Fundamental
Consensus

Bureaucratic Polity Fred W. Riggs Thailand: The


Modernization of a Bureaucratic Polity 1967 1
2475
1 Effective Control
2 Legitimacy
2
Riggs

1
Fred W. Riggs Thailand: The Modernization of a Bureaucratic Polity Honolulu: East-West Center Place,
1967
2
Ibid, p. 323.

659
Riggs 1967 Benedict R.O
Exploration and Irony in Studies of Siam over Forty Years 2014 3

2475
2475
2475

Riggs 1967

Bureaucratic
Polity Riggs

3
Benedict Anderson Exploration and Irony in Studies of Siam over Forty Years Itaca: Southeast Asia Program
Publication, 2014
4
:
2560 58.

660
2500-2510

2490-2510

Eatablishment

5
-

5
:
186-187.
6
2 : 73-74.

661
7

Moment of Crisis
16 2500

3.2.3

5.1 2518-2519
7.3

Royal Hegemony

13.1.2

Consensus
Royal Hegemony

Hegemony
:
2494-2547 2547 2550
9
3 1 2 3

: -

662
Network Monarchy

Royal Hegemony

2548

: Royal Hegemony

8
2
: 2551 27.

663
9

2540

Consensus

2 1 14
2516 2 2535
14 2516

14 2516 2535
2535

From Head of a Ruling


Clique to Head of Ruling Class) 1.5

664
14 2516
2535

14 2516

Hegemony

Hyper Royalism Hyper Royalism


14 2516 Mass Media
2500

Hyper Royalism

Hegemony
Royal Hegemony
10

2535

9
, Hyper Royalism YouTube 12 2555.
10
YouTube 10
2561

665
- -
14 2516
2535

14 2516
2535

From Head of a Ruling Clique to Head of Ruling Class)


7-12
Network Monarchy Clique/Factions

14 2516
- - 6

14 2516

14 2516

14 2516
1 8
2519-20 2520

9
2524

666
-
12.1
2520 2535

13.2
:

9 2489-2559

From Head of a Ruling


Clique to Head of Ruling Class)
2530 2535
11
Royal
Hegemony Network Monarchy

2475
-
9

11
14 34 - 2548 170.

667
-

Royalist

2475

8 2490

29 2494

2490

16 2500

Consensus

668
-

2500
Senior Partnership

Network Monarchy

17

669
2506-2516

Consensus

2510

2509

Hegemony
2500-2516 -

14 2516
14 2516

Senior Partnership

670
-
2503 2506

2500

-
Pilot Projects

-
Pilot Projects 2500-2510

2510

-
2511

-
Relative Autonomy

671
2506

12

Royal
Hegemony
Factions

2500- 2510

Political Project

12

2526 7:
2544

672
-

2510

14 2516

17 2514
2515 14 2516

2515

14 2516
9

673
13

Royal Hegemony
14

Informal
Network -> Formal Organization

14 2516

2510

14 2518-12 2519

13
John L. S. Girling Thailand, Society and Politics Ithaca: Cornell University Press 1981 p. 193

674
14 2516

Consensus 14
2
2517

2518 26 2518

14

14

3 37

675
Consensus

2516-2518

3
3

2518

676
2518

2518

677
2517

2519
6 2519

14 2516

14

2518
2519

14
-

2 2517-2520

678
14

2519

6 2519
-

6 2519

8 2519-20 2520

12

679
Network Monarchy Consensus

20 2520

20 2520

680
7 2503

20 2520

5 2
2520

2521

2520

14 2516

681
- 2521

Political
Projects 2521
Consensus

22 2522

2522

682
Consensus

2523

Network Monarchy
20 2520

20 2520

2520 Relative Autonomy

683
2521
2522

14 2516

Network Monarchy
Royal Hegemony

2523

Angry Young Man

1-3 2524

-
Royal Hegemony
200 2525
-
2520

684
2523-2531 -

Consensus

Political Projects

-
- - -

2526-2529

14 2516

685
2520

-
Network
Monarchy
Royal Hegemony
2520
2520
2524

686
-

2520- 2530
200 2525 5
12
Senior
Partnership

2530

Relative Autonomy

1 : 2535

2531

12
2531-2534 Consensus

23 2534

687
2535

John Girling 1981

9 14 2516

20 2535

23.30 20 2535

688
18 2535

24 2535

2535

Royal Hegemony

2535 Royal
Hegemony

2530
4
2537
2540

2536
2
2537

5
2542 6

689
72

2530- 2540 Mega Projects

2530
2540
Bhumibol Consensus

690
22 93 128

1 5 2518

2521 32-35 9

1 10 2518

11 15 2518

A 8.6/53
14 2516

2516

2517

691
A11.1/11

A 11.1/13 1-17

A 11.1/15 - -

A 11 2 8 1-10

A 11.2/38 36-40

B 4/25 1 3
2520

B 4 29

B 5.1.1 69, 83, 85

1 : 2543

3 2553

: 5 2536

90 : 2559

100 2555

2524

692
2510- 2520

: 2518

:
82 : 2536

: 2538

: 2531

93
2537

2 : 2547

: 2550

2527

-
14 2552

: 2562

2542

: 2544

2545

693
:
2560

:
: 2537

: 2551

: Open books 2553.

: 2551

2
: 2551

40
2547

: 2553

: 2522

- :
2000

2547

,
, : 2553

694
2558

2 : 2547

: 2524

2531

: 2538

:
2538

: 2539

: 2559

2549

- :
2526.

1 : 2516

: 2517

3 - : 2553

:
: 2559

3 2 : 2533

695
:
2544

2519-2529)
2533

: 2536

2542

: 2512

16 2523

2475 2557

40 14 : Fong Tong
Enterprise 2556

: 2525

50 :
2527

14 6
2551

2551

:
2525

23 : 2537

696
2475-2540 : 2537

:
2560

19 2540
2540

: 2556

17 2538.

: 2550

:
2521

: 2556

60 :
2534

: -
2553

,
2542

697
, ,
2534

: 2521

,
,
2548

: :
2558

28 2541 2541

28
25. 2559

26 2559
2559

, ,
30
2551 : 2551

30 2532 :
2532

, ,
19 2541
2541

698
30
2537 2537

, ,
23
2540 2540

2556

, ,
14
2553 2553

22 2536 2536

10 2548. 2548

30 2555
2555

: 2549

1 : 2524

6 2519-2549
2551

: 2556.

2548

699
! :
2547

14 40 14
: Fong Tong Enterprise 2556

1 13 : 14 16 :
14 2546

: 2516

9 : 2518

:
2520

50
: 2553

:
2531

2475 1 :
2543

30 - 600
25 2548 2548

14 2516

700
: 60
: 2549

2553

6 : 2538

: 2557.

84 :
2555

: 2559

: 2558

:
2558.

4 : 2555

: 2538.

:
2540

3 : 2550

701
1-3 2524 :
2525

: 2533

16 :
2526

60
2549

2 : 2558

:
6
14 6
4 : 2551

:
2558

: 2559

: 2546

23 2514 : 2514

1
: 2534

702
2511- 2512 : 2513

2516- 2517 : 2518

2523
: 2524.

UNSEEN : 2547

: 2520

4 :

2531

2541

:
2558

6 2519 14 6 4
: 2551

8 2511
2511

:
: 2529

703
4
2554

2539

25
2537

5
2543

2475 : 2557.

Mega Scope 2553

. 6 2519
25 6 6 2546.

:
2517

: 2556

The Old Siamese Concept of Monarchy


: 2517

Chiang Mai: Silkworm Books 2545

2504-2507 :
2557

704
2527

8 2511
2511

: 2560

2559

2539

: 2527

: 2556

23
: 2537

2533

:
2518

: :
2529

67 2475-2542
2542

705
3 :
2544

: 2523.

:
2559

333
2535

:
2540

: 2536

2547

: 2557

11 : 2559

: 2516

2531

: 2549

: 2560

200 2 :
2530

2 :
2538

706
1 5
:
2543

5
:
2543

: 1984 2553.

:
2551

: 2553

9
: 2560

: 2554

:
:
2527

: 2521

24 : 2549

:
2545

:
2557

707
15

: 2552

:
2546

200
2 :
2530

: 2495

5
: 2540

:
2508

: 2548

25
2519 2519

:
2558

2529
: 2530

60 :
2527

708
2500:
:6 2544

:6 2544

Mass Monarchy 40 14 : Fong


Tong Enterprise 2556

2515-
2534 :
2534

: 2521

2522

60 2538

: 2553

2 : 2520

: 2521

: 2546

2556

:
: 2558

709
1
: 2550

2 : 2550

:
: 2558

:
2556

: 2546

:
: 2558

: 1987 2549

? : 1987) 2554

:
2546

: 2550

4 : 2559

23 :
2537

: 2551

710
6 36 6
2556

6
: 2544

:
2528

: 2525

3 :
2540

: 2539

: 2555

: 2555

2502-2518
2539

2548

: 2549

, 2541

: 2556

:
2527.

711
6 :
2529

25 2551.
2551

, ,
-
14 2544 2544

25
2555 2555

22
2555 2555

2, 1
: 2547

17 2541
2541

4 2534
2534

2558

712
6 2543
2543

7
2541 2541

: 2551

28 2547
2547

:
2524

8 2519 :
2519

2551

29 2519 :
2519

2541

7 2541 2541

713
30
2539 2539

27 2559
: 2559

: 2521

20
2540 2540

, ,
, 30
2537 2537

, 2548

23
2541 2541

2549

1
2554 2554

17 2539.
2539

714
2539

: 2527

?
? : 2554

: 2557

: 2546

: 2550

2560

25 2520
:
2559

:
2520

: 2529

2539

715
: 2551

: 2520

2547

Muecke Majorie A 23
2537

-
50 2550

2512 2520

Individual Study 1

2544

60
2549

716
2549.

2500-2535
2551

2545

2521
2533

2516-
2518) : 2554

2506-2516

2550

2476
19

717
2551

:
2498-2514
2524

2476 2478 2481

2521

2522

2523-2531
2549

2494-
2519
2548

2534

2531

Hi Class 2530

718
Hi
Class 4 37 2530

Hi Class 5 55 2531

Hi Class
5 57 2532

Hi Class 5 58 2532

Hi
Class 6 64 2532

Hi Class 10 111 2536

Hi Class

2 67 27 2518 : 8-10.

34 - 2548 : 68-81.

91 - 2554

1 30 +8 1 17 2521 : 10-12.

2 30 +28 28 2521

2 30 +30 12 2521

5 263

2493

1 3 45 64 17-23 2527

719
Voice of Taksin
18 2552

50
35 3 - 2552

a day 17 196 2559

5 264 26 -1 2529

2530

92 - 2526 : 45-126

- : 2498-2500
29 2551 .

:
3 42 - 2538

6 370 16 2530

3 153 12-18 2527

17 2 (2016)

34
- 2548

41 - 2549

5+1 44
- 2549

720
41 2512

11 1 2535

[ ] 301 2 2519

[ ] 15 2519

:
14 3 - 2541

5 2548 .

1-7 2555

2 30 +29 5 2521

5 258 12-18
2529

:
14 62 - 2551

1 29 6 2517

: 93 -
2554

10 19 2538- 2539

36 16 25 2532

9 2489:
23 3 2546

721
2518

: 1 - 2548

80
23 274 2550

6 2519 ?1
7-13 2559

6 2519 ?2
14-20 2559

25 13 12 2555

300 30 2519

10 19 2538-
2539

4 182 14
2524

2 30 +28 28 2521

5 239 3-9 2528

64 - 2551

2 30 +28 28
2521

2545

100 1 182 2543

722
133 12
2539

75 28 1
- 2552

10 19 2538- 2539

68 Hi-Class 15 172
2541 : 74-80.

62 -
2551

Hi Class 3 30 2529

2518

22 263 2550

33
- 2548 : 95-106

3 8
2516 31 - 2548

81 - 2553

15 3 - 2542

30 3 2530

4 182 14 2524

723
9 2549

2 76

41 2512

- : 6
1975-1977 2518-2521 39 12 2561

40 26 : 5-11
2560

! 6 20 24-30
2560

17-23 2560

29 344 2556

:
16 3 - 2533

23 2520

11 2517

5 2517

5 2519

30 2520

29 2521

724
24 2519

12 2516

18 2516

3 2520

16 2520

8 2520

20 2519

18 2516

24 2519

26 2527

14 2521

15 2516

17 2516

14 2520

15 2526

30 2522

22-23 2519

725
: ( )
YouTube 2 2556

TCIJ FES)
2
YouTube 30 2558

2500 YouTube 1
2559

! !!
YouTube 16 2561

https://blogazine.pub/
blogs/kasian/post/

YouTube 17 2555 .

https://net209.blogspot.com
/2010/02/blog-post_241.html 16 2553

YouTube 12 2018

FineDayNight YouTube

6 2560

5 https://www.thairath.co.th/
content/

Hyper Royalism YouTube 12 2555

17 2555
YouTube 17 2513

726
https://prachatai.com/journal/

YouTube 21 2556

?
http://blogazine.in.th/ blogs/pandit-chanrochanakit/ post/ 2 2559

Intelligence . : ,
YouTube 1 2560

www.mgronline.com

http://www.pangmalakul.com

YouTube 29
2516

9 YouTube 6 2559

YouTube 20 2559

61 62 YouTube 29
2561

YouTube 17 2556

https://sites.google.com/site/free thai/home/

6
https://www.facebook.com/photo.php?fbid= &set=a.

YouTube 10 2561

Paradoxocracy YouTube) 23 2557 .

727
- YouTube 28 2560

62 YouTube 19 2562

6
https://mgronline.com politics/detail 15 2551

: International Conference: Thai Studies through


the East Wind) YouTube 25 2556

BBC Soul of a Nation: The Royal Family of Thailand [Part1/2] YouTube 15 2555

http://bangkokrecorder.wordpress.com/tag 1 2561.

http://www. coop.eco.ku.ac.th.>learning1> five 28 14 2561.

Thairat TV 9,
2 YouTube 9 2559

Anderson Benedict Exploration and Irony in Studies of Siam over Forty Years Itaca: Southeast
Asia Program Publication, 2014

Anderson Benedict Withdrawal Symptoms: Social and Cultural Aspect of the October 6 Coup
Bulletin of Concerned Asian Scholars 9 3 July-September 1977

Bailey F.G. Political and Social Changes: Orisa in 1959 London: Oxford University Press
1959.

Barnes John A Class and Committees in Norwegian Island Parish Human Relation 7 1954

728
Benjamin, Walter. The Work of Art in the Age of Mechanical Reprodution New York: Schocken
Book 1983.

Boissevain, Jeremy. Friends of Friends: Network, Manipulators and Colitions Oxford: Basil
Blackwell 1974.

Bowie Katerine A. Rituals of national loyalty: an anthropology of the state and the village scout
movement in Thailand New York: Columbia University Press 1997

Chai-Anan Samudavanija The Thai Young Turks Singapore: ISEAS 1982

Darling Frank C. Thailand: Stability and Escalation Asain Servey February 1968

Geertz, Clifford Negara: The Theatre State in Nineteenth-Century Bali. Princeton, New Jersey:
Princeton University Press 1980.

Girling John L. S. Thailand, Society and Politics Ithaca: Cornell University Press 1981

Grossman Nicholas and Faulder, Dominic, Editorial Team. King Bhumibol Adulyadej: a life's
work: Thailand's monarchy in perspective. Singapore: Editions Didier Millet 2012.

Handley Paul M. The King Never Smiles: A New


Haven: Yale University Press 2006

Hong Lisa Thailand in 1984: Toward a Political Modus Vivendi Southeast Asian Affair
Singapore: ISEAS 1985

Kobkua Suwannathat-Pian Premier: Pibun Through Three Decades 1932-


1952 New York: Oxford University Press 1995

Kobkua Suwannathat-Pian Kings, country and constitutions: Thailand's political development,


1932-2000 London: Routledge Curzon 2003

Mann, Michael The Source of Social Power Volume 1 A History of Power from the Beginning to
AD 1760 Cambridge: Cambridge Univeresity Press 2005

729
McCargo, Duncan. Network Monarchy and Legitimacy Crisis in Thailand. The Pacific Review.
18(4) (December 2005)

McCargo, Duncan. Thaksin and the resurgence of violence in the Thai South: Network Monarchy
Strikes back? Critical Asian Studies. 38(1) (2006).

Montri Chenvidyakarn. Thai Press Coverage of China since the Normalization of Sino-Thai
Relation in 1975 Research Paper P and
China Communication Institute, East- West Center, Honolulu,
Hawai, January 6-12 1980

Morrell David L Thailand Asian Survey February 1973

Morrell Devid L Power and Parliament in Thailand: The futile challenge, 1968-1971 Doctoral
dissertation, Princeton University 1974

Morell David L. and Chai-anan Samudavanija. Political Conflict in Thailand: Reform, Reaction,
Revolution. Cambridge, Massachusetts: Oelgeschlager, Gunn & Hain 1981.

Nidhi Eoseewong Panel


Discussion 10
10 2551

Fred W. Riggs. Thailand: The Modernization of a Bureaucratic Polity. Honolulu: East-West


Center Place 1967.

Taylor J. L. Forest monks and the nation-state: an anthropological and historical study in
northeastern Thailand Singapore: Institute of Southeast Asian Studies 1993

Yatsushiro Toshio The Appeal of Communism in Northeast Thailand. USOM, Community


Development in Thailand Bangkok: USOM n.d.).

730
-

14 2524

2544
2548

731

You might also like