You are on page 1of 63

เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา

(Towards Sufficiency Based School)

ดร.ปรียานุ ช พิ บลู สราวุธ


ดร.
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง
กรกฏาคม ๒๕๕๑
ความสําคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตังแต่ปี ๒๕๑๖ ๒๕๔๕ - ปัจจุบนั มาตรา ๗๘ (๑) ข้อเสนอ ๖ ข้อ
บริหารราชการ  ขจัดยากจน
 พัฒนาเป็ นขันตอน แผนฯ ๙ แผ่นดิน…อย่างยังยืน  พัฒนาศักยภาพ
เพือให้คนส่วนใหญ่ อัญเชิญ ปศพ. โดยต้องส่งเสริมการ
ดําเนิ นการตาม ปศพ. ชุมชน
พออยู่พอกิน  CSR ของธุรกิจ &
เป็ นปรัชญาชีนํา มุ่งกําไรระยะยาว
 เกษตรทฤษฎีใหม่ (แนวโยบายด้าน
 วิกฤต ๔๐
การพัฒนา เศรษฐกิจ)  ปรับปรุงมาตรฐาน
มาตรา ๘๓ ธรรมาภิบาลของ
 พอประมาณ
แผนฯ๑๐ ภาครัฐ
รัฐต้องส่งเสริมและ
ไม่โลภ ประหยัด สังคมอยูเ่ ย็น สนับสนุ นให้มีการ  เติบโตทีเสมอภาค
ดําเนิ นการตามแนว และยังยืน
 คํานิ ยาม ๔๒ เป็ นสุขร่วมกัน
ปศพ.  ปลูกฝังจิตสํานึ ก
ฯลฯ

พระราชดํารัส แผนพัฒนาฯ รัฐธรรมนูญ ๕๐ UNDP


NHDR 2007

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 2


ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กรอบแนวคิด
เป็ นปรัชญาทีชีถึงแนวการดํารงอยู่และปฏิบตั ติ นของประชาชนในทุกระดับ ตังแต่ระดับครอบครัว ระดับ
ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาํ เนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา
เศรษฐกิจเพือให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์
เป้าหมาย
มุ่งให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลียนแปลง วัตถุ /สังคม /สิงแวดล้อม /วัฒนธรรม
อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทังทางวัตถุ สังคม สิงแวดล้อม สมดุล /พร้อมรับต่อการเปลียนแปลง
และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี
หลักการ
ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมี
เหตุผล การสร้างภูมิคมุ ้ กันทีดีในตัวพอสมควร ต่อการ ทางสายกลาง  พอเพียง
มีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลียนแปลงทัง
ภายนอกและภายใน พอประมาณ
เงือนไขพืนฐาน (ความรูค้ ูค่ ุณธรรม)
 จะต้องอาศัยความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง มีภมู ิ ค้มุ กัน
อย่างยิงในการนําวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการ มีเหตุผล
ในตัวทีดี
ดําเนินการทุกขันตอน
 การเสริมสร้างจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทีของรัฐ เงือนไขความรู้ เงือนไขคุณธรรม
นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสาํ นึ กในคุณธรรม รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
ความซือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรูท้ ีเหมาะสม ดําเนินชีวิต ซือสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปญั ญา
ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปั ญญา และความรอบคอบ www.sufficiencyeconomy.org
นิ ยามของความพอเพียง
• ความพอประมาณ หมายถึง การคิด พูด ทํา อย่างประมาณตน บนพืนฐาน
ความเป็ นจริง ให้เกิดความพอดี พอเหมาะ พอควร โดยไม่สร้างความ
เดือดร้อนให้กบั ตนเองและผูอ้ ืน
• ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกียวกับความพอเพียงนัน จะต้อง
เป็ นไปอย่างมีเหตุผล ถูกต้องตามหลักความเป็ นจริง โดยพิจารณาจากเหตุ
ปั จจัยทีเกียวข้อง ตลอดจนคํานึงถึงผลทีคาดว่าจะเกิดขึนจากการกระทํา
นันๆ ทังในปั จจุบนั และอนาคต อย่างรอบคอบ
• การมีภูมิคุม้ กันทีดีในตัว หมายถึง การไม่ประมาท ไม่เสียง มีความรอบคอบ
เตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบทีคาดว่าจะเกิดขึนจากการเปลียนแปลง
ต่างๆ

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 4


เงือนไขเพือให้เกิดความพอเพียง

การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมต่างๆ ให้พอเพียง ต้องอาศัย


ทังความรูแ้ ละคุณธรรมเป็ นพืนฐาน
• เงือนไขความรู ้ ประกอบด้วย มีความรอบรูเ้ กียวกับวิชาการต่างๆที
เกียวข้องอย่างรอบด้าน ใช้ความรอบคอบทีจะนําความรูเ้ หล่านันมา
พิจารณาให้เชือมโยงกัน เพือประกอบการวางแผน และมีความ
ระมัดระวังในขันปฏิบตั ิทุกขันตอน
• เงือนไขคุณธรรม ทีจะต้องเสริมสร้างให้เป็ นพืนฐานทังด้านจิตใจ และ
การกระทํา ประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม ละอายในการทํา
ความชัว การตังมันในความดี มีความซือสัตย์สุจริต ความอดทน ความ
เพียร ใช้สติปัญญาในการดําเนินชีวิต

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 5


คุณลักษณะของกิจกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล มีภมู ิคมุ ้ กันทีดี
พอเหมาะกับ รูส้ าเหตุ – ทําไม คํานึงถึงการเปลียนแปลง
สภาพของตน รูป้ ั จจัยทีเกียวข้อง ในด้านต่างๆ
(ปั จจัยภายใน
ภายใน)) วิชาการ/
าการ/กฏหมาย รูเ้ ท่าทันและ
พอควรกับภูมิสงั คม /ความเชือ/
อ/ประเพณี เตรียมความพร้อม
(ปั จจัยภายนอก)
ภายนอก) รูผ้ ลกระทบทีจะ (วางแผน/
วางแผน/รอบคอบ
รอบคอบ//
เรียนรู ้ /พัฒนาตน/
นาตน/
เกิดขึนในด้านต่างๆ ทําประโยชน์ให้กบั สังคม/
คม/
(สมดุล) รักษ์สิงแวดล้อม)ม)
(รอบรู/้ สติ ปั ญญา)
ญา) (ไม่ประมาท
ระมาท))

ใช้ความรูค้ วบคู่กบั คุณธรรม เพือให้เกิดความพอเพียงในการดําเนิ นชี วิตที


สมดุลและพร้อมรับต่อการเปลียนแปลง
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 6
เศรษฐกิจพอเพียง & ทฤษฎี ใหม่

เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นกรอบแนวคิดทีชีบอกหลักการและแนวทางปฏิบตั ิของทฤษฎีใหม่


ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็ นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบตั ิ

ความพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
แบบพืนฐาน ทฤษฎีใหม่ขนที
ั ๑
ระดับบุคคล/ครอบครัว
ความพอเพียง
ระดับชุมชน/องค์กร ทฤษฎีใหม่ขนที
ั ๒
เศรษฐกิจพอเพียง

ความพอเพียงระดับประเทศ แบบก้าวหน้า ทฤษฎีใหม่ขนที


ั ๓

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 7


สรุปหลักการทรงงาน
 ระเบิดจากข้างใน คนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา
 ปลูกจิตสํานึก
 ศึกษาข้อมูลอย่างเป็ นระบบ
 แก้ปัญหาจากจุดเล็ก
 ทําตามลําดับขัน คํานึ งถึงภูมิสงั คม
 คิดอย่างเป็ นองค์รวม มองอย่างครบวงจร
 บริการรวมทีจุดเดียว ปฏิ บตั ิอย่างพอเพี ยง
 ไม่ติดตํารา ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด
 ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ใช้อธรรมปราบอธรรม
 การมีส่วนร่วม
 ขาดทุนคือกําไร รู ้ รัก สามัคคี รูเ้ สียสละ
 ซือสัตย์สุจริต ขยัน เพียร อดทน
 เน้นให้พึงตนเองได้ พออยู่พอกิน
 ประโยชน์ส่วนรวม มุ่งประโยชน์สุขคนส่วนใหญ่
เป
้ าหมายคื อ สั
ง คมพอเพี ย ง

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 8


สรุปเศรษฐกิจพอเพียงคื ออะไร
 เป็ นวิถีการดําเนินชีวิต ทีใช้คุณธรรมกํากับความรู ้
 เป็ นการพัฒนาตัวเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม
ประเทศชาติ ให้กา้ วหน้าไปพร้อมกับความสมดุล มันคง ยังยืน
 เป็ นหลักคิดและหลักปฏิบตั ิ
เพือให้คนส่วนใหญ่พออยูพ่ อกินพอใช้ได้อย่างมันคง
เพือให้คนในสังคม สามารถอยูร่ ว่ มกันได้อย่างสันติสุข
เพือให้คนอยูร่ ว่ มกับธรรมชาติ ได้อย่างสมดุล ยังยืน
และเพือให้แต่ละคนอยูอ่ ย่างมีศกั ดิศรี มีรากเหง้าทางวัฒนธรรม

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 9


การขับเคลือน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านการศึกษา

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 10


พระราชทานแก่ผูส้ ําเร็จการศึกษา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (๑๙ มิถนุ ายน ๒๕๒๒ )

“...การให้ การศึกษานัน
กล่าวสันๆ โดยความหมายรวบยอด
คือ การช่วยให้บุคคลค้นพบวิธีการดําเนินชีวิตอย่างถูกต้อง เหมาะสม
ไปสู่ความเจริญ และความสุขตามอัตภาพ...
...ผูส้ อนมีหน้ าทีต้องหาความรู้ และวิธีการดําเนินชีวิต มาให้ศิษย์ได้รไู้ ด้ทราบ
เพือให้สามารถเรียนรูต้ ่อไป และดําเนินชีวิตต่อไปได้ดว้ ยดี จนบรรลุจดุ หมาย
หากผูส้ อนมีอบุ ายอันแยบคาย ซึงเป็ นปัจจัยสําคัญทีสุดทังในการแสวงหาความรู้
ทังในการถ่ายทอดความรู้ เกิดจากความระลึกได้ถึงในความรูท้ ีผ่านพบมาแล้ว
ประกอบกับความรูต้ วั และความคิดอ่านทีว่องไวเฉลียวฉลาด ซึงปกติชนทุกคน
จะต้องฝึ กฝนให้เกิดขึนได้ ไม่เกินวิสยั แล้วนํามาใช้ควบเข้ากับความรูค้ วามถนัด
ของตนให้เป็ นประโยชน์ได้ทกุ โอกาส....”

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 11


ความเป็ นมาของการขับเคลื อนด้านการศึกษา
 เยาวชนคืออนาคตของชาติ การพัฒนาคนคือหัวใจของการพัฒนาทียังยืน
 พรบ.ปฏิรูปการศึกษา ๒๕๔๒/ หลักสูตรแกนกลาง ๒๕๔๔/ สาระที๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้า ใจและสามารถบริ ห ารจัด การทรัพ ยากรในการผลิ ต และการ
บริโภค การใช้ทรัพยากรทีมีอยูจ่ าํ กัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุม้ ค่า รวมทังหลักการ
ของเศรษฐกิจพอเพียง เพือการดํารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
» จําเป็ นต้องปลูกฝังค่านิยม และหล่อหลอมพฤติกรรมจนเป็ นนิ สย ั
อนุ บาล-ขันพืนฐาน-อาชีวะ-อุดมศึกษา
» ปั ญหา : การเรียนการสอน ไม่บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตร
» ต้องมียทุ ธศาสตร์ กลไก ขันตอน วิธีการขับเคลือนอย่างเป็ นระบบ
บริหาร-การเรียนการสอน-กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน-พัฒนาบุคลากร
» เป้าหมาย ทุกสถานศึกษาภายใน ๒๕๕๔

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 12


เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา

คุณธรรมนํ าความรู ้ เศรษฐกิจพอเพียง

การบริหารสถานศึกษา การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน


- สร้างวัฒนธรรมองค์กร - กําหนดมาตรฐานการเรียนรูช้ ันปี
- ปลูกฝังให้เป็ นวิถีชีวิต (รายวิชาพืนฐาน)
- ชุมชนสัมพันธ์ - จัดทําหน่วย/แผนการเรียนรู ้ แนะแนว กิจกรรมนักเรียน
- จัดกิจกรรมการเรียนรู ้ - ให้บริการแนะแนว - ลส.-นน. ยุวกาชาด
- จัดทําสือ/แหล่งเรียนรู ้ - ระบบดูแล ผูบ้ าํ เพ็ญประโยชน์
- โครงงาน - ชุมนุม
- จัดทําเครืองมือวัด/ประเมินผล ช่วยเหลือ - ชมรม - ค่ายอาสา
- เกณฑ์การผ่านช่วงชัน นักเรียน ฯลฯ
เน้น
จิตอาสา/จิตสาธารณะ/การมี สว่ นร่วม
การเห็ นคุณค่าของการอยู่รว่ มกัน

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 13


คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รียนตามหลัก ปศพ.
ปศพ.
๑ มีความรู ้ ความเข้าใจ และตระหนักในความสําคัญของการดําเนิ นชีวิตตาม ปศพ.
 มีความรู้ ความเข้าใจ ปศพ. และความเชื อมโยงกับระบบเศรษฐกิ จ สถานการณ์สงั คม สิ งแวดล้อม
 มีความรู่ความเข้าใจในการดําเนิ นชีวิตตาม ปศพ.
 เห็นประโยชน์ และความสําคัญ ในการดําเนิ นชีวิตตาม ปศพ. เพือพัฒนาตนเอง ครอบคร้ว ชุมชน สังคม

๒ มีความรู ้ และทักษะพืนฐานในการดําเนิ นชีวิตตาม ปศพ.


 มีศกั ยภาพและทางเลือกในการดํารงชีวิตและประกอบอาชีพ เพือให้พึงตนเองได้ระดับหนึ ง
 อยู่ร่วมกับผู้อืนในสังคม ได้อย่างสงบสุข รู้รกั สามัคคี ไม่เบียดเบียน แบ่งปัน เอือเฟื อเผือแผ่
 ใช้ ฟื นฟู และอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ & สิ งแวดล้อม ได้อย่างยังยืน
 สืบสานวัฒนธรรม ศิ ลปะ ประเพณี ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา ภูมิใจในความเป็ นไทย

๓ ปฏิบตั ิ ตนและดําเนิ นชีวิตตาม ปศพ.


 รู้จกั ประมาณตน รู้จกั ศักยภาพของตน ใช้ชีวิตบนพืนฐานความเป็ นจริ ง อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล
 ดําเนิ นชี วิตโดยใช้สติ ปัญญา ความรอบรู้ ความรอบคอบ ไม่ประมาท
 มีคณ ุ ธรรมเป็ นพืนฐานของจิ ตใจ รู้จกั ผิ ดชอบชัวดี ไม่ทาํ ความชัว สังสมความดี มีวินัยและความรับผิ ดชอบ

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 14


ภาพความสําเร็จ
๑. สถานศึกษา นํา ปศพ. ไปใช้ในการบริหารสถานศึกษา
จัดการศึกษา และดําเนินกิจกรรมทีเป็ นประโยชน์ ต่อชุมชน/สังคม

๒. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทีเกียวข้อง


มีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบตั ิ ตนเป็ นแบบอย่างตาม ปศพ.

๓. นักเรียน มีความรู้ ทักษะ ปฏิบตั ิ ตน และดําเนินชีวิต ตามปศพ.


๔. ผู้ปกครอง ชุมชน ดําเนินชีวิต และ มีการพัฒนาตาม ปศพ.

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 15


แนวทางการนํ าหลักปศพ
ปศพ..ไปปรับใช้ในโรงเรียน
การบริหารจั- นํดาหลัการ
กการทรงงาน มาปรับใช้ในการบริ หารสถานศึกษา
 กําหนดเป็ นนโยบาย – วิ สยั ทัศน์ พันธกิ จ ภารกิ จ
แผนปฏิ บตั ิ การ - งานวิ ชาการ งบประมาณ บุคคล - เน้ นการบริ หารทรัพยากรตามหลัก ปศพ.
บริ หารทัวไป ชุมชนสัมพันธ์ การมีส่วนร่วม รู้รกั สามัคคี ไม่ประมาท
หลักสูตร การเรียนการสอน
• จัดทําหน่ วย/แผนการ ตัวอย่าง
ลักษณะของกิจกรรม • สอนวิ ชา “เศรษฐกิ จพอเพียง”
เรียนรู้ หรือสือการเรียนรู้ ที
 ต่อยอดหรือพัฒนา ตามมาตรฐาน ส ๓.๑ เพือให้ มีวินัยในการใช้จ่าย
นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจที บูรณาการหลัก ปศพ. กับ ประหยัด/การออม
กิ จกรรมทีสอดคล้อง สาระการเรียนรู้ของกลุ่ม
กับภูมิสงั คม/บริ บท ถูกต้อง และสามารถนําหลัก พึงตนเองในการผลิ ต
ปศพ. ไปประยุกต์ใช้ได้ สาระต่างๆ หรือสร้างรายได้
 ดําเนิ นการหลักโดย
ผูเ้ รียนด้วยความ • จัดทํารายวิ ชาเพิ มเติ ม/ แหล่งเรียนรู ้ เห็นค่าการอยู่ร่วมกันในสังคม
สมัครใจ โดยมีครูช่วย หลักสูตรท้องถิน ทีสอดคล้อง • สร้างบรรยากาศทีส่งเสริ ม ช่วยเหลือสังคม/ชุมชน
สนับสนุน กับสภาพและความต้องการ การเรียนรู้ตามหลัก ปศพ. รักษาสมดุลของ
 ผูเ้ รียนใช้หลักคิ ด / โดยใช้หลัก ปศพ. วิ เคราะห์ โดยพัฒนาและจัดการ ธรรมชาติ และสิ งแวดล้อม
หลักปฏิ บตั ิ ทีสอดคล้องกับ เพือกําหนดรายวิ ชา แหล่งเรียนรู้ ปศพ. ใน ร่วมอนุรกั ษ์ภมู ิปัญญาท้องถิน
หลักวิ ชาการอย่างสมเหตุสมผล สถานศึกษา สืบสานวัฒนธรรม/ประเพณี ไทย
มีการวางแผนอย่างรอบคอบ คํานึ งถึงความเสียงต่างๆ ส่งเสริ มการปฏิ บตั ิ ตาม
ส่งเสริ มการเรียนรู้และคุณธรรม คําสอนทางศาสนา
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ร่วมสร้างความสามัคคี

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 16


หลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาระที ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถ บริหารจัดการทรัพยากรใน
การผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรทีมีอยู่
จํากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพือการดํารงชีวิต
อย่างมีดลุ ยภาพ
มาตรฐานช่วงชันที ๑-๒ (๔) เข้าใจระบบและวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนําไปประยุกต์ใช้กบั ชีวิตประจําวันได้
มาตรฐานช่วงชันที ๓-๔ (๕) เข้าใจเกียวกับระบบและวิธีการของเศรษฐกิจ
พอเพียง และสามารถนําไปประยุกต์ใช้กบั
ชีวิตประจําวันได้

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 17


มาตรฐานการเรียนรู ้ (ช่วงชันที ๑) เน้นระดับตนเอง/
ตนเอง/ครอบครัว
ประถมศึกษาปี ที ๑ ประถมศึกษาปี ที ๒ ประถมศึกษาปี ที ๓
๑ รูจ้ กั ช่วยเหลือตนเอง ๑ ปฏิบตั ิหน้าทีของตนเอง และ ๑ รูจ้ กั ช่วยเหลือครอบครัว
ครอบครัว อย่างมี ความ และชุมชน
รับผิดชอบ
๒ ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ๒ รูจ้ กั ใช้ทรัพยากรอย่าง ๒ รูจ้ กั เลือกใช้ทรัพยากรอย่าง
ประหยัดและคุม้ ค่า ประหยัดและคุม้ ค่า
๓ รูจ้ กั การออม ๓ มีวินยั ในการใช้จา่ ย ๓ วิเคราะห์รายรับ- รายจ่าย
ของตนเอง
๔ รูจ้ กั การแบ่งปั น สิงของทีมี ๔ รูจ้ กั การแบ่งปั นสิงของ ๔ รูจ้ กั เสียสละแบ่งปั น
ให้กบั ผูอ้ ืน ช่วยเหลือผูอ้ ืน ทรัพยากรทีมี เพือ
ประโยชน์ต่อส่วนรวม
๕ ปฏิ บตั ิตนตามหลักเศรษฐกิจ ๕ ชืนชมและปฏิ บตั ิตนตาม
พอเพียงอย่างมีความสุข หลักเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 18


มาตรฐานการเรียนรู ้ (ช่วงชันที ๒) เน้นระดับโรงเรียน
ประถมศึกษาปี ที ๔ ประถมศึกษาปี ที ๕ ประถมศึกษาปี ที ๖
๑ เข้าใจหลักการปฏิบตั ิ ตนตาม ๑ ปฏิบตั ิ ตนตามหลักเศรษฐกิจ ๑ เข้าใจระบบและวิธีการดําเนินงาน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พอเพียง ขององค์กรในโรงเรียน/ชุมชน
และนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ประจําวันได้
๒ สํารวจ สภาพปัญหา ทรัพยากร ๒ วิเคราะห์การใช้ทรัพยากรและ ๒ รู้จกั ใช้ทรัพยากรและสิงแวดล้อม
สิงแวดล้อมในชุมชน และเสนอ สิงแวดล้อมอย่างสมดุลในชุมชน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางแก้ปัญหา
๓ เข้าใจสภาพรายรับ-รายจ่ายของ ๓ เข้าใจสภาพรายรับ- รายจ่าย ของ ๓ วิเคราะห์วางแผนและจัดทําบันทึก
ตนเอง และวางแผนการใช้จ่าย ครอบครัว และนําหลักเศรษฐกิจ รายรับ-รายจ่ายของตนเอง และ
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง พอเพียง มาลดรายจ่าย และเพิม ครอบครัวอย่างมีประสิทธิภาพ
รายได้ให้ครอบครัว
๔ สํารวจและเห็นคุณค่าของ ๔ มีส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์และ ๔ รวบรวมองค์ความรู้ของ
ภูมิปัญญาท้องถิน เผยแพร่ภมู ิ ปัญญาท้องถินของ ภูมิปัญญาท้องถินมาประยุกต์ใช้
ชุมชน ในชีวิตประจําวัน

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 19


มาตรฐานการเรียนรู ้ (ช่วงชันที ๓) เน้นระดับชุมชน
มัธยมศึกษาปี ที ๑ มัธยมศึกษาปี ที ๒ มัธยมศึกษาปี ที ๓
๑ รูแ้ ละเข้าใจ ประวัติ ๑ สํารวจและวิเคราะห์ปัญหา ของ ๑ เข้าใจแนวทางพัฒนาชุมชนด้าน
ความเป็ นมา ความหมาย และ ชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สังคม เศรษฐกิจ สิงแวดล้อม
ความสําคัญของปรัชญาของ สิงแวดล้อม หรือวัฒนธรรม บน หรือวัฒนธรรม ตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง พืนฐานของปรัชญาของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพียง
พอเพียง

๒ สามารถนําหลักแนวคิดและ ๒ เสนอแนวทางในการแก้ไข ๒ มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน


ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปั ญหาในชุมชน ด้านสังคม ด้านสังคม เศรษฐกิจ
ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรทีมี เศรษฐกิจ สิงแวดล้อมหรือ สิงแวดล้อม วัฒนธรรม โดยใช้
อยู่ของตนเอง ครอบครัว และ วัฒนธรรม ตามปรัชญาของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ชุมชนอย่างสมดุลและยังยืน เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 20


มาตรฐานการเรียนรู ้ (ช่วงชันที ๔) เน้นระดับประเทศ
มัธยมศึกษาปี ที ๔ มัธยมศึกษาปี ที ๕ มัธยมศึกษาปี ที ๖
๑ เข้าใจและวิเคราะห์การบริหาร ๑ เข้าใจและวิเคราะห์การ พัฒนา ๑ เข้าใจและวิเคราะห์การ พัฒนา
จัดการองค์กร วิสาหกิจชุมชน ตาม ประเทศ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ ประเทศ ให้กา้ วหน้าไปได้อย่าง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พอเพียง สมดุล ภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์
โดยยึดปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
๒ ตระหนักในความสําคัญของการ ๒ ตระหนักในความสําคัญของการ ๒ ตระหนักในความสําคัญของการ
บริหารจัดการองค์กร วิสาหกิจ พัฒนาประเทศ ตามปรัชญาของ พัฒนาประเทศภายใต้กระแสโลกาภิ
ชุมชน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพียง วัตน์ โดยยึดปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง พอเพียงให้กา้ วหน้าไปได้อย่าง
สมดุล

๓ นําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ๓ นําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ๓ นําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา


ประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิตอย่าง ประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต เพือ ประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิตอย่าง
สมดุลและพร้อมรับต่อการ ประโยชน์ของสังคมและ สมดุล และพร้อมรับต่อการ
เปลียนแปลง ประเทศชาติ เปลียนแปลงภายใต้กระแส
โลกาภิวตั น์

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 21


การเขี ยนแผนแบบบูรณาการหลัก ปศพ.
 ยึดสาระสังคมเป็ นหลัก เพราะสังคมจะมีหวั ข้อ และเนือหา ชัดเจน
ให้สอดแทรกความคิด/คุณค่า คุณลักษณะทีพึงประสงค์ลงไปได้
 ยุทธศาสตร์การสอนของครู สอดแทรกคุณธรรม วินยั ความรับผิดชอบ
การคํานึงถึงการอยูร่ ว่ มกับผูอ้ ืน/สังคมรอบตัว สภาพแวดล้อมทางวัตถุ
และธรรมชาติ
 เน้นให้เด็กแสดงความคิดเห็นอย่างมีส่วนร่วม วิเคราะห์ปัญหาต่างๆ
ทีอยูร่ อบตัว อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล รอบคอบ เปิ ดโอกาสให้คิดริเริม
สร้างสรรค์ โดยมีครูค่อยชักจูงให้คิดแบบโยนิโสมนสิการ และมี
กัลยาณมิตรคอยท้วงติง แนะนํา ด้วยความจริงใจ
 ยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรู ้ เพือความอยูร่ ว่ มกัน
อย่างเกิดประโยชน์และเป็ นสุข

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 22


แนวทางการสอนแบบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาระที ๑ : ศาสนา ศี ลธรรม จริยธรรม
 ยึดมันในหลักศีลธรรม การกระทําความดีมคี า่ นิยมทีดีงาม
 การพัฒนาตน บําเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและสิงแวดล้อม เพือการอยู่รว่ มกันได้อย่างสันติสขุ
สาระที ๒ : หน้าทีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชี วิตในสังคม
 การดํารงชีวติ อยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสขุ
ั ญาธรรม)
 วิถชี วี ติ ประชาธิปไตย (คารวะธรรม สามัคคีธรรม ปญ
สาระที ๓ : เศรษฐศาสตร์
 การบริหารจัดการทรัพยากรทีมีอยู่จํากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 เศรษฐกิจพอเพียงเพือการดํารงชีวติ อย่างมีดุลยภาพ
สาระที ๔ : ประวัตศิ าสตร์
 ใช้วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์บนพืนฐานของความเป็ นเหตุเป็ นผล มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆอย่างเป็ นระบบ
ั ญาไทย มีความภูมใิ จและรักษาความเป็ นไทย
 วัฒนธรรมไทย ภูมปิ ญ
สาระที ๕ : ภูมิศาสตร์
 ระบบธรรมชาติและความสัมพันธ์ของสรรพสิง ความสัมพันธ์ของมนุ ษย์กบั สภาพแวดล้อม
 การสร้างสรรค์วฒ
ั นธรรมทีเกิดจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
 จิตสํานึกอนุรกั ษ์ทรัพยากรและสิงแวดล้อมเพือการพัฒนาทียังยืน
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 23
แนวทางการสอนแบบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. วิทยาศาสตร์ ๔. ภาษาไทย
ชีวติ กับสิงแวดล้อม ฟั ง พูด อ่าน เขียน
 สํานวนไทย
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ
 การแสดงความคิดเห็น
สิงแวดล้อมในท้องถินอย่างยังยืน
 บทร้อยแก้ว
 คําขวัญ
๓. คณิตศาสตร์  การคัดลายมือ
ทักษะ/กระบวนการทาง
คณิตศาสตร์  การสรุปใจความ
ั  การทําหนังสือเล่มเล็ก/ เล่มใหญ่
การแก้ปญหา
การให้เหตุผล ๕. ภาษาต่างประเทศ
เชือมโยงความรูต้ ่างๆทาง  ภาษาเพือการสือสาร
คณิตศาสตร์กบั ศาสตร์อนๆได้
ื  ภาษาและวัฒนธรรม
 ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 24


แนวทางการสอนแบบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๖. ศิลปะ
 คุณค่างานศิลปะทีเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมภูมปิ ั ญญาไทยและภูมิ
ปั ญญาท้องถิน
๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 ทักษะกระบวนการ การจัดการ การทํางานเป็ นกลุ่ม การแสวงหาความรู้
การแก้ไขปั ญหา ฯลฯ
 มีคุณธรรม มีจิตสํานึ กในการใช้พลังงานทรัพยากรและสิงแวดล้อม
๘. สุขศึกษา และพลศึกษา
 เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิตและมีทกั ษะในการดําเนิ นชีวิต

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 25


ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)

หลักปฏิบตั ิ ตัวอย่างกิจกรรม
รูจ้ กั การใช้จา่ ยของตนเอง
ใช้จา่ ยอย่างมีเหตุมีผล บันทึกบัญชีรายรับและรายจ่าย
อย่างพอประมาณ วิเคราะห์บญ ั ชีรายรับและ
ประหยัด เท่าทีจําเป็ น รายจ่าย
แลกเปลียนประสบการณ์
ปรับเปลียนพฤติกรรมการ
บริโภค เพือลดรายจ่ายที
ฟุ่ มเฟื อย

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 26


ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)

หลักปฏิบตั ิ ตัวอย่างกิจกรรม
รูจ้ กั ออมเงิน มีกลไก
ลดความเสียง
ระบบสวัสดิการ • ออมอย่างพอเพียง
ระบบออมเงิน • สัปดาห์การออม
ระบบสหกรณ์ • จัดตังกลุ่ม/สหกรณ์ออมทรัพย์
ระบบประกันต่างๆ • โครงงานการประกันต่างๆ

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 27


ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)

หลักปฏิบตั ิ ตัวอย่างกิจกรรม
รูจ้ กั ประหยัด
ใช้และกินอย่าง ปลูกผักสวนครัวรัวกินได้/
ประมาณตน มีเหตุผล เลียงปลา/หมู ไว้กิน-แบ่งปั น-ขาย
ไม่ฟุ่มเฟื อย ใช้สินค้าทีประหยัดพลังงาน
ใช้พลังงานเท่าทีจําเป็ น ใช้สิงของต่างๆอย่างประหยัด/คุม้ ค่า
ใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า นําของเหลือใช้มาทําให้เกิดประโยชน์
รีไซเคิลขยะเพือนํามาใช้ใหม่

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 28


ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)

หลักปฏิบตั ิ ตัวอย่างกิจกรรม
พึงตนเองได้ทางเศรษฐกิจโดยผลิต เน้นการผลิตเพือพึงตนเอง ให้
หรือสร้างรายได้ ที พอเพียงกับการบริโภค และการ
สอดคล้องกับความต้องการ ผลิตทีหลากหลาย เช่น
สอดคล้องกับภูมิสงั คม ปลูกพืชผักผสมผสาน
สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิน ปลูกพืชสมุนไพรไทย
สอดคล้องกับทรัพยากรท้องถิน ผลิตสินค้าจากภูมิปัญญาท้องถิน
ฝึ กอบรมพัฒนาอาชีพอย่างครบ
วงจร

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 29


ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึ กษา (ด้านสังคม
คม))
หลักปฏิบตั ิ ตัวอย่างกิจกรรม
รูจ้ กั ช่วยเหลือสังคม พัฒนาความรูค้ ู่คุณธรรม ผ่านกิจกรรม
หรือชุมชน รวมกลุ่มต่างๆ
ปลูกจิตสํานึกสาธารณะ • จัดกิจกรรมลด ละ เลิก อบายมุข
ปลูกฝังความสามัคคี • จัดกิจกรรมช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาส
ปลูกฝังความเสียสละ • จัดค่ายพัฒนาเยาวชน จิตอาสา
เผยแพร่องค์ความรู ้ • จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามัคคี
เศรษฐกิจพอเพียง • พัฒนาแหล่งเรียนรู ้ ปศพ. ร่วมกับ
ชุมชน

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 30


ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
ษา((ด้านสิงแวดล้อม)
ม)
หลักปฏิบตั ิ ตัวอย่างกิจกรรม
สร้างสมดุลของ พัฒนาความรูเ้ กียวกับดิน นํา ป่ า
ทรัพยากรธรรมชาติ เพือฟื นฟู รักษา
ปลูกจิตสํานึกรักษ์สิงแวดล้อม • ร่วมอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ฟื นฟูแหล่งเสือมโทรมในท้องถิน • จัดทําฝายกันนํา ร่วมปลูกต้นไม้
ฟื นฟูและอนุรกั ษ์ทรัพยากรใน • ร่วมดูแลรักษาป่ า ความหลากหลาย
ท้องถิน ของพันธุพ์ ืช/พันธุส์ ตั ว์
ฟื นฟูดแู ลสถานทีท่องเทียวใน • ร่วมจัดกิจกรรมลดภาวะโลกร้อน
ท้องถิน • โครงการชีววิถี/ปุ๋ยชีวภาพ
• ยุวมัคคุเทศก์

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 31


ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา
ษา((ด้านวัฒนธรรม)
นธรรม)
หลักปฏิบตั ิ ตัวอย่างกิจกรรม
สืบสานวัฒนธรรมไทย
สร้างจิตสํานึกรักษ์ไทย • ปลูกฝังมารยาทไทย
รักบ้านเกิด • ส่งเสริมอาหารประจําท้องถิน
ฟื นฟูและอนุ รกั ษ์อาหาร • ส่งเสริมการใช้ภาษาไทยและ
ประจําท้องถิน ภาษาประจําท้องถิน
ฟื นฟูและอนุ รกั ษ์ดนตรีไทย • ทํานุบาํ รุงโบราณวัตถุและ
และเพลงไทย โบราณสถาน
ฟื นฟูและอนุ รกั ษ์วตั ถุโบราณ • ร่วมอนุรกั ษ์พฒั นาภูมิปัญญา
ท้องถิน
และโบราณสถาน
• รณรงค์การใช้สินค้าไทย
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 32
ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านวัฒนธรรม)
นธรรม)

หลักปฏิบตั ิ ตัวอย่างกิจกรรม
ส่งเสริมพระพุทธศาสนา
ปลูกจิตสํานึกความรักชาติ • จัดกิจกรรมปลูกฝังความภูมิใจในความ
ตระหนักถึงคุณค่าของ เป็ นไทย ระลึกถึงบุญคุณของแผ่นดิน
พระพุทธศาสนา หรือ • ให้ความสําคัญกับการรักษาศีล การ
ฝึ กอบรมสมาธิภาวนา หรือสวดมนต์
ศาสนาทีตนศรัทธา
• ร่วมกันทะนุบาํ รุงศาสนาด้วยการทําบุญ
จงรักภักดีตอ่ และปฏิบตั บิ ูชา
พระมหากษัตริย ์ • ร่วมดูแลวัด และ ศาสนสถานต่างๆ
• ศึกษา/ดูงาน โครงการอันเนืองมาจาก
พระราชดําริ พระราชกรณียกิจต่างๆ

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 33


ตัวอย่างการบูรณาการกิจกรรม
เศรษฐกิจพอเพียงในช่วงชันที ๓

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 34


การสอนโดยยึดเด็กเป็ นศูนย์กลาง
จัดสภาพ
จัดกิจกรรม ปลูกฝัง เรียนรู ้ แวดล้อม
ทํางาน
หลากหลาย คุณธรรม จากธรรมชาติ จูงใจ
เป็ นกลุม่

สร้างจุดเด่น
ซ่อมจุดด้อย
เรียนรู ้
จากสถานการณ์จริง ฝึ กการพึงตนเอง
ตามวัย

สร้างวินยั ใส่ใจ นร.


เน้น เป็ นรายบุคคล
กระบวนการ
เรียนรู ้ จินตนาการ นร.มีส่วนร่วม

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 35


สรุปข้อสังเกตเกียวกับการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง

• การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพี ยง เกิ ดได้หลายด้าน และ


หลายรูป แบบ ไม่ มีสูตรสํ าเร็ จ แต่ ละคนจะต้อ งพิ จ ารณาปรับใช้
ตามความเหมาะสม ให้สอดคล้องกับเงื อนไข และสภาวะที ตนเผชิ ญ
อยู่
• ปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพี ยง จะช่ วยให้เรา “ฉุ กคิ ด” ว่ามี ทางเลื อก
อีกทางหนึ ง ทีจะช่วยให้เกิดความยังยื น มันคง และสมดุลในระยะยาว

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 36


แผนขับเคลือน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านการศึกษา

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 37


แนวทางการขับเคลือน ปศพ.
ปศพ. ด้านการศึกษา
พัฒนาสือการเรียนรูเ้ พือเป็ น พัฒนาบุคลากร/
ลากร/เครือข่าย
เครืองมือในการขับเคลือน กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม
• มาตรฐานเรียนรู/้ หลักสูตรเศรษฐกิจ • ผูบ้ ริหารสถานศึ กษา • อบรมวิทยากร/ผูบ้ ริหาร/
พอเพียงสําหรับทุกระดับ
• ศึกษานิ เทศก์ ครู/จนท.ศธ.
• ตัวอย่างสือการเรียนการสอน • ครูทกุ สังกัด • เวทีจดั การความรู้
• สถานศึกษาตัวอย่าง • จนท.ศธ.ทุกองค์กร • ค่ายเยาวชนพอเพียง ฯลฯ
• ตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
• ตัวชีวัดเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา สร้างแรงจูงใจ
• จัดทําสือเรียนรูใ้ นรูปแบบต่างๆ
เพื อให้เกิดพลวัตรในการขับเคลือน
 นโยบาย/ยุทธศาสตร์หลักของ ศธ.
 หลักสูตรแกนกลางของทุกสังกัด เชือมโยงเครือข่ายย//ขยายผล
 ส่วนหนึงของสาระประเมินวิทยฐานะครู
• เป้าหมาย ๙ → ๘๐ → ๘๐๐
 คัดเลือกสถานศึกษาแบบอย่าง
ติดตามและประเมินผลเพือการพัฒนา → ๔๐๐๐๐ ภายในปี ๒๕๕๔
 กิจกรรมประกวดต่างๆ
• จัดทําตัวชีวัดประเมินคุณภาพภายใน • ประชุม/สัมมนา/ดูงาน/มหกรรม
• นิ เทศ / ติดตามผลงานในพืนที • ฐานข้อมูลเครือข่ายวิทยากร /
สถานศึกษาและบุคลากร ในเว็บไซท์
• จัดทํารายงานความก้าวหน้า/ปั ญหา/อุปสรรค
• เผยแพร่ PR ในรูปแบบต่างๆ

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 38


องค์กรหลักในการขับเคลื อน
 แต่ละองค์กรมีแผนงาน/
แผนปฏิบตั ิงานของตนเอง
สพฐ. และใช้ทรัพยากรของตนเอง
อาชีวศึกษา  ทุกองค์กรหลักรวมพลังกัน
เอกชน
ขับเคลีอน เพือแลกเปลียน
สป./ศธ. เรียนรู ้ เสริมพลัง ขยายผล
การศึกษา กิจกรรม
วพ./ทก. อปท.
เอกชน  ร่วมมือกับพันธมิตรนอก
เครือข่าย เพีอขยายผล สู่
กศน. กทม. ชุมชน สังคม

สานเครือข่าย ขยายความรู ้ ควบคู่ประชาสัมพันธ์


โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 39
ก. กรอบแนวทางการดําเนินงาน ข. ขยายผลการดําเนินงาน (องค์กรหลัก)
๑.จัดทําสือ ตัวอย่างหน่วยการเรียนรูท้ ี ๑.การบูรณาการปรัชญาของ
บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการ
สู่การเรียนการสอน ทุกระดับการศึกษา สอนในสถานศึกษา
- ทดลองใช้สอื ตัวอย่างฯ สป. (กศน./ ๒.การนําปรัชญาของเศรษฐกิจ
- ปรับปรุงและพัฒนาสือตัวอย่าง พอเพียงสู่การบริหารจัดการ
- ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร (สช./กคศ. /
สถานศึกษาษา..
๒.ส่งเสริมสนับสนุนประสานงานการ สนพ./สนย.) - พัฒนาบุคลากร
ดําเนินงานเครือข่ายขับเคลือนเศรษฐกิจ - ส่งเสริมการเรียนการสอน
พอเพียง ในและนอกสังกัด สพฐ. สอศ. ฯลฯ
(ภาครัฐและเอกชน) การขับเคลือน
๓.จัดทําระบบข้อมูลสารสนเทศ และ
เชือมโยงเครือข่ายทังในและนอกสังกัด
เศรษฐกิจพอเพียง ค. การเผยแพร่
(ภาครัฐและเอกชน) ฯลฯ สู่สถานศึกษาของ และประชาสัมพันธ์
สกอ. ศธ..
ศธ สกศ. ๑.ประสานความร่วมมือและ
ง. ติดตามและประเมินผล เชือมโยงเครือข่าย ภายใน
- พัฒนาตัวชีวัดความพอเพียง และภายนอก
- จัดทํารายงานความก้าวหน้า องค์กร ๒.เผยแพร่หลักปศพ
- ติดตามผลงานในพืนที ในกํากับ ศธ. -จัดทําสือสิงพิมพ์ในรูปแบบ
ต่างๆรวมสือเทคโนโลยี
- ติดตามบุคลากรทางการศึกษา
- ติดตามนักเรียน/นักศึกษา -จัดทําเวบไซด์
และประชาชน -จัดนิทรรศการผลการ
ฯลฯ ดําเนินงาน ฯลฯ

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 40


ข้อมูลประกอบเพิมเติม

๑. ความเป็ นมาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. แนวทางการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 41


พระปฐมบรมราชโองการ
ณ พระทีนังไพศาลทักษิ ณ
วันศุกร์ที ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓
เนื องในวันบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม
มหาชนชาวสยาม””
เพือประโยชน์สุขแห่ งมหาชนชาวสยาม

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 42


“ การพัฒนาประเทศ จําเป็ นต้องทําตามลําดับขัน


ต้องสร้างพืนฐาน คือ ความพอมีพอกินพอใช้
ของประชาชนส่วนใหญ่เป็ นเบืองต้นก่อน
โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ทีประหยัด แต่ถกู ต้องตามหลักวิชา
เมือใดพืนฐานความมันคงพร้อมพอสมควร และปฏิบตั ิ ได้แล้ว
จึงค่อยสร้าง ค่อยเสริมความเจริญ
และฐานะเศรษฐกิจขันสูงโดยลําดับต่อไป ...”

พระราชทานแก่นิสิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น
(๒๐ ธันวาคม ๒๕๑๖)

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 43



โลภน้อย คือ พอเพียง

คนเราถ้าพอในความต้องการ
ก็มีความโลภน้อย
เมือมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอืนน้อย.
ถ้าทุกประเทศมีความคิด-อันนีไม่ใช่เศรษฐกิจ-
มีความคิดว่าทําอะไรต้องพอเพียง
หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง
ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยูเ่ ป็ นสุข.
พระราชดํารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 44



พอเพียง คือ ไม่เบียดเบียน

ความพอเพียงนี อาจจะมีของหรูหราก็ได้
แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอืน
ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง
ทําอะไรก็พอเพียง ปฏิบตั ติ นก็พอเพียง

พระราชดํารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 45



เศรษฐกิจพอเพียงมีหลายระดับ

“....ไฟดับถ้ามีความจําเป็ น หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่เต็ มที เรามีเครือง


ปั นไฟก็ใช้ปันไฟ หรือถ้าขันโบราณว่า มืดก็จุดเทียน คื อมีทางทีจะแก้ปัญหา
เสมอ ฉะนันเศรษฐกิจพอเพียง ก็มีเป็ นขันๆ แต่จะบอกว่าเศรษฐกิจ
พอเพียงนี ให้พอเพียงเฉพาะตัวเองร้อยเปอร์เซ็นต์นี
เป็ นสิ งทีทําไม่ได้ จะต้องมีการแลกเปลี ยน ต้องมีการช่วยกัน
ถ้าไม่มีการช่วยกันแลกเปลี ยนกัน ก็ไม่ใช่พอเพียงแล้ว
พอเพียงในทฤษฎี ในหลวงนี คื อ ให้สามารถทีจะดําเนิ นงานได้…”

จากกระแสพระราชดํารั สวันที ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 46


สหกรณ์ ๑

“สหกรณ์ แปลว่า การทํางานร่วมกัน การทํางานร่วมกันนีลึกซึงมาก เพราะว่า


ต้องร่วมมือกันในทุกด้าน ทังในด้านงานทีทําด้วยร่างกาย ทังในด้านงานทีทํา
ด้วยสมอง และงานการทีทําด้วยใจ ทุกอย่างนีขาดไม่ได้ตอ้ งพร้อม”

(พระราชดํารัสพระราชทานแก่ผนู ้ าํ สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นิคม และ


สหกรณ์ประมงทัวประเทศ ณ ศาลาดุสิดาลัย
๑๑ พฤษภาคม ๒๕๒๖)

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 47


คุณธรรมต้องกํากับความรู ้ ๑

“ …การมุ่งสอนคนให้เก่งเป็ นเกณฑ์ อาจทําให้เกิด


จุดบกพร่องต่างๆขึนในตัวบุคคลได้ไม่นอ้ ย ทีสําคัญก็มี
๑. บกพร่องในความคิดพิจารณารอบคอบ และกว้างไกล เพราะใจร้อน
เร่งจะทําการให้เสร็จโดยเร็ว เป็ นเหตุให้การงานผิดพลาดขัดข้องและล้มเหลว
๒. บกพร่องในความนับถือและเกรงใจผูอ้ นื เพราะถือว่าตนเป็ นเลิศ เป็ น
เหตุให้เย่อหยิง มองข้ามความสําคัญของบุคคลอืน และมักเกิดความขัดแย้ง
ทําลายไมตรีจิตมิตรภาพตลอดจนความสามัคคีระหว่างกัน
๓. บกพร่องในความมัธยัสถ์ พอเหมาะ พอดี ในการกระทําทังปวงเพราะ
มุ่งหน้าแต่จะทําตัวให้เด่นให้กา้ วหน้า เป็ นเหตุให้เห็นแก่ตวั เอารัดเอาเปรียบ
๔. บกพร่องในจริยธรรม และความรูจ้ กั ผิดชอบชัวดี เพราะมุง่ แต่จะ
แสวงหาผลประโยชน์เฉพาะตัวให้เพิมพูนขึน เป็ นเหตุให้ทําความผิดและความชัว
ทุจริตโดยไม่รูส้ ึกสะดุง้ สะเทือน…”

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 48


“ ดังนัน นอกจากสอนคนให้เก่งแล้ว จําเป็ นอย่างยิงทีจะต้องอบรม


ให้ดีพร้อมกันไปด้วย ประเทศของเราจึงจะได้คนทีมีคุณภาพคือ ทังเก่ง
ทังดีมาเป็ นกําลังของบ้านเมือง กล่าวคือ ให้ความเก่งเป็ นปั จจัยและพลัง
สําหรับสร้างสรรค์ ให้ความดีเป็ นปั จจัยและพลังประคับประคองหนุ นนํ า
คว ามเ ก่ ง ใ ห้ เ ป็ นไ ป ใน ท าง ที ถู ก ที คว ร ที อํ าน ว ยผ ล ปร ะ โยช น์
อันพึงประสงค์แต่ฝ่ายเดียว ”

พิธีทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาดุษฎีบณ
ั ฑิตกิตติมศักดิ
ของ ๕ สถาบัน (๓ ตุลาคม ๒๕๓๒ )

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 49



“...คุณธรรมซึงเป็ นองค์ประกอบทีสําคัญและจําเป็ นของ
การศึกษา ได้แก่ ความละอายชัว กลัวบาป ความซือสัตย์สุจริต ทังในความคิดและการกระทํา
ความกตัญ ูรคู้ ุณชาติบา้ นเมืองและผูท้ ีอุปการะตัวมา ความไม่เห็นแก่ตวั ไม่เอาเปรียบผูอ้ นื มี
ความจริงใจ มีความปรารถนาดีต่อกัน เอือเฟื อกันตามฐานะและหน้าที และทีสําคัญอย่างมากก็
คือ ความขยันหมันเพียร พยายามฝึ กหัดประกอบการงานทังเล็ก ใหญ่ ง่าย ยาก ด้วยตนเอง
ด้วยความตังใจ ไม่ทอดธุระเพือหาความสะดวกสบายจากการเกียจคร้าน มักง่าย หยาบคาย
สะเพร่า
คุณธรรมเหล่านีเป็ นองค์ประกอบทีสําคัญ และจําเป็ นของการศึกษา ไม่เป็ นรองไป
กว่าวิชาการ ครูตอ้ งปลูกฝั งให้นักเรียน และนักเรียนจะต้องบํารุงรักษาให้เจริญขึนในตัวให้
ครบถ้วน เพือให้มกี ารศึกษาทีสมบูรณ์ ทีช่ วยให้คนเต็มคน สามารถสร้างประโยชน์ให้แก่ตนเอง
และประเทศชาติได้
คนคด คนคร้าน คนหยาบ และคนไม่มอี ายนัน ถึงจะมีความรูท้ ่วมท้นเท่าใดก็ไม่มี
ประโยชน์ เพราะสร้างสรรค์อะไรไม่ได้ ได้แต่ทําลายเพียงอย่างเดียว…”

พระราชทานแก่คณาจารย์ ครูและนักเรียน โรงเรียนวังไกลกังวล


( ๘ มิถนุ ายน ๒๕๒๒ )
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 50
ตัวอย่างแนวทางการวิเคราะห์ความพอเพียง ๒

โดยใช้ หลักสัปปุริสธรรม ๗

๑. รูเ้ หตุ
ความมีเหตุมีผล
๒. รูผ้ ล
๓. รูต้ น
ความพอประมาณ
๔. รูป้ ระมาณ
๕. รูก้ าล
๖. รูบ้ ุคคล มีภมู ิคุม้ กันทีดี
๗. รูช้ ุมชน

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 51


ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในด้านต่างๆ ๒
ด้านเศรษฐกิจ พึงตนเองได้ ใช้จา่ ย/ใช้ของอย่างประหยัด ใช้ชีวิตอย่างประมาณตน
คิด/วางแผนอย่างรอบคอบ ไม่ประมาท เผือทางเลือกสํารอง
ด้านจิตใจ รูผ้ ิดชอบชัวดี ละอายต่อการทําความชัว เข้าใจชีวิตและโลกตามเป็ น
จริง มีจติ สาธารณะ นึกถึงผลประโยชน์สว่ นรวมเป็ นหลัก
ด้านสังคม เห็นคุณค่าของการอยูร่ ว่ มกันในสังคม ช่วยเหลือเกือกูลกัน
รูร้ กั สามัคคี ร่วมสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน
ด้านทรัพยากร รูจ้ กั ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ เลือกใช้ทรัพยากรทีมีอยู่
ธรรมชาติและ อย่างคุม้ ค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด ฟื นฟูทรัพยากรให้มีอยูแ่ ละ
สิงแวดล้อม พอใช้อย่างยังยืน
ด้าน รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีทีเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและ
เทคโนโลยี สภาพแวดล้อม (ภูมิสงั คม) พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาเดิมทีมี
คํานึงถึงประโยชน์ตอ่ คนหมู่มาก

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 52


ตัวอย่างการใช้จ่ายอย่างพอเพียง ๒

พอประมาณ:
พอประ รายจ่ายสมดุลกับรายรับ / ไม่ก่อหนีสินล้นพ้นตัว
ไม่ใช้สิงของเกินฐานะ
มีเหตุมีผล:
ล ใช้จา่ ยอย่างมีเหตุผล / ตามความจําเป็ น / คํานึงถึง
ความประหยัด คุม้ ค่า ประโยชน์สุข
มีภูมิคมุ ้ กัน: รูจ้ กั ออม /แบ่งปั นผูอ้ ืน /ช่วยเหลือสังคม/ทําบุญ
ความรูค้ ู่คุณธรรม: ประกอบอาชีพทีสุจริต ด้วยความซือสัตย์ ตังมัน
ขยันหมันเพียร ไม่ประมาท ใช้สติปัญญาในการ
ตัดสินใจและดําเนินการต่างๆ อย่างรอบรู ้ รอบคอบ
เพือให้เท่าทันต่อการเปลียนแปลง

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 53


ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัว ๒

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 54


สาเหตุการเป็ นหนี ของเกษตรกร ๒

นายเอ็นนู ซือสุวรรณ รองผูจ้ ดั การ ธ.ก.ส. กล่าวว่าสาเหตุการเป็ นหนีของ


เกษตรกร มี ๖ ปั จจัยหลักคือ
๑ ปั จจัยส่วนบุคคล เช่น เกษตรกรมีความรูค้ วามสามารถในการประกอบอาชีพตํา
๒ ปั จจัยทางสังคม รายได้ไม่พอค่าใช้จา่ ย
๓ ปั จจัยทางเศรษฐกิจ รายได้นอ้ ยไม่เหลือพอใช้หนี
๔ ปั จจัยด้านนิสยั -พฤติกรรม เช่น ติดอบายมุข ติดการบริโภคสิงฟุ่ มเฟื อย
๕ ปั จจัยทางการเมือง เช่น ร่วมโครงการพิเศษของรัฐทีมีออกมา
๖ ปั จจัยทางสภาพแวดล้อม เช่น ประสบภัยธรรมชาติ ผลิตผลเสียหาย เป็ นต้น
(สัมมนา “ปั ญหาหนีสินเกษตรกร” 16/10/2550)

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 55


ก.สาธารณสุข - การปรับพฤติกรรมสู่ความพอเพียง ๒

พฤติกรรม
การบริ โภค
การจัดการ พฤติกรรม
สิงแวดล้อม ทางเพศ

พฤติกรรม พฤติกรรม
ความเสี ยง ออกกําลังกาย

สุขภาพจิต

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 56


รายงานการพัฒนาคน ๒๕๕๐ ของ UNDP (NHDR 2007)
2007) ๒

แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงได้รบั การยอมรับในสังคมไทย เนืองจากพระบาทสมเด็จ


พระเจ้าอยู่หวั ทรงแสดงให้เห็นเป็ นตัวอย่าง เป็ นทีประจักษ์ต่อคนไทยทุกคนว่า
แนวคิดนีเกิดจากความห่วงใยทีทรงมีต่อพสกนิกร โดยเฉพาะผูย้ ากไร้
พระอุตสาหะในการค้นคว้าทดลองหาวิธีการต่างๆทีเหมาะสม
พระอัจฉริยภาพในการนําเสนอความคิดทีซับซ้อนให้เป็ นหลักการง่ายๆ
และความเต็มพระทัยทีจะถ่ายทอดแนวคิดให้คนต่างๆได้เข้าใจด้วยพระองค์เอง
พระองค์ทรงเป็ นทังนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา นักเผยแพร่แนวคิด และนักปฏิบตั ิที
เป็ นตัวอย่างทีดีทีสุด ทรงเป็ นตัวอย่างทีโดดเด่นของผูน้ าํ ทีอาจไม่เหมือนใครในโลก
แต่สิงทีโลกสามารถเรียนรูไ้ ด้จากพระองค์คือความรักและแรงบันดาลใจอันยิงใหญ่
ในการทําทุกอย่างเพือความอยูด่ ีมีสุขของพสกนิกรของพระองค์

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 57


UNDP NHDR 2007 ๒

ปั ญหาของการพัฒนาที ผ่านมา
ยุคสมัยแห่งการพัฒนา/รูปแบบ
ของการพัฒนามีความเสียง
ค่อนข้างสูง
 หนีสินเพิม/สัดส่วนเงินออมลด
 ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้
การพัฒนาตามแนวพระราชดําริ
 ผลกระทบต่อสิงแวดล้อม / • สาธิตแนวทางการพัฒนาที
ภัยธรรมชาติ
 ความสัมพันธ์ของครอบครัว
แตกต่าง/เน้นความยังยืน
และชุมชน
• แสดงผลของการดําเนินงานเพือ
 ค่านิยม/ศีลธรรม/จรรยาบรรณ
เสือมลง เป็ นทางเลือกทีเหมาะสมกับ
ระดับขันของการพัฒนาของ
ประเทศ

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 58


ข้อเสนอจาก UNDP NHDR 2007 ๒
๑ เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาทีมีความสําคัญอย่างยิงสําหรับการขจัดความยากจน
และการลดความเสียงทางเศรษฐกิจของคนจน
๒ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นพืนฐานของการสร้างพลังอํานาจของชุมชนและการ
พัฒนาศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็งเพือเป็ นฐานรากของการพัฒนาประเทศ
๓ เศรษฐกิจพอเพียงช่วยยกระดับความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทด้วยการสร้างข้อ
ปฏิบตั ิในการทําธุรกิจทีเน้นผลกําไรระยะยาวในบริบททีมีการแข่งขัน
๔ หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญยิงต่อการปรับปรุงมาตรฐานของธรรมาภิบาล
ในการบริหารงานภาครัฐ
๕ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใช้เป็ นแนวทางในการกําหนดนโยบายของชาติ
เพือสร้างภูมิคุม้ กันต่อสถานการณ์ทีเข้ามากระทบโดยฉับพลัน เพือปรับปรุงนโยบาย
ต่างๆให้เหมาะสมยิงขึน และเพือวางแผนยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมการเติบโตที
เสมอภาคและยังยืน
๖ ในการปลูกฝังจิตสํานึกพอเพียง จําเป็ นต้องมีการปรับเปลียนค่านิยม และความคิด
ของคนเพือให้เอือต่อการพัฒนาคน
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 59
(ร่าง)
ง)
แนวทางการดําเนิ นงาน สถานศึกษาพอเพียง

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 60


(ร่าง)
ง)
แนวทางการดําเนิ นงาน สถานศึกษาพอเพียง

โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 61


โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๑ 62
ติดต่อเรา
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง
สํานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย ์
๑๗๓ ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐
โทรศัพท์ ๐๒-๖๘๗-๓๖๖๒
โทรสาร ๐๒-๒๘๒-๘๒๒๖
mail@sufficiencyeconomy.org
www.sufficiencyeconomy.org

You might also like