You are on page 1of 11

รายงานเชิงวิชาการ

การอ,านและพิจารณาวรรณคดี เรือ่ ง

คัมภีร<ฉันทศาสตร< แพทย<ศาสตร<สงเคราะห<

โดย

นางสาวพิมพ<ชนก เอกภาคสวัสดิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปJที่ ๕/๘ เลขที่ ๕


นายบุรินทร< อินทชื่น ชั้นมัธยมศึกษาปJที่ ๕/๘ เลขที่ ๗
นางสาวดลยา งามกาญจนรัจน< ชั้นมัธยมศึกษาปJที่ ๕/๘ เลขที่ ๑๑
นางสาวเฌนิศา ศิริวงษ<ศิลปU ชั้นมัธยมศึกษาปJที่ ๕/๘ เลขที่ ๑๘

เสนอ

อ. พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ<

ภาคเรียนที่ ๒ ปJการศึกษาที่ ๒๕๖๒ โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัย มหิดล

รายงานนี้เปZนส,วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรู[โดยใช[โครงงานเปZนฐาน

(Project Based Learning)

รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปJที่ ๕
คำนำ

รายงานเล,มนีเ้ ปZนส,วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยในระดับชั้นมัธยมศึกษาปJที่ ๕ โดยมีวัตถุประสงค<เพื่อ


วิเคราะห<และพิจารณาวรรณคดีเรื่อง คัมภีร<ฉันทศาสตร< แพทย<ศาสตร<สงเคราะห< ในรูปแบบการเขียนรายงานเชิง
วิชาการในด[านเนื้อเรือ่ ง กลวิธีในการประพันธ< รวมไปถึงคุณค,าที่วรรณคดีเรือ่ งนี้ได[มอบให[ผู[อ,าน

คณะผู[จัดทำหวังเปZนอย,างยิง่ ว,าข[อมูลในรายงานเล,มนีจ้ ะสามารถให[ประโยชน<แก,ผู[ทสี่ นใจศึกษาเกี่ยวกับวรรณคดี


เรื่อง คัมภีร<ฉันทศาสตร< แพทย<ศาสตร<สงเคราะห< ได[มากก็นอ[ ย หากมีข[อผิดพลาดประการใดทางคณะผูจ[ ัดทำต[อง
ขออภัยมา ณ ที่นี้และขอน[อมรับทุกคำแนะนำเพื่อไปปรับปรุงในอนาคต

ทั้งนี้รายงานเล,มนีส้ ำเร็จได[ด[วย ความช,วยเหลือจาก อาจารย<พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ< คณะผูจ[ ัดทำขอขอบคุณ


คำแนะนำของอาจารย<เปZนอย,างยิ่งรวมไปถึงข[อเสนอแนะเพือ่ ให[ผจู[ ัดได[ทำรายงานเล,มนี้อย,างสำเร็จลุล,วง

คณะผู[จัดทำ

๑๔/๕/๒๕๖๓


สารบัญ

หน[า

๑. การอ0านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม ๓

๑.๑ เนื้อเรื่อง ๓

๑.๒ โครงเรื่อง ๓

๑.๓ ตัวละคร ๓

๑.๔ ฉากท[องเรื่อง ๓

๑.๕ บทเจรจาหรือราพึงราพัน ๓

๑.๖ แก,นเรื่อง ๓

๒. การอ0านและพิจารณาการใชCภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม ๕

๒.๑ การสรรคํา ๕

๒.๒ การเรียบเรียงคํา ๕

๒.๓ การใช[โวหาร ๖

๓. การอ0านและพิจารณาประโยชนJหรือคุณค0าในวรรณคดีและวรรณกรรม ๘

๓.๑ คุณค,าทางปxญญา ๘

๓.๒ คุณค,าทางศีลธรรม ๘

๓.๓ คุณค,าทางวัฒนธรรม ๙

บรรณานุกรม ๑๐


๑. การอ0านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

๑.๑ เนื้อเรื่อง

คัมภีร<ฉันทศาสตร<แพทย<ศาสตร<สงเคราะห<เปZนตำราที่มุ,งเน[นถึงความสำคัญเเละ รวบรวมหลักจรรยาบรรณของ
แพทย< ตำราได[แสดงให[เห็นถึงความสำคัญของอวัยวะในร,างกาย โดยเปรียบเทียบร,างกายของมนุษย<กบั บ[านเมือง
ซึ่งมีดวงจิตเปZนกษัตริย< น้ำดีเปZนวังหน[า อาหารเปZนเสบียง และมีโรคภัยเปZนศัตรู ซึ่งเปรียบแพทย<เปZนทหารที่มี
หน[าที่คอยดูแลป|องกันเมืองจากศัตรู เพือ่ ชี้ให[เห็นถึงความสำคัญของแพทย< ตำรานี้ยังระบุถึงคุณสมบัติของแพทย<ที่
ดี และลักษณะของแพทย<ที่ไม,ควรเปZน ในตำรามีการรวบรวมความรู[เกี่ยวกับ โรคทับ ๘ ประการ หรือโรคแทรก
ซ[อนที่พบได[ทั่วไป

๑.๒ โครงเรื่อง

โครงเรื่อง มีการลำดับความเริ่มต[นด[วยบทไหว[ครู ต,อด[วยความสำคัญของแพทย< จรรยาบรรณแพทย< ซึ่งเปZน


คุณสมบัติที่แพทย<พึงมี และตอนท[ายกล,าวถึงทับ ๘ ประการ

๑.๓ ตัวละคร

คัมภีร<ฉันทศาสตร<แพทย<ศาสตร<สงเคราะห< มีเนื้อหาที่ให[ความสำคัญเกี่ยวกับจรรยาบรรณของแพทย< แต,ไม,มีตัว


ละครหลักในเรือ่ ง

๑.๔ ฉากท[องเรื่อง

คัมภีรฉ< ันทศาสตร<แพทย<ศาสตร<สงเคราะห<เปZนตำราเกี่ยวกับความสำคัญเเละจรรยาบรรณของแพทย< จึงไม[มุ,งเน[น


หรือบอกกล,าวถึงฉากท[องเรื่อง มีเพียงเเต,การอุปมาอวัยวะในร,างกายเปรียบเสมือนนคร หรือเรียกว,า กายนคร

๑.๕ บทเจรจาหรือรำพึงรำพัน

การใช[สำนวนเเละคำอุปมาเห็นได[เด,นชัดในคำภีร< เพื่อสร[างภาพให[ผู[อ,านเห็นได[ชัด ไม,พบการใช[บทเจรจาระหว,าง


ตัวละครหรือรําพึงรำพันเลย มีเพียงเเต,คำบรรยายเเละการบอกเล,าเนื้อหาจากผู[เขียนสู,ผอู[ ,านเท,านั้น

๑.๖ แก,นเรื่อง

คัมภีร<ฉันทศาสตร<แพทย<ศาสตร<สงเคราะห< มีเนื้อหาหลักๆอยู,สองสิ่ง สิง่ เเรกคือ จรรยาบรรณเเพทย< เเละคุณธรรม


ของเเพทย<ที่ดีควรมี อาทิ เเพทย<ที่ดีต[องรอบคอบ ไม,ประมาท เเละไม,อวดความรู[ของตนจนดำเนินการรักษาผิด


เเละทำให[อาการคนไข[ทรุด สิ่งทีส่ องคือ การวินจิ ฉัยโรคเเละรักษาโรคต,างๆ อีกทัง้ จุดมุง, หมายของคัมภีร<นี้คือ เพื่อ
สืบทอดเเพทย<เเผนไทยให[คนรุ,นหลัง เเละให[ราษฎรที่ป•วยไข[สามารถรักษาตนเองได[


๒. การพิจารณาการใชCโวหารในวรรณคดีและวรรณกรรม

๒.๑ การสรรคำ

คำที่กวีเลือกใช[นั้นต[องมีความเหมาะสมกับเนือ้ เรื่องและบุคคล รวมถึงสอดคล[องกับลักษณะของการประพันธ< ซึ่ง


การสรรคำหรือการเลือกคำนั้นเปZนสิ่งที่สำคัญสิง่ หนึ่งในวรรณคดีเพราะจะทำให[เรือ่ งสื่อความหมายและอารมณ<ได[
อย,างชัดเจน

๒.๑.๑ เลือกให[คําให[ถูกต[องตามความหมายที่ต[องการ

ในบทประพันธ<นี้ กวีได[เลือกใช[คาํ ศัพท<ที่สามารถถ,ายทอดความรู[สกึ นึกคิดให[ผู[อ,านเข[าใจได[อย,าง ตรงไปตรงมา เช,น

อโนตัปปxงบทบังคับ บาปทีล่ ับอย,าพึงทำ


กลัวบาปแล[วจงจำ ทั้งที่แจ[งจงเว[นวาง
อโนตัปปxงแปลว,าความไม,กลัวต,อบาป เปZนคำทีม่ ีความหมายตรงตัว ทำให[บทประพันธ<กระชับและเข[าใจง,าย ซึ่งใน
บทนี้แปลความออกมาได[ว,า ความระอายและเกรงกลัวต,อบาปเปZนสิง่ สำคัญ ทั้งต,อหน[าและลับหลังผู[คน

๒.๑.๒ การเลือกใช[คําให[เหมาะสมแก,ลกั ษณะของคําประพันธ<

บทประพันธ<นี้เปZนร[องกรอง กาพย<ยานี ๑๑ ซึง่ วรรคหน[าประกอบไปด[วย ๕ คำ ตามด[วยวรรคหลังอีก ๖


คำ เช,น

อย,าถือว,าตนดี ยังจะมียงิ่ ขึ้นไป

อย,าถือว,าตนใหญ, กว,าเด็กน[อยผูเ[ ชี่ยวชาญ

๒.๒ การเรียบเรียงคํา

เมื่อเลือกสรรคำทีเ่ หมาะสมแล[ว ต[องนำคำเหล,านั้นมาเรียบเรียงอย,างโดยคำนึงถึงหลักของฉันทลักษณ< ซึ่งมีกลวิธี


ดังนี้


๒.๒.๑ เรียงข[อความที่บรรจุสารสำคัญไว[ท[ายสุด
เปZนการทำให[ลำดับเนื้อหามีความกระชับ หนักแน,น เข[าใจง,าย และตรงกับวัตถุประสงค<ของกวี โดย
อาจจะเริม่ ด[วยเรือ่ งธรรมดาแล[วค,อยๆเข[มข[นและนำใจความสำคัญ เช,น

ครูพักแลครูเรียน อักษรเขียนไว[ตามมี

จงถือว,าครูดี เพราะได[เรียนจึ่งรู[มา

ให[ยกย,องครูเพราะมีครูจงึ มีวชิ าความรู[ ทั้งครูพักลักจำ ครูที่สั่งสอนปกติ รวมไปจนถึงตำรา เนื่องจาก


เพราะแพทย<ได[เรียนรู[มาจากบุคคลเหล,านีจ้ ึงได[มาซึ่งความรูท[ างวิชาชีพ

๒.๓ การใช[โวหาร

การใช[โวหาร คือการใช[ภาษาต,างออกไปจากที่พูดและเขียนปกติเพือ่ ก,อให[เกิดภาพและอารมณ<ความรู[สกึ ต,างๆ


กลวิธีนี้จะสามารถทำให[ผอู[ ,านเกิดความเข[าใจในบทประพันธ<มากขึ้น ซึ่งโวหารที่ถูกนำมาใช[อย,างมากมายในบท
ประพันธ<เรื่องนี้ได[แก, อุปมาโวหารและอุปลักษณ<โวหาร นอกจากนั้น การใช[โวหารยังทำให[เกิดเปZนจุดเด,นของ
วรรณกรรมเรื่องนี้เนือ่ งจากภาษาในการนำเสนอเนือ้ หาทางการแพทย<มีความง,ายต,อการเข[าใจ

๒.๓.๑ อุปมาโวหาร

คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนอีกสิ่งหนึ่งเพื่อให[ผู[อ,านมีความเข[าใจมากขึ้น โดยใช[คำต,างๆ เช,น เปรียบ


เหมือน ดังตัวอย,างในด[านล,าง

ตัวอย,างที่ ๑

ดวงจิตคือกษัตริย< ผ,านสมบัติอันโอฬาร<

ข[าศึกคือโรคา เกิดเข,นฆ,าในกายเรา

ตัวอย,างที่ ๒

ให[ดำรงกระษัตริย<ไว[ คือดวงใจให[เร,งยา

อนึ่งห[ามอย,าโกรธา ข[าศึกมาจะอันตราย


ในบทนี้ มีการใช[ภาพพจน<แบบอุปมาโดยการเปรียบเทียบอวัยวะในร,างกายกับการเมืองการปกครอง โดย
การแทนร,างกายเปZนบ[านเมือง ซึ่งมีดวงจิตทีเ่ ปรียบดัง่ พระมหากษัตริย<ซงึ่ เปZนสิง่ ทีส่ ำคัญทีส่ ุดทัง้ ในร,างกาย
และเมือง นอกจากนั้นยังเปรียบโรคภัยเปZนดัง่ ข[าศึกที่เข[ามาทำบายบ[านเมือง

บทกลอนนีส้ ื่อว,าร,างกายของมนุษย<กเ็ หมือนกับเมืองๆหนึ่ง หัวใจเปรียบดั่งกษัตริยท< ี่สำคัญทีส่ ุดใน


บ[านเมือง เปรียบเทียบโรคภัยเปZนดั่งข[าศึกทีเ่ ข[ามาโจมตีเมือง การทีร่ ักษาหัวใจของร,างกายก็เหมือนรักษา
กษัตริย<เอาไว[ แพทย<ต[องใจเย็นๆและมีสติเพราะอาจะเกิดอันตรายได[

๒.๓.๒ อุปลักษณ<โวหาร

คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเปZนอีกสิ่งหนึ่ง ทีม่ ีสมบัติหลักบางประการร,วมกัน โดยส,วนมากจะใช[คำว,า


“เปZน” และ “คือ” เพือ่ สื่อความหมายให[ชัดเจนมากขึ้น ดั่งตัวอย,างด[านล,าง

เปรียบแพทย<คือทหาร เร,งรักษาเขม[นหมาย

อาหารอยู,ในกาย คือเสบียงเลี้ยงโยธา

เปรียบแพทย<เปZนดัง่ ทหารทีร่ ู[ผงั เมืองต,างๆเปZนอย,างดี เมื่อข[าศึกมาบุก ทหารจะเปZนคนปกป|องเมืองไว[อย,างดี


เช,นเดียวกับแพทย<ที่จะทำหน[าที่รักษาร,างกายของคนไข[อย,างเต็มที่


๓. การอ0านและพิจารณาประโยชนJหรือคุณค0าในวรรณคดีและวรรณกรรม

๓.๑ คุณค,าทางปxญญา

๓.๑.๑ ให[ข[อคิดสําหรับการนําไปใช[ในชีวิตประจําวัน

ในคัมภีร<ฉันทศาสตร<ได[มกี ารกล,าวถึงจรรยาแพทย<และคุณสมบัติที่ไม,ดีของแพทย< ซึ่งหมายความว,าการ


เปZนแพทย<ที่ดีนั้น ต[องมีความรอบคอบ รับผิดชอบ และยอมรับเวลาตนไม,สามารถทำได[ คำสอนเหล,านี้ก็
สามารถนำไปใช[ในชีวิตประจำวัน ในอาชีพของแต,ละคน โดยเฉพาะอาชีพทีเ่ กี่ยวกับชีวิตผู[คน เช,น

ป„ตตํคือวังหน[า เร,งรักษาเขม[นหมาย

อาหารอยู,ในกาย คือเสบียงเลี้ยงโยธา

๓.๑.๒ ให[ความรู[เรื่องศัพท<ทางการแพทย<แผนโบราณ

คัมภีร<ฉันทศาสตร< แพทย<ศาสตร<สงเคราะห<เปZนตาราแพทย<ของไทยโบราณ ได[รวบรวมศัพท<การแพทย<จาก


อดีตไว[มากมาย ความรู[ด[านการแพทย<นั้นเปZนสิ่งที่ควรศึกษา เพราะเปZนสิ่งทีเ่ กิดจากสติปxญญาและการ
เรียนรู[ที่ถูกพิสูจน<โดยแพทย<และเภสัชกร การแพทย<ปจx จุบันสามารถนำไปใช[ได[เช,น

ให[ดำรงกระษัตริย<ไว[ คือดวงใจให[เร,งยา

อนึ่งห[ามอย,าโกรธา ข[าศึกมาจะอันตราย

๓.๒ คุณค,าทางศีลธรรม

คัมภีร<ฉันทศาสตร<นั้นสอนแพทย<เรื่องความสำคัญและคุณสมบัติที่แพทย<ควรมี เช,น แพทย<ไม,ควรลองยากับผู[ป•วย


การให[แพทย<อื่นรักษา การไม,โลภ และการไม,ประมาทหรือหลงตน ตัวคัมภีร<ฉันทศาสตร<นั้นเองก็ได[เตือนในเรื่อง
ข[อบกพร,องในการแพทย< และได[บอกถึงข[อดีในการแก[ขอ[ บกพร,องเหล,านีเ้ ช,น สามารถช,วยคนได[เร็วขึ้น ไม,
สิ้นเปลืองค,าใช[จ,าย และคัมภีร<ฉันทศาสตร<นั้นก็ได[เตือนแพทย<อายุสูงไม,ให[หลงตัวเองจนลืมความสำคัญของแพทย<
ยุคใหม,


๓.๓ คุณค,าทางวัฒนธรรม

๓.๓.๑ สะท[อนให[เห็นความเชื่อของสังคมไทย

คัมภีร<ฉันทศาสตร<นั้นไม,ได[แค,สอนแพทย< และได[แสดงให[ผู[อา, นได[เห็นถึงความเชื่อของสังคมในเวลานั้น


แถมยังประสมกับพระพุทธศาสนา ซึ่งสามารถเห็นได[จากการใช[ศัพท<ภาษาบาลี เช,น มิจฉา (ความผิด)
และ พิริยะ (ความเพียร) และจากการใช[หลังคำสอนทางพุทธศาสนาเช,น

ผู[ใดจะเรียนรู[ พิเคราะห<ดูผู[อาจารย<

เที่ยงแท[ว,าพิสดาร ทั้งพุทธไสยจึ่งควรเรียน


บรรณานุกรม

ศึกษาธิการ, กระทรวง. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย


วรรณคดีวิจักษJ ชั้นมัธยมศึกษาปRที่ ๕ กลุ0มสาระการเรียนรูCภาษาไทย. ลาดพร[าว : โรงพิมพ< สกสค., พ.ศ.
๒๕๕๕. ๑๓๑

๑๐

You might also like