You are on page 1of 12

รายงานเชิงวิชาการ  

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรือง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มท ั รี  


 
 
 
 
 
โดย  
 
นาย นรภัทร อาจอนุรก ั ษ์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/2 เลขที 3  
นางสาว อธิชา เฉลิมช่วง ชันมัธยมศึกษาปที 5/2 เลขที 5  
นางสาว ปราลินณ์ จงรุง่ สกุลโรจน์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/2 เลขที 8 
นาย ภูกิจ ลิมโยธิน ชันมัธยมศึกษาปที 5/2 เลขที 16 
  
 
 
 
 
 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เสนอ  
อ.พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์ 
 
 
ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2562  
โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล  
 
 
รายงานนีเปนส่วนหนึงของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเปนฐาน  
(Project Based Learning)  
รายงานวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชันมัธยมศึกษาปที 5   
 
   
คํานํา  
 
รายงานเรืองนีเปนส่วนหนึงของวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชันมัธยมศึกษาปที5 โดยมีจุด
ประสงค์ ไว้เพือให้ศก
ึ ษาหาความรูใ้ นเรืองการอ่านและพิจารณาเนือหา การใช้ภาษา และคุณค่าในวรรณกรรม
เรือง มหา เวสสันดรชาดก กัณฑ์มท ั รี   
ทังนีทางคณะผูจ ้ ัดท าหวังเปนอย่างยิงว่ารายงานเล่มนีจะให้ความรูแ
้ ละเปนประโยชน์ต่อทังผูอ
้ ่าน 
นักเรียน และนักศึกษา หากมีขอ ้ ผิดพลาดประการใด ขออภัยใน ณ ทีนีด้วย  
 
คณะผูจ ้ ัดทํา 
27/05/2020   
   

2
 
สารบัญ  หน้า  
 
1.​ ​การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม    4  
1.1 เนือเรือง    4  
1.2 โครงเรือง    4  
1.3 ตัวละคร    4  
1.4 ฉากท้องเรือง     5  
1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน      6  
1.6 แก่นเรือง    6  
2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม    7  
2.1 การสรรคํา    7  
2.2 การเรียบเรียงคํา      8  
2.3 การใช้โวหาร    8  
3​. ก
​ ารอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม  10 
3.1 คุณค่าด้านวรรณศิลป  10 
3.2 คุณค่าด้านสังคม    10  
3.3 คุณค่าด้านศีลธรรม  11  
3.4 คุณค่าด้านความเชือ  11 
4. บรรณานุกรม  12     

3
1. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม 
 
1.1 เนือเรือง 
 
พระนางมัทรีต้องเสด็จออกจากอาศรมเพือไปหาของปา เเต่ระหว่างการเดินทางก็ได้เห็นสิงเเปลกๆ 
เช่น ดอกไม้กลายเปนผลไม้ ท้องฟากลับกลายเปนมืดมัว และท้องฟากลับกลายเปนสีแดง ทําให้เปนห่วงพระ
โอรสเเละพระธิดา จึงทรงรีบเก็บผลไม้และเดินทางกลับ ในระหว่างการกลับอาศรมไปหาลูกทังสอง พระนางได้
พบกับ พญาไกรสรราชสีห์ พญาเสือโคร่ง และพญาเสือเหลือง ทําให้เดินทางต่อไม่ได้จนกระทังตอนฟามืด เทว
ดาทีเเปลงกายมาก็ได้ยอมปล่อยพระนางไป 
หลังจากผ่านอุปสรรค์ต่างๆมา พระนางมัทรีรบ ี วิงกลับไปทีพระอาศรม หวังทีจะได้เห็นลูกๆ เเต่นาง
กลับไม่เจอลูกๆของเธอจึงไปถามพระเวสสันดร เเต่พระเวสสันดรทรงไม่ตอบคําถามของพระนาง เพือไม่ให้
เปนทุกข์ เเละ ทรงตรัสว่ากล่าวพระนางเรืองทีกลับบ้านดึกเพราะคิดนอกใจพระองค์ พระนางมัทรีเสียพระทัย
มากจนสลบไป เเละหลังจากตืนขึนมา พระเวสสันดรได้บอกความจริงว่าได้พระราชทานลูกทังสองให้ชูชกไป
แล้ว หากยังมีวาสนาต่อกันคงได้พบกันอีกและขอให้พระนางมัทรีทรงอนุโมธนาในการบําเพ็ญทานของ
พระองค์ พระนางจึงอนุโมทนาตามคําพูดของสามี 
 
 
1.2 โครงเรือง  
 
สามีเเละภรรยาคู่หนึงทีมีลก ู สองคน อาศัยอยูใ่ นปา วันหนึงเมือภรรยาไม่อยูบ ่ า้ น สามีได้มอบลูกทีสอง
คนให้กับคนอืนด้วยความใจบุญ เเต่เมือภรรยากลับมาก็เศร้าโศกเสียใจทีลูกหายไป สุดท้ายเมือสามีได้บอก
เหตุผลทียกลูกทังสองให้ไป นางก็ขออนุโมทนาบุญด้วย  
  
1.3 ตัวละคร  
 
1.3.1 พระเวสสันดร  
ทรงเปนผูท ้ ีมีจิตเปนกุศล ทรงให้ทานแก่ผทู้ ีต้องการ ถึงแม้ว่าสิงนันจะสาคัญกับพระองค์เช่นกัน 
...อันสองกุมารนีพีให้เปนทานแก่พราหมณ์แต่วันวานนีแล้ว  
พระน้องแก้วเจ้าอย่าโศกศัลย์  
จงตังจิตของเจ้านันให้โสมนัสศรัทธา  
ในทางอันก่อกฤษดาภินห ิ ารทานบารมี…  
 
1.3.2 พระนางมัทรี 
เปนแม่ทีดีของลูก ทรงรักและห่วงลูกของตนมาก 
…พระทัยนางให้หวันหวาดพะวงหลังตังพระทัยเปนทุกข์ถึงพระเจ้าลูกมิลืมเลย  
เดินพลางทางเสวยพระโศกพลาง  
พระนัยเนตรทังสองข้างไม่ขาดสดายพระอัสสุชล…  
เปนภรรยาทีดีของสามี คอยสนับสนุนสามีของตน และมีจิตใจทีอ่อนโยนและมีจิตเปนกุศล  
… พระพุทธเจ้าข้าอันสองกุมารนี 2 เกล้ากระหม่อมฉานได้อุตสาหะถนอมย่อมพยาบาลบํารุง
มา 
ขออนุโมทนาด้วยปยบุตรทานบารมี  
ขอให้นาพระหฤทัยพระองค์จงผ่องแผ้วอย่ามีมจ ั ฉริยธรรมอกุศล  
อย่ามาปะปนในน้าพระทัยของพระองค์เลย…  
 
 
 
 
 

4
1.4 ฉากท้องเรือง  
 
ฉากท้องเรืองในมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มท ั รีนนมี
ั ฉากท้องท้องเรืองอยูใ่ นปาและเขาวงกต ซึงเปนฉาก 
ทีพระนางมัทรีตามหาลูกทังสองคนในปา ฉากแรกคือฉากในปาทีเทวบุตรสามองค์เนรมิตกายเปนสัตว์รา้ ยทัง
สาม เพือขวางทางพระนางมัทรีและฉากทีพระนางมัทรีเข้าไปตามหาลูกในปาจนหมดสติไปหลังจากทีกลับ
อาศรมแล้วไม่ เจอลูก นอกจากนีฉากในเรืองยังข้องเกียวกับความโศรกเศร้าของพระนางมัทรีอีกด้วย 
 
“เหตุไฉนไม้ทีผลเปนพุม ่ พวง ก็กลายกลับเปนดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร แถวโน้นก็แก้วเกดพิกล ุ แกมกับ 
กาหลงถัดนันก็สายหยุดประยงค์และยมโดย พระพายพัดก็รว ่ งโรยรายดอกลงมูนมองแม่ยงั ได้เก็บดอกมาร้อย
กรอง ไปฝากลูก เมือวันวานก็เพียนผิดพิสดารเปนพวงผลผิดวอกลแต่ก่อนมา (สพฺพา มุยฺหนฺเม ทิสา)ทังแปด
ทิศก็มด
ื มิดมัวมนทุกแห่งหน ทังขอบฟาก็ดาษแดงเปนสายเลือดไม่เว้นวายหาย เหือดเปนลางร้ายไปรอบข้าง”  
 
บทนีเปนฉากทีในปาทีธรรมชาติในปาผิดปกติไปเปนส่วนในพระนางมัทรีวิตกกังวล 
 
“อย โส อสฺสโม โอพระอาศรมเจ้าเอ๋ยน่าอัศจรรย์ใจ แต่ก่อนดูนสุ ี กใสด้วยสีทอง เสียงเนือนกนีราร้องสําราญรัง
เรียก คู่คข
ู ยับขัน ทังจักจันพรรณลองไนเรไรร้องอยูห่ ริงๆ ระเรือยโรย โหยส าเนียงดังเสียงสังคีตขับประโคม
ไพร โอเหตุ ไฉนเหงาเงียบเมือยามนี ทังอาศรมก็หมองศรีเสมือนหนึงว่าจะเศร้าโศก เออชะรอยว่าพระเจ้าลูก
จะวิโยคพลัดพราก ไปจากอกพระมารดาเสียจริงแล้กระมังในครังนี ”  
 
บทนีเปนฉากทีพระนางมัทรีกลับอาศรมแล้วรูส ้ กึ ว่าจากทีเคยสดใสกลับเงียบเหงาทําให้ 
พระนางแน่ในว่าสองกุมารน่าจะจากไปแล้ว  
   

5
 
1.5 บทเจรจารําพึงรําพัน  
 
“ ...( นนุ มทฺทิ ) ดูกรนางนาฏ พระน้องรัก ( ภทฺเท ) เจ้าผูม ้ พ ี กั ตร์อันผุดผ่องเสมือนหนึงเอาน้าทองมาทาบ
ทับประเทืองผิว ราวกะว่าจะลอยลิวเลือนลงจากฟา ใครได้เห็นเปนขวัญตาเต็มจะหลงละลายทุกข์ปลุกเปลือง 
อารมณ์ชายให้เชยชืน จะนังนอนเดินยืนก็ต้องอย่าง ( วราโรหา ) พร้อมด้วยเบญจางคจริตรูปจําเริญ โฉม 
ประโลมโลกล่อแหลมวิไลลักษณ์ ( ราชปุตต ฺ ี ) ประกอบด้วยเชือศักดิสมมุติวงศ์พงศ์กษัตรา เออก็เมือเช้าเจ้าจะ 
เข้าปาน่าสงสารปานประหนึงว่าจะไปมิได้ ทําร้องไห้ฝากลูกมิรูแ ้ ล้ว ครันคลาดแคล้วเคลือนคล้อยเข้าสูด ่ ง ปาน 
3 ประหนึงว่าจะหลงลืมลูกสละผัวต่อมืดมัวจึงกลับมา ทําเปนบีบนาตาตีอกว่าลูกหาย ใครจะไม่รูแ ้ ยบคาย
ความคิด หญิง ถ้าแม้นเจ้าอาลัยอยูด ่ ้วยลูกจริง ๆ เหมือนวาจา ก็จะรีบกลับเข้ามาแต่วีวันไม่ทันรอน เออนีเจ้า
เทียวพเนจร นอนตามสนุกใจ ชมนกชมไม้ในไพรวันสารพันทีจะมี ทัง ษีสท ิ ธ์วิทยาธรคนธรรพ์ เทพารักษ์ผม ู้ ี
พักตร์อันเจริญ เห็นแล้วก็นา่ เพลิดเพลินไม่เมินได้ หรือเจ้าปะผลไม้ประหลาด รสสดสุกทรามเสวยไม่เคยกิน 
เจ้าฉวยชิมชอบลินก็ หลงฉันอยูจ ่ ึงช้า…”  
 
ฉากนีพระเวสสันดรน้อยใจทีพระนางมัทรีกลับอาศรมมาไม่ตรงเวลา  
 
“( สา มทฺที ) ส่วนสมเด็จพระยอดมิงเยาวมาลย์มท ั รี เมือได้สดับคําพระราชสามีบริภาษณานาง ที 
ความโศกก็เสือมสร่างสงบจิตเพราะเจ็บใจ จึงก้มพระเศียรลงกราบไหว้แล้ววันทนาพลาง นางจึงทูลสนอง พระ
ราชบัญญัติว่า พระพุทธเจ้าข้า ควรมิควรสุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดทีโทษานุโทษเปนล้นเกล้า ด้วย ข้า
พระพุทธเจ้ากลับมาเวลาค่า ทังนีเพราะเปนกระลีขนในไพรวั ึ น พฤกษาทุกสิงสารพันก็แปรปรวนทุกประการ 
ทังพืนปาพระหิมพานต์ก็ผด ั ผันหวันไหวอยูว ่ ิงเวียนเปลียนเปนพยับมืดไม่เห็นหน ข้าพระบาทนีร้อนรนไม่หยุด
หย่อน แต่สก ั อย่าง แต่เดินมายังเกิดประหลาดลางขึนในกลางพนาลี พบพญาราชสีหส ์ องเสือทังสามสัตว์สกัด
หน้าไม่มาได้ ต่อสินแสงอโณทัยจึงได้คลาเคลือน ใช่จะเปนเหมือนพระองค์ดํารินนก็ ั หามิได้ พระพุทธเจ้าข้า 
ตังแต่เกล้า กระหม่อมฉันตกมาเปนข้าน้อย พระองค์เห็นพิรุธร่องรอยร้าวรานทีตรงไหน ทอดพระเนตรสังเกต
ไว้แต่ปางก่อน จึงเคืองค่อนด้วยคําหยาบยอกใจเจ็บจิตเหลือกําลัง พระคุณเอ่ยจะคิดดูมงเปนไรเล่ ั าว่า มัทรีนี
เปนข้าเก่าแต่ก่อน มาดังเงาตามพระบาทาก็เหมือนกัน นอกจากนันทีแน่นอนคือ นางไหนอันสนิทชิดใช้แต่ก่อน
กาล ยังจะติดตาม พระราชสมภารมาบ้างละหรือ ได้แต่มท ั รีแสนดือผูเ้ ดียวดอก ไม่รูจ ้ ักปลินปลอกพลิกไพล่เอา
ตัวหนี มัทรีสต ั ยา สวามิภักดิรักผัวเพียงบิดาก็ว่าได้ ถึงจะยากเย็นเข็ญใจก็ตามกรรม...”  
ฉากนีพระนางมัทรีได้ทําการโต้ตอบพระเวสสันดรหลังจากทีท่านตัดพ้อว่ากลับผิดเวลาว่าไป
หาของปาแล้วพบกับสัตว์ทังสาม  
 
“( ทชฺชา สปฺปุรโิ ส ทาน ) มัทรีเอ่ย อันอริยสัตบุรุษเห็นปานดังตัวพีฉะนัน ถึงจะมีขา้ วของสัก เท่าใด ๆ( 
ทิสวฺ า ยาจกมาคเต ) ถ้าเห็นยาจกเข้ามาใกล้ไหว้วอนขอไม่ยอ ่ ถ้อในทางทาน จนแต่ชนลู ั กรักยอด สงสารพียัง
ยกให้เปนทานได้ อันสองกุมารนีไซร้เปนแต่ทานพาหิรกะภายนอกไม่อิมหนัม พีจะใคร่ให้อัชฌัติ กทานอีกนะ
เจ้ามัทรี ถ้าแม้นมีบุคคลผูใ้ ดปรารถนาเนือหนังมังสังโลหิตดวงหทัยนัยนเนตรทังซ้ายขวา พีก็จะ แหวะผ่าให้
เปนทานไม่ยอ ่ ท้อเพียงนีมัทรีเอ่ย จงศรัทธาด้วยอนุโมทนาทานในกาลบัดนีเถิด”  
 
ในฉากนีพระเวสสันดรได้บอกพระนางมัทรีว่าได้ยกลูกให้กับชูชกเสียแล้ว  
 
1.6 แก่นเรือง  
ในเรืองนีนันส่วนๆใหญ่แล้วจะพูดถึงความรักทีแม่มต ี ่อลูก จากความเศร้าโศรกของพระนางมัทรีและ
ฉากที พระนางมัทรีเข้าไปปาไปเพือตามหาลูกจนหมดสติไป   
 
   

6
2 การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 
 
ในการประพันธ์วรรณคดีนน ั กวีจําเปนอย่างยิงทีจะคํานึงถึงความประณีตและความเหมาะสมในการ
เลือกสรรถ้อยคํา ให้ผอ ู้ ่านมีความคล้อยตามไปกับบทกวีนนๆ ั โดยการใช้ภาษาในการประพันธ์ทีเลือกสรร มา
แล้ว นํามาจัดวาง อย่างเหมาะสม และคํานึงถึงความสละสลวยของคํา ดังนี 
 
2.1. การสรรคํา 
 
ในการสรรคํา กวีจําเปนอย่างยิงในการ เลือกคําทีมีความเหมาะสมและตามความต้องการ โดยทังนีจะ
ต้องอิงให้เหมาะสมกับตัวเนือเรือง และ ฐานะของบุคคลในเรือง ซึงนอกจากความเหมาะสมแล้ว ความสละ
สลวย ความงาม ความไพเราะทางด้านเสียง ก็ยงั เปนอีกหนึงปจจัยหลักในการเขียนบทประพันธ์ด้วย ดังต่อไป
นี 
 
เลือกใช้คําให้เหมาะสมกับเรืองและฐานะของบุคคลในเรือง 
 
“...เมือสมเด็จพระมัทรีเธอกราบทูลพระราชสามีสก ั เท่าใดๆ ท้าวเธอมิได้ตรัสปราศรัยจํานรรจา นาง
ยิงกลุ้ม กลัดขัดพระอุราผะผ่าวร้อน ข้อนพระทรวงทรงพระกันแสงว่าเจ้าแม่เอ่ย แม่มเิ คยได้เคืองแค้นเหมือน
หนึงครัง นี เมือจากบุรท ี เุ รศมา ก็พร้อมหน้าทังลูกผัวเปนเพือนทุกข์ สําคัญว่าจะเปนสุขประสายากเมือยามจน 
ครันลูก หายทังสองคนก็สนคิ ิ ด บังคมทูลพระสามีก็มไิ ด้ตรัสแต่สก ั นิดสักหน่อยหนึง ท้าวเธอก็ขงึ ขังตึงพระองค์ 
ดูเหมือน พระขัดเคืองเต็มเดือดด้วยอันใด นางก็เศร้าสร้อยสลดพระทัย ดังเอาเหล็กแดงมาแทงใจให้เจ็บจิตนี
เหลือทน อุปมาเหมือนคนไข้หนักแล้วมิหนํายังแพทย์เอายาพิษมาวางซาให้เวทนา เห็นชีวานีคงจะไม่รอดไป
สักกีวัน พระคุณเอ่ย วาสนามัทรีไม่สมคะเนแล้ว พระทูลกระหม่อมแก้วจึงชิงชังไม่พด ู จา ทังลูกรักดังแก้วตาก็
หายไป อกเอ๋ยจะอยูไ่ ปไยให้ทนเวทนาอุปมาเสมือนหนึงพฤกษาลดาวัลย์ยอ ่ มจะอาสัญลงเพราะลูกเปนเทียง
แท้ …” 
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้น กวีมก ี ารเลือกสรรคําให้มค ี วามเหมาะสมกับฐานะของตัวละคร กล่าวคือ 
กษัตริย์ ด้วยการใช้คําราชาศัพท์ต่างๆให้เหมาะสมกับฐานะของตัวละคร นันคือ สมเด็จพระมัทรี กวีใช้คํา
ราชาศัพท์เพือแสดงอากัปกิรย ิ าของตัวละคร รวมไปถึงคํานามราชาศัพท์ต่างๆด้วย อาทิ ท้าวเธอมิได้ตรัส
ปราศรัย ซึงแปลว่าพูด, พระอุรา ชึงแปลว่า อก, ทรงพระกันแสง ทีมีความหมายว่า ร้องไห้ และอืนๆอีก
มากมาย 
 
เลือกใช้คําให้ถก ู ต้องตรงตามความหมายทีต้องการ  
 
“...พระนัยนเนตรก็พร่าง ๆ อยูพ ่ รายพร้อย ในจิตใจของแม่ยงั น้อยอยูน ่ ด
ิ เดียว ทังอินทรียก์ ็เสียว ๆ สัน 
ระรัวริก แสรกคานบันดาลพลิกพลัดลงจากพระอังสา ทังขอน้อยในหัตถาทีเคยถือ ก็เลือนหลุดลงจากมือไม่เคย 
เปนเห็นอนาถ…” 
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้น กวีได้สรรคําให้เหมาะสมตามความหมายทีต้องการจะสือ ดังนี “พระนัยน
เนตรก็พร่าง ๆ อยูพ ่ รายพร้อย”เปรียบเสมือน ดวงตาของมารดาทีหมดสินซึงความหวัง “แสรกคานบันดาล
พลิกพลัดลงจากพระอังสา” กล่าวถึงความเจ็บ โศกเศร้า ของความพลัดพรากได้เปนอย่างดี นอกจากนีคําว่า “
อนาถ” ยังสือถึงความสลดใจ น่าสงสารของผูเ้ ปนแม่ด้วย 
 
เลือกใช้คําโดยคํานึงถึงเสียง  
 
การสรรคําโดยการคํานึงถึงเสียง คือ การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะและสระทําให้เกิดความไพเราะและ
เสนาะหูขณะอ่านได้ ซึงจะทําให้บท ประพันธ์มค ี วามน่าหลงไหลและน่าฟงมากยิงขึน  
 

7
“...โอ้อกเอ๋ยมหัศจรรย์จริง ยิงคิดก็ยงกริ ิ ง ๆ กรอมพระทัยเปนทุกข์ถึงพระลูกรักทังสองคน เดินพลาง
นางก็รบ ี เก็บผลาผลแต่ตามได้ ใส่กระเช้าสาวพระบาท บทจรดุ่มเดินมาโดยด่วน พอประจวบจวนพญา
พาฬมฤคราช สะดุ้งพระทัยไหวหวาดวะหวีดวิงวนแวะเข้าข้างทาง พระทรวงนางสันระรัวริกเต้นดังตีปลา…”  
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้น กวีได้มก ี ารใช้ทังสัมผัสพยัญชนะ สัมผัสสระ อาทิ พลาง-นาง, ไหว-หวาด-วะ-
หวีด-วิง-วน-แวะ, ระ-รัว-ริก เปนต้น นอกจากนียังมีการใช้คําซา เช่น ยิงคิดก็ยงกริ ิ งๆ เปนต้น 
 
2.2 การเรียบเรียงคํา 
 
นอกจากการสรรคําเลือกคําทีเหมาะสมในการแต่งคําประพันธ์นนๆแล้ ั ว การจัดเรียง เรียบเรียงบท
ประพันธ์ให้มค ี วามต่อเนือง ผูอ้ ่านอ่านแล้วไม่สะดุด ก็เปนอีกหนึงหลักการทีผูป ้ ระพันธ์ควรนํากลวิธน ี มาช่
ี วย
ส่งเสริมให้คําประพันธ์นนๆมี ั ความไพเราะเหมาะสม โดยกลวิธเี รียบเรียงบทประพันธ์ เปนไปดังต่อไปนี  
 
“... เมือสมเด็จพระมัทรีเธอกราบทูลพระราชสามีสก ั เท่าใด ๆ ท้าวเธอมิได้ตรัสปราศรัยจํานรรจา นาง
ยิงกลุ้ม กลัดขัดพระอุราผะผ่าวร้อน ข้อนพระทรวงทรงพระกันแสงว่าเจ้าแม่เอ่ย แม่มเิ คยได้เคืองแค้นเหมือน
หนึงครัง นี เมือจากบุรท ี เุ รศมา ก็พร้อมหน้าทังลูกผัวเปนเพือนทุกข์ สําคัญว่าจะเปนสุขประสายากเมือยามจน 
ครันลูก หายทังสองคนก็สนคิ ิ ด บังคมทูลพระสามีก็มไิ ด้ตรัสแต่สก ั นิดสักหน่อยหนึง ท้าวเธอก็ขงึ ขังตึงพระองค์ 
ดูเหมือน พระขัดเคืองเต็มเดือดด้วยอันใด นางก็เศร้าสร้อยสลดพระทัย ดังเอาเหล็กแดงมาแทงใจให้เจ็บจิตนี
เหลือทน อุปมาเหมือนคนไข้หนักแล้วมิหนํายังแพทย์เอายาพิษมาวางซาให้เวทนา เห็นชีวานีคงจะไม่รอดไป
สักกีวัน พระคุณเอ่ย วาสนามัทรีไม่สมคะเนแล้ว พระทูลกระหม่อมแก้วจึงชิงชังไม่พด ู จา ทังลูกรักดังแก้วตาก็
หายไป อกเอ๋ยจะอยูไ่ ปไยให้ทนเวทนาอุปมาเสมือนหนึงพฤกษาลดาวัลย์ยอ ่ มจะอาสัญลงเพราะลูกเปนเทียง
แท้ ถ้าแม้น พระองค์ไม่ทรงเลียงมัทรีไว้ จะนิงมัธยัสถ์ตัดเยือใยไม่โปรดบ้าง ก็จะเห็นแต่กเลวระร่างซากศพขอ
งมัทรี อัม โทรมตายกายกลิงอยูก ่ ลางดง เสียเปนมันคงนีแล้วแล…” 
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้น กวีได้ เรียบเรียงประโยคให้เนือเรืองมีความเข้มข้นขึนไปเรือยๆ โดยเริมจาก
เนือหาการเล่าเรืองทีธรรมดาก่อนจากนัน เหตุกาณ์ก็มค ี วามสําคัญขึนเรือยๆ ตัวละครได้มก ี ารแสดงความรูส ้ ก

ทีชัดเจนมากยิงขึน หนักขึนเรือยๆ ซึงกลวิธด ี ังกล่าวทําให้เนือเรืองทีอ่านมีความน่าสนใจและน่าติดตามขึนไป
อีก 
 
2.3. การใช้โวหารภาพพจน์ 
 
ในร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์มท ั รี กวีได้มก ี ารใช้โวหารภาพพจน์ต่างๆ กล่าวคือ อุปมา บุคคล
วัต อุปลักษณ์ และ สัทพจน์ ในการทําให้คําประพันธ์มค ี ณุ ค่าทางด้านวรรณศิลป อ่านง่าน และไพเราะ ดังนี  
 
อุปมา  
 
“...พอประจวบจวนพญาพาฬมฤคราช สะดุ้งพระทัยไหวหวาดวะหวีดวิงวนแวะเข้าข้างทาง พระทรวง
นางสัน ระรัวริกเต้นดังตีปลา ทรงพระกันแสงโศกาไห้พไิ รราว่ากรรมเอ๋ยกรรม…” 
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้น ผูแ ้ ต่งได้มก ี ารใช้อุปมาซึงเปนการเปรียบเทียบโดยนัยโดยใช้คําว่า ดุจ, ดัง, 
ราว, เสมือน กวีใช้คําว่า ดังเปรียบเทียบพระทรวงของนางมัทรีทีสันเหมือนปลาทีสันเมือโดนตี ซึงสือถึงความ
โศกเศร้าของจิตใจผูเ้ ปนแม่ เหมือนกับปลาทีโดนตี 
 
“...นางก็เศร้าสร้อยสลดพระทัย ดังเอาเหล็กแดงมาแทงใจให้เจ็บจิตนีเหลือทน อุปมาเหมือนคนไข้
หนักแล้วมิหนํายังแพทย์เอายาพิษมาวางซาให้เวทนา…” 
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้น ผูแ ้ ต่งได้มกี ารใช้อุปมาซึงเปนการเปรียบเทียบโดยนัยโดยใช้คําว่า ดัง เพือ
เปนการเปรียบว่า นางเศร้าใจมาก ราวกับเอาเหล็กทีตีจนร้อนมาแทงใจผูเ้ ปนแม่ 

8
 
 
อุปลักษณ์  
 
“...บุญพีนีน้อยแล้วนะเจ้าเพือนยาก เจ้ามาตายจากพีไปในวงวัด เจ้าจะเอาปาชัฏนีหรือมาเปนปาช้า 
จะเอา บรรณศาลานีหรือมาเปนบริเวณพระเมรุทอง จะเอาแต่เสียงสาลิกาอันราาร้องนีหรือมาเปนกลอง
ประโคมใน จะเอา แต่เสียงจักจันและเรไรราาร้องนันหรือมาต่างแตรสังข์และพิณพาทย์ จะเอาแต่เมฆหมอก
นันหรือมากันเปนเพดานจะเอาแต่ยูงยางในปาหิมพานต์มาต่างฉัตรเงินและฉัตรทอง จะเอาแต่แสงพระจันทร์
อันผุดผ่องมาต่าง ประทีปแก้วงามโอภาส…” 
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้น มีการใช้อุปลักษณ์ซงเปนการเปรี
ึ ยบเทียบเปนการกล่าวเปรียบเปรยโดยนัย
โดยใช้คําว่า เปน เช่น เมฆหมอกเปนเพดาน ยูงยางเปนฉัตรเงินฉัตรทอง 
 
บุคคลวัต  
 
โอ พระอาศรมเจ้าเอ๋ยน่าอัศจรรย์ใจ แต่ก่อนดูนสุ ี กใสด้วยสีทอง เสียงเนือนกนีราร้องสําราญรังเรียกคู่
คู ขยับขัน ทังจักจันพรรณลองไนเรไรร้องอยูห ่ ริงๆ ระเรือยโรย โหยส าเนียงดังเสียงสังคีตขับประโคมไพร โอ…
เหตุ ไฉนเหงาเงียบเมือยามนี ทังอาศรมก็หมองศรีเสหมือนหนึงว่าจะเศร้าโศก เออ ชะรอยว่าพระเจ้าลูกจะ
วิโยคพลัด พรากไปจากอกพระมารดาเสียจริงแล้วกระมังในครังนี   
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้น กวีได้มก ี ารนําบุคคลวัตซึงเปนการสมมุติสงไม่ ิ มช ี ว
ี ิตให้เปนสิงมีชว ี ิต ซึงจะมี
กิรย
ิ าอาการ, ความรูส ้ ก
ึ ,ความคิดและการแสดงออก กวีได้มก ี ารเปรียบเทียบอาศรมจากเคยมีความสุข ผ่องใส
กลับกลายเปนโศกเศร้าซึงแสดงเปนลางบอก เหตุว่าพระนางจะเสียลูก  
 
สัทพจน์  
 
“...แต่ยา่ งเหยียบเกรียบกรอบก็เหลียวหลัง...”  
“...สมเด็จอรไทเธอเทียวตะโกนกู่ก๋ก ู ้อง...”  
“เสียงนกนีราร้องสําราญรังเรียกคู่คข ู ยับขันทังจักจันพรรณลองไนเรไรร้องอยูห ่ ริงๆ ระเรือยโรย”  
 
จากมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์มท ั รี กวีได้มใี ช้สทั พจน์ซงเปนการเลี
ึ ยนเสียงธรรมชาติในการทําให้บท 
ประพันธ์ลืนไหลและเสนาะหูมากขึน อาทิ เกรียบกรอบ, กู๋ก้อง, หริงๆ เปนต้น 
 
 
   

9
3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม  
   
3.1 คุณค่าด้านวรรณศิลป 
 
การเล่นคํา  
 
ในเรืองมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มท ั รี นันมีลักษณะเด่นด้านวรรณศิลปในการเล่นเสียงสัมผัส 
ของพยัญชนะ สระ และคําซาอยูม ่ าก  
 
ตัวอย่าง สัมผัสพยัญชนะ  
 
“ก็กลายกลับเปนดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร”  
 
สัมผัสพยัญชนะนันจะเกิดขึนเมือใช้พยัญชนะต้นทีมีเสียงเดียวกันติดต่อกันหลายๆคําซึงในตัวอย่าง 
ข้างบนนีเราสามารถเห็นว่าคําว่า “ก็” ”กลาย” และ ”กลับ” นันสัมผัสกัน เช่นเดียวกับ “ดอก” “ดวง” “เดียร” 
และ “ดาษ”  
 
อีกตัวอย่างของสัมผัสพยัญชนะ  
 
“พระพายรําเพยพัดมาฉิวเฉือย เรไรระรีเรือยร้องอยูห ่ ริงๆ”  
 
“พระ” และ “พาย” กับ “เพย” และ “พัด” สัมผัสกัน ซึงเช่นเดียวกับ “เร” “ไร” “ระ” “รี” “เรือย” 
“ร้อง” และ “หริงๆ”  
 
ตัวอย่างสัมผัส สระ 
  
“นางก็ถึงวิสญ
ั ญีสลบลงตรงหน้าฉานปานประหนึงว่าพุม ่ ฉัตรทองอันต้องสายอัสนี
ฟาดระเนนเอนก็ล้มลงตรงหน้า พระทีนังเจ้า นันแล”  
 
สัมผัสสระจะต้องมีสระเดียวกัน เสียงสันและยาวเหมือนกันรวมถึงต้องมีพยัญชนะสะกดในมาตรา
เดียวกันดังเช่นตัวอย่าง “หน้า” “ฉาน” “ปาน” กับ “เนน” “เอน ”  
 
 
3.2 คุณค่าด้านสังคม 
 
ในกัณฑ์มท ั รีมก
ี ารสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมของสังคมไทยในสมัยก่อน เช่น  
 
 
ตัวอย่าง  
“...เจ้าเปนแต่เพียงเมียควรหรือมาหมินได้ ถ้าแม้นพีอยูใ่ นกรุงไกรเหมือนแต่ก่อนเก่า หากว่าเจ้าทําเช่นนี กาย
ของมัทรีก็จะขาดสะบันลงทันตาด้วยพระกรเบืองขวาของอาตมานีแล้วแล”  
 
ในตัวอย่างนีคือการสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมของสังคมไทยในสมัยก่อนที ภรรยาเปนทรัพย์สมบัติของสามี 
สามีมส ี ท
ิ ธิเหนือภรรยาทุกประการ จะต้องดูแลปรนิบต ั ิและซือสัตย์ต่อสามี  
 
 
 
 

10
3.3 คุณค่าด้านศีลธรรม  
 
“ นางก็เศร้าสร้อยสลดพระทัยดังเอาเหล็กแดงมาแทงใจให้เจ็บจิตนีเหลือทน อุปมาเหมือน คนไข้หนัก
แล้ว มิหนํายังแพทย์เอายาพิษมาวางซาให้เวทนา ”  
 
ในวรรคนีได้แสดงให้เห็นถึงความทุกข์เพราะความรัก ความเปนห่วง ความโศกเศร้าเสียใจ เมือพระนา
งมัทรีกลับมาบ้านแล้วรับรูว้ ่าลูกของตนเองหายไปก็เลยรูส ้ ก
ึ เสียใจอย่างมาก  
 
3.4 คุณค่าด้านความเชือ  
 
“ พลางพิศดู ผลาผลในกลางไพรทีนางเคยได้อาศัยทรงสอยอยูเ่ ปนนิตย์ผด ิ สังเกต เหตุไฉนไม้ทีมีผล
เปนพุม่ พวง ก็กลายกลับเปนดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร แถวโน้นก็แก้วเกดพิกล ุ แกมกับกาหลง ถัดนันก็ 
สายหยุด ประยงค์และยมโดย พระพายพัดก็รว ่ งโรยรายดอกลงมูนมอง แม่ยงั ได้เก็บเอาดอกมา ร้อยกรองไป
ฝากลูกเมือ วันวาน ก็เพียนผิดพิสดารเปนพวงผล ผิดวิกลแต่ก่อนมา ”  
 
สะท้อนให้เห็นถึงความเชือของคนไทยทีเมือมีอะไรทีแสดงให้เห็นถึงความผิดเพียนไปจากรูปแบบเดิม
นัน จะถือว่ามีลางร้ายกําลังจะเกิดขึน ซึงในวรรคนีพระนางมัทรีเสด็จออกสูป ่ าเพือเก็บผลไม้ได้พบหลายสิงที
ผิดเพียนไปจากปกติ เช่น ทีอยูข ่ องผลไม้กลับกลายเปนดอกไม้นา่ เกลียด เลยทําให้พระนางมัทรีรูส ้ ก
ึ ไม่สบายใจ   
 
   

11
บรรณานุกรม 
 
คณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน, ส านักงาน. วรรณคดีวิจักษ์ ชันมัธยมศึกษาปที ๕. กรุงเทพฯ :  
สกสค. ลาดพร้าว, ๒๕๕๕. ๑๓๑ หน้า.  
ภาสกร เกิดอ่อน. ภาษาไทยวรรณคดีไทยและวรรณกรรม ม.๕ [ออนไลน์].  
เข้าถึงเมือ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒. สืบค้นได้จาก 
http://academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1458265003_example.pdf  
มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มท ั รี[ออนไลน์]. เข้าถึงเมือวันที ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒. สืบค้นได้จาก  
https://sites.google.com/site/wannakadeem5/mha-wessandr-chadk-kanth-math-ri 

12

You might also like