You are on page 1of 16

รายงานเชิงวิชาการ 

การอานและพิจารณาวรรณคดีเรื่อง ลิลิตตะเลงพาย 
  
  
  
  
 
  
โดย 
  
  
นางสาวนลพรรณ รุงโรจนพนาวัลย  ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 เลขที่ 11 
นางสาวศุภวรรณ สังขนุช  ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 เลขที่ 14 
นางสาวณัฐลดา เสริมศีลธรรม  ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 เลขที่ 16 
นางสาวธนัชชา สิพพนะโกศล  ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 เลขที่ 17 
  
  
 
  
  
เสนอ 
  
  
อ.พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ 
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 
โรงเรียนสาธิตนานาชาติมหาวิทยาลัยมหิดล 
  
  
  
 
  
รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน (Project Based Learning) 
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 

คํานํา 
  
  
  
  
รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 5  จัดทําขึ้นเพื่อจุดประสงคในการ 
วิเคราะหและพิจารณาวรรณคดี  เรื่องลิลิตตะเลงพาย  ทางคณะผูจัดทําตองการจะนําเสนอขอมูลเชิงวิชาการไมวา 
จะเปนทางดานเนื้อเรื่อง  กลวิธีในการประพันธหรือแมกระทั่งคุณคาที่วรรณคดีเรื่องนี้ไดมอบใหผูอานและหวังเปน 
อยางยิ่งวาขอมูลในรายงานเลมนี ้ จะสามารถใหประโยชนแกผูที่สนใจและตองการทําการศึกษาเกี่ยวกับวรรณคดี 
เรื่องลิลิตตะเลงพาย  ไดไมมากก็นอย  หากทางคณะผูจัดทําไดทําสิ่งผิดพลาดประการใด  ตองขออภัยมา  ณ ที่น ี้ และ 
ขอนอมรับทุกคําแนะนําไปปรับปรุง   
ทั้งนี ้ รายงานเลมนี้สําเร็จไดดวยความชวยเหลือของ  อาจารยพนมศักดิ ์ มนูญปรัชญาภรณ  ทางคณะผูจัด 
ทําขอขอบพระคุณอาจารยที่ชวยเปนผูใหคําแนะนําและขอเสนอแนะ  เพื่อที่จะใหคณะผูจัดทํานํากลับไปแกไข 
รายงาน เลมนี้ไดสําเร็จลุลวง 
   
คณะผูจัดทํา 
   

สารบัญ 
   
คํานํา 1 
1.​ ก​ ารอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม 3 
1.1 เรื่องยอ 3 
1.2 โครงเรื่อง 4 
1.3 ตัวละคร 4 
1.4 ฉากทองเรื่อง 5   
1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 5 
1.6 แกนเรื่อง 6 
  
2. การอานและพิจารณาเนื้อหาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 7 
2.1 การสรรคํา 7 
2.2 การเรียบเรียงคํา 8 
2.3 การใชโวหาร 10 
  
3. การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม 12 
3.1​ ค​ ุณคาดานอารมณ 12 
3.2 คุณคาดานคุณธรรม 13  

3.3 คุณคาทางสังคม 13 


 
บรรณานุกรม 15 
  
 
   

1. การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม 
  

1.1 เรื่องยอ 
เรื่องลิลิตตะเลงพายนั้น  คําวา  ตะเลง  หมายถึง  มอญ  พาย  แปลวา  แพ  คําวา  ตะเลงพาย  แปลตามตัว 
อักษรคือมอญแพ  แตเนื่องจากพมาเปนผูปกครองมอญอยู  คําวาตะเลงในที่นี้จึงหมายถึงพมา  และมอญเปนผูแพ 
สงคราม  เรื่องนี้ประกอบดวย  ๑๒  ตอน  โดยเริ่มดวยการกลาวถึงการสิ้นพระชนมของสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิ- 
ราช  และมีสมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่ทรงขึ้นครองราชยแทน  โดยมีสมเด็จพระเอกาทศรถเปนพระมหาอุปราช 
พระเจาหงสาวดีทรงทราบขาวที่วาไทยมีการเปลี่ยนผูปกครองใหม  ก็ประสงคจะมาตีไทย  จึงมีพระราชบัญชาให 
พระมหาอุปราชายกทัพมาตีไทย  พระมหาอุปราชาฝนรายและมีลางสังหรณแตถูกพระราชบิดาดูถูก  จึงจําใจยกทัพ 
มาตีไทย  เมื่อลานางสนมแลวก็ยกทัพเขามาทางเมืองกาญจนบุร ี ฝายสมเด็จพระนเรศวรก็คิดที่จะไปตีเขมร  เมื่อรู 
ขาวก็ทรงเตรียมการสูศึกพมา  ทรงตรวจและเตรียมกองทัพ  พระมหาอุปราชาทรงปรึกษาการศึก  แลวยกทัพเขามา 
ปะทะทัพหนาของไทย  สวนสมเด็จพระนเรศวรก็ทรงปรึกษาเพื่อหาทางเอาชนะขาศึก  เมื่อทัพหลวงเคลื่อนพล  ชาง 
ทรงของสมเด็จพระนเรศวรและชางทรงของสมเด็จพระเอกาทศรถกําลังตกมัน  ก็เตลิดเขาไปในวงลอมของขาศึก  ณ 
ตําบลตระพังตรุ  สมเด็จพระนเรศวรทรงกระทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา  สวนสมเด็จพระเอกาทศรถนั้นทรง 
กระทํายุทธหัตถีกับมางจาชโรและไดรับชัยชนะทั้งสองพระองค  เมื่อพระมหาอุปราชาถูกฟนขาดคอชาง กองทัพ หง
สาวดีก็แตกพายกลับไป  สมเด็จพระนเรศวรทรงมีบําเหน็จทหารและปรึกษาโทษนายทัพนายกองที่ตามชางทรง 
เขาไปในกองทัพพมาไมทัน  สมเด็จพระวันรัตทูลขอพระราชทานอภัยโทษแทนแมทัพนายกองทั้งหมด  สมเด็จพระ 
นเรศวรก็โปรดพระราชทานอภัยโทษให  โดยใหยกทัพไปตีทวายและตะนาวศรีเปนการแกตัว  จากนั้นไดทรงจัดการ 
ทํานุบํารุงหัวเมืองทางเหนือเจาเมืองเชียงใหมมาสวามิภักดิ์ขอเปนเมืองขึ้น  สมเด็จพระนเรศวรจึงทรงรับทูตเชียง 
ใหมและเรื่องจบลงดวยการยอพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวร 
  
  
  
  
  
  
  
 
 
 
 
ภาพจิตรกรรมฝาผนังการทํายุทธหัตถีระหวางสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุปราชา 
ณ วัดสุวรรณดาราราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 

1.2 โครงเรื่อง 
ลิลิตตะเลงพาย  เปนวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช  โดยที่ดําเนินเรื่องตามพระราช- 
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา  เริ่มตั้งแตสมเด็จพระมหาธรรมราชาเสด็จสวรรคต  จนถึงตอนที่สมเด็จพระนเรศวรทรง 
กระทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาของพมา  และพระมหาอุปราชาสิ้นพระชนมใน  พ.ศ.  ๒๑๓๕  โดยมีเรื่องราว 
เกี่ยวกับการวางแผนและการทํายุทธหัตถีของพระมหากษัตริยทั้งสองเมือง 
  
1.3 ตัวละคร 
ฝายไทย 
- สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พระองคดํา) 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชหรือพระองคดําเปนกษัตริยองคท ี่ ๑๘  ของกรุงศรีอยุธยา  มีพระมหาธรรม- 
ราชาเปนพระบรมชนกนาถ  ทรงเปนพระมหากษัตริยที่เกงกลาสามารถ  เปนผูประกาศเอกราชจากพมาหลังจาก  ที่
ตกเปนเมืองขึ้น  ๑๕  ป  รวมทั้งขยายราชอาณาจักรใหกวางใหญ  ทําการรบชนะพมาทุกครั้งจนทําใหพมาเกรงกลัว 
ไมกลามารุกรานอีกเปนเวลากวา ๑oo ป 
- สมเด็จพระเอกาทศรถ (พระองคขาว) 
สมเด็จพระเอกาทศรถหรือพระองคขาว  เปนพระอนุชาของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช  ทรงดํารงตําแหนง 
อุปราช  ครองเมืองพิษณุโลก  แตมีเกียรติยศเสมอพระเจาแผนดิน  ไดทรงออกศึกทําสงครามรวมกับสมเด็จพระ 
นเรศวรตลอด  และไดทรงครองราชยเปนกษัตริยองคท ี่ ๑๙ ตอจากสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลังจากครองราชย 
ได ๕ ปก็สวรรคตเมื่อพระชนมายุได ๕o พรรษาเศษ 
- พระมหาธรรมราชา 
สมเด็จพระมหาธรรมราชาหรืออีกพระนามหนึ่งวา  สมเด็จพระสรรเพชญท ี่ ๑  พระราชบิดาเปนเชื้อสาย 
ราชวงศพระรวงแหงกรุงสุโขทัย  พระราชมารดาเปนพระญาติฝายพระราชชนนี  สมเด็จพระไชยราชาธิราช  แหง 
ราชวงศสุวรรณภูม ิ พระองคทรงรับราชการเปนขุนพิเรนทรเทพ  เจากรมตํารวจรักษาพระองค  หลังจากที่เหตุการณ 
วุนวายในราชสํานักยุติลงและพระเฑียรราชาไดขึ้นครองราชยเปนสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์เมื่อปพ.ศ.  ๒o๙๑  ขุน
พิเรนทรเทพทรงไดรับสถาปนาขึ้นเปนสมเด็จพระมหาธรรมราชา  ครองเมืองพิษณุโลกและหัวเมืองฝายเหนือ
พระองคมีพระราชโอรสและพระราชธิดารวมกัน  ๓  พระองคคือพระสุพรรณเทวี  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช  และ
สมเด็จพระเอกาทศรถ 
- สมเด็จพระวันรัต 
สมเด็จพระวันรัต  เดิมชื่อพระมหาเถรคันฉอง  เปนพระชาวมอญ  จําพรรษาอยูที่วัดปาแกวหรือวัดใหญชัย 
มงคลในปจจุบัน  มีบทบาทสําคัญในการเกลี้ยกลอมใหพระยาเกียรติ์และพระยารามที่พระเจาหงสาวดีสงมาใหลอบ 
กําจัดพระนเรศวร  รับสารภาพและเขารวมกับพระนเรศวรแทน  นอกจากนี้ยังทูลขอพระราชทานอภัยโทษใหกับ 
บรรดาแมทัพนายกอง  ในความผิดที่ตามเสด็จสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไมทันในการรบกับพมา  ทําใหทุกคนได 
รับการยกเวนโทษไมตองถูกประหารชีวิต 

ฝายพมา 
- พระเจาหงสาวดี(นันทบุเรง) 
พระเจาหงสาวดีหรือนันทบุเรง  เดิมชื่อมังชัยสิงหราช  ทรงเปนพระโอรสของพระเจาบุเรงนอง  ดํารงตํา 
แหนงอุปราชในสมัยพระเจาบุเรงนอง  ไดทรงขึ้นครองราชยเปนกษัตริยของพมาตอจากพระเจาบุเรงนอง  พระราช- 
บิดา  ทรงหวังที่จะสรางความยิ่งใหญใหกับพมาเหมือนพระราชบิดา  แตพระองคก็ทําไมสําเร็จและสุดทายถูกลอบ 
วางยาพิษจนสิ้นพระชนม 
- พระมหาอุปราชา 
พระมหาอุปราชาเปนพระโอรสของพระเจาหงสาวดี  (นันทบุเรง) เดิมชื่อมังสามเกียดหรือมังกะยอชวา ทรง 
เปนเพื่อนเลนสมัยยังเยาววัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช  ในสมัยที่พระองคประทับอยูที่กรุงหงสาวดี  พระองค 
ไดทําสงครามหลายครั้งและครั้งสุดทายไดยกทัพ  ๕ แสนมาตีไทยและสิ้นพระชนมในการทํายุตถหัตถีกับสมเด็จพระ 
นเรศวรมหาราช 
- มางจาชโร 
มางจาชโรเปนพี่เลี้ยงของพระมหาอุปราชาของพมา  เปนผูที่ชนชางกับพระเอกทศรถ  และถูกพระเอกาทศ
รถฟนดวยพระแสงของาวคอขาด 
  
1.4 ฉากทองเรื่อง 
  ฉากทองเรื่องที่ปรากฏในวรรณคดีเรื่องลิลิตตะเลงพาย  คือ  เหตุการณภายในเมืองมอญและสภาพแวดลอม 
ระหวางการเดินทัพของพระมหาอุปราชาจากเมืองมอญไปสูกาญจนบุร ี รวมถึงการทํายุทธหัตถีระหวางพระมหา 
อุปราชาและพระนเรศวรมหาราช โดยฉากทองเรื่องทั้งหมดมีดังนี ้
- กรุงหงสาวดีเมืองหลวงของพมา 
- อยุธยา เมืองหลวงของไทย 
- พลับพลาคายหลวง ตําบลปาโมก ที่พระนเรศวรทรงพระสุบิน 
- ดานเจดียสามองคเขตแดนระหวางไทยกับพมา อําเภอสังขละบุรี กาญจนบุร ี
- กาญจนบุรี เมืองหนาดานของไทยที่พระมหาอุปราชายกทัพเขามากอน 
- ตําบลตระพังตรุสุพรรณบุรีที่พระนเรศวรทรงทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา 
 
1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 
บทรําพึงรําพันของพระมหาอุปราชาถึงนาง 
มาเดียวเปลี่ยวอกอา  อายสู 
สถิตอยูเอองคด ู ละหอย 
พิศโพนพฤกษพบู  บานเบิก ใจนา 
พลางคะนึงนุชนอย  แนงเนื้อนวลสงวน 

สลัดไดใดสลัดนอง  แหนงนอน ไพร 
เพราะเพื่อมาราญรอน  เศิกไสร 
สละสละสมร  เสมอชื่อ ไมนา 
นึกระกานามไม  แมนแมนทรวงเรียม 
สายหยุดหยุดกลิ่นฟุง    ยามสาย 
สายบหยุดเสนหหาย  หางเศรา 
กี่คืนกี่วันวาย  วางเทวษ ราแม 
ถวิลทุกขวบคาเชา  หยุดไดฉันใด 
  
คําประพันธขางตนพรรณนาการเดินทางขณะที่พระมหาอุปราชาจําเปนตองจากนางสนม  เพื่อไปตีกรุง 
ศรีอยุธยา  บทนิราศนี้ถอดความไดวา  พระมหาอุปราชาตองเสด็จมาเพียงผูเดียวอยางเหงาใจ  แตพระองคไดชม  นก
ชมไมทําใหรูสึกเบิกบานพระทัยมากขึ้น  แตก็ยังคิดถึงเหลานางสนมและกํานัลทั้งหลาย  ทั้งนี ้ ยังแสดงถึงทั้งความ 
เศรา  ความรัก  ความอาวรณความคิดถึงที่พระมหาอุปราชามีตอนางสนม  ผูประพันธไดนําเอาธรรมชาติที่พบเจอ 
ระหวางการเดินทางมาประพันธเชื่อมโยงกับความรูสึกของพระมหาอุปราชา  รวมถึงการใชคําถามเชิงวาทศิลปและ 
การเลนคําซํ้า 
  
1.6 แกนเรื่อง 
การยอพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช  ที่ทรงมีพระปรีชาสามารถดานการทํายุทธหัตถี  มีชัยเหนือ
พระมหาอุปราชา  อีกทั้งยังมีความสามารถดานการปกครองและเปยมดวยคุณธรรม  ผูประพันธเรื่องลิลิตตะเลงพาย 
ตองการสะทอนใหเห็นถึงความรักชาติ  ความกลาหาญและความเสียสละของบรรพบุรุษไทย  และยังทําใหผูอานตระ 
หนักถึงพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริยไทยในสมัยกอนที่ตองทําสงคราม  ปกปองอธิปไตยของไทยและปก 
ครองบานเมืองใหรมเย็นเปนสุข  ซึ่งวรรณคดีเรื่องนี้ถูกใชเปนการปลุกใจใหคนไทยรักและเทิดทูนแผนดินไทยมาก 
ยิ่งขึ้น 
  
  
   

2. การอานและพิจารณาเนื้อหาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 
 
2.1 การสรรคํา 
2.1.1 การใชคําที่เหมาะแกเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคล 
ผูแตงเลือกใชคําที่แสดงฐานะของบุคคล ดังประพันธ 
เบื้องนั้นนฤนาถผู  สยามินทร 
เบี่ยงพระมาลาผิน  หอนพอง 
ศัสตราวุธอรินทร  ถูก องคเอย 
เพราะพระหัตถหากปอง  ปดดวยขอทรง 
จากโคลงบทนี้ ผูแตงไดเลือกใชคําที่มีศักดิ์คําสูง แสดงใหเห็นฐานะของพระมหากษัตริยและทําใหเกิดความไพเราะ 
  นฤนาถ  หมายถึง  กษัตริย 
  สยามินทร  หมายถึง  กษัตริยแหงสยาม 
  พระมาลา  หมายถึง  หมวก 
  พระหัตถ  หมายถึง  มือ 
  
2.1.2 การใชคําโดยคํานึงถึงเสียง 
  การที่ถอยคําจะมีความไพเราะหรือแสดงใหเห็นถึงความงามนั้น  สามารถใชการสัมผัส  การเลนคํา  การเลน 
ความ การเลียนเสียงธรรมชาติ เปนตน ซึ่งลิลิตตะเลงพานไดมีการใชคําที่มีเสียงเสนาะ ดังนี ้
  
2.1.2.1 มีการใชสัมผัสสระและพยัญชนะในคําประพันธทุกบท ทําใหเกิดความไพเราะ ดังบทประพันธ 
...ถับถึงโคกเผาเขา พอยามเชายังสาย หมายประมาณโมงครบ ประทบทัพรามัญ   
ประทันทัพพมา ขับทวยกลาเขาแทง ขับทวยแซงเขาฟน สองฝายยืนยันยุทธ อุตอึงโหเอาฤกษ... 
สัมผัสสระ    ไดแก  เผา - เขา  เขา - เชา  สาย - หมาย  ครบ - ทบ 
  พมา - กลา  แทง - แขง  ฟน - ยัน 
  
สัมผัสพยัญชนะ  ไดแก  ถับ - ถึง  โคก - เขา  ยาม - ยัง  ทวย - แทง 
  (ประ)ทบ - ทัพ (ประ)ทัน - ทัพ ขับ - เขา   
  
   

2.1.2.2  มีการเลนคํา  เพื่อใหมีความลึกซึ้งและเกิดอารมณกระทบใจผูอาน  โดยใชคําที่ออกเสียงเหมือนกัน  แตม ี
ความหมายแตกตางกันมาบรรยายเรื่องและความรูสึกของกวี ดังบทประพันธ 
สลัดไดใดสลัดนอง  แหนงนอน ไพร 
เพราะเพื่อมาราญรอน  เศิกไสร 
สละสละสมร  เสมอชื่อ ไมนา 
นึกระกํานามไม  แมนแมนทรวงเรียม 
  
2.1.2.2  มีการใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ  คือ การใชตัวอักษรสรางเสียงที่มีลักษณะคลายเสียงที่เกิดจากธรรมชาติ ดัง
บทประพันธ 
….เจาพระยาไชยานุภาพ เจาพระยาปราบไตรจักร ตรับตระหนักสําเนียง เสียงฆองกลองปนศึก 
อึกเอิกกองกาหล เรงคํารนเรียกมัน ชันหู ชูหางเลน แปรนแปรแลคะไขว… 
  
2.1.2.3  ใชคําอัพภาส  คือ  การซํ้าเสียงอักษร  ไดแก  พยัญชนะตนและเสียงสระอะลงหนาคําศัพท  ทําใหเกิดความ 
ไพเราะ ดังบทประพันธ 
…สาดปนไฟยะแยง แผลงปนพิษยะยุง พุงหอกใหญคะควาง ขวางหอกซัดคะไขว 
ไลคะคลุกบุกบัน เงื้อดาบฟนฉะฉาด งางาวฝาดฉะฉับ… 
  
2.2 การเรียบเรียงคํา 
ลิลิตตะเลงพายนั้น  ประกอบดวยรายสุภาพและโคลงสุภาพ  อันไดแก  โคลงสองสุภาพ  โคลงสามสุภาพ 
และโคลงสี่สุภาพ  สลับกันตามความเหมาะสมของเนื้อหา  โดยเริ่มตนดวยรายสุภาพ  ซึ่งมีเนื้อหายอพระเกียรติ  และ
ชื่นชมความเจริญรุงเรืองของบานเมือง  โดยแตงใหคําสุดทายของบทประพันธบทตน  สงสัมผัสมายังคําที ่ ๑  หรือคํา
ที ่ ๒ หรือคําที ่ ๓ ของบทตอไป เชื่อมกันอยางนี้ตลอดทั้งเรื่อง เรียกวา เขาลิลิต ลักษณะคําประพันธของ ลิลิตตะเลง
พาย มีดังนี ้
  
รายสุภาพ 
รายสุภาพบทหนึ่งจะมีกี่วรรคก็ได  วรรคหนึ่งมี  ๕ คํา คําสุดทายของทุกวรรค ตองสัมผัสกับคําที ่ ๑, ๒ หรือ 
๓ ของวรรคตอๆ ไป เปนเชนนี้ตลอด และจบลงดวยโคลงสองสุภาพ ดังแผนผังและตัวอยางบทประพันธ ดังนี ้
  
  
 
 
 

ตัวอยาง  ศรีสวัสดิเดชะ  ชนะราชอรินทร ยินพระยศเกริกเกรียง  เพียงพกแผนฟากฟา 
หลาหลมเลื่องชัยเชวง  เกรงพระเกียรติระยอ  ฝอใจหาวบมิหาญ ลาญใจแกลวบมิกลา 
 
โคลงสองสุภาพ 
โคลงสองสุภาพมีสามวรรค  วรรคหนึ่งและวรรคสองมีวรรคละหาคํา  วรรคที่สามมีสี่คําและคําสรอยสองคํา 
บังคับเอกโทในวรรค ดังแผนผังและตัวอยางบทประพันธ ดังนี ้
  
  
  
  
  
  
ตัวอยาง  โคลงสองเปนอยางนี ้ แสดงแกกุลบุตรชี ้
เชนใหเห็นเลบง  แบบนา 
  
โคลงสามสุภาพ 
โคลงสามสุภาพ  มีจํานวนวรรคเพิ่มจากโคลงสองสุภาพอีกหนึ่งวรรคโดยคําสุดทายของวรรคแรก  สงสัมผัส 
ไปยังคําที่สามของวรรคที ่ ๒  คําสุดทายของวรรคที ่ ๒  สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที ่ ๓  บังคับ  เอก  โท  ดังแผนผัง 
และตัวอยางบทประพันธ ดังนี ้
  
  
  
  
  
  
ตัวอยาง  โคลงสามแปลกโคลงสอง  ตามทํานองที่แท 
วรรคหนึ่งพึงเติมแล  เลหนี้จงยล เยี่ยงเทอญ 
  
โคลงสี่สุภาพ 
โคลงสี่สุภาพมีสี่บาท  บาทละสองวรรค  วรรคหนาหาคํา  วรรคหลังสองคํา  เฉพาะวรรคหลังบาทที ่ ๔  มี  ๔ 
คํา  คําสรอยมีไดทายบาทที ่ ๑  และ  ๓  มีบังคับเอก  ๗  แหง  โท  ๔  แหงคําเอก โท ในวรรคที ่ ๑ บาทที ่ ๑ นั้น สลับที ่
10 
กันไดสวนในตําแหนงที่ตองการคําเอก  อาจใชคําตายหรือคําเสียงสั้นแทนไดแตหามใชคําตายในคําที ่ ๔  วรรคหลัง 
ของบาทที่ ๔ บังคับ เอก โท ดังแผนผังและตัวอยางบทประพันธ ดังนี ้
  
  
  
  
  
  
  
 
  
ตัวอยาง  อาจอมจักรพรรดิผ ู เพ็ญยศ 
แมพระเสียเอารส  แกเสี้ยน 
จักเจ็บอุระระทด ทุกขใหญ หลวงนา 
ถนัดดั่งพาหาเหี้ยน  หั่นกลิ้งไกลองค 
 
2.3 การใชโวหาร 
2.3.1 พรรณนาโวหาร 
พรรณนาโวหาร  คือ  โวหารที่ใชกลาวถึงเรื่องราว  สถานที ่ บุคคล  สิ่งของ  หรืออารมณอยางละเอียด  สอด 
แทรกอารมณความรูสึกลงไปเพื่อใหผูอานเห็นภาพมากขึ้น  ในลิลิตตะเลงพายนี ้ มีการใชคําใหเกิดจินตภาพ  เชน 
การใชคําที่แสดงใหเห็นภาพการตอสูอยางกลาหาญของพลทหารทั้งสองฝาย  ที่ผลัดกันรุกรับขับเคี่ยวกันดวยอาวุธ 
หลากหลายทั้งขอ งาว ทวน หอก ธนู จนตางฝายตางลมตายไปเปนจํานวนมาก ดังบทประพันธ 
... คนตอคนตอรบ ของาวทบทะกัน ตางฟนตางปองปด วางสนัดหลังสาร ขานเสียง 
คึกกึกกอง วองตอวองชิงชัย ไวตอไวชิงชนะ มาไทยพะมามอญ ตางเขารอนเขาโรม ทวนแทง 
โถมทวนทบ หอกเขารบรอหอก หลอกลอไลไขวแควง แยงธนูเหนี่ยวนาว หาวตอหาวหักหาญ... 
  
นอกจากนี้ผูแตงใชคําพรรณนาการสูรบ  ทําใหผูอานเห็นภาพชางทรงของทั้งสองพระองคตางสะบัดเหวี่ยง 
กันไปมา  ผลัดเปลี่ยนกันไดทีแตก็ไมมีผูใดยอมแพ  ชางทรงของสมเด็จพระนเรศวรไดลาง  พระมหาอุปราชาก็เพลี่ยง 
พลํ้า  สมเด็จพระนเรศวรฟนพระมหาอุปราชาดวยพระแสงของาวขาดสะพายแลง  พระวรกายของพระมหาอุปราชา 
คอยๆ  เอนลงซบกับคอชางและสิ้นพระชนมบนคอชางนั่นเอง  ตอนนี้นอกจากจะเห็นภาพการรบอยางสงางามแคลว 
คลองวองไวสมเปนกษัตริยของทั้งสองพระองค  ชวงสุดทายยังเห็นภาพการสิ้นพระชนมของพระมหาอุปราชาที ่
คอยๆ เอนพระองคลงซบกับคอชาง เปนภาพที่หดหูและสะเทือนใจ ดังบทประพันธ 
  
11 
พลอยพลํ้าเพลียกถาทาน  ในรณ 
บัดราชฟาดแสงพล  พายฟอน 
พระเดชพระแสดงดล  เผด็จคู เข็ญแฮ 
ถนัดพระอังสาขอน  ขาดดาวโดยขวา 
2.3.2 อุปมาโวหาร 
อุปมาโวหาร  คือ  โวหารที่กลาวเปรียบเทียบ  เพื่อใหผูรับสารเขาใจความหมาย  อารมณความรูสึก  หรือเห็น 
ภาพชัดเจนยิ่งขึ้น  ในเรื่องนี้มีการเปรียบเทียบสมเด็จพระนเรศวรวามีฤทธิ์เหมือนพระรามยามตอสูกับทศกัณฐ  ขา 
ศึกศัตรูที่พายแพไปเหมือนพลยักษ สมเด็จพระนเรศวรก็เหมือนองคพระนารายณอวตารลงมา ดังบทประพันธ 
  
บุญเจาจอมภพขึ้น  แผนสยาม 
แสยงพระยศยินขาม  ขาดแกลว 
พระฤทธิ์ดั่งฤทธิ์ราม  รอนราพณแล 
ราญอริราชแผว  แผกแพทุกภาย 
     
12 
3. การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม   
  
3.1 คุณคาดานอารมณ 
3.1.1 การใชถอยคําสรางอารมณและความรูสึก 
แมลิลิตตะเลงพายเปนเรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตรและยอพระเกียรติพระมหากษัตริย  แตดวยความปรีชา 
ในดานภาษาอยางลึกซึ้งของผูแตง  ผูแตงสามารถใชถอยคําทําใหผูอานเกิดความสะเทือนอารมณ  เกิดความรูสึก 
เห็นใจ สะเทือนใจ เจ็บปวด โศกเศรา ไดตามจุดมุงหมายของผูแตง ดังนี ้
   
- การใชถอยคําใหเกิดความรูสึกอาลัยอาวรณ 
เชน  ตอนที่พระมหาอุปราชาเคลื่อนกระบวนทัพ  ขณะเดินทางมีการชมธรรมชาติชมพรรณไมตางๆ  โดย
การ นําชื่อตนไม ดอกไมมาเลนคําใหสัมพันธกับอารมณความรูสึกของพระมหาอุปราชา ดังบทประพันธ 
สลัดไดใดสลัดนอง  แหนงนอน ไพร 
เพราะเพื่อมาราญรอน  เศิกไสร 
สละสละสมร  เสมอชื่อ ไมนา 
นึกระกํานามไม  แมนแมนทรวงเรียม 
  
- การใชถอยคําใหเกิดอารมณสะเทือนใจ 
เชน  ตอนที่พระมหาอุปราชาเพลี่ยงพลํ้าในการศึก  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงใชพระแสงของาวฟน 
พระมหาอุปราชาที่พระอังสาขวาขาดสะพายแลง  จนพระวรกายแยกออกจากกันและสิ้นพระชนมชีพซบอยูบนคอ 
ชาง จนผูอานเกิดอารมณสะเทือนใจไปกับภาพที่จินตนาการตาม ดังบทประพันธ 
พลอยพลํ้าเพลียกถาทาน  ในรณ 
บัดราชฟาดแสงพล-  พายฟอน 
พระเดชพระแสดงดล  เผด็จคู เข็ญแฮ 
ถนัดพระอังสาขอน  ขาดดาวโดยขวา 
  
- การใชถอยคําใหเกิดความรูสึกอับอาย 
เชน  ตอนพระเจาหงสาวดีมีพระราชบัญชาใหพระมหาอุปราชายกทัพมาตีไทย  พระมหาอุปราชาไดทูลพระ 
เจาหงสาวดีวาจะมีเคราะหไมตองการออกรบ  จึงถูกพระเจาหงสาวดีตรัสประชดดวยถอยคําที่ทําใหเกิดความรูสึก 
อับอายวาใหเอาเครื่องแตงกายหญิงมาสวมใส ดังบทประพันธ  
...ธ ก็เอื้อนสารเสาวพจน แดเอารสยศเยศ องคอิศเรศอุปราช ใหยกยาตราทัพ กับนครเชียงใหม 
เปนพยุหใหญหาแสน ไปเหยียบแดนปราจิน บุตรทานยินถอถอย ขอยผูขาบาทบงสุโหร 
ควรคงทํานาย ทายพระเคราะหถึงฆาตฟงสารราชเอารส ธ ก็ผะชดบัญชาเจาอยุธยามีบุตรลวน  
13 
- การใชถอยคําแสดงความโศกเศรา 
เชน  ตอนที่ลมเวรัมภาพัดฉัตรของพระมหาอุปราชาตกมาหัก  พระองคทรงพระทัยเสียและโศกเศราวาหาก 
พระองคสิ้นพระชนมชีพ พระราชบิดาจะเปนอยางไร และใครจะปลงพระศพใหพระองค ดังบทประพันธ 
เอ็นดูภูธเรศเจา  จอมถวัลย 
เปลี่ยวอุระราชรัน-  ทดแท 
พระชนมชราครัน  ครองภพ พระเอย 
เกรงบพิตรจักแพ  เพลี่ยงพลํ้าศึกสยาม 
  
3.2 คุณคาดานคุณธรรม 
  เรื่องลิลิตตะเลงพายแสดงใหเห็นถึงความกตัญูกตเวที  เชน  บทที่แสดงใหเห็นวานอกจากพระมหาอุป-
ราชาจะหวงใยพระบิดาวาใครจะมารบแทนพระองคแลว  ยังแสดงถึงความกตัญูตอบานเมือง  กลัวจะมีสิ่งรายเกิด
ขึ้นกับบานเมืองอีกดวย  นี่ยังแสดงใหเห็นถึงความซื่อสัตยของบรรดาทหารและขุนกรีที่จงรักภักดีตอชาติบานเมือง 
ไมมีใครทรยศตอบานเมืองตัวเองเลย ซึ่งจะชวยใหแผนดินเปนปกแผนมั่นคง ดังบทประพันธ 
  
  ณรงคนเรศดาว    ดัสกร 
  ใครจักอาจออกรอน    รบสู 
  เสียดายแผนดินมอญ    มอด มวยแฮ 
  เหตูบมีมือผู    อื่นตานทานเข็ญ 
  
3.3​ ค​ ุณคาทางสังคม 
- สะทอนใหเห็นธรรมชาติของมนุษย 
  เชน  พระเจาหงสาวดีตรัสประชดพระมหาอุปราชาวา  กษัตริยของกรุงศรีอยุธยาทรงมีพระราชโอรสที่กลา 
หาญ  ไมเกรงกลัวตอการทําศึกสงคราม  แตพระราชโอรสของพระองคเปนคนขลาดเขลา  ทําใหพระมหาอุปราชา 
ทรงอับอายและเกรงกลัวพระราชอาญา  จึงเกิดขัตติยมานะ  ยอมกระทําตามพระราชประสงคของพระราชบิดา  ดัง
บทประพันธ 
...องคอุปราชยินสาร แสนอัประมาณมาตยมวล นวลพระพักตรผองเผือด 
เลือดสลดหมดคลํ้า ชํ้ากมลหมองมัว กลัวพระอาชญายอบ นอบประณตบทมูล ทูลลาไทลีลาศ 
ธ ก็ประกาศเกณฑพล บอกยุบล บ มิหึง… 
  
- สะทอนใหเห็นขนบธรรมเนียมประเพณี 
  ขนบธรรมเนียมในการศึกที่ปรากฏในเรื่อง ไดแกการประสาทและใหโอวาท การสรางขวัญกําลังใจแกทหาร
และความเด็ดขาดในการรบ  ความรูเกี่ยวกับตําราพิชัยสงคราม  การจัดทัพ  ตั้งทัพ  ประเพณี  และพิธีกรรมเกี่ยวกับ
สงคราม  เชน  พิธีโขลนทวารตัดไมขมนาม  ดังที่ปรากฏในบทประพันธที่กลาวถึงพิธีโขลนทวาร ซึ่งเปนพิธ ี บํารุงขวัญ
14 
ทหารกอนออกศึก  ทําใหเหลาทหารตางฮึกเหิมและมีกําลังใจ  โดยจะมีพระสงฆสวดพระพุทธมนตและประพรมนํ้า
พระพุทธมนตให 
  
- สะทอนขอคิดเพื่อนําไปใชในการดําเนินชีวิต 
  ลิลิตตะเลงพายไดแสดงคุณธรรมดานตางๆ  ที่มีคุณคาตอการดําเนินชีวิต  เชน  ความรับผิดชอบตอหนาที ่
ความเมตตากรุณา  ความนอบนอม  การใหอภัย  โดยสอดแทรกอยูในบทประพันธผูอานจะสามารถซึมซับคุณธรรม
เหลานี้ผานความงามของภาษา  สามารถจรรโลงใจผูอานไดเชน  ตอนที่พระเจานันทบุเรงทรงสอนการศึกแกพระ 
มหาอุปราชา ก็เปนขอคิดที่มีคุณคาอยางยิ่งตอการดําเนินชีวิต 
  
- แสดงเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตร 
  ลิลิตตะเลงพายไดอธิบายเหตุการณในประวัติศาสตร  ตั้งแตการสิ้นพระชนมของสมเด็จพระมหาธรรมราชา 
สมเด็จพระนเรศวรทรงขึ้นครองราชย  พระเจาหงสาวดีมีพระราชบัญชาใหพระมหาอุปราชายกทัพมาตีไทยจนนํามา
สูการทํายุทธหัตถี  ระหวางสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุปราชาและพระนเรศวรมหาราชทรงไดรับ
ชัยชนะ  จากนั้นพระองคทรงปูนบําเหน็จแกทหารและปรึกษาโทษนายทัพนายกองที่ตามเสด็จเขาไปรวมรบไมทัน 
แลวสมเด็จพระวันรัตไดทูลขอพระราชทานอภัยโทษให  โดยตองไปตีทวายและตะนาวศรีเปนการแกตัว  จึงนับไดวา
ลิลิตตะเลงพายเปนเอกสารสําคัญทางประวัติศาสตรอยางหนึ่ง  ที่ใหความรูเกี่ยวกับเหตุการณการทํายุทธหัตถีของ
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุปราชา 
   
15 
บรรณานุกรม 
  
  
  
กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวง. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน 
ภาษาไทย วรรณคดีวิจักษชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕. ลาดพราว : โรงพิมพสกสค. ๒๕๕๑. ๑๓๑ หนา 
  
ชนิดา ฉิมนาคพันธ. ลิลิตตะเลงพาย [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๓. สืบคนไดจาก 
https://sites.google.com/site/lilittalengphay88/3-laksna-kha-praphanth jasminebow. 
  
คุณคาที่ไดรับจากเรื่องลิลิตตะเลงพาย [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๓. สืบคนไดจาก https://
literaturethai.wordpress.com/2012/07/01/คุณคาที่ไดรับจากเรื่-4/ kruaphichitblog. 
  
วิเคราะหลิลิตตะเลงพาย [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๓. สืบคนไดจาก 
https://teachertonthai.wordpress.com/2017/10/28/first-blog-post/ 
  
 
 

You might also like