You are on page 1of 18

รายงานเชิงวิชาการ 

การอ่านและพิจารณาวรรณคดี บทละครพูดคําฉันท์ เรืองมัทนะพาธา 

โดย 

นายกสิณ กสิณธร ชันมัธยมศึกษาปที 5/1 เลขที 7 

นางสาว วริศา เลิศสถิตย์พงษ์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/1 เลขที 9 

นางสาว ณัฐกฤตา เนียมงาม ชันมัธยมศึกษาปที 5/1 เลขที 11 

เสนอ 

อาจารย์ พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์ 

ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2562 

โรงเรียนสาธิตนานาชาติมหาวิทยาลัยมหิดล 

รายงานนีเปนส่วนหนึงของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเปนพืนฐาน 

(Project Based Learning) 

รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชันมัธยมศึกษาปที 5   
คํานํา 

รายงานเล่มนีเปนส่วนหนึงของการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย และวัฒนธรรม ชันมัธยมศึกษาปที 5 

โดยมีจุดประสงค์ในการวิเคราะห์วรรณคีดเรือง บทละครพูดคําฉันทร์ เรืองมัทนพาธา ซึงเปนพระราชนิพนธ์ใน

พระบาทสมเด็พระเจ้าอยูห
่ วั รัชกาลที 6 ว่าด้วยความทุกข์ระทมจากความรัก โดยในรายงานเล่มนีจะมีเนือหา

เกียวกับการพิจารณาและวิเคราะห์เนือเรือง, ตัวละคร, กลวิธใี นการประพันธ์, การใช้ภาษา, คุณค่าในด้านต่างๆ 

และประโยชน์ทีได้รบ
ั จากวรรณคดีเรืองนี 

คณะผูจ
้ ัดทําขอขอบคุณอาจารย์พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์ ผูใ้ ห้ความรู,้ คําแนะนํา และความช่วย

เหลือมาตลอดจนทําให้รายงานเล่มนีสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผูจ
้ ัดทําได้หวังเปนอย่างยิงว่ารายงานเล่มนีจะ

เปนประโยชน์แก่ผอ
ู้ ่าน หากมีขอ
้ ผิดพลาดประการใด ทางคณะผูจ
้ ัดทําขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ทีนี 

คณะผูจ
้ ัดทํา 

พฤษภาคม 2563 

1
สารบัญ 

 
เรือง   หน้า 
 
1. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม  

เ​ นือเรือง 3 

​ โครงเรือง 3 

​ ตัวละคร 3-4 

​ ฉากท้องเรือง 4 

​ บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 5 

​ แก่นเรือง 5-6 

2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม  

​ การสรรคํา 6-8 

​ การเรียบเรียงคํา 8 

​ การใช้โวหาร 9-10 

3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม  

​ คุณค่าด้านอารมณ์ 11 

​ คุณค่าด้านคุณธรรม 11-13 

​ คุณด่าด้านวรรณศิลป 14-16 

4. บรรนาณุกรม 17 
   

2
1. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม 

เนือเรือง 

มัทนะพาธาเปนเรืองสมมุติว่าเกิดในอินเดียโบราณเนือเรืองกล่าวถึงเหตุการณ์บนสวรรค์ เทพ
บุตรสุเทษณ์หลงรักเทพธิดามัทนาแต่นางไม่ปลงใจด้วย สุเทษณ์จึงขอให้วิทยาธรมายาวินใช้เวทมนตร์
สะกดเรียกนางมา มัทนาเจรจาตอบสุเทษณ์อย่างคนไม่รูส ้ ก
ึ ตัว สุเทษณ์จึงไม่โปรดเมือขอให้มายาวิน
คลายมนตร์ มัทนาก็รูส้ ก
ึ ตัวและตอบปฏิเสธสุเทษณ์ สุเทษณ์โกรธจึงสาปให้เธอจุติไปเกิดบนโลกมนุษย์ 
มัทนาขอไปเกิดเปนดอกกุหลาบ สุเทษณ์กําหนดว่าให้ดอกกุหลาบดอกนันกลายเปนมนุษย์เฉพาะวัน
เพ็ญเพียงวันและคืนเดียวต่อเมือมีความรักจึงจะพ้นสภาพจากเปนดอกไม้ และหากเปนความทุกข์เพราะ
ความรักก็ให้วิงวอนต่อพระองค์พระองค์จะช่วย 
 
 

โครงเรือง 

เปนเรืองสมมุติว่าเปนต้นกําเนิดของดอกกุหลาบ เนือเรืองเปนปมขัดเเย้งโดย หญิงสาวคนหนึง


ได้ปฏิเสธความรักของผูช
้ าย เพราะตนไม่ได้รูส
้ ก
ึ อะไรกับผูช
้ ายคนนัน ผูช
้ ายคนนันจึงโกรธมากเเละได้
สาปให้หญิงสาวนันไปเกิดบนโลกมนุษย์ โดยต้องกลายเปนดอกกุหลาบ เเละจะถอนคําสาปได้ก็ต่อเมือ
หญิงสาวมีความรักเท่านัน 
 
 

ตัวละคร 

มีตัวละครหลักๆ คือ สุเทษน์ นางมัทนา และ มายาวิน สุเทษณ์ เปนเทพบุตรทีหมกมุน


่ ในตัณหาราคะ เจ้า
อารมณ์ เอาแต่ใจตนเอง และไม่คํานึงถึงความรูส
้ ก
ึ ของผูอ
้ ืน   

ดังตัวอย่าง 

สุเทษณ์ : เหวยจิตรเสน มึงบังอาจเล่น ล้อกูไฉน? 

จิตระเสน : เทวะ, ข้าบาท จะบังอาจใจ ทําเช่นนันไซร้ได้บพ


่ งึ มี. 

สุเทษณ์ : เช่นนันทําไม พวกมึงมาให้ พรกูบด


ั นี, ว่าประสงค์ใด ให้สมฤดี? มึงรูอ
้ ยูน
่ ?ี ว่า
กูเศร้าจิต เพราะไม่ได้สม 

จิตทีใฝชม, อกกรมเนืองนิตย์. จิตระเสน : ตูขา้ ภักดี ก็มแ


ี ต่คิด เพือให้ทรงฤทธิ โปรดทุก
ขณะ. 

สุเทษณ์ : กูไม่พอใจ ไล่คนธรรพ์ไป บัดนีเทียวละ อย่ามัวรอลัง 

3
มัทนา - ซือสัตย์ นิสย
ั ตรงไปตรงมา คิดอย่างไรก็พดู อย่างนัน ไม่รก
ั ก็บอกตรงๆ ไม่พด

ปดหลอกลวง ไม่มเี ล่หเ์ หลียม พูดแต่ความจริง แต่ความจริงทีนางพูดทําให้นางต้องได้
รับความลําบากทุกข์ระทมใจ ตัวอย่างเมือ 

สุเทษณ์บอกรักนางและขอให้นางให้คําตอบ 

มัทนา : ฟงถ้อยคําดํารัสมะธุระวอน ดนุนผิ


ี เอออวย. 

จักเปนมุสาวะจะนะด้วย บ มิตรงกะความจริง. 

อันชายประกาศวะระประทาน ประดิพท
ั ธะแด่หญิง,  

หญิงควรจะเปรมกะมะละยิง ผิวะจิตตะตอบรัก;  

แต่หากฤดี บ อะภิรมย์ จะเฉลยฉะนันจัก  

เปนปดและลวงบุรุษะรัก ก็จะหลงละเลิงไป. 

ตูขา้ พระบาทสิสจ
ุ ริต บ มิคิดจะปดใคร,  

จึงหวีงและมุง่ มะนะสะใน วรเมตตะธรรมา. 

มายาวิน-วิทยาธรผูม้ วี ิชาอาคมใช้เวทย์มนต์เรียกนางมัทนามาพบสุเทษณ์เทพบุตรทังๆ
ทียังหลับใหล อัน เปนบ่อเกิดแก่โทสะของสุเทษณ์ ต่อนางมัทนา 

  

ฉากท้องเรือง 

ฉากท้องเรืองของมัทนะพาธานันเกิดขึนบนสวรรค์ เนืองจากสุเทษณ์ มัทนา และมายาวินเปนเทพ เทวดา 


นางฟา ซึงเทพ เทวดา และนางฟาจะอาศัยอยูบ ่ นสวรรค์ และข้อสังเกตุนนก็
ั สามารถดูได้ดังบทต่อไปนีทีเมือมายา
วิน คลายคาถาให้มท
ั นา พอมัทนารูส
็ ก
ึ ตัวก็ถามว่าทําไมมาอยูใ่ นนีและมัทนาก็ได้กล่าวว่า 

“ เหตุใดพระองค์ทรงธรรม์ จึงทําเช่นนัน ให้ขา้ พระบาทต้องอาย  

แก่หมูช
่ าวฟาทังหลาย? โอ้พระฦสาย พระองค์จงทรงปราณี” 

ในบททีมัทนาได้กล่าวมานัน จะสังเกตุได้จากคําว่าหมูช
่ าวฟา ซึงคํานีแสดงให้เห็นว่าสถานทีแห่งนีไม่ใช่บนโลก 
แต่เปนบนสวรรค์ เนืองจากคําว่าชาวฟานันสือถึงเทพ เทวดา นางฟาทีอยูบ ่ นสวรรค์ หรือจะเปนตอนทีสุเทษณ์กํา
ลังจะ สาปมัทนาให้มาจุติอยูบ
่ นโลกมนุษย์ 

4
 

บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 

บทละครพูดคําฉันท์เรืองมัทนะพาธา ประพันธ์ขนเพื
ึ อใช้แสดงละครพูด กวีทรงคํานึงถึงรูปแบบในการ 
ประพันธ์ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการใช้ กล่าวคือมีคําฉันท์ประเภทต่างๆเช่น กาพย์ยานี กาพย์ฉบัง กาพย์ 
สุรางคนางค์ ทําให้การใช้ภาษามีความหลากหลาย เหมาะสมกับการเจรจาสนทนาของตัวละคร เช่น ตอนทีสุ
เทษณ์ ตัดพ้อมัทนา และนางเจรจาตอบ ได้แสดงจังหวะทีรวดเร็วของการโต้ตอบกัน กวีจึงเลือกใช้วสันตดิลกฉันท์ 
ซึงมีลีลา กระชับฉับไหว  

ดังตัวอย่าง 

สุเทษณ์ : รักจริงมิจริง ฤ ก็ไฉน อรไท บ่ แจ้งการ? 

มัทนา : รักจริงมิจริงก็สรุ ชาญ ชยะโปรดสถานใด? 

สุเทษณ์ : พีรักและหวังวธุจะรัก และ บ ทอด บ ทิงไป. 

มัทนา : พระรักสมัคร ณ พระหทัย ฤ จะทอดจะทิงเสีย? 

สุเทษณ์ : ความรักละเหียอุระระทด เพราะมิอาจจะคลอเคลีย 

มัทนา : ความรักระทดอุระละเหีย จะหายเพราะเคลียคลอ? 

สุเทษณ์ : โอ้โอ๋กระไรนะมะทะนา บ มิตอบพะจีพอ? 

มัทนา : โอ้โอ๋กระไรอะมระง้อ มะทะนามิพอดี! 

แก่นเรือง 

พระราชนิพนธ์เรืองนีแสดงว่า แก่นเรือง มีอยู่ 2 ประการคือ 

1. กล่าวถึงตํานานของดอกกุหลาบ ซึงเปนดอกไม้ทีสวยงาม แต่ก็มอ ี ันตรายแฝงอยูเ่ พราะมีหนามคม ดอก


กุหลาบนัน เปรียบเสมือนหญิง ทีเมือชายไหนเข้าใกล้ก็ควรระวังตัวมากขึน 

2. ดอกกุหลาบไม่เคยมีตํานานเปนเทพนิยาย สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ่ วั ทรงพระราชนิพนธ์ให้ดอก


กุหลาบมี กําเนิดจากจากนางฟา ทีถูกสาปให้เกิดบนโลกมนุษย์ เนืองมาจากความรักทีไม่สมปรารถนา
ของเทวดาตนหนึงกับ นางฟา กลายเปนโศกนาฏกรรมของความรัก และดอกกุหลาบเปนสัญลักษณ์ของ
ความรักทีไม่สมหวังตามบทพระราชนิพนธ์ดังกล่าว 

5
ไม้เรียกปะกากุพ- ชะกะสีอรุณแสง   

ปานแก้มแฉล้มแดง ดรุณี ณ ยามอาย 

ดอกใหญ่และเกสร สุวะนธะมากมาย  

อยูท
่ น บ วางวาย มธุรสขจรไกล 

อีกทังสะพังหนาม ดุจเข็มประดับไว้ 

ผึงเขียวสิบน
ิ ไขว่ บ มิใคร่จะห่างเหิน 

คําฉันท์ดังกล่าวนันคือ นิยามของดอกกุหลาบทีพระองค์ทรงตังให้สข
ี องดอกกุหลาบนัน เหมือนสีของแก้มผู้ หญิง
เวลาอาย ดอกกุหลาบนันมีดอกใหญ่ เกสรของมันกลินหอมและมีหนามแหลมคม 

2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 

การสรรคํา 

การสรรคํา คือการเลือกใช้คําให้สอความคิ
ื ด ความเข้าใจ ความรูส
้ ก
ึ และอารมณ์ได้อย่างงดงาม โดยคํานึง
ถึงความงามด้านเสียง โวหาร และรูปแบบคําประพันธ์ การสรรคําทําได้ดังนี การเลือกคําให้เหมาะแก่เนือเรือง
และฐานะของบุคคลในเรือง 
 
ทีผูเ้ เต่งได้ใช้ในการประพันธ์บทละครพูดคําฉันท์เรืองมัทนะพาธานัน สามารถ แบ่งไดดังหัวข้อตอไปนี 
 
- การเลือกใช้คําให้เหมาะสมกับประเภทของคําประพันธ์ 
 
ในวรรณคดีเรือง มัทนะพาธา ซึงเปนคําประพันธ์ประเภทบทละครพูดคําฉันท์ได้มก ี ารเลือกใช้คําบาลี
และ สันสกฤตเปนหลัก ประกอบกับการใช้ประเภทคําประพันธ์ต่างๆทีเปนแบบแผน เพือสืออารมณ์และความ
รูส
้ ก
ึ ได้อย่าง ชัดเจน อย่างเช่น 
 
ฟงถอยคําดํารัสมะธุระวอน ดนุนผิี เอออวย 

ดนุนผิ
ี เอออวย บมิตรกะความจริง 

วันชายประกาศวะระประทาน ประดิพท
ั ธะแดหญิง 

หญิงควรจะเปรมกะละมะยิง ผิวะจิตตะตอบรัก 

 
ในตัวอย่างนีผูเ้ เต่งได้นาํ คําทีมาจากภาษาบาลีเเละภาษาสันสกฤตเพือเน้นอารมณ์ทีอ่อนหวาน 
 
 

6
 
- การเลือกใช้คําศัพท์สงู  
 
ในวรรณคดีเรืองนี มีการใช้คําทีมาจาก๓าษาอืนๆ เช่น ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตเเละภาษาเขมร ผู้
เเต่งเลือกใช้คําชนิดนีในบางบทเพือให้เหมาะสมกับตัวละคร คําทีมาจากภาษาอืนนีเมือเลือกสรรและนํามาไว้ใน
บทประพันธ์อย่างเหมาะสมแล้ว จะช่วยให้บท ประพันธ์มค ี วามสง่างามและมีเสียงไพเราะ  
 
ดังตัวอย่าง 
 
ฆาพิฆน
ฺ ะสินสุด ประลัย; 

อางามกายะพระพรายประหนึงระวิอุทัย,  

กองโกญจะนาทให สะหรรษ; 

เปนเจาสิบปะประสิทธิวิวิธะวรรณ 

วิทย
ฺ าวิเศษสรร- พะสอน;  

ยามฃากอบกรณียพิธม
ี ะยะบวร,  

  จงโปรดประทานพร ประสาท, 

 
 
 
ตัวอย่างนีประกอบไปด้วยคําทีมาจากหลายภาษาเช่นภาษาบาลีเเละภาษาสันสกฤตซึงช่วยทําให้ใช้คําใน
หลากหลายรูปเเบบง่ายขึนเพราะมีคําให้ใช้เปนจํานวนมาก ทําให้เกิดความรูส ้ ก
ึ ทีเกียวกับการบูชากษัตริยเ์ เละ
เทพเจ้า 
 
 
- คําทีเล่นเสียงหนักเบาของบทประพันธ์ 
 
ลักษณะสําคัญอย่างหนึงทีกวีมกั เลือกใช้คือการเล่นเสียงหนักเบาและจังหวะ เพือให้รอ ้ ยแก้ว หรือร้อย 
กรองทีประพันธ์นนมี ั ความไพเราะทางด้านเสียง 
 
ในบทประพันธ์เรืองมัทนะพาธา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ่ วั ได้ใช้คําประพันธ์ประเภทฉันท์
ใน ตอนทีต้องการจังหวะเสียงและเน้นอารมณ์และในการประพันธ์ฉน ั ท์ อย่างเช่น 
 
ดูกอนสุชาตา มะทะนาวิไลศรี 

ยามองคสุเทษณม วรพจนประการใด 

นางจงทํานูลตอบ มะธุรสธตรัสไซร 

7
เขาใจมิเขาใจ ฤก็ตอบพะจีพลัน 

 
 
  
 
- คําพ้องเสียงและคําซา 
 
การซาคํา คือการใช้คําคําเดียวกันหลายครังในการเรียบเรียงคําประพันธ์ตอนใดตอนหนึง ซึงคําทีซากัน 
จะ เรียงชิดกันหรือมีคําอืนมาคันก็ได้และจะอยูใ่ นวรรคเดียวกันหรือต่างวรรคต่างบาทกันก็ได้สว่ นตําแหน่งขอ
งการซาคํา จะอยูท่ ีต้นวรรค กลางวรรค หรือ ทายวรรคก็ได้ทังนีเพือความไพเราะ และช่วยสือความหมายของคํา
ประพันธ์การ ซาคําทีปรากฏในพระราชนิพนธ์เรืองมัทนะพาธา เพือขับเน้นความหมายของคํานันๆให้หนักแน่น
และเพือความไพเราะของบทประพันธ์ 
 
ดังตัวอย่าง 
 
งามผิวประไพผอง กลทาบศุภาสุพรรณ 

ง​ ามแกมแฉลมฉัน พระอรุณแอรมละลาน 

ง​ ามเกศะดําฃํา กลนําณทองละหาน 

ง​ ามเนตรพินศ
ิ ปาน สุมณีมะโนหะรา 

  

การเรียบเรียงคํา 

เรียงประโยคจากประโยคทีสําคัญน้อยทีสุดไปสําคัญมากทีสุด ในบทประพันธ์เรืองมัทนะพาธา มีการ


เรียบเรียงคําหลากหลายรูปแบบโดยคําประพันธ์ทียกตัวอย่างมามีการเรียบเรียงประโยคให้เนือหาเข้มข้นขึนไป
ตามลําดับโดยมีประโยค สุดท้ายสําคัญทีสุด 
 
ดังตัวอย่าง 
 
นางมทะนา จุติอย่านาน 

จงมะละฐาน สุระแมนสวรรค์ 

ไปเถอะกําเนิด ณ หิมาวัน 

ดังดนุลัน วจิสาปไว้ 

8
การใช้โวหาร 

ผูป
้ ระพันธ์ใช้โวหารประเภทต่างๆในวรรณกรรมเรืองนีเพือทําให้ผอ ู้ ่านสามารถใช้จินตนาการ นึกภาพ
ตามบทประพันธ์จนเห็นภาพและเข้าใจฉากต่างๆรวมไปถึงความรูส ่ ก
ึ นึกคิดของตัวละครในเรืองมากขึน การใช้
ู้ ่านมีอารมณ์รว่ มและคล้อยตามไปกับบทประพันธ์มากยิงขึน 
โวหารประเภทต่างๆนีจะช่วยเสริมให้ผอ
 
 
- มีการเปรียบเทียบสิงหนึงเหมือนกับอีกสิงหนึง(Simile) 
 
ผูป
้ ระพันธ์ได้ใช้กลวิธใี นการนําสิงนึงมาเปรียบทับกับอีกสิง เเละ บอกว่าสิงนันเหมือนกับอีกสิง 
ในบทประพันธ์นี เช่น การเปรียบเทียบรูปร่างลักษณะเทพเจ้าเพือให้ผอ ู้ ่านเห็นภาพชัดเจนขึน ทังยังมี
การเปรียบเทียบอากัปกริยาของสิงมีชวิ ิต  
 
ดังตัวอย่าง 
 
 
ครานางสนมเปรียบ ประหนึงและถอยที 

วูธยอดฤดีพี ประหนึงหงส์สพ
ุ รรณพรรณ 

 
 
ในบทประพันธ์มก ี ารเปรียบเทียบนางมัทนากับหงส์มค ี วามหมายว่านางมัทนามีความสวยสดงดงามอ่อน
ช้อยเหมือนหงส์  
 
 
 
- การเปรียบเทียบสิงหนึงเปนอีกสิงหนึง(Metaphor) 
 
ในบทประพันธ์มก ี ารเปรียบเทียบด้วยการกล่าวว่าสิงหนึงเปนอีกสิงหนึงเปนการเปรียบเทียบที
ไม่กล่าวตรง ๆ ใช้การกล่าวเปนนัยให้ผอ ู้ ่านเข้าใจได้เอง โดยนําเอาลักษณะ สําคัญของสิงทีต้องการ
เปรียบเทียบ มาเปรียบเทียบทันทีโดยโดยไม่ต้องมีคําเชือมโยง ไม่ต้องใช้คําแสดงการเปรียบเทียบ ไม่มี
คําแสดงความหมายว่า “ เหมือน” ปรากฏอยู่ หรือถ้าจําเปนต้องใช้ก็ใช้คําว่า “เปน” หรือ “คือ” อุป
ลักษณ์ เปนการใช้ถ้อยคําภาษา ในเชิงการเปรียบเทียบทีมีชนเชิ ั งและลึกซึงกว่าอุปมา จึงได้ความมากแม้
จะใช้คําน้อย 
 
ดังตัวอย่าง 
 
จิตระรถ : ผูน ้ มี
ี ความรูช ้ น
ิ เชิงชาญโยคิน 
  และเชียวอาถรรพวิทยา,  
รูจ
้ ักใช้โยคะนิทรา ไปผูกหทยา 
  แห่งผูท
้ ีอยูแ
่ ม้ไกล, 

9
  อาจร่ายมนตร์เรียกมาได้ 
 
สุเทษณ์ : อ๊ะ ! จริงหรือไฉน?  
  
จิตระรถ : ฃ้าบาทได้เห็นเองแล้ว 
  
สุเทษณ์ : ถ้าจริงเฃาก็เปนแก้ว !  
    
 
จากในบทประพันธ์ มีการเปรียบเทียบว่ามายาวินเปนเเก้ว เเละ เเก้วเปนสิงทีสําคัญเเละลาค่า ในเรืองนี
มายาวินสามารถใช้เวทมนตร์ได้เเละยังมีความรูเ้ ปนมหาศาลย์จึงเปรียบเทียบว่ามายาวินเปนเหมืนเเก้ว 
 
 
 
- การใช้ชอส่
ื วนประกอบทีเด่นของสิงหนึงแทนสิงนันๆ (Symbol) 
 
ผูป
้ ระพันธ์มกี ารเรียกชือสิงหนึงเพือแสดงถึงอีกสิงหนึงแทนการเรียกตรงๆ คล้ายๆสัญลักษณ์แต่
ต่างกันตรงที นามนัยจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิงหนึงมากล่าวให้หมายถึงส่วนทังหมด หรือใช้ชอ ื
ส่วนประกอบสําคัญของสิงนันแทนสิงนันทังหมด 
 
ดังตัวอย่าง 
 
ยิงฟงพะจีศร ก็ระตีประมวญประมูล 

ยิงขัดก็ยงพู
ิ น ทุขะทวมระทมหะทัย 

อ้าเจ้าลําเภาพักตร์ สิรล
ิ ักษะณาวิไลย 

พีจวนจะคลังไคล สติเพือพะวงอนงค์ 

 
ในบทประพันธ์นี นางมัทนาโดนสุเทษณ์สาปให้กลายเปนดอกกุหลาบ ดอกกุหลาบเปนตัวเเทนข
องความรักทีอยูใ่ นโลก ในพระพุทธศาสนาความรักเปนสิงทีไม่เเน่นอนเเละสามารถนําพาความยากทุกข์
มาได้ 
 
 

3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 

​คณ
ุ ค่าด้านอารมณ์ 

มัทนพาธาเปนวรรณคดีทีให้คณ ุ ค่าด้านอารมณ์ในเรืองความทุกข์และความโศรกเศร้าทีได้รบ ั จากการรัก


ใคร ซักคนหนึง ไม่ว่าจะเปน การรักคนรัก, การรักเจ้านาย, การรักลูก ฯลฯ ผูป
้ ระพันธ์มค
ี วามสามารถมากเปน

10
อย่างยิงในการใช้ถ้อยคําและโวหารต่างๆในการทําให้ผอ ู้ ่านมีอารมณ์คล้อยตาม และรูส้ กึ ทราบซึงไปกับ
วรรณกรรมไม่ว่าจะเปนอารมณ์อกหักและอารมณ์ โกรธของสุเทษณ์ทีต้องบังคับให้นางมัทนารักตนและโดนยนาง
มัทนาปฏิเสธรัก, อารมณ์สข ุ สมของท้าวชัยเสนและนางมัทนาทีรักกัน, อารมณ์รษ ิ ยาของจัณฑีมเหสีทีได้เห็นพระ
สวามีของตนหรือท้าวชัยเสนรักนางมัทนา, อารมณ์เศร้าและผิดหวังของท้าวชัยเสนตอนที ษีบอกกับตนว่านาง
มัทนานอกใจไปทําเสน่หใ์ ส่ทหารคนสนิทของตน และอารมณ์ใจสลายของท้าวชัยเสนและนางมัทรีตอนทีสุเทษณ์
เสกให้นางมัทนากลายเปนดอกกุพชกะอย่างถาวรจึง ไม่สามารถกลับมาพบรักกันได้อีกครัง  
 
หนึงในตัวอย่างทีผูป้ ระพันธ์สออารมณ์
ื ให้ผอ
ู้ ่านคล้อยตามได้เปนอย่างดี คือ เมือมายาวินเล่าเรืองราวใน
อดีตของสุเทษณ์และนางมัทนาและอธิบายเหตุผลว่าทําไมนางมัทนาจึงไม่รก ั สุเทษณ์ ผูป
้ ระพันธ์เลือกใช้
อินทรวิเชียรฉันท์ 11 ทีมีทํานองเร็วในการประพันธ์ตอนส่วนเล่าเรือง, ใช้วสันตดิลกฉันทร์ทีมีทํานองอ่อนหวาน
เมือเล่าถึงตอนสุเทษณ์ฝากรักนางมัทนา และ ใช้กมลฉันท์ทีมีคําครุลหุตอนสุเทษณ์กริวนางมัทนาเพือให้ผอ ู้ ่านมี
อารมณ์โกรธร่วมไปกับตัวละคร 
 
ดังตัวอย่าง 

มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชช
ิ า่ งจํานรรจา 

ก็และเจ้ามิเต็มจิต จะสดับดนูชวน 

ผิวะให้อนงค์นวล ชนะหล่อนทนงใจ 

บ่มย
ิ อมจะร่วมรัก และสมัครสมรไซร้ 

ก็ดะนูจะยอมให้ วนิดานวาศสวรรค์ 

 
 
 

คุณค่าด้านคุณธรรม 

1. สะท้อนแง่คิดให้คนในสังคมได้เข้าใจพุทธวัจนะ “ทีใดมีรก ั ทีนันมีทกุ ข์” ว่า เมือมีความรัก   


ต้องรักอย่างมีสติ ใช้วิจารณญาณอย่างรอบคอบ มิใช่รก ั อย่างลุ่มหลงจะเกิดความทุกข์ได้  
 
ดังตัวอย่าง 
 
1.1 สุเทษณ์รก ั นางมัทนาแต่ไม่สมหวังก็เปนทุกข์ แม้เมือได้เสวยสุขเปนเทพบุตรก็ยงั รักนางมัทนาอยู่ จึง
ทําทุกอย่างเพือให้ได้นางมาแต่ไม่สมหวังก็พร้อมทีจะทําลาย ความรักเช่นนีเปนความรักทีเห็นแก่ตัวควร
หลีกหนีให้ไกล 

1.2 ท้าวสุราษฎร์รก
ั ลูกและรักศักดิศรี พร้อมทีจะปกปองศักดิศรีและลูกแม้จะสูไ้ ม่ได้และต้องตาย
แน่นอนก็พร้อมทีจะสู้ เพราะรักของพ่อแม่เปนรักทีลริสท
ุ ธิและเทียงแท้ 

1.3 นางมัทนารักบิดา นางยอมท้าวสุเทษณ์เพือปกปองบิดา รักศักดืศรีและรักษาสัจจะ เมือทําตาม


สัญญาแล้วจึงฆ่าตัวตาย รักของนางมัทนาเปนความรักทีแท้จริงมันคง กล้าหาญและเสียสละ 

11
1.4 ท้าวชัยเสนและนางจันที เปนความรักทีมีความใคร่และความหลงอยูด ่ ้วยจึงมีความรูส
้ ก
ึ หึงหวง โกรธ
แค้นเมือถูกแย่งชิงคนรัก พร้อมทีจะต่อสูท
้ ําลายทุกอย่างเพือให้ได้กลับคืนมา 

ตัวละครทังหมดในเรืองประสบแต่ความทุกระทมจากความรัก มีรก ั แล้วรักไม่สมหวังก็เปนทุกข์ อยูก


่ ับคนทีไม่รก
ั ก็
เปนทุกข์ มีรก
ั แล้วไม่ได้อยูก
่ ับคนรักก็เปนทุกข์ มีความรักแล้วถูกแย่งคนรักก็เปนทุกข์ มีรกั แล้วพลัดพรากจากสิง
ทีรักก็เปนทุกข์แก่นของเรืองมัทนะพาธาแสดงให้เห็นว่า ผูท ้ ีมีความรักต้องเจ็บปวดจากความรักทังสิน 

 
2. สะท้อนให้เห็นค่านิยมเกียวกับการครองรักระหว่างหญิงชายต้องเกิดจากความพึงพอใจทังสองฝาย 
มิใช่เกิดจากการบังคับขูเ่ ข็ญให้รบ
ั รัก จึงจะเกิดความสุขในชีวิต  
 
ดังตัวอย่าง 
 
สุเทษณ์ : อ๊ะ! เราไม่ขอ ได้นางละหนอ โดยวิธน
ี น! 

เสียแรงรัก สมัครใจครัน อยากให้ให้นางนัน สมัครรักตอบ. 

ผูกจิตด้วยมนตร์ แล้วตามใจตน ฝายเดียวมิชอบ, 

เราใฝละโบม ประโลมใจปลอบ ให้นางนึกชอบ นึกรักจริงใจ. 

ฉะนันท่านครู คลายเวทมนตร์ดู อย่าช้าราไร, 

หากเราโชคดี ครังนีคงได้ สิทธิสมดังใจ; รีบคลายมนตรา. 

  
 
3. สะท้อนให้เห็นค่านิยมของสตรีไทยในยุคสมัยนันว่ามีความซือสัตย์และยึดมันความรักเดียวใจเดียว 
 
ดังตัวอย่าง 
 
มัทนา : โอ้โอ๋ละเหียอุระสดับ วรศัพทะท่านทรง 

อ้อยอิงแสดงวรประสง- คะ ณ ตัวกระหม่อมฉัน; 

อยากใคร่สนองพระวรสุน- คะ ณ ตัวกระหม่อมฉัน; 

อยากใคร่สนองพระวรสุน- ทรคุณอเนกนัน 

จนใจเพราะผิดคติสธ
ุ รรม์ สุจริตประติชฺญา 

ขอให้พระองค์อะมะระเท- วะเสวยประโมทา 

หม่อมฉันจะขอประณตะลา สุระราชลิลาศไป. 

12
4. ใ​ ห้ขอ
้ คิดในการครองตน 

หญิงใดอยูใ่ นฐานะอย่างนางมัทนาจะต้องมีความระมัดระวังตัว หลีกหนีจากผูช ้ ายมากราคะให้ไกล กวีจึงกําหนด


ให้ทางมัทนาถูกสาปกลายเปนดอกไม้ชอดอกกุ ื พชกะ (กุหลาบ) ซึงสวยงามมีหนามแหลมคมเปนเกราะปองกันตน
ให้พน้ จากมือผูท
้ ีปรารถนาจะหักหาญรานกิงหรือเด็ดดอกไปเชยชม ดอกกุหลาบจึงเปนสัญลักษณ์แทนหญิงสาวที
มีรูปสวยย่อมเปนทีหมายปองของชายทัวไป หนามแหลมคมเปรียบเหมือนสติปญญา ดังนันถ้าหญิงสาวทีรูปงาม
และมีความเฉลียวฉลาดรูท ้ ันเล่หเ์ หลียม ย่อมสามารถเอาตัวรอดจากผูท้ ีหมายจะหยามเกียรติหรือหมินศักดิศรีได้ 

5. ให้ขอ
้ คิดในเรืองการมีบริวารทีขาดคุณธรรมอาจทําให้นายประสบหายนะได้  

บริวารของท้าวสุเทษณ์ทีเปนคนธรรพ์ ชือจิตระเสนมีหน้าทีบํารุงบําเรอให้เจ้านายมีความสุข มีความพอใจ ดังนัน


จึงทําทุกอย่างเพือเอาใจผูเ้ ปนเจ้านาย เช่น แสวงหาหญิงงามมาเสนอสนองกิเลสตัณหาของเจ้านาย ให้วิทยาธร
ชือมายาวินใช้เวทมนตร์สะกดนางมัทนามาให้ท้าวสุเทษณ์ บริวารลักษณะอย่างนีมีมากในสังคมจริง ซึงมีสว่ นให้
นาย หรือประเทศชาติ ประสบความเดือดร้อนเสียหายได้ 

6. สอดแทรกความคิดเกียวกับความเชือในสังคมไทย เช่น 
 
- ความเชือเรืองชาติภพ 
- ความเชือเรืองการทําบุญมากๆ จะได้ไปเกิดในสวรรค์ และเสวยสุขในวิมาน 
- ความเชือเรืองทํากรรมสิงใดย่อมได้รบ
ั ผลกรรมนัน 
- ความเชือเรืองเวทมนตร์คาถา การทําเสน่หเ์ ล่หก
์ ล 
 

   

13
คุณด่าด้านวรรณศิลป 

1. การใช้ถ้อยคําและรูแบบคําประพันธ์เหมาะสมกับเนือหา  

ทําให้ผอ
ู้ ่านเกิดความรูส
้ ก
ึ คล้อยตาม เกิดความประทับใจอยากติดตามอ่าน เช่น เมือมายาวินเล่าเรืองราวในอดีต
ถวายสุเทษณ์ว่าเหตุใดมัทนาจึงไม่รก ั สุเทษณ์ กวีเลือกใช้อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ ทีมีท่วงทํานองเร็วเหมาะแก่การ
เล่าความ หรือบรรยายเรือง ส่วนเนือหาตอนสุเทษณ์ฝากรักนางมัทนานันใช้วสันตดิลกฉันท์ ซึงมีท่วงทํานองที
อ่อนหวาน เมือสุเทษณ์กริวนางมัทนาก็ไช้ กมลฉันท์ ซึงมีคําครุลหุทีมีจํานวนเท่ากันแต่ขนต้ ึ นด้วยคําลหุ จึงมีทํา
นองประแทกกระทันถ่ายทอดอารมณ์โกรธเกรียวได้ดี  

ดังตัวอย่าง 

มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชช
ิ า่ งจํานรรจา, 

….……………………………… 

ก็และเจ้ามิเต็มจิต จะสดับดนูชวน, 

ผิวะให้อนงค์นวล ชนะหล่อนทนงใจ. 

บ่มย
ิ อมจะร่วมรัก และสมัครสมรไซร้, 

ก็ดะนูจะยอมให้ วนิดานิวาศสวรรค์, 

2. การใช้โวหารกวีใช้อุปมาโวหารในการกล่าวชมความงามของนางมัทนา 

ทําให้ผอ
ู้ ่านมองเห็นภาพความงามของนางมัทนาเด่นชัดขึน  

ดังตัวอย่าง 

งามผิวประไพผ่อง กลทาบศุภาสุพรรณ 

งามแก้มแฉล้มฉัน พระอรุณแอร่มละลาน 

งามเกศะดําขํา กลนา ณ ท้องละหาน 

งามเนตรพินจ
ิ ปาน สุมณีมะโนหะรา 

งามทรวงสล้างสอง วรถันสุมนสุมา- 

ลีเลิดประเสริฐกว่า วรุบลสะโรชะมาศ 

งามเอวอนงค์ราว สุระศิลปชาญฉลาด 

14
เกลากลึงประหนึงวาด วรรูปพิไลยพะวง 

งามกรประหนึงงวง สุระคชสุเรนทะทรง 

นวยนาฏวิลาศวง ดุจะรําระบําระเบง 

ซาไพเราะนาเสียง อรเพียงภิรมย์ประเลง, 

ได้ฟงก็วังเวง บ มิว่างมิวายถวิล 

นางใดจะมีเทียบ มะทะนา ณ ฟา ณ ดิน 

เปนยอดและจอดจิน- ตะนะแน่ว ณ อก ณ ใจ 

3. การใช้ลีลาจังหวะของคําทําให้เกิดความไพเราะ  

กวีมค
ี วามเชียวชาด้านฉันทลักษณ์อย่างยิง สามารถแต่งบทเจรจาของตัวละครให้เปนคําฉันท์ได้อย่างดีเยียม อีก
ทังการใช้ภาษาก็คมคาย โดยทีบังคับฉันทลักษณ์ ครุ ลหุ ไม่เปนอุปสรรคเลย เช่น บทเกียวพาราสีต่อไปนี แต่ง
ด้วยวสันตดิลกฉันท์ ๑๔ มีการสลับตําแหน่งของคํา ทําให้เกิดความไพเราะได้อย่างยอดเยียม 

ดังตัวอย่าง 

สเทษณ์ : พีรักและหวังวธุจะรัก และบทอดบทิงไป 

มัทนา : พระรักสมัครณพระหทัย ฤจะทอกจะทิงเสีย? 

สุเทษณ์ : ความรักละเหียอุระระทด เพราะมิอาจจะคลอเคลีย 

มัทนา : ความรักระทดอุระละเหีย ฤจะหายเพราะเคลียคลอ 

4. การใช้คําทีมีเสียงไพเราะ อันเกิดจากการเล่นเสียงสัมผัสคล้องจอง และการหลากคําทําให้เกิดความ


ไพเราะ 

เช่น ตอนมายาวินร่ายมนตร์ 

อ้าสองเทเวศร์ โปรดเกศข้าบาท ทรงฟงซึงวาท ทีกราบทูลเชอญ 

โปรดช่วยดลใจ ทรามวัยให้เพลิน จนลืมขวยเขิน แล้วรีบเร็วมา 

ด้วยเดชเทพไท้ ทรามวัยรูปงาม จงได้ทราบความ ข้าขอนีนา 

แม้คิดขัดขืน ฝนมนตร์คาถา ขอให้นท


ิ รา เข้าสึงถึงใจ 

15
มาเถิดนางมา อย่าช้าเชืองช้อย ตูขา้ นีคอย ต้อนรับทรามวัย 

อ้านางโศภา อย่าช้ามาไว ตูขา้ สังให้ โฉมตรูรบ


ี จร 

โฉมยงอย่าขัด รีบรัดมาเถิด ขืนขัดคงเกิด ในทรวงเร่าร้อน 

มาเร็วบัดนี รีบลีลาจร มาเร็วบังอร ข้าเรียกนางมา 

จากตัวอย่างมีการเล่นเสียงสัมผัสใน ทังสัมผัสสระและสัมผัสอักษร และการหลากคํา 

 
 

   

16
5. บรรนาณุกรม 
 
● กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวง. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน. หนังสือเรียน 
รายวิชาพืน ฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ์ ชันมัธยมศึกษาปที 5. ลาดพราว : โรงพิมพ์ 
สกสค. 2551. 131 หน้า 42-73 
 
● ธนวรรณ โสขุมา. คุณค่าทีได้รบ
ั คุณค่าด้านวรรณศิลปและคุณค่าด้านสังคม [ออนไลน์]. ​เข้า
ถึงเมือวันที 21 พฤษภาคม 2563. สืบค้นได้จาก 
https://sites.google.com/a/chs.ac.th/kru-thanawan/neuxha/khunkha-thi-di-rab 
 
● นรีรต
ี น์. มัทนะพาธา [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือวันที 19 พฤษภาคม 2563. สืบค้นได้จาก  
https://krunareerat59.wordpress.com/2016/03/15/ใบความรูม ้ ท
ั นะพาธา/ 
 
 
● บุญกว้าง ศรีสทุ โธ. มัทนะพาธา [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือวันที 21 พฤษภาคม 2563. สืบค้นได้
จาก 
https://sites.google.com/a/htp.ac.th/mathna-phatha/7-bth-wikheraah/7-3-khunkha-
dan-sangkhm 
 
● ภัททิรา เอียมประโคน. มัทนะพาธา [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือวันที 21 พฤษภาคม 2563. สืบค้นได้
จาก 
https://sites.google.com/site/learnthaibykrugikk/mathna-phatha 
 
● อุปลักษณ์ (Metaphor) [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือวันที 19 พฤษภาคม 2563.   
สืบค้นได้จาก 
https://sites.google.com/site/rtimaphr/2-xup-laksn-metaphor 
 
● เนือเรือง [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือวันที 27 พฤษภาคม 2563. 
https://www.slideshare.net/0869435602/ss-28019563 
 
 
 

 
 
  
 
 

17

You might also like