You are on page 1of 18

รายงานเชิงวิชาการ

การอา่ นและพิจารณาวรรณคดีเรื่ อง สามัคคีเภทคาํ ฉันท์

โดย

นาย ธนิ ท จิตวัฒนภักดี ม.5/5 เลขที่ 1

นาย กฤษณ์ พรหมโรกุล ม.5/5 เลขที่ 9

นางสาว ณัฐรดา ตาตะนันทน์ ม.5/5 เลขที่ 17

นางสาว จีราพัชร เอื้ออัจจิมากุล ม.5/5 เลขที่ 19

เสนอ

อาจารย ์ พนมศั กดิ์ มนู ญปรัชญาภรณ์

ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศก


ึ ษา 2562

โรงเรี ยนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้ เป็ นสว่ นหนึ่ งของกิจกรรมการเรี ยนรู้ โดยใชโ้ ครงงานเป็ นฐาน (Project Based Learning)รายวิชาภาษา
ึ ษาปี ที่ 5
้ ั ธยมศก
ไทยและวัฒนธรรม ระดับชั นม
คาํ นํา

่ นี้ จัดทาํ ขึ้นเพื่อเป็ นสว่ นหนึ่ งของวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั นม


รายงานเลม ึ ษาปี ที่ 5 เพื่อให้
้ ั ธยมศก
ไดศ ึ ษาหาความรู้ ในเรื่ องของบทประพันธ์ สามัคคีเภทคาํ ฉันท์ ในดา้ นของการอา่ นและพิจารณาเนื้ อหาและ กลวิธีใน
้ ก
วรรณคดีและวรรณกรรม การอา่ นและพิจารณาการใชภ
้ าษาในวรรณคดีและวรรณกรรมและการอา่ นและ พิจารณา
ประโยชน์หรื อคุณคา่ ในวรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อให้ไดศ ึ ษาอยา่ งเขา้ ใจเพื่อเป็ นประโยชน์กับการเรี ยน
้ ก

่ นี้ จะเป็ นประโยชน์กับผูอ


คณะผูจ้ ั ดทาํ หวังวา่ รายงานเลม ้ า่ น หรื อนักเรี ยน นักศก ้ มูลเรื่ องนี้ อยู ่
ึ ษา ที่กาํ ลังหาขอ
หากมีขอ
้ แนะนําหรื อขอ ้ ละขออภัยมา ณ ที่น้ี ดว้ ย
้ ผิดพลาดประการใด ผูจ้ ั ดทาํ ขอน้อมรับไวแ

คณะผูจ้ ั ดทาํ

27/05/63

สารบัญ

1
1. การอา่ นและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม 3

1.1 เนื้ อเรื่ อง 3

1.2 โครงเรื่ อง 3

1.3 ตัวละคร 4

้ งเรื่ อง
1.4 ฉากทอ 8

1.5 บทเจรจาหรื อราํ พึงราํ พัน 10

่ เรื่ อง
1.6 แกน 10

2. การอา่ นและพิจารณาการใชภ
้ าษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 10

2.1 การสรรคาํ 10

2.2 การเรี ยบเรี ยงคาํ 12

2.3 การใชโ้ วหาร 14

3. การอา่ นและพิจารณาประโยชน์หรื อคุณคา่ ในวรรณคดีและวรรณกรรม 16

3.1 คุณคา่ ดา้ นคุณธรรม


16

3.2 คุณคา่ ดา้ นสั งคม


16

4. บรรณานุ กรม
18

การอา่ นและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

2
เนื้ อเรื่ อง

พระเจา้ อชาตศั ตรู ราชาแหง่ แควน


้ นคร ยาตราทัพถึงเมืองเวสาลี พระองคท
์ รงสั งเกตและทรงพินิจพิจารณา
เห็นวา่ ในขณะที่ขา้ ศก
ึ รุ กประชิดถึงเมืองเวสาลี เสมือนหนึ่ งไมส ึ ศั ตรู ไมเ่ กรงกลัวภัยใด ๆ ไมค
่ นใจใยดีตอ่ ขา้ ศก ิ จะตอ่ สู ้
่ ด
ขัดขวางป้องกันภัย สงบเงียบ ไมท ์ ั ่นพระทัยวา่ ทา่ นวัสสการพราหมณ์ไดด
่ าํ อะไรเลย คลา้ ย ๆ เมืองร้างพระองคม ้ าํ เนิ น
้ าํ เร็จ กษัตริ ยล์ ิจฉวีผูค
การตามกลอุบายไดส ้ ตกแยกความสามัคคีกันแลว้ ถึงคราวที่จะตอ
้ รองเมืองเวสาลีไดแ ้ งพบภัย
่ อยา่ งสนุ กสนาน สามารถหมุนลูกขา่ งไปในทิศทางที่ตนตอ
พิบัติมหาศาล เหมือนเด็ก ๆ หมุนลูกขา่ งเลน ้ งการ ทา่ นครู วัส
สการไดย้ ุแหยอ่ ยา่ งแยบยลขึ้น ทาํ ให้กษัตริ ยเ์ มืองเวสลีแตกร้าวความสามัคคีกัน

เมื่อพระองคท
์ รงไตร่ตรองทุกอยา่ งถี่ถว้ นแลว้ จึงทรงสั ง่ การให้แมท ้
่ ั พนายกองทหารกลา้ ทังหลาย รี บสร้าง
แพไมไ้ ผ่ เพื่อนํากองทัพขา้ มแมน ่ ั พรับคาํ สั ง่ ระดมสร้างแพเสร็จตอนรุ่งเชา้ พอดี พระองคท
่ ํา้ เขา้ สูเ่ มือง เหลา่ แมท ์ รงยก
่ ํา้ โดยแพไมไ้ ผจ่ นหมด กรี ฑาทัพเขา้ เมืองเวสาลีอยา่ งสะดวกสบาย
ทัพใหญข่ า้ มแมน

่ เมืองของตน ตา่ งตระหนกตกใจ วิง่ หนี กัน


่ ํา้ มามากมาย มุง่ หมายถลม
ชาวเมืองเวสาลีเห็นเหลา่ ศั ตรู ขา้ มแมน
้ องเกิดจลาจล เสียงผูค
จาระหวั่น ทั่วทังเมื ่ วายสั บสน เหลา่ มุขมนตรี (ที่ปรึ กษาของพระราชา) ตา่ งตรอมใจเมื่อ
้ นดังวุน
่ ้ี แตบ
เห็นภัยมาถึงเมือง บางคณะก็ไมใ่ สใ่ จ บอกไมเ่ ป็ นไรหรอกแคน ่ างทา่ นก็บอกวา่ น่าจะรักษาประตูเมืองให้แขง่ ขัน
ตอ่ ตา้ นศั ตรู ไวก
้ อ
่ น แลว้ ประชุมสภามุขมนตรี ขอพระบรมราชโองการ พระราชาทรงดาํ ริ อยา่ งไร ก็จะไดป
้ ฏิบัติตาม เหลา่
เสนาอามาตยจ์ ึงตีกลองเรี ยกประชุมสนั่นปานประหนึ่ งกลองจะพังเหลา่ กษัตริ ยล์ ิจฉวี เมื่อไดฟ
้ ั งเสียงกลองเรี ยกประชุม
ตา่ งก็นิ่งเฉยไมส ่ ีความกังวลใด ๆ ไมย่ อมไปที่สภาประตูเมืองทุกดา้ นปิ ดเงียบ
่ นใจ เหมือนไมม

้ มคธ ทรงยกทัพเขา้ เมืองเวสาลีดา้ นประตูท่ีเปิ ด ไมม


พระเจา้ อชาตศั ตรู จอมทัพแควน ้
่ ีผูใ้ ดตอ่ สูข้ ั ดขวาง ขณะนัน
ทา่ นครู วัสสการไดน
้ ําทัพของเจา้ เมืองมคธเขา้ ปราบกษัตริ ย ์ ลิจฉวี ยึดครองเมืองเวสาลี โดยไมเ่ สียกาํ ลังพลแตอ่ ยา่ งใด
เสร็จสรรพเสด็จกลับเมืองราชคฤหด
์ ั งเดิม

โครงเรื่ อง

้ นัน
แควน ้ ยึดมั่นในอปริ หานิ ยธรรม มีความสามัคคีปรองดองมั่นคง กษัตริ ยผ
์ ูต
้ อ
้ งการแผอ่ าํ นาจจึงตอ ้ ุบายสง่
้ งใชอ
พราหมณ์ปุโรหิตของตนเขา้ ไปเป็ นไสศ ึ หาวิธีทาํ ลายความสามัคคีของกษัตริ ยแ์ ควน
้ ก ้ เสียกอ
้ นัน ่ น แลว้ จึงยกทัพเขา้
โจมตี พราหมณ์ปุโรหิตใชเ้ วลาถึง 3 ปี จึงดาํ เนิ นกลอุบายทาํ ลายความสามัคคีไดส ้ ก็แผอ่ าํ นาจ
้ นัน
้ าํ เร็จ กษัตริ ยแ์ ควน
เขา้ ครอบครองแควน
้ ขา้ งเคียงเป็ นผลสาํ เร็จ

วิเคราะหต
์ ั วละคร

วัสสการพราหมณ์

์ ่ีวา่
้ มคธ เป็ นผูเ้ ฉลียวฉลาดและรอบรู้ ศลิ ปศาสตร์ ดังคาํ ประพันธท
วัสสการพราหมณ์เป็ นปุโรหิตแหง่ แควน

3
อันอัครปุโรหิตาจารย ์ พราหมณ์นามวัสสการ

ฉลาดเฉลียวเชี่ยวชิน

กลเวทโกวิทจิตจินต์ สาํ แดงแจง้ ศลิ

ปศาสตร์กจ็ บสบสรรพ์

ลักษณะนิ สัยของวัสสการพราหมณ์

1. รักชาติบา้ นเมือง ยอมเสียสละเพื่อประเทศชาติ เมื่อพระเจา้ อชาตศั ตรู ทรงปรึ กษากับวัสสการพราหมณ์เรื่ อง


ที่จะทรงแผพ ้
่ ระบรมเดชานุ ภาพเอาเมืองวัชชีไวใ้ นครอบครองและวัสสการพราหมณ์กราบทูลกลอุบายและวิธีการนัน
้ งกราบทูลขัดแยง้ พระราชดาํ ริ ของพระเจา้ อชาตศั ตรู ทาํ ให้ถูกลงพระราชอาญาอยา่ งหนัก แตว่ ั ส
วัสสการพราหมณ์จะตอ
้ ้ เพื่อจะไดไ้ ปอาศั ยอยูท
สการพราหมณ์กย็ อมรับ ทังนี ่ ่ีแควน
้ วัชชีและดาํ เนิ นอุบายทาํ ลายความสามัคคีไดส
้ ะดวก ดังฉันท์
ที่วา่

ไป่เห็นกะเจ็บแสบ ชิวแทบจะทาํ ลาย

มอบสั ตยส์ มรรถหมาย มนมั่นมิหวั่นไหว

หวังแผนเพื่อแผน
่ ดิน ผิถวิลสะดวกใด

เกื้อกิจสฤษฎไ์ ป บมิเลี่ยงละเบี่ยงเบือน

์ ่ีพรรณนาไวต
2. จงรักภักดีตอ่ พระเจา้ อชาตศั ตรู ดังฉันทท ้ งโทษดังนี้
้ อนวัสสการพราหมณ์ตอ

โดยเต็มกตัญ กตเวทิตาครัน

ใหญย่ งิ่ และยากอัน นรอื่นจะอาจทน

หยั่งชอบนิ ยมเชื่อ สละเนื้ อและเลือดตน

ยอมรับทุเรศผล ขรการณ์พะพานกาย

ไป่เห็นกะเจ็บแสบ ชิวแทบจะทาํ ลาย

มอบสั ตยส์ มรรถหมาย มนมั่นมิหวั่นไหว

3. วัสสการพราหมณ์เป็ นคนเฉลียวฉลาด มีไหวพริ บและรอบคอบในการดาํ เนิ นกลอุบายดว้ ยความเฉี ยบ


แหลมลึกซึ้ง รู้ การควรทาํ และไมค ้
่ วรทาํ รอจังหวะและโอกาส การดาํ เนิ นงานจึงมีขันตอน มีระยะเวลา นับวา่ เป็ นคนมี
แผนงาน ใจเย็น ดาํ เนิ นงานดว้ ยความรอบคอบ มีสติ เป็ นคุณลักษณะที่ทาํ ให้วัสสการพราหมณ์ดาํ เนิ นกลอุบายจน
สาํ เร็จผล เห็นไดช้ ั ดเจนในขณะที่วัสสการพราหมณ์เขา้ เฝ้าฯกษัตริ ยล์ ิจฉวีและไดก
้ ลา่ วสรรเสริ ญนํา้ พระราชหฤทัย
กษัตริ ยล์ ิจฉวีทาํ ให้เกิดความพอพระราชหฤทัย

4
เปรี ยบปานมหรรณพนที ทะนุ ท่ีประทังความ

ร้อนกายกระหายอุทกยาม นรหากประสบเห็น

เอิบอิม ่ หทยคราว
่ กระหยิม ระอุผา่ วก็ผอ่ นเย็น

ยังอุณหมุญจนะและเป็ น สุขปี ติดีใจ

วัชชีบวรนครสรร พจะขันจะเขม
้ แขง

รี้ พลสกลพิริยแรง รณการกลา้ หาญ

มาคธไผทรฐนิ กร พลออ่ นบชาํ นาญ

้ จะสูส
้ น
ทังสิ ้ มรราญ ้ ไฉนไหว
ริ ปุนัน

ดั่งอินทโคปกะผวา มุหฝ่าณกองไฟ

หิ่งห้อยสิแขง่ สุริยะไหน จะมิน่าชิวาลาญ

4. มีความรอบคอบ แมว้ า่ วัสสการพราหมณ์จะรู้ ชัดวา่ บรรดากษัตริ ยล์ ิจฉวีแตกความสามัคคีกันแลว้ แตด


่ ว้ ย
ความรอบคอบก็ลองตีกลองเรี ยกประชุม บรรดากษัตริ ยล์ ิจฉวีกไ็ มเ่ สด็จมาประชุมกันเลย

วัชชีภูมีผอง สดับกลองกระหึมขาน

ทุกไทไ้ ป่เอาภาร ณกิจเพื่อเสด็จไป

ตา่ งทรงรับสั ง่ วา่ จะเรี ยกหาประชุมไย

เราใชค
่ นใหญใ่ จ ก็ขลาดกลัวบกลา้ หาญ

5. ความเพียร วัสสการพราหมณ์ใชเ้ วลา ๓ ปี ในการดาํ เนิ นการเพื่อให้เหลา่ กษัตริ ยล์ ิจฉวีแตกสามัคคีกันซึ่ง


นับวา่ ตอ
้ งใชค
้ วามเพียรอยา่ งมาก

้ ลว่ งสามปี ประมาณมา


ครัน สหกรณประดา

ลิจฉวีราช ้
ทังหลาย

สามัคคีธรรมทาํ ลาย มิตรภิทนะกระจาย

สรรพเสื่อมหายน์ ก็เป็ นไป

พระเจา้ อชาตศั ตรู

5
์ ่ีวา่
1. ทรงมีพระเมตตาตอ่ พสกนิ กรของพระองค์ ดังฉันทท

แวน
่ แควน
้ มคธนครรา- ชคฤหฐ์ านบูรี

สืบราชวัตวิธทวี ทศธรรมจรรยา

เลื่องหลา้ มหาอุตตมลาภ คุณภาพพระเมตตา

แผเ่ พียงชนกกรุ ณอา ทรบุตรธิดาตน

2. ทรงทาํ นุ บาํ รุ งบา้ นเมืองให้เจริ ญรุ่งเรื อง บา้ นเมืองไดร้ ั บการทาํ นุ บาํ รุ งจนกระทั่งมีแสนยานุ ภาพ ประชาชน
สุขสงบ มีมหรสพให้บันเทิง เชน

หอรบจะรับริ ปุผิรอ รณทอ


้ หทัยหมาย

มุง่ ยุทธยอ่ มชิวมลาย และประลาตมิอาจทน

พร้อมพรั่งสะพรึ บพหลรณ พยุหพ


์ ลทหารชาญ

อาํ มาตยแ์ ละราชบริ วาร วุฒเิ สวกากร

เนื องแน่นขนัดอัศวพา หนชาติกุญชร

ึ สมรรถสุรสมร
ชาญศก ชยเพิกริ ปูภินท์

กลางวันอนันตคณนา นรคลาคละไลเนื อง

กลางคืนมหุสสวะประเทือง ดุริยศั พทดีดสี

บรรสานผสมสรนิ นาท พิณพาทยแ์ ละเภรี

แซโ่ สตสดับเสนาะฤดี อุระลาํ ้ ระเริ งใจ

3. ทรงมีพระราชดาํ ริ จะแผพ ้ วัชชี ดังนี้


่ ระบรมเดชานุ ภาพ โดยจะกรี ธาทัพไปตีแควน

สมัยหนึ่ งจึ่งผูภ
้ ูมิบาล ทรงจินตนาการ

จะแผอ่ าํ นาจอาณา

ให้ราบปราบเพื่อเกื้อปรา- กฎไผทไพศา

ลรัฐจังหวัดวัชชี

4. ทรงมีความรอบคอบ เมื่อทรงทราบวา่ คณะกษัตริ ยล์ ิจฉวียึดมั่นในสามัคคีธรรมจึงทรงมีพระราชดาํ ริ วา่

6
ึ ใหญใ่ คร่จะพยายาม
ศก รบเร้าเอาตาม

กาํ ลังก็หนักนักหนา

จาํ จักหักดว้ ยปัญญา รอกอ


่ นผอ่ นหา

อุบายทาํ ลายมูลความ

และทรงปรึ กษาหารื อกับวัสสการพราหมณ์ ซึ่งวัสสการพราหมณ์กราบทูลถึงวิธีการและดาํ เนิ นการจนสาํ เร็จ

กษัตริ ยล์ ิจฉวี

้ ง่ ความเสื่อม)
้ ั ่นในธรรม กษัตริ ยล์ ิจฉวีลว้ นทรงยึดมั่นในอปริ หานิ ยธรรม (ธรรมอันไมเ่ ป็ นที่ตังแห
1. ทรงตังม
7 ประการ ไดแ
้ ก่

หนึ่ ง เมื่อมีราชกิจใด ปรึ กษากันไปบว่ ายบห


่ น่ายชุมนุ ม

สอง ยอ่ มพร้อมเลิกพร้อมประชุม พร้อมพรักพรรคคุม

ประกอบณกิจควรทาํ

้ ถือมั่นในสั ม
สาม นัน มาจารี ตจาํ

ประพฤติมิตัดดัดแปลง

สี่ ใครเป็ นใหญไ่ ดแ


้ จง โอวาทศาสน์แสดง

ก็ยอมและน้อมบูชา

้ อันบุตรภริ ยา
ห้า นัน แหง่ ใครไป่ปรา-

รภประทุษขม
่ เหง

หก ที่เจดียค์ นเกรง มิยา่ ํ ยาํ เยง

ก็เซน
่ ก็สรวงบวงพลี

เจ็ด พระอรหันตอ์ ั นมี ในรัฐวัชชี

ก็คุม
้ ก็ครองป้องกัน

์ ่ีทูลเรื่ องราวซึ่งวัสสการพราหมณ์ยุแหยโ่ ดยไมท


2. ขาดวิจารณญาณ ทรงเชื่อพระโอรสของพระองคท ่ รง
พิจารณา เชน

7
ตา่ งองคน
์ ําความมิงามทูล พระชนกอดิศูร

แหง่ ธ โดยมูล ์ วาม


ปวัตติค

แตกร้าวกา้ วร้ายก็ป้ายปาม ลุวรบิดรลาม

ทีละน้อยตาม ณเหตุผล

3. ทิฐิเกินเหตุ แมเ้ มื่อบา้ นเมืองกาํ ลังจะถูกศั ตรู รุกราน เชน


ศั พทอุโฆษ ประลุโสตทา้ ว

ลิจฉวีดา้ ว ขณะทรงฟัง

ตา่ งธก็เฉย และละเลยดัง

ไทม
้ ิอินัง ธุ ระกับใคร

ตา่ งก็บคลา ณสภาคาร

แมพ
้ ระทวาร บุรทั่วไป

รอบทิศดา้ น และทวารใด

เห็นนรไหน สิจะปิ ดมี

้ งเรื่ อง
ฉากทอ

เรื่ องสามัคคีเภทคาํ ฉันทเ์ ป็ นเรื่ องที่เรารับมาจากอินเดีย กวีจึงพยายามพรรณนาฉากให้บรรยากาศของเรื่ อง


่ วีเป็ นคนไทยดังนัน
เป็ นประเทศอินเดียในสมัยพระเจา้ อชาตศั ตรู แตก ้ ฉากจึงมีความเป็ นไทยแทรกอยูบ
่ า้ ง เชน
่ การ
พรรณนาชมบา้ นเมือง

อาํ พนพระมนทิรพระราช สุนิวาสวโรฬาร์

อัพภันตรไพจิตรและพา หิรภาคก็พึงชม

่ เ์ ลื่อนชะลอดุสต
เลห ิ ฐา นมหาพิมานรมย ์

มารังสฤษฎพ
์ ิศนิ ยม ผิจะเทียบก็เทียมทัน

สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ

ชอ่ ฟ้าตระการกลจะหยัน จะเยาะยั่วทิฆัมพร

8
บราลีพิลาศศุภจรู ญ นภศูลประภัสสร

หางหงสผ
์ จงพิจิตรงอน ดุจกวักนภาลัย

นับวา่ เป็ นบทพรรณนาชมบา้ นเมืองที่ไพเราะทังเสี


้ ยง จังหวะและลีลา นัยวา่ นายชิต บุรทัตพรรณนาตอนนี้ จาก
พระที่นั่งจักรี มหาปราสาทและพระที่นั่งดุสต
ิ มหาปราสาท แตไ่ มใ่ ชข่ อ
้ บกพร่องเสียหายเพราะธรรมดากวียอ่ มบรรยาย
จากสิง่ ที่ไดเ้ คยพบเห็น เรี ยกกันวา่ เป็ นอนุ โลมกวี

้ นับวา่ พรรณนาไดอ
การพรรณนากระบวนทัพชา้ งและทัพมา้ ตอนพระเจา้ อชาตศั ตรู กรี ธาทัพนัน ้ ยา่ งน่าเกรงขาม
เชน

ขุนคชขึ้นคชชินชาญ คุมพลคชสาร

ละตัวกาํ แหงแข็งขัน

ิ เขา้ ศก
เคยเศก ึ ฮึกครัน เสียงเพรี ยกเรี ยกมัน

คาํ รณประดุจเดือดดาล

การพรรณนาชมธรรมชาติซ่ึงนับวา่ นิ ยมมากในวรรณคดีไทย แตใ่ นสามัคคีเภทคาํ ฉันทข์ าดรสนี้ ไป ตอนวัส


สการพราหมณ์ถูกขับก็ดี หรื อตอนพระเจา้ อชาตศั ตรู ยกทัพก็ดี น่าจะมีบทพรรณนาชมธรรมชาติบา้ ง แตผ
่ ูแ
้ ตง่ เพียง
พรรณนาสรุ ปสั น้ ๆ วา่

แรมทางกลางเถื่อน หา่ งเพื่อนหาผู้

หนึ่ งใดนึ กดู เห็นใครไป่มี

หลายวันถั่นลว่ ง เมืองหลวงธานี

นามเวสาลี ดุม
่ เดาเขา้ ไป

บทเจรจาหรื อราํ พึงราํ พัน

ึ ซึ่งมี การกระแทกกระทันแสดงถึ
เป็ นการแกลง้ ตอ่ วา่ ของพระเจา้ อชาตศั ตรู ท่ีวัสสการพราหมณ์ทว้ งติงเรื่ องการออกศก ้ ง
อารมณ์โกรธ

“เอออุเหมน
่ ะมึงชิชา่ งกระไร

ทุทาสสถุลฉะนี้ ไฉน ก็มาเป็ น

ึ บ่ ถึงและมึงก็ยังมิเห็น
ศก

9
จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด

อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ

้ ทันอะไร
ขยาดขยันมิ ่ กู”
ก็หมิน

่ เรื่ อง
แกน

่ ของเรื่ อง และหลักธรรมขอ
สรรเสริ ญธรรมแหง่ ความสามัคคีเป็ นแกน ้ นี้ ไมล่ า้ สมัย สามารถยังประโยชน์ให้เกิดขึ้นแกห
่ มู ่
ชนที่มีความพร้อมเพรี ยงกันพัฒนาสั งคม หากนํามาประยุกตใ์ ชใ้ ห้สอดคลอ
้ งกับสภาพความเป็ นจริ ง

1. โทษของการแตกสามัคคี
2. การใชส
้ ติปัญญาเอาชนะฝ่ายศั ตรู
่ นที่จะตัดสินใจทาํ สิง่ ใดยอ่ มเป็ นการดี
3. การใชว้ จิ ารณญานกอ
้ ่ืน ยอ่ มทาํ ให้เกิดความเสียหายตอ่ สว่ นรวม
4. การถือความคิดของตนเป็ นใหญแ่ ละทะนงตนวา่ ดีกวา่ ผูอ

การอา่ นและพิจารณาการใชภ
้ าษาในวรรธคดีและวรรณกรรม

การสรรคาํ

วรรณคดีประเภทฉันทแ์ มจ้ ะนิ ยมใชค


้ าํ บาลีสันสกฤตก็ตาม เพราะตอ ่ ูแ
้ งการบังคับครุ ลหุ แตผ ้ ตง่ สามัคคีเภทคาํ ฉันทก
์ ็
้ ยา่ งไพเราะเหมาะสมทังเสี
เลือกสรรคาํ ไดอ ้ ยงและความ เชน

1. ใชค
้ าํ งา่ ย ๆ ในบางตอน ทาํ ให้ผูอ ่ ตอนวัสสการพราหมณ์เขา้ เมืองเวสาลีซ่ึงเป็ น
้ า่ นเขา้ ใจไดไ้ มย่ ากนัก เชน
เมืองหลวงของแควน
้ วัชชี

“ผูกไมตรี จิต เชิงชิดชอบเชื่อง

กับหมูช่ าวเมือง ฉันทอ์ ั ชฌาสั ย

เลา่ เรื่ องเคืองขุน


่ วา้ วุน
่ วายใจ

จาํ เป็ นมาใน ดา้ วตา่ งแดนตน”

้ าํ ที่มีเสียงเสนาะ เสียงเสนาะเกิดจากการใชค
2. การใชค ้ าํ ที่กอ
้ าํ เลียนเสียงธรรมชาติ มีการยาํ ้ คาํ ใชค ่ ให้เกิด
ึ เชน
ความรู้ สก ่ ตอนชมกระบวนชา้ ง

“แพร้วแพร้วพรายพรายขา่ ยกรอง กอ
่ งสกาวดาวทอง

10
้ ส
ทังพู ่ ุพรรณสรรถกล”

คาํ แพร้วแพร้ว และพรายพราย กอ ึ ในดา้ นความโออ่ า่ งดงามไดอ


่ ให้เกิดความรู้ สก ้ ยา่ งดี

“ยาบยอ้ ยห้อยพูด
่ ูดี ขลุมสวมกรวมสี

สะคาดกนกแนมเกลา”

คาํ ยาบยอ้ ย เสียงของคาํ ไพเราะทาํ ให้ผูอ


้ า่ นเห็นความงาม

้ าํ ที่กอ
3. ใชค ึ เชน
่ ให้เกิดความรู้ สก ่ ตอนพรรณนากองทัพของพระเจา้ อชาตศั ตรู

์ วัดแกวง่ ซึ่งสรรพ์
“แรงหัตถก ศั สตราวุธอัน

วะวาบวะวาวขาวคม”

คาํ วะวาบวะวาว กอ ึ ให้ผูอ


่ ความรู้ สก ้ า่ นนึ กเกรงขามไดด
้ ีมาก

้ าํ ที่มีความหมายกระชั บ คาํ บางคาํ ผูอ


4. ใชค ้ า่ นอา่ นแลว้ เขา้ ใจไดท
้ ั นทีโดยไมต
่ อ
้ งใชถ ้ ยคาํ อื่นมาขยายความอีก
้ อ
เลย เชน

“แรมทางกลางเถื่อน หา่ งเพื่อนหาผู้

หนึ่ งใดนึ กดู เห็นใครไป่มี”

ซึ่งอา่ นแลว้ ผูอ


้ า่ นก็เขา้ ใจไดท
้ ั นทีวา่ วัสสการพราหมณ์เดินทางอยา่ งเดียวดาย

้ งรู้ จักคาํ มากเพื่อหลีกเลี่ยงการใชค


5. การหลากคาํ กวีจาํ เป็ นตอ ้ าํ ซาํ ้ กัน ทาํ ให้ผูอ
้ า่ นเห็นความเป็ นอัจฉริ ยะ
ของกวี เชน

“ขุนคอคชคุมกุมอัง กุสกรายทา้ ยยัง

ขุนควาญประจาํ ดาํ รี ”

และ

“ขุนคชขึ้นคชชินชาญ คุมพลคชสาร

ละตัวกาํ แหงแข็งขัน”


้ น
คาํ วา่ คช ดาํ รี และคชสาร หมายถึงชา้ งทังสิ

11
่ สั มผัส คาํ ประพันธไ์ ทยนิ ยมสั มผัสมากแมว้ า่ ฉันทจ์ ะเป็ นคาํ ประพันธท
6. การเพิม ์ ่ีไทยรับมาจากอินเดียซึ่งแต่
่ ีสัมผัส เราก็เพิม
เดิมไมม ่ สั มผัสนอกเขา้ ไปเพื่อให้ไพเราะยิง่ ขึ้น นอกจากนี้ ยังเพิม
่ ครุ ลหุเขา้ ไปในกาพยส์ ุรางคนางค์
้ งเรื่ อง เชน
๒๘ ทาํ ให้เกิดลีลาคึกคักเหมาะสมกับทอ ่ ตอนบรรยายการจัดกองทัพของพระเจา้ อชาตศั ตรู

“สะพรึ บสะพรั่ง

ณหน้าและหลัง ณซา้ ยและขวา

ละหมูล่ ะหมวด ก็ตรวจก็ตรา

ประมวลกะมา สิมากประมาณ”

การเรี ยบเรี ยงคาํ

1. สารสาํ คัญไวท
้ า้ ยสุด ในบทประพันธจ์ ะมีการเรี ยบเรี ยงคาํ หรื อประโยคให้เกิดความสละสลวย โดยการนําสารสาํ คัญ
้ า้ ยสุด เป็ นหนึ่ งในวิธีการเรี ยบเรี ยงคาํ อยา่ งสละสลวย ในบทประพันธม
ไวท ์ ีตัวอยา่ ง ดังนี้

บัดนี้ สิแตก คณะแผกและแยกพรรค์

ไป่เป็ นสหฉัน ทเสมือนเสมอมา

โอกาสเหมาะสมัย ขณะไหนประหนึ่ งครา

นี้ หากผิจะหา ก็ บ่ ไดส


้ ะดวกดี

ขอเชิญวรบาท พยุหย์ าตรเสด็จกรี

ธาทัพพลพี ริ ทยุทธโดยไว ฯ

ในบทประพันธเ์ ป็ นการกลา่ วถึงเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นโดยสารสาํ คัญคือการเชิญกษัตริ ยเ์ พื่อไปนําทัพโดยที่ สารนัน


้ อยูใ่ น
บาททา้ ยสุดของบทประพันธ์

2. เรี ยบเรี ยงประโยคให้มีเนื้ อหาเขม ้ ขึ้นไปตามลาํ ดับ


้ ขน

้ ดทา้ ยที่สาํ คัญที่สุด


2.1. จนถึงขันสุ

เหี้ยมนัน
้ เพราะผันแผก คณะแตกและตา่ งมา

ถือทิฐิมานสา หสโทษพิโรธจอง

แยกพรรคสมรรคภิน ้ บ ปรองดอง
ทนสิน

ขาดญาณพิจารณ์ตรอง ตริ มหลักประจักษ์เจือ

12
เชื่ออรรถยุบลเอา รสเลา่ ก็งา่ ยเหลือ

เหตุหาก ธ มากเมือ คติโมหเป็ นมูล

จึ่งดาลประการหา ยนภาวอาดูร

เสียแดนไผทสูญ ยศศั กดิเสื่อมนาม

2.2. คลายความเขม
้ ขน
้ ลงในชว่ งหรื อประโยคสุดทา้ ยอยา่ งฉับพลัน

้ ั งท
แทท ้ า่ นวัสสการใน กษณะตริ เหมาะไฉน

เสริ มเสมอไป สะดวกดาย

หลายอยา่ งตา่ งกล ธ ขวนขวาย พจนยุปริ ยาย

วัญจโนบาย บ เวน
้ ครา

้ ลว่ งสามปี ประมาณมา


ครัน สหกรณะประดา

ลิจฉวีรา ้
ชทังหลาย

สามัคคีธรรมทาํ ลาย มิตรถิทนะกระจาย

สรรพเสื่อมหายน์ ก็เป็ นไป

ตา่ งองคท
์ รงแคลงระแวงใน พระหฤททัยวิสัย

ผูพ
้ ิโรธใจ ระวังกัน ฯ

เหตุการณ์คอ่ ยๆเขม ้ ขึ้นเรื่ อยๆโดยเขม


้ ขน ้ ที่สุดในบทประพันธก
้ ขน ์ อ
่ นสุดทา้ ยและคลายความเขม
้ ขน
้ ลงใน บทสุดทา้ ย 

การใชโ้ วหาร

้ ยคาํ ที่กวีเรี ยบเรี ยงอยา่ งใชโ้ วหารไมก


คือถอ ้ งการให้ผูอ
่ ลา่ วอยา่ งตรงไปตรงมา เพราะตอ ้ า่ นมีสว่ นร่วมในการคิด เขา้ ใจ
ึ อยา่ งลึกซึ้งตามผูแ
และรู้ สก ้ ตง่ ไปดว้ ย โวหารภาพพจน์ในสามัคคีเภทคาํ ฉันทม ์ ีหลายตอน เชน ่

1. อุปมาอุปไมย
การนําของสองสิง่ ที่มีลักษณะคลา้ ยกันมาเปรี ยบเทียบกันโดยมีคาํ วา่ ดุจ เหมือน คลา้ ย ปานประหนึ่ ง เป็ นคาํ เชื่อม สิง่ ที่
นํามาเปรี ยบเทียบเรี ยกวา่ อุปมา สิง่ ที่รับเปรี ยบเทียบเรี ยกวา่ อุปไมย เชน
่ ตอนพระเจา้ อชาตศั ตรู กริ้ ววัสสการพราหมณ์

“กลกะกากะหวาดขมังธนู บหอ
่ นจะเห็นธวัชริ ปู สิลา่ ถอย”

13
วัสสการพราหมณ์เปรี ยบนํา้ พระราชหฤทัยกษัตริ ยล์ ิจฉวี

“เมตตาทยาลุศุภกรรม อุปถัมภการุ ณย ์

สรรเสริ ญเจริ ญพระคุณสุน ทรพูนพิบูลงาม

เปรี ยบปานมหรรณพนที ทะนุ ท่ีประทังความ

ร้อนกายกระหายอุทกยาม นรหากประสบเห็น

เอิบอิม ่ หทยคราว
่ กระหยิม ระอุผา่ วก็ผอ่ นเย็น

ยังอุณหมุญจนะและเป็ น สุขปี ติดีใจ”

การกลา่ วถึงความรุ่งเรื องของแควน


้ มคธ

“เมืองทา้ วสิเทียบทิพเสมอ ภพเลอสุราลัย

เมืองทา้ วแหละสมบุรณไพ บุลมวลประการมา”

2. การเปรี ยบเทียบแบบอุปลักษณ์
ไดแ
้ กก
่ ารเปรี ยบเทียบโดยนัย ไมก
่ ลา่ วเปรี ยบเทียบตรง ๆ อยา่ งอุปมาอุปไมย แตผ ้ า่ นก็พอจะจับเคา้ ไดจ้ ากคาํ ที่ผูแ
่ ูอ ้ ตง่
ใช้ เชน

ตอนวัสสการพราหมณ์กลา่ วเปรี ยบเทียบทหารของแควน


้ วัชชีกับทหารของแควน
้ มคธ วา่

“หิ่งห้อยสิแขง่ สุริยะไหน จะมิน่าชิวาลาญ”

้ หมายถึงกองทัพมคธ สว่ นสุริยะนัน


้ า่ นยอ่ มจะเขา้ ใจไดว้ า่ หิ่งห้อยนัน
ผูอ ้ หมายถึงกองทัพวัชชี

ตอนพระเจา้ อชาตศั ตรู ทรงเปรี ยบเทียบการแตกสามัคคีของกษัตริ ยล์ ิจฉวี วา่

“ลูกขา่ งประดาทา รกกาลขวา้ งไป

หมุนเลน
่ สนุ กไฉน ้ หนอ”
ดุจกันฉะนัน

3. บุคคลวัต
บุคลาธิษฐาน หรื อบุคคลสมมุติ คือ ภาพพจน์การ สมมุติสงิ่ ทีไ่ มม ิ หรื อมีชีวต
่ ีชีวต ิ แตไ่ มใ่ ชค
่ น ความคิด นามธรรม หรื อ
สั ตว ์ ให้มีสติปัญญา อารมณ์ หรื อกิริยาอาการเหมือนคน
วัชชีผูม
้ ีผอง สดับกลองกระหึมขาน
ทุกไทไ้ ป่เอาภาร ณ กิจเพื่อเสด็จไป
4. อติพจน์ อธิพจน์

14
้ ารกลา่ วผิดไปจากที่เป็ นจริ ง โดยการกลา่ ว ให้มีลักษณะเกินความเป็ นจริ ง หรื อน้อยกวา่ จริ ง เพื่อให้ถอ
คือ กวีใชก ้ ยคา
กระทบอารมณ์ของผูอ ้ า่ นให้มี ความรู้ สก ่ ขึน
ึ เพิม ้ เป็ นสาํ คัญ
ตื่นตาหน้าเผือด ่ กาย
หมดเลือดสั น
หลบลี้หนี ตาย ่ หวั่นพรั่นใจ
วุน
ซุกครอกซอกครัว ซอ
่ นตัวแตกภัย
เขา้ ดงพงไพร ทิ้งยา่ นบา้ นตน
5. บรรยายโวหาร
้ อกกลา่ ว เลา่ เรื่ อง อธิบาย หรื อบรรยายเรื่ องราว เหตุการณ์ตา่ งๆที่เกิดขึ้น ในเรื่ อง เพื่อให้ผูอ
คือ โวหารที่ใชบ ้ า่ นเขา้ ใจ
เนื้ อหาอยา่ งชั ดเจน
ิ เอิกอึง
ขา่ วเศก ทราบถึงบัดดล
่ ูค
ในหมูผ ้ น ชาวเวสาลี
่ หมด
แทบทุกถิน ชนบทบูรี
่ ขวัญหนี
อกสั น หวาดกลัวทั่วไป
ตื่นตาหน้าเผือด ่ กาย
หมดเลือดสั น
หลบลี้หนี ตาย ่ หวั่นพรั่นใจ
วุน
ซุกครอกซอกครัว ซอ
่ นตัวแตกภัย
เขา้ ดงพงไพร ทิ้งยา่ นบา้ นตน

การอา่ นและพิจารณาประโยชน์หรื อคุณคา่ ในวรรณคดีและวรรณกรรม

คุณคา่ ดา้ นคุณธรรม

้ ติปัญญาและวิจารณญาณในการไตร่ตรองเรื่ องราว
- ความสาํ คัญของการใชส

● การที่กุมารลิจฉวีไมไ่ ดใ้ ชว้ จิ ารณญาณในการไตร่ตรองเรื่ องราวที่พราหมณ์กลา่ ว จึงเป็ นเหตุทาํ ให้ กุมารโกรธ


เคืองซึ่งกันและกันจนเกิดความแตกแยก

- ความสาํ คัญของความสามัคคีและโทษของการแตกความสามัคคีในหมูค
่ ณะ

● ่ ณะ ความสามัคคีถือเป็ นสิง่ ที่สาํ คัญที่ทาํ ให้คนทุก ๆ คนสามารถอยูร่ ่วมกัน ไดอ


การอยูร่ ่วมกันเป็ นหมูค ้ ยา่ งมี
ความสุข การแตกความสามัคคีของกษัตริ ยล์ ิจฉวี จึงทาํ ให้เป็ นจุดออ่ นของแควน
้ วัชชี เป็ นเหตุให้พระเจา้ อชาต
ศั ตรู สามารถมาโจมตีและยึดครองแควน
้ วัชชีไดอ
้ ยา่ งงา่ ยดาย

คุณคา่ ดา้ นสั งคม

้ นวัฒนธรรมของคนในสั งคม ดังนี้


1. สะทอ

15
1) สะทอ
้ นภาพการปกครองโดยระบอบสามัคคีธรรม และการประพฤติตามวัฒนธรรม ๗ ประการ (อปริ หานิ ย
ธรรม) ซึ่งเป็ นหลักธรรมที่สง่ ผลให้เกิดความเจริ ญของหมูค
่ ณะฝ่ายเดียว ่ ีทางเสื่อมเลย ไดแ
ไมม ้ ก่

1. หมั่นประชุมกันอยูเ่ นื องนิ ตย ์

2. เมื่อมีภารกิจก็ประชุมปรึ กษาหารื อกัน โดยไมเ่ บื่อหน่าย การประชุม

3. ยึดมั่นในจารี ตประเพณี อันดีงาม ประพฤติดีปฏิบัติตามโดยไมด


่ ั ดแปลง

4. เมื่อผูใ้ หญใ่ ห้โอวาทสั ง่ สอน ผูน


้ ้ อยยอ่ มปฏิบัติตามดว้ ยความเคารพ

5. ไมท
่ าํ ร้ายขม ้ ่ ืน
่ เหงบุตรและภรรยาผูอ

่ ูแคลนเจดียสถานที่ตนเคารพสั กการะและทาํ พิธีบวงสรวงตามประเพณี


6. ไมล่ บหลูด

7. ให้ความคุม
้ ครองป้องกันพระอรหันตใ์ นแควน
้ วัชชี

2) สะทอ
้ นภาพการพิพากษาคดีและการลงโทษ การลงโทษสมัยโบราณ มีการโบย การโกนผมประจาน และ
่ ามพระราชโองการ (เนรเทศ)
การประกาศขับไลต
ดังตัวอยา่ ง

เสื่อมสีสะผมเผา้ สิรีเปลา่ ประจานตัว

เป็ นเยี่ยงประหยัดกลัว ผิมลักจะหลาบจาํ

เสร็จกิจประการกัลป์ ปนพลันประกาศทาํ

ปัพพาชนี ยกรรม ดุจดังราชโองการ

3) สะทอ
้ นลักษณะสถาบัตยกรรมไทย ในสามัคคีเภทคาํ ฉันท์ มีการกลา่ วถึง สว่ นประกอบตา่ งๆของปราสาท
เชน
่ ชอ่ ฟ้า บราลี นภศูล หางหงส ์ เป็ นตน ้ รรณนาความงดงามของปราสาทที่มีสามยอด ดังตัวอยา่ ง
้ ดังกวีไดพ

๏สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ

ชอ่ ฟ้าตระการกลจะหยัน จะเยาะยั่วทิฆัมพร

๏บราลีพิลาศศุภจรู นพศูลประภัสสร

หางหงสผ
์ จงพิจิตรงอน ดุจกวักนภาลัย

16
2. สะทอ
้ นแนวคิดของคนในสั งคม สามัคคีเภทคาํ ฉันทไ์ ดส
้ ะทอ
้ นให้เห็นสภาพสั งคมวา่ จะตอ
้ งมีความสามัคคีจึงจะอยู ่
รอดได้ เมื่อใดก็ตามที่ความเป็ นปึ กแผน
่ ความเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันของคนในชาติถูกทาํ ลาย เมื่อนัน
้ บา้ นเมืองจะ
ระสา่ ํ ระสาย ขาดความเป็ นเอกภาพ ตา่ งคนตา่ งหวาดระแวงกัน ขาดความไวใ้ จกัน ทาํ ให้ฝ่ายตรงขา้ มมีโอกาสโจมตีได้
งา่ ย นับวา่ เป็ นอุทาหรณ์ท่ีผูอ ้ งนําไปเป็ นเครื่ องเตือนใจวา่ การคบคนและการไวว้ างใจบุคคลอื่นนัน
้ า่ นตอ ้ ตอ
้ งใช้
้ จะนําผลร้ายมาสูต
วิจารณญาณไตร่ตรองให้รอบคอบ มิฉะนัน ้ วัชชีท่ีมิได้
่ นไดเ้ หมือนบรรดากษัตริ ยล์ ิจฉวีแหง่ แควน
้ วัชชีในที่สุด
ไตร่ตรองเหตุผลให้รอบคอบ ทรงหลงกลศั ตรู รับ วัสสการพราหมณ์ไวจ้ นเป็ นเหตุให้เสียแควน

บรรณานุ กรม

ึ ษาธิการ. 2558. หนังสืออา่ นกวีนิพนท์ สามัคคีเภทคาํ ฉันท.์ [ออนไลน์]. สืบคน


กรมวิชาการ กระทรวงศก ้ ไดจ้ าก
http://academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002416_example.pdf​ (23 พฤษภาคม
2563)

ชิต บุรทัต. 2557. สามัคคีเภทคาํ ฉันท.์ [ออนไลน์]. สืบคน


้ ไดจ้ าก
https://kruphatchara.wordpress.com/2014/11/13/สามัคคีเภทคาํ ฉันท/์ (22 พฤษภาคม 2563)

นิ รนาม. 2559. สามัคคีคาํ ฉันท.์ [ออนไลน์]. สืบคน


้ ไดจ้ าก
http://samakkeepeatchant.blogspot.com/2013/12/blog-post_3427.html​ (24 พฤษภาคม 2563)

กัลยาณี ถนอมแกว้ . 2550. วิจารณ์ตัวละครเรื่ องสามัคคีคาํ ฉันท.์ [ออนไลน์]. สืบคน


้ ไดจ้ าก
https://www.gotoknow.org/posts/329717​ (24 พฤษภาคม 2563)

กัลยาณี ถนอมแกว้ . 2550. คุณคา่ ดา้ นวรรณคดีของวรรณศลิ ป์ในสามัคคีคาํ ฉันท.์ [ออนไลน์]. สืบคน
้ ไดจ้ าก
https://www.gotoknow.org/posts/336724​ (24 พฤษภาคม 2563)

ณัฐชยา เพ็ชรรัตน์. สามัคคีเภทคาํ ฉันท.์ [ออนไลน์]. สืบคน


้ ไดจ้ าก
https://sites.google.com/a/watpa.ac.th/krunatchaya/bi-khwam-ru-reuxng-samakhkhi-pheth-kh
a-chanth​ (25 พฤษภาคม 2563)

17

You might also like