You are on page 1of 10

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านและพิจารณาวรรณคดี
เรื่ อง คัมภีร์ฉนั ทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์

โดย

นางสาว ณัฐวดี เลาวัณย์ศิริ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๑ เลขที่ ๕


นางสาว พิชชาภา ประเสริ ฐพันธุ์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๑ เลขที่ ๑๑
นางสาว เจษฎ์สิตา วัฒนปกรณ์วงศ์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๑ เลขที่ ๒๐

เสนอ

อ. ปั ทวรรณ พันชัย

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา


วิชา ภาษาไทย
โรงเรี ยนสาธิ ตนานาชาติ มหาวิทยาลัย มหิ ดล
ภาคเรี ยนที่ ๒ ปี การศึกษาที่ ๒๕๖๑

คำนำ
รายงานเล่มนี้จดั ทำขึ้นเพื่อเป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาไทยระดับชั้นมัธยมที่๕ เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู ้ใน
เรื่ องการอ่านและพิจารณาวรรณคดี และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นประโยชน์กบั การเรี ยน ผูจ้ ดั ทำหวังว่า
รายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์กบั ผูอ้ า่ น หรื อนักเรี ยน นักศึกษา ที่กำลังหาข้อมูลเรื่ องนี้ อยู่ หากมีขอ้ แนะนำหรื อ
ข้อผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่น้ ี ดว้ ย

ผูจ้ ดั ทำ

วันที่ ๘/๖/๖๓

สารบัญ

หน้า

๑. การอ่านและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
๑.๑ เนื้อเรื่ อง
๑.๒ โครงเรื่ อง
๑.๓ ตัวละคร
๑.๔ ฉากท้องเรื่ อง
๑.๕ บทเจรจาหรื อรำพึงรำพัน
๑.๖ แก่นเรื่ อง

๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
๒.๑ การสรรคำ
๒.๒ การเรี ยบเรี ยงคำ
๒.๓ การใช้โวหาร

๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรื อคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
๓.๑ คุณค่าทางปัญญา
๓.๒ คุณค่าทางศีลธรรม
๓.๓ คุณค่าทางวัฒนธรรม

บรรณานุกรม

๑. การอ่านและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
๑.๑ เนื้อเรื่ อง
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ตอน คัมภีร์ฉนั ทศาสตร์ได้กล่าวเปิ ดเรื่ องด้วยบทไหว้ครู ต่อจากนั้นได้
กล่าวถึงคุณสมบัติ และสิ่ งที่ไม่พึงกระทำ เช่น เลือกรักษาคนไข้ หรื อไม่มีความเสมอภาคในการให้การ
รักษาคนรวยกับคนจน หลอกลวงหวังผลกำไร อวดดี ความประมาท ความถือดี ไม่มีมีความรู ้มากพอที่
จะรักษา ความโลภ ความเห็นแก่ตวั ความหลงตัว เป็ นต้น โดยผูเ้ ขียนยังเปรี ยบเทียบให้เห็นว่า ร่ างกาย
ของคนเราเปรี ยบเหมือนเมือง เปรี ยบหัวใจเหมือนกษัตริ ย ์ เปรี ยบโรคภัยคือข้าศึกที่เข้ามาโจมตีเมือง
เปรี ยบแพทย์เป็ นทหารของเมืองที่รู้ภูมิประเทศของเมืองอย่างดี น้ำดีในตับ เปรี ยบเหมือนวังหน้าต้อง
ดูแลรักษาให้ดีเพราะทำหน้าที่ยอ่ ยอาหารไปหล่อเลี้ยงร่ างกาย ซึ่ งเปรี ยบเหมือนเสบียงอาหารที่เลี้ยง
ทหารในกองทัพ เมื่อมีขา้ ศึกหรื อเชื้ อโรคที่ร้ายแรงเข้ามาอย่าวางใจ ต้องป้ องกันเมืองไว้อย่าดี ทั้ง ๓
อย่าง คือ หัวใจ น้ำดี อาหาร ต้องรักษาดูแลให้ดีอย่าให้เชื้อโรคเข้ามาทำลายได้ เพราะจะพลาดโอกาส
ในการรักษา ดังนั้น แพทย์ตอ้ งใจเย็นๆ รักษาอย่างมีสติ เพราะอาจเกิดอันตราย
๑.๒ โครงเรื่ อง
ตำราเรื่ องนี้ มุ่งเน้นเพื่อสื่ อถึงคุณสมบัติที่แพทย์ควรมี กล่าวถึงความสำคัญของแพทย์และจรรยา
บรรณที่แพทย์พึงปฏิบตั ิ รวมถึงวิธีการรักษาโรคต่างๆ เป็ นวรรณคดีที่รวบรวมพื้นฐานทุกสิ่ งอย่างของ
อาชีพแพทย์อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ซึ่ งแบ่งออกเป็ นทั้งหมด ๑๙ ตอน

๑.๓ ตัวละคร
ในเรื่ องนี้จะไม่มีตวั ละครหลัก เพียงแต่กล่าวจรรยาบรรณของแพทย์ และวิธีการรักษาแต่ละโรค

๑.๔ ฉากท้องเรื่ อง
คัมภีร์ฉนั ทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ไม่ปรากฏฉากท้องเรื่ อง เพราะมีจุดประสงค์ ในการ
บรรยาย และ สอนในสิ่ งที่แพทย์ควรมีน้ นั คือ คุณสมบัติในการเป็ นแพทย์ และสิ่ งที่ไม่พึงกระทำ

๑.๕ บทเจรจาหรื อรำพึงรำพัน


ตำรานี้ไม่ได้มีบทเจรจาหรื อรำพึงรำพึง แต่จะเป็ นการบอกกล่าว และบรรยาย จรรยาบรรณของ
แพทย์ สิ่ งที่แพทย์ที่ดีพึงปฏิบตั ิและไม่พึงปฏิบตั ิ

๑.๖ แก่นเรื่ อง
แก่นของเรื่ องนี้ กล่าวเกี่ยวกับจรรณยาบรรณของแพทย์ และอาการหรื อการรักษาของโรคนั้นๆ
เพื่อให้ประชาชนที่ป่วยไข้ สามารถใช้เป็ นเครื่ องมือรักษาตนเอง และเพื่ออนุรักษ์ตำราแพทย์แผนไทย
ไว้ให้คนรุ่ นหลัง
๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
๒.๑ การสรรคำ
ผูแ้ ต่งได้เลือกใช้คำที่สื่อความหมายและความคิดได้อย่างเหมาะสมทำให้เข้าใจง่าย

๒.๑.๑ การใช้สำนวนไทย มีการใช้สำนวนไทยประกอบการอธิ บาย เพื่อให้เข้าใจเนื้ อความได้ง่ายขึ้น


และชัดเจน

เรี ยนรู้ คัมภีร์ไสย สุขมุ ไว้ อย่ างแพร่ งพราย


ควรกล่ าวจึ่ งขยาย อย่ ายื่นแก้ วแก่ วานร

การใช้สำนวน “อย่ายืน่ แก้วแก่วานร” หมายถึงการให้ของมีค่าแก่คนที่ไม่รู้คา่ แก่คนที่ไม่รู้คา่


ของสิ่ งนั้น เหมือนกับการเรี ยนรู้คำภีร์ไสยที่ควรนำไปบอกต่อกับคนที่ควรค่าและเหมาะสมเท่านั้น
๒.๑.๒ การเลือกใช้ คำให้ เหมาะสมกับประเภทของคำประพันธ์
ไหว้ ครู กมุ ารภัจ ผู้เจนจัดในคัมภีร์
เวชศาสตรบรรดามี ให้ ทานทั่วแก่ นรชน

ผู้แต่ งเลือกชนิดคำประพันธ์ ได้ เหมาะสมกับประเภทของงานเขียนโดยบทประพันธ์ นีเ้ ป็ นร้ อย


กรองกาพย์ ยานี๑๑ วรรคแรก ๕ พยางค์ วรรคหลัง ๖ พยางค์ ตรงตามหลักของกาพย์ ยานี๑๑ทุกประการ

๒.๒ การเรี ยบเรี ยงคำ


การจัดลำดับถ้อยคำจากสิ่ งที่สำคัญน้อยไปมากโดยเริ่ มจากเรื่ องที่ดูธรรมดาแล้วค่อยๆ
เข้มข้นไปเรื่ อยๆจนถึงใจความสำคัญตอนท้าย

แก่กายไม่แก่รู้ ประมาทผูอ้ ุดมญาณ

แม้เด็กเป็ นเด็กชาญ ไม่ควรหมิ่นประมาทใจ

๒.๓ การใช้โวหาร
คือการที่ผแู้ ต่งใช้ถอ้ ยในการเปรี ยบเทียบเพื่อให้ผอู ้ ่านเข้าใจความหมายและเห็นภาพได้อย่าง
ชัดเจนมากยิง่ ขึ้น

๒.๓.๑ อุปมาโวหาร
โวหารที่กล่าวเปรี ยบเทียบโดยมีคำเชื่อมและยกตัวอย่างสิ่ งที่คล้ายคลึงกันมาเปรี ยบเพื่อให้เกิด
ความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู ้สึกมากยิง่ ขึ้นโดยอาจเปรี ยบเทียบอย่าง
สั้นๆหรื อเปรี ยบเทียบอย่างละเอียดก็ได้
อุทธัจจังอุทธัจ เห็นถนัดในโรคา
ให้ ตั้งตนอย่ างพระยา ไกรสรราชเข้ าราวี

อนึ่งโสดอย่าซบเซา อย่าง่วงเหงานั้นมิดี

เห็นโรคนั้นถอยหนี กระหน่ำยาอย่าละเมิน

๒.๓.๒ อุปลักษณ์โวหาร
เป็ นการเปรี ยบเทียบ สิ่ งหนึ่งเป็ นอีกสิ่ งหนึ่ง อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้
วิธีกล่าวเป็ นนัยให้เข้าใจเอาเอง ที่สำคัญอุปลักษณ์จะไม่มีคำเชื่อมเหมือนอุปมา

คำเฉลยแก้ปุจฉา รู ้รักษาก็จริ งจังล

ด้วยโรคเหลือกำลัง จึ่งมิฟังในการยา
๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรื อคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
๓.๑ คุณค่าทางปัญญา

❖ ให้ขอ้ คิดสำหรับการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

สามารถนำข้อคิดที่ได้จากการศึกษาส่ วนนี้ไปนำประยุคใช้ในอาชีพต่างๆได้ เพราะไม่วา่ จะเป็ น


บุคคลในอาชีพใด ไม่วา่ จะเรี ยนหรื อทำงานอยู่ ถ้ามีศีลธรรมประจำใจ ไม่หลอกลวง อวดดี ประมาท ก็
จะได้รับการยกย่องจากคนรอบข้าง และอย่างเรื่ องนี้ อาชีพแพทย์ซ่ ึ งเกี่ยวข้องกับความเป็ นความตายของ
ชีวิตคน เพราะฉะนั้นจะต้องเป็ นผูท้ ี่รอบรู ้ ตั้งแต่การตั้งแต่การวินิจฉัย การใช้ยา ความรับผิดชอบต่อชีวิต
ของผูป้ ่ วย มีสติ ไม่ประมาท และที่สำคัญคือ ไม่อวดรู ้วา่ ชำนาญ เพราะถึงอย่างไรก็อาจนำไปสู ้การกระ
ทำที่ผดิ พลาดได้ ทั้งหมดนี้ ซึ่ งก็เป็ นคุณสมบัติที่พึงควรมีในการใช้รักษาผูค้ น ดังที่เห็นได้ดงั ตัวอย่าง

บางถือว่าตนเฒ่า เป็ นหมอเก่าชำนาญดี

รู้ยาไม่รู้ที รักษาได้กช็ ื่นบาน

❖ ให้ความรู้เรื่ องศัพท์ทางการแพทย์แผนโบราณ

เนื่องจากคัมภีร์น้ ี ได้ให้ความรู ้เพิ่มเติมหลายด้าน สะท้อนหลายๆสิ่ งออกมา รวมถึง คำศัพท์ อีก


มากมาย ทั้งคำที่เราอาจจะทั้งรู้จกั และคำที่เราไม่รู้จกั ดังที่เห็นได้ดงั ตัวอย่าง อติสาร แปลว่า อาการของ
การเจ็บ หรื อ ซาง ที่เป็ นชื่อโรคชนิดหนึ่ง
๓.๒ คุณค่าทางศีลธรรม

คัมภีร์ฉนั ทศาสตร์น้ ี ได้สะท้อนให้เห็นถึงศีลธรรมที่พึงควรมี ไม่วา่ จะเป็ นคุณธรรม และจรรยา


บรรณ ที่สาขาอาชีพการแพทย์ควรมี รวมถึงอาชีพอื่นๆ ที่ขาดสิ่ งเหล่านี้ไม่ได้นนั่ ก็คือ ความเสมอภาค
ไม่หลอกลวง ไม่อวดดี และความโลภเห็นแก่ตวั

๓.๓ คุณค่าทางวัฒนธรรม

นอกจากการให้คุณค่าทางปั ญญาความรู ้ ข้อคิดต่างๆ และยังให้คุณค่าทางวรรฒธรรมซึ่ งก็คือ


สะท้อนให้เห็นคุณค่าเรื่ องแพทย์แผนไทยในสมัยก่อน ในด้านสังคมไทย ก็มีการประสานแนวคิดและ
ความเชื่อต่างๆทั้งสังคมวัฒนธรรม และทางพระพุทธศาสนา และทำให้รู้วา่ ความเชื่อหรื อแนวคิดนี้ อยู่
กับคนไทยมาเป็ นเวลานาน และสะท้อนให้เห็นความเชื่อของสังคมไทยในสมัยก่อน ว่าตำราการแพทย์
ในคัมภีร์อาถรรพเวท เป็ นเรื่ องราวที่เกี่ยวข้องกับไสยศาสตร์ แสดงให้เห็นว่าในสมัยก่อนนั้นได้มีหลัก
ความเชื่อเหล่านี้เข้ามาเกี่ยวด้วยอย่างเห็นได้ชดั ดังที่เห็นได้ดงั ตัวอย่าง

เรี ยนรู้ให้เจนจัด จบจังหวัดคัมภีร์ไสย

ตั้งต้นปฐมใน ฉันทศาตรดังพรรณา

บรรณานุกรม
ศึกษาธิ การ, กระทรวง. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน ภาษา
ไทย วรรณคดีวจิ กั ษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ กลุ่มสําระการเรี ยนรู ้ภาษำไทย. ลาดพร้าว : โรงพิมพ์ สกสค.,
พ.ศ. ๒๕๕๕. ๑๓๑

You might also like