You are on page 1of 39

ลิลิตตะเลงพาย

โดย

นางสาวบุญยานุช สิมมะระ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เลขที่ 11

นางสาวสุมิตา เศวตศุทธิสรร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เลขที่ 14

นางสาวลลิตพรรณ ไทยเดช ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เลขที่ 15

เสนอ
อ.ปทวรรณ พันชัย
TABLE OF CONTENTS

01 การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีใน
วรรณคดีและวรรณกรรม

02 การอานและพิจารณาเนื้อหาการใชภาษาใน
วรรณคดีและวรรณกรรม

03 การอานและพิจารณาประโยชนหรือ
คุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม
01
การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธี

ในวรรณคดีและวรรณกรรม
เรื่องยอ
เมื่อสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชไดสิ้นพระชนม สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงขึ้นครอง

ราชยโดยมีสมเด็จพระเอกาทศรถเปนพระมหาอุปราช พระเจาหงสาวดีทราบขาวก็ไดตัดสินใจ

ที่จะยกทัพมาตีไทย ทานพระมหาอุปราชาไดลานางสนมแลวก็ยกทัพเขาทางเมืองกาญจนบุรี

ฝายสมเด็จพระนเรศวรรูขาวก็ทรงเตรียมกองทัพ เมื่อทัพหลวงของทั้งสองฝายไดมาเจอกัน ณ

ตําบลตระพังตรุ พลชางทรงของสมเด็จพระนเรศวรและชางทรงของสมเด็จพระเอกาทศรถก็

ตกมันแลววิ้งเตลิดเขาไปในวงลอมของขาศึก สมเด็จพระนเรศวรทรงกระทํายุทธหัตถีกับพระ

มหาอุปราชา สมเด็จพระเอกาทศรถทรงทํายุทธหัตถีกับมางจาชโรและไดรับชัยชนะทั้งสอง

พระองค เมื่อพระมหาอุปราชาถูกฟนคอขาดคาชาง กองทัพหงสาวดีก็แตกพายกลับไป


โครงเรื่อง
การดําเนินความตามเคาเรื่องพงศาวดาร ไดแก การทําสงคราม การตอสู

แบบยุทธหัตถี การจัดทัพ และรายละเอียดตางๆ ซึ่งเปนไปตามตํารา

พิชัยสงครามและโบราณราชประเพณีทุกอยาง สําหรับเนื้อหาที่เปนสวน

เพิ่มเติมสวนเสริมเรื่อง คือ บทประพันธที่เปนลักษณะนิราศ


ตัวละคร
ฝายไทย

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระเอกาทศรถ
หรือพระองคดํา
หรือพระองคขาว

สมเด็จพระนเรศวร หรือสมเด็จพระสรรเพชญที่ ๒ ทรงเปน สมเด็จพระเอกาทศรถ หรือสมเด็จพระสรรเพชญที่ ๓

พระมหากษัตริยที่เกงกลา เปนผูประกาศเอกราชหลังจากที่ อนุชาของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงดํารง

เสียไปใหกับพมาถึง ๑๕ ป รวมทั้งขยายราชอาณาจักรให ตําแหนงอุปราช ทรงออกศึกทําสงครามรวมกับสมเด็จ

กวางใหญ พระนเรศวรตลอด และทรงครองราชยตอจากสมเด็จพระ

นเรศวร
ตัวละคร
ฝายไทย

พระมหาธรรมราชา สมเด็จพระวันรัต

เดิมชื่อพระมหาเถรคันฉอง พระชาวมอญ ทานเปนผู

อีกพระนามหนึ่งวา สมเด็จพระสรรเพชญที่ ๑ มีพระราช เกลี้ยกลอมใหพระยาเกียรติ์ และพระยารามที่พระเจาหง

โอรสและพระราชธิดาสามพระองคคือ พระสุพรรณเทวี สาวดีสงมาใหลอบกําจัดพระนเรศวรรับสารภาพและเขา

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ รวมกับพระนเรศวร และไดขออภัยโทษ บรรดาแมทัพ

นายกองที่ตามสมเด็จพระนเรศวรไมทัน
ตัวละคร
ฝายพมา

พระเจาหงสาวดี หรือนันทบุเรง พระมหาอุปราชา

กษัตริยพมา เดิมชื่อมังชัยสิงหราช ดํารงตําแหนงอุปราชใน โอรสของนันทบุเรง เดิมชื่อมังสามเกียด หรือมังกะยอ

สมัยบุเรงนอง ไดขึ้นครองราชยตอจากบุเรงนอง ทานทรง ชวา เปนเพื่อนเลนกับพระนเรศวรในสมัยที่พระองค

หวังที่จะสรางความยิ่งใหญเหมือนกับพระราชบิดา ประทับอยูที่กรุงหงสาวดี และไดยกทัพ ๕ แสนมาตี

ไทย และสิ้นพระชนมในการทํายุทธหัตถีกับสมเด็จ

พระนเรศวรมหาราช
ฉากทองเรื่อง

กาญจนบุรี

● พระมหาอุปราชายกทัพมาตีไทย 01
กรุงหงสาวดี
เขามาทางเมืองกาญจนบุร
02 ● เปนเมืองหลวงของพมา

ตําบลตระพังตรุ
03 อยุธยา
● ที่ที่พระมหาอุปราชากับ
04 ● เปนเมืองหลวงของไทย
สมเด็จพระนเรศวรยก

กองทัพเขามาปะทะกัน
บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน
มาเดียวเปลี่ยวอกอา อายสู
คําประพันธพระมหาอุปราชารําพันถึงนาง
สถิตอยูเอองคดู ละหอย
พระมหาอุปราชาทรงชมตนไมและดอกไมที่
พิศโพนพฤกษพบู บานเบิก ใจนา
ทรงพบเห็นระหวางทาง ทานทรงเห็นตน
พลางคะนึงนุชนอย แนงเนื้อนวลสงวน
สลัดไดทรงดําริวาเหตุใดจึงตองจากนองมานอ
สลัดไดใดสลัดนอง แหนงนอน ไพรฤๅ
นปา มาเพื่อทําสงครามกับขาศึก เห็นตนสละที่
เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร
ตองสละนองมาเหมือนชื่อตนไม เห็นตนระกําที่
สละสละสมร เสมอชื่อ ไมนา
ชื่อตนไมชางเหมือนอกพี่แทๆ ตนสายหยุดเมื่อ
นึกระกํานามไม แมนแมนทรวงเรียม
สายก็หมดกลิ่น แตใจพี่แมยามสายก็ไมคลาย
สายหยุดหยุดกลิ่นฟุง ยามสาย
รักนอง
สายบหยุดเสนหหาย หางเศรา

กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม

ถวิลทุกขวบคํ่าเชา หยุดไดฉันใด
แกนเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง

การยอพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ทรงมีพระปรีชาสามารถดาน

การทํายุทธหัตถี มีชัยเหนือพระมหาอุปราชา อีกทั้งยังมีพระปรีชาสามารถ

ดานการปกครองและพระราชจริยวัตรอันกอปรดวยธรรมของพระราชา
02
การอานและพิจารณาเนื้อหา
การใชภาษาในวรรณคดี
และวรรณกรรม
สรรคํา
การใชคําที่เหมาะแกเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคล

เบื้องนั้นนฤนาถผู สยามินทร
เลือกใชคําที่มีศักดิ์คําสูง แสดงใหเห็นภาพเดนชัดและความไพเราะ
เบี่ยงพระมาลาผิน หอนพอง เชน

นฤนาถ หมายถึง กษัตริย


ศัสตราวุธอรินทร ฤาถูก องคเอย
สยามินทร หมายถึง กษัตริยสยาม (กษัตริยอยุธยา)

เพราะพระหัตถหากปอง ปดดวยขอทรง พระมาลา หมายถึง หมวก

ศัตราวุธอรินทร หมายถึง อาวุธของขาศึก

องค หมายถึง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

พระหัตถ หมายถึง มือ

ขอทรง หมายถีง ขอสับสําหรับบังคับชาง อยูใตคอของชาง


การใชคําโดยคํานึงถึงเสียง

มีการใชสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะในคําประพันธทุกบท

“...ถับถึงโคกเผาเขา พอยามเชายังสาย หมายประมาณโมงครบ ประทบทัพรามัญ ประทันทัพพมา

ขับทวยกลาเขาแทง ขับทวยแขงเขาฟน…”

สัมผัสสระ ไดแก เขา – เชา สาย - หมาย ครบ – ทบ รามัญ – ทัน พมา – กลา แทง – แขง

สัมผัสพยัญชนะ ไดแก ถับ – ถึง โคก – เขา ยาม – ยังหมาย – ประมาณ –โมง ประทบ – ทับ ประ

ทัน – ทัพ ขับ – เขา ทวย – แทง ขับ – แขง – เขา


มีการใชสัมผัสพยัญชนะเดียวกันเกือบทั้งวรรค

กรตระกองกอดแกว เรียมจักรางรสแคลว

คลาดเคลาคลาสมร

จําใจจรจําจากสรอย อยูแมอยาละหอย

หอนชาคืนสม แมแล

วรรคที่ 1 ไดแก กร – กอง – กอด – แกว

วรรคที่ 2 ไดแก เรียม – ราง – รส

วรรคที่ 3 ไดแก คลาด – เคลา – คลา

วรรคที่ 4 ไดแก อยู – อยา


มีสัมผัสสระในแตละวรรคของโคลงแตละบาทคลายกลบท

ชาวสยามครามเศิกสิ้น ทั้งผอง

นายและไพรไปปอง รบรา

อพยพหลบหลีกมอง เอาเหตุ

ซุกซอนหอนใหขา ศึกไดไปเปน

บาทที่ 1 ไดแก สยาม – คราม

บาทที่ 2 ไดแก ไพร – ไป

บาทที่ 3 ไดแก อพยพ – หลบ

บาทที่ 4 ไดแก ซอน – หอน ได – ไป


การเรียบเรียงคํา
ลักษณะคําประพันธ

ลิลิตตะเลงพาย แตงดวยคําประพันธประเภทลิลิตสุภาพ โดยแตงสลับกันระหวาง

รายสุภาพและโคลงสุภาพ รวม 439 บท แบงเปนโคลงสองสุภาพ 45 บท โคลงสาม

สุภาพ 10 บท โคลงสี่สุภาพ 335 บท และรายสุภาพ 49 บท ระยะเวลาในการนิพนธ

เริ่มตั้งแตงป พ.ศ. 2359 จวบจนจบใน พ.ศ. 2375 รวม 16 ป


การใชโวหาร
การใชคําใหเกิดจินตภาพ

การใชคําที่แสดงใหเห็นภาพการตอสูอยางหาวหาญของพลทหารทั้งสองฝายที่ผลัดกันรุกรับ

ขับเคี่ยวกันดวยอาวุธหลากหลายทั้งขอ งาว ทวน หอก ธนู จนตางฝายลมตายไปเปนจํานวนมาก ดัง

ตัวอยาง

“...คนตอคนตอรบ ของาวทบทะกัน ตางฟนตางปองปด วางสนัดหลังสาร ขานเสียงคึกกึกกอง วอง

ตอวองชิงชัย ไวตอไวชิงชนะ มาไทยพะมามอญ ตางเขารอนเขาโรม ทวนแทงโถมทวนทบ

หอกเขารบรอหอก หลอกลอไลไขวแควง แยงธนูเหนี่ยวแรง หาวตอหาวหักหาญ ชาญตอชาญหัก

เชี่ยว เรี่ยวตอเรี่ยวหักแรง แขงตอแขงหักฤทธิ์…”


การใชโวหาร
การใชโวหารโดยการเปรียบเทียบ

วาสมเด็จพระนเรศวรมีฤทธิ์เหมือนพระรามยามตอสูกับทศกัณฐ ขาศึกศัตรูที่พายแพไปเหมือนพลยักษ

สมเด็จพระนเรศวรก็เหมือนองคพระนารายณอวตารลงมา ดังตัวอยาง

บุญเจาจอมภพขึ้น แผนสยาม

แสยงพระยศยินขาม ขาดแกลว

พระฤทธิ์ดั่งฤทธิ์ราม รอนราพณ แลฤา

ราญอริราชแผว แผกแพทุกภาย
การใชโวหาร
การใชถอยคําสรางอารมณและความรูสึก

การใชถอยคําใหเกิดความรูสึกเห็นใจ ตอนที่พระมหาอุปราชาเคลื่อนกระบวนทัพ ขณะเดินทางมีการชมธรรมชาติ

ชมพันธุไมตางๆ โดยการนําชื่อตนไมและดอกไมมาเลนคําใหสอดคลองกับอารมณและความรูสึกของพระมหาอุปราชาได

อยางไพเราะ

สลัดไดใดสลัดนอง แหนงนอน ไพรฤา

เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร

สละสละสมร เสมอชื่อ ไมนา

นึกระกํานามไม แมนแมนทรวงเรียม
การใชโวหาร
การใชถอยคําเกิดอารมณสะเทือนใจ พระผาดผายสูหอง หาอนุชนวลนอง

ดังปรากฏตอนที่พระมหาอุปราชาลาพระสนม หนุมเหนาพระสนม

ปวงประนมนบเกลา งามเสงี่ยมเฟยมเฝา

อยูถาทูลสนอง

กรตระกองกอดแกว เรียมจักรางรสแคลว

คลาดเคลาคลาสมร

จําใจจรจากสรอย อยูแมอยาละหอย

หอนชาคืนสม แมแล
การใชโวหาร
การใชถอยคําใหเกิดความรูสึกเจ็บปวด

ตอนพระมหาอุปราชาทูลพระเจาหงสาวดีวาจะมีเคราะหไมตองการออกรบ จึงถูกพระเจาหงสาวดีกลาวประชดดวยถอยคํา

ใหเกิดความรูสึกเจ็บปวดอับอายวาใหเอาเครื่องแตงกายหญิงมาสวมใส

“...ฟงสารราชเอารส ธก็ผะชดบัญชา เจาอยุธยามีบุตร ลวนยงยุทธเชี่ยวชาญ หาญหักศึกบมิยอ

ตอสูศึกบมิหยอน ไปพักวอนวาใช ใหธหวงธหาม แมนเจาครามเคราะหกาจ จงอยายาตรยุทธนา

เอาพัสตราสตรี สวมอินทรียสรางเคราะห ธตรัสเยาะเยี่ยงขลาด องคอุปราชยินสาร แสน

อัประมาณมาตยมวล นวลพระพักตรผองเผือด เลือดสลดหมดคลํ้า ชํ้ากมลหมองมัว..”


การใชโวหาร
การใชถอยคําแสดงความโศกเศรา

เชนตอนที่พระมหาอุปราชาตองจากพระสนมและเดินทัพ เมื่อเห็นสิ่งใดก็คิดถึงนางอันเปนที่รัก การคลํ่าครวญของพระมหาอุป

ราชา ทําใหผูอานเห็นใจในความรักของพระมหาอุปราชา ดังปรากฏในตอนที่พระมหาอุปราชาเห็นตนไม ดอกไม แลวรําพันถึง

พระสนม

มาเดียวเปลี่ยวอกอา อายสู

สถิตอยูเอองคดู ละหอย

พิศโพนพฤกษพบู บานเบิก ใจนา

พลางคะนึงนุชนอย แนงเนื้อนวลสงวน
03
การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคา

ในวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณคาดานคุณธรรม
1 .ความรอบคอบไม 3. การเปนคนรูจกความ 5. ความซื่อสัตย
ประมาท กตัญูกตเวที

2 .การเปนคนรูจักการวาง 4. การเปนคนชาง 6. การมีวาทศิลปในการ


แผน สังเกตและมีไหวพริบ พูด
1 .ความรอบคอบไมประมาท

ในเรื่องลิลิตตะเลงพายนี้เราจะเห็น คุณธรรมของพระนเรศวรไดอยางเดนชัดและสิ่งที่ทําใหเราเห็นวาพระองค
ทรง เปนพระมหากษัตริยที่ทรงพระปรีชาสามารถมากที่สุดคือ ความรอบคอบ ไมประมาทดั่งโคลงสี่สุภาพตอน
หนึ่งกลาววา
พระหวงแตศึกเสี้ยน อัสดง
เกรงกระลับกอรงค รั่วหลา
คือใครจักคุมคง ควรคู เข็ญแฮ
อาจประกันกรุงถา ทัพขอยคืนถึง

หลังจากที่พมายกกองทัพเขามาพระองคก็ทรงสั่งใหพายพลทหารไปทําลายสะพานเพื่อ วาเมื่อฝายไทยชนะศึก
สงคราม พายพลทหารของฝายพมาก็จะตกเปนเชลยของไทยทั้งหมด นั่นแสดงใหเราเห็นวาพระองคทรงเปน
กษัตริยที่มีทัศนคติที่กวางไกล ซึ่งมีผลมาจากความรอบคอบไมประมาท
2 .การเปนคนรูจักการวางแผน

จากการที่เราไดรับการศึกษาเรื่องลิลิตตะเลงพายเราจะเห็นไดชัดเจนวาในชวง ตอนที่สมเด็จพระนเรศวร
มหาราชทรงเปลี่ยนแผนการรบเปนรับศึกพมาแทนไปตีเขมร พระองคไดทรงจัดการวางแผนอยางเปนขั้นเปน
ตอนอยางไมรอชา ทรงแตงตั้งใหพระยาศรีไสยณรงคเปนแมทัพหนาและพระราชฤทธานนทเปนปลัดทัพ หนา
ตามดวยแผนการอื่นๆอีกมากมายเพื่อทําการรับมือ และพรอมที่จะตอสูกับขาศึกศัตรูทางฝายพมา ยกตัวอยาง
โคลงสี่สุภาพที่แสดงใหเราเห็นถึงการรูจักการวางแผนของสมเด็จพระ นเรศวรมหาราช

พระพึงพิเคราะหผู ภักดี ทานนา


คือพระยาจักรี กาจแกลว
พระตรัสแดมนตรี มอบมิ่ง เมืองเฮย
กูไกลกรุงแกว เกลือกชาคลาคืน

เมื่อเราเห็นถึงคุณธรรมทางดานการวางแผนแลวเราก็ควรเอาเยี่ยงอยางเพื่อใชในการ ดําเนินชีวิตใหเปนไป
อยางมีระเบียบ มีแบบแผน ซึ่งจากคุณธรรมขอนี้ก็อาจชวยเปลี่ยนแปลงใหทานผูอานทุกทาน ใหกลายเปน
บุคคลที่มีคุณภาพชีวิตทางดานการวางแผนในการดําเนินชีวิตก็เปน ไดถาเรารูจักการวางแผนใหกับตัวเราเอง
3. การเปนคนรูจกความกตัญูกตเวที

จากบทการรําพึงของพระมหาอุปราชาถึงพระราชบิดานั้น แสดงใหเราเห็นอยางเดนชัดเลยทีเดียววาพระมหา
อุปราชาทรงมีความหวงใย อาทร ถึงพระราชบิดาในระหวางที่ทรงออกรบ ซึ่งแสดงใหเราเห็นถึงความรักของ
พระองคที่มีตอพระราชบิดา โดยพระองคไดทรงถายทออดความนึกคิด และรําพึงกับตัวเอง ดั่งโคลงสี่สุภาพที่
กลาวไววา
ณรงคนเรศดาว ดัสกร
ใครจักอาจออกรอน รบสู

เสียดายแผนดินมอญ มอด มวยแฮ


เหตูบมีมือผู อื่นตานทานเข็ญ

ซึ่งเมื่อแปลจะมีความหมายวา เมื่อยามที่สงครามขึ้นใครเลาจะออกไปรบแทนทานพอ จากโคลงนี้ไมไดแสดงให


เราเห็นถึงความกตัญูที่มีตอพระราชบิดาของพระมหา อุปราชาเพียงอยางเดียว แตยังมีความกตัญู ความ
จงรัก ภักดี ตอชาติบานเมืองอีก
4. การเปนคนชางสังเกตและมีไหวพริบ
จสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเปนพระมหากษัตริยที่มีพระปรีชาสามารถทางดานการมีความ สติปญญาและ
มีไหวพริบเปนเลิศ ดังนั้นจึงไมแปลกเลยที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชจะทรงมีคุณธรรมทางดานการเปน คน
ชางสังเกตและมีไหวพริบ ดวยเหตุนี้ทําใหพระองคทรงสามารถแกไขสถานการณอันคับขันในชวงที่ตกอยูใน
วงลอมของพมาได ซึ่งฉากที่แสดงใหเราเห็นวาพระองคทรงมีคุณธรรมทางดานนี้คือ
ดยแขวงขวาทิศทาว ทฤษฎี แลนา
บัด ธ เห็นขุนกรี หนึ่งไสร
เถลิงฉัตรจัตุรพิรีย เรียงคั่ง ขูเฮย
หนแหงฉายาไม ขอยชี้เฌอนาม
ปนสยามยลแททาน คะเนนึก อยูนา
ถวิลวาขุนศึกสํา- นักโนน
ทวยทับเทียบพันลึก แลหลาก หลายแฮ
ครบเครื่องอุปโภคโพน เพงเพี้ยงพิศวง
สมเด็จพระนเรศวรทรงใชวิธีการสังเกตหาฉัตร5ชั้นของพระมหาอุปราชา ทําใหพระองคทรงทราบวาใครเปน
พระมหาอุปราชาทั้งๆที่มีทหารฝายขาศึกราย ลอมพระองคจนรอบ แตดวยความมีไหวพริบพระองคจึงตรัสทารบ
เสียกอนเพราะถาพระองคไมทรงตรัส ทารบเสียกอนพระองคอาจทรงถูกฝายขาศึกรุมโจมตีก็เปนได ดังนั้นเมื่อ
เราเห็นคุณธรรมของพระองคดานนี้แลวก็ควรยึดถือและนําไปปฏิบัติ ตามเพราะสิ่งดีๆเหลานี้อาจกอใหเกิดผลดี
ตอตนเอง และตอประเทศชาติได
5. ความซื่อสัตย

จากเนื้อเรื่องนี้เราจะเห็นไดวาบรรดาขุนกรีและทหารมากมายทั้งฝายพมาและฝาย ไทยมีความซื่อสัตยและ
ความจงรักภักดี ตอประเทศชาติของตนมากเพราะจากการที่ศึกษาเรื่องลิลิตตะเลงพายเรายังไม เห็นเลยวา
บรรดาทหารฝายใดจะทรยศตอชาติบานเมืองของตน ซึ่งก็แสดงใหเราเห็นวาความซื่อสัตยในเราองเล็กๆนอยๆ
ก็ทําใหเราสามารถ ซื่อสัตยในเรื่องใหญๆไดซึ่งจากเรื่องนี้ความซื่อสัตยเล็กๆนอยๆของบรรดา ทหารสงผลให
ชาติบานเมืองเกิดความเปนปกแผนมั่นคงได

เราก็เชน เดียวกัน….ถาเรารูจักมีความซื่อสัตยตอตนเองดั่งเชนบรรดาขุนกรี ทหารก็อาจนํามาซึ่งความเจริญ


และความมั่นคงในชีวิตก็เปนไดซึ่งสิ่งนี้อาจสง ผลประโยชนตอตนเอง ตอครอบครัวและชาติบานเมือง
คุณคาดานเนื้อหา

1) รูปแบบ

ลิลิตตะเลงพายแตงเปนลิลิตสุภาพ ประกอบดวยรายสุภาพและโคลงสุภาพ ไดแก โคลงสองสุภาพ โคลงสาม

สุภาพ และโคลงสี่สุภาพสลับกันตามความเหมาะสมของเนื้อหา ลิลิตตะเลงพายเปนวรรณคดีแนวประวัติศาสตรและเปน

วรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติที่มุงสดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชการที่ผูแตงเลือกใชคําประพันธประเภท

รายสุภาพและโคลงสุภาพในงานประพันธ จึงนับวาเหมาะสมอยางยิ่งเพราะคําประพันธทั้งสองประเภทนี้นิยมใชในการ

พรรณนาเรื่องราวที่สูงสงศักดิ์สิทธิ์
2) องคประกอบของเรื่อง

2.1) สาระ แกนสําคัญของลิลิตตะเลงพาย คือ การยอพระเกียรติสมเด็จพระ

นเรศวรมหาราชในดานพระปรีชาสามารถทางการรบ โดยการกระทําสงคราม

ยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาแหงกรุงหงสาวดีและไดรับชัยชนะอยางงดงาม

นอกจากพระปรีชาสามารถทางการรบแลวผูแตงยังไดเนนพระปรีชาสามารถ

ในดานการปกครองและพระจริยวัตรอันกอปรดวยทศพิธราชธรรม 10 ประการ

สังคหวัตถุ 4 ประการ และจักรวรรดิวัตร 12 ประการ


2.2) โครงเรื่อง ลิลิตตะเลงพายเปนวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิต

ชิโนรสทรงนํามาจากประวัติศาสตร โดยมีขอบเขตกําหนดเนื้อหาไวเพียงเรื่องการทําสงครามยุทธหัตถีแตเพื่อมิใหเนื้อเรื่องขาดชีวิตชีวา

จึงทรงเพิ่มเติมเรื่องที่ไมใชการสงครามเขาไป เนื้อหาที่สําคัญเปนหลักของเรื่อง “ตะเลงพาย” คือการดําเนินความตามเคาเรื่องใน

พงศาวดาร ไดแก การทําสงคราม การตอสูแบบยุทธหัตถีการจัดทัพ และรายละเอียดตางๆ ซึ่งเปนไปตามตําราพิชัยสงครามและโบราณ

ราชประเพณีทุกอยาง สําหรับเนื้อหาที่เปนสวนเพิ่มเติมหรือสวนเสริมเรื่องคือสวนที่ประพันธเปนลักษณะนิราศ ซึ่งมีการพรรณนาเกี่ยวกับ

การเดินทางและการครํ่าครวญอาลัยถึงนางผูเปนที่รักผานบทบาทของพระมหาอุปราชา
2.3) ตัวละคร

สมเด็จพระนเรศวร

#1 #2 #3

มีความเปนนักรบ ทานทรงรอบรู
มีพระปรีชาญาณ คือ
มีความเปนนักปกครองที่ เรื่องกระบวนศึก การจัดทัพ การ
ความฉลาด รอบรู มี
ดีทรงเลือกใชคนโดย เคลื่อนทัพ การตั้งคายตามตํารา
พิชัยสงคราม ที่สําคัญคือพระองค ไหวพริบ
พิจารณาจากคุณวุฒิ
มีความกลาหาญ เด็ดเดี่ยว ไม
หวั่นเกรงตอขาศึกแมจะอยูใน
ลักษณะเสียเปรียบก็ไมเกรงกลัว
แตกลับใชบุคลิกภาพอันกลาหาญ
ของพระองคเผชิญกับ
ขาศึกดวยพระทัยที่มั่นคง
เขมแข็ง
ดานสังคม
สะทอนเกี่ยวกับ สะทอนใหเห็นความเชื่อ
ขนบธรรมเนียมประเพณี ของสังคมไทย
ขนบธรรมเนียมในการศึกที่ปรากฏในเรื่อง ความเชื่อที่ปรากฏในเรื่อง ไดแก
● ความเชื่อของบรรพบุรุษ
● เมื่อพระมหาอุปราชาจะออกศึก จะมีการใหโอวาท ● ความเชื่อเรื่องความฝนบอกเหตุ
● เชื่อคําทํานายทายทักของโหร เชน ตอนที่
การสรางขวัญกําลังใจแกทหาร สมเด็จพระนเรศวรทรงพระสุบินนิมิต จึงตรัส
ใหหาพระโหราจารยเพื่อทํานายนิมิต
● ความรูเกี่ยวกับตําราพิชัยสงคราม การจัดทัพ

การตั้งทัพ ประเพณี และพิธีกรรมเกี่ยวกับสงคราม


สะทอนขอคิดเพื่อนําไปใชในการดําเนิน
เชน พิธีโขลนทวารตัดไมขมนาม ชีวิต
● พิธีโขลนทวารเปนพิธีบํารุงขวัญทหารกอนออก
ลิลิตตะเลงพายไดแสดงคุณธรรมดานตางๆ ที่มี
ศึกเหลาทหารตางฮึกเหิมและมีกําลังใจเพราะมี คุณคาตอการดําเนินชีวิต
● ความรับผิดชอบตอหนาที่
พระสงฆสวดพระพุทธมนตและประพรมนํ้าพระ ● ความเมตตา
● ความนอบนอม
พุทธมนตให
● การใหอภัย
คุณคาดานอารมณ

ตัวอยางเชน จากบทประพันธนี้แสดงใหเห็นถึงอารมณรัก

มาเดียวเปลี่ยวอกอา อายสู คิดถึงและอาลัยของพระมหาอุปราชาที่รูสึกตอพระสนม

สถิตอยูเอองคดู ละหอย พระมหาอุปราชาจําตองจากคนรักมายกทัพตอสูกับไทย

พิศโพนพฤกษพบู บานเบิก ใจนา เนื่องจากขัดคําสั่งของพระเจาหงสาวดีนันทบุเรงไมได

พลางคะนึงนุชนอย แนงเนื้อนวลสงวน ซึ่งบทประพันธนี้

ทําใหผูอานคลอยตามและมีความรูสึกรวมกันกับพระมหาอุปราช


ดานวรรณศิลป
1) การสรรคํา ลิลิตตะเลงพาย เปนวรรณคดีมรดกลํ้าคาที่คนไทยควรศึกษาเพื่อใหเกิดความ

ภาคภูมิใจในวีรกรรมของนักรบไทยและภูมิใจในภาษาไทยที่กวีใชถายทอดเรื่องราวไดอยางมี

คุณคาทางดานวรรณศิลป ดวยการเลือกใชถอยคําไดอยางไพเราะ

2) การใชโวหาร กวีเลือกใชถอยคําในการบรรยาย พรรณนาและเปรียบเทียบไดอยางเหมาะสม

กับเนื้อเรื่อง ทําใหผูอานมองเห็นภาพชัดเจน

● การใชคําใหเกิดจินตภาพ เชน การใชคําที่แสดงใหเห็นภาพการตอสูอยางหาวหาญของพลทหารทั้งสองฝายที่ผลัดกัน

รุกรับขับเคี่ยวกันดวยอาวุธหลากหลายทั้งขอ งาว ทวน หอก ธนู จนตางฝายลมตายไปเปนจํานวนมาก

● การใชโวหารโดยการเปรียบเทียบ วาสมเด็จพระนเรศวรมีฤทธิ์เหมือนพระรามยามตอสูกับทศกัณฐ ขาศึกศัตรูที่พายแพ

ไปเหมือนพลยักษ สมเด็จพระนเรศวรก็เหมือนองคพระนารายณอวตารลงมา

● การใชถอยคําสรางอารมณและความรูสึก
Thank You
เรื่องยอ extra story
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชใหรางวัลทหารและปรึกษาโทษนายทัพที่ตามชางทรง

เขาไปกองทัพพมาไมทัน สมเด็จพระวันรัตทุลขอรับโทษแทนแมทัพนายกองทั้งหมด

สมเด็จพระเนศวรจึงสั่งใหยกทัพไปตีทวายและตะนาวศรีเปนการแกตัว จากนั้นไดทรง

จัดการทํานุบํารุงหัวเมืองทางเหนือ แลวเจาเมืองเชียงใหมก็ไดมาสวามิภักดิ์ขอเปน

เมืองขึ้น

You might also like