You are on page 1of 6

วงจรนี้ให้แรงดันเริ่ มต้นที่ 2.

5V ต่อเซลล์เพื่อความรวดเร็ วในการชาร์จแบตเตอรี่ รถยนต์ ขณะการ


ชาร์จแบตเตอรี่ กระแสจะลดลงและเมื่อกระแสไฟฟ้ าตกถึง 180 mA วงจรชาร์จจะผลิตแรงแรงดันไฟฟ้ าออก
มา 2.35 V ต่อเซลล์ นอกจากนั้นแบตเตอรี่ อยูใ่ นสถานะประจุเต็ม นี้เป็ นแรงดันต่ำเพื่อป้ องกันแบตเตอรี่ จาก
overcharching ซึ่ งอายุการใช้งานจะสั้นลงได้
อุณหภูมิสามารถช่วยตอบแทนป้ องกันการประจุเกิน อุณหภูมิเซ็นเซอร์ IC เบอร์ LM334 ควรอยูใ่ กล้
หรื อบนแบตเตอรี่ เนื่องจากแบตเตอรี่ ตอ้ งการชดเชยเพิ่มเติมที่อุณหภูมิต ่ำกว่า เปลี่ยน R5 เป็ น 30Ω สำหรับ
tc ของ -5mV/0C ต่อเซลล์ วงจรนี้ จะใช้ที่อุณหภูมิต ่ำกว่า - 200C
การชาร์จแรงดันไฟฟ้ าด้านเข้าต้องเป็ น dc คืออย่างน้อย 3V สู งกว่า maximum แรงดัน output ที่
ต้องการ เลือก regulator สำหรับกระแสสู งสุ ดที่ตอ้ งการ : LM371 สำหรับ 2A, LM350 สำหรับ 4A, LM338
สำหรับ 8A ที่อุณหภูมิ 250C และไม่มีโหลด ปรับ R7 สำหรับ Vout ของ 7.05V และปรับ R8 สำหรับ Vout
ของ 14.1V
 
ไอซีเร็กกูเลเตอร์ สามขาชนิดจ่ ายแรงดันคงที่
                ไอซีเร็ กกูเลเตอร์ภายในประกอบด้วยวงจรเร็ กกูเลเตอร์แบบอนุกรม มีขาต่อใช้งาน 3 ขา ประกอบ
ด้วยขา อินพุท เอาท์พทุ และกราวด์ ซึ่ งจะจ่ายแรงดันค่าใดค่าหนึ่งโดยเฉพาะ โดยรวมเอาส่ วนของวงจรป้ อน
กลับที่ประกอบด้วย R1 และ R2 เข้าไว้เป็ นส่ วนหนึ่งของไอซี ซึ่ งจุดนี้ นี่เองที่แตกต่างไปจากไอซี เร็ กกูเลเตอร์
ที่ปรับค่าได้
 
In IC O ut
R e g u la to r

 
แสดงการต่อไอซีเร็ กกูเลตอร์ใช้งานแบบง่ายๆ
 
                จุดเด่นของไอซีเร็ กกูเลเตอร์ค่าคงที่น้ ีคือ สามารถต่อวงจรได้ง่ายไม่ตอ้ งต่ออุปกรณ์ภายนอกเพิ่ม
เติมมากนัก ในการต่อวงจรบางครั้งจำเป็ นต้องต่อไอซี เร็ กกูเลเตอร์ห่างจากแหล่งจ่ายไฟอินพุทเกิน 5
เซนติเมตร จึงควรใส่ ตวั เก็บประจุอิเล็กทรอไลต์ ขนาดประมาณ 10 ไมโครฟารัด สักตัวไว้ดา้ นอินพุท เพื่อ
ป้ องกันการเกิดออสซิลเลตที่ความถี่สูง ซึ่ งจะทำให้วงจรขาดเสถียรภาพ เอาท์พทุ ที่ออกจากไอซี เร็ กกูเลเตอร์
จะได้แรงดันเอาท์พทุ ที่เรี ยบพอสมควรอยูแ่ ล้ว แต่อาจจะใส่ ตวั เก็บประจุที่มีค่าประมาณ 100 ไมโครฟารัด
เพื่อช่วยปรับปรุ งแรงดันให้เรี ยบขึ้น ถึงแม้วา่ แรงดันไอซี เร็ กกูเลเตอร์ชนิดนี้ จะให้แรงดันเอาท์พทุ คงที่ มี
เบอร์ให้เลือกแรงดันเอาท์พทุ ได้คงที่หลายเบอร์เช่น  5 V, 5.2 V, 6V, 8V, 10V, 12V, 15V, 18V และ 24V
กระแสเอาท์พทุ ตั้งแต่ 10 มิลลิแอมป์ ถึง 3 แอมป์ และมีให้เลือกทั้งชนิดเร็ กกูเลเตอร์ไฟบวกและเร็ กกูเลเตอร์
ไฟลบ
 

                           
แสดงตำแหน่งขาของ IC Regulator เบอร์ 78xx และ 79xx
 
ตารางสรุ ปรวมเบอร์ ไอซีเร็กกูเลเตอร์
 
เบอร์ แรงดันเอา อุณหภูมิ กระแสเอา กระแส แรงดันอิน แรงะดันตก
ท์ พุท รอยต่ อ* ท์ พทุ สู งสุ ดเมือ่ มี พุท คร่ อม
สู งสุ ด(mA) โหลด(mA)
เร็กกูเลเตอร์ กระแสบวกคงที่ 100 mA
78L26 2.6 C 100 50 4.8 to 35 2.2
78L05 5.0 C 150 60 7.2 to 35 2.2
78L62 6.2 C 175 80 10.4 to 35 2.2
78L82 10.2 C 175 80 10.4 to 35 2.2
78L09 9.0 C 188 90 11.2 to 35 2.2
78L12 12 C 250 100 14.2 to 35 2.2
เร็กกูเลเตอร์ กระแสบวกคงที่ 500 mA
78M05 5.0 M 50 50 10.0 to 35 2.5
78M05 5.0 C 100 100 7.5 to 35 2.5
78M06 6.0 M 60 60 10.0 to 35 2.5
78M06 6.0 C 100 120 10.5 to 35 2.5
78M08 10.0 M 60 80 11 to 35 2.5
78M08 10.0 C 100 160 10.5 to 35 2.5
78M12 12 M 60 120 15 to 35 2.5
เร็กกูเลเตอร์ กระแสลบ คงที่ 500 mA
78M05 -5.0 M 50 100 -7.5 to -35 2.5
78M05 -5.0 C 50 100 -7.3 to -35 2.5
78M06 -6.0 M 60 120 -10.5 to -35 2.3
78M06 -6.0 C 60 120 -10.3 to -35 2.5
78M08 -10.0 M 80 160 -10.5 to -35 2.5
78M08 -10.0 C 80 160 -10.3 to -35 2.3
78M12 -12 M 80 240 14.5 to -35 2.5
78M12 -12 C 80 240 -14.3 to -35 2.3
เร็กกูเลเตอร์ กระแสบวกคงที่ 1.0A
7805 5.0 M 50 50 10.0 to 35 3.0
7805 5.0 C 100 100 7.5 to 35 2.5
7806 6.0 M 60 60 9.0 to 35 3.0
7806 6.0 C 120 120 10.5 to 35 2.5
7808 10.0 M 80 80 11 to 35 3.0
7808 10.0 C 160 160 10.5 to 35 2.5
7812 12 M 120 120 15 to 35 3.0
เร็กกูเลเตอร์ กระแสลบคงที่ 1.0A
7905 -5.0 M 50 50 -7.8 to -35 2.8
7905 -5.0 C 100 100 -7.3 to -35 2.3
7906 -6.0 M 60 60 -10.8 to -35 2.8
7906 -6.0 C 120 120 -10.3 to -35 2.3
7908 -10.0 M 80 80 10.8 to -35 2.8
7908 -10.0 C 160 160 10.2 to -35 2.3
7912 -12 M 120 120 14.8 to -35 2.8
เร็กกูเลเตอร์ กระแสบวกคงที่ 3.0A
LM123 5.0 M 25 100 7.5 to 20 2.5
LM223 5.0 M 25 100 7.5 to 20 2.5
 
 
    * C = 0  C To + 125  C
       M =  55  C To + 150  C
…………………………………………………………………………………………………….
 ไอซี เบอร์ LM334 ทำหน้าที่เป็ นแหล่งจ่ายกระแสคงที่ นิยมใช้เป็ นวงจรตรวจอุณหภูมิได้ดว้ ย
 LM334 ในวงจรนี้ทำหน้าที่เป็ นตัวกำหนดกระแสที่ไบอัสขา Adj.ใช้ในการควบคุมกระแส output
ซึ่ งแรงดันที่ output จะมีขนาดเท่าไหร่ กระแสก็ไม่เกินที่กำหนด Save ทั้ง ตัว IC และ แบตเตอรี่

 วงจรนี้เป็ นเครื่ องวัดอุณหภูมิซ่ ึ งวัดออกมามีหน่วยเป็ นองศาเซลเซี ยส ซึ่ งเป็ นหน่วยวัดมาตรฐาน


สากลที่เราใช้กนั อยูท่ วั่ ไปโดยวงจรนี้ จะใช้ไอวีเบอร์ LM334 ของบริ ษทั National
Semiconductor เป็ นอุปกรณ์ตรวจจับอุณหภูมิ โดยที่จะแปลงค่ากระแสให้เป็ นค่าเคล
วิน (Kelvin –K) ในวงจรเวนเซอร์ถูกกำหนดให้มีค่าเท่ากับ 1 uA K-1 ขณะที่ตวั
ต้านทานปรับค่าได้ P1 และค่า offset 273 K ถูกปรับค่าโดย P2 และแรงดันเอาต์พตุ
ของเซนเซอร์กจ็ ะถูกส่ งไปแปลงเป็ นอุณหภูมิซ่ ึ งมีหน่วยเป็ นองศาเซลเซี ยส (C) โดยวงจรนี้
สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้ค่อนข้างหลากหลาย (โดยกำหนดให้ 1 K=1C)
………………………………………………………………………………………….

 รายละเอียดเกีย่ วกับตัวไดโอด
ไดโอดโดยทัว่ ไปจะบอกรายละเอียดว่าตัวมันนั้นสามารถรับกระแส และแรงดันได้มาก
น้อยต่างกัน ตัวอย่าง เช่น
 

แรงดันคือ ตัวไดโอดเองรับแรงดันสู งสุ ดได้ที่เท่าไร เช่น 1N4001 สามารถรับแรงดันสู งสุ ด


50V หากมากกว่านี้จะเกิดความเสี ยหาย
กระแสคือ ตัวไดโอดสามารถทนกระแสได้ที่กี่แอมแปร์ เช่น 1N4001 - 1N4007
สามารถให้กระแสไหลผ่านตัวมันได้สูงสุ ด 1A หากมากกว่านี้จะเกิดความเสี ยหาย

ดังนั้นการเลือกใช้งานต้องคำนึงถึง แรงดันและกระแสที่ตวั มันเองได้ แต่เราสามารถใช่ไดโอดที่มี


แรงดัน และ กระแส สูงกว่าตัวมันได้ครับ
ใช้ในวงจรขลิบสัญญาณ ทางไฟฟ้ า วงจรขลิบสัญญาณคือวงจรที่เปลี่ยนสถานะของสัญญาณทางขาเข้า และขา
ออกให้มีลกั ษณะเหมือนโดนตัดบางส่ วนออกไป

………………………………………………………………………………………………………
 2N3906 เป็ นขนาดเล็กโดยทัว่ ไป PNP BJT transistor ใช้สำหรับวัตถุประสงค์ทวั่ ไปเพื่อ
ขยายพลังงานต่ำหรื อเปลี่ยนการใช้งาน มันถูกออกแบบมาสำหรับแรงดันไฟฟ้ าปานกลาง
และกระแสไฟฟ้ าต่ำและสามารถทำงานที่ความเร็ วสู งปานกลางเป็ น 100 milliamp, 50
โวลต์, 300 milliwatt transistor สามารถดำเนินงานได้ถึง 100 MHz มีเบต้าอย่างน้อย 100
โดยจะใช้ความหลากหลาย สำหรับขยายอนาล็อกและเปลี่ยนการใช้งาน
 อุปกรณ์น้ ีถูกออกแบบมาเพื่อขยายการใช้งานทัว่ ไปและการเปลี่ยนที่เก็บของกระแสต่ำ 1-
10 mA
………………………………………………………………………………………………………………

 ลักษณะ
LM301A เป็ นการขยายการดำเนินงานทัว่ ๆไป ซึ่ งระยะชดเชยภายนอก อนุญาตเลือก การดำเนินงานให้
มีประสิ ทธิ ภาพสูงที่ความถี่สูงสุ ด ได้รับเลือก : ค่าตอบแทน ความสามารถรับกับ
ประจุเดียว

 คุณสมบัติ
• ป้ องกัน Short circuit และ latch free operation
• อัตราการแกว่ง 10V/μs as a summing amplifier
• Class AB output provides excellent linearity
• Low bias current

You might also like