You are on page 1of 40

รายงานเชิงวิชาการ

การอา่ นและพิจารณาวรรณคดีเรื่ อง ลิลิตตะเลงพา่ ย

โดย

ึ ษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 11


้ ั ธยมศก
นางสาวบุญยานุ ช สิมมะระ ชั นม

ึ ษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 14


้ ั ธยมศก
นางสาวสุมิตา เศวตศุทธิสรร ชั นม

ึ ษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 15


้ ั ธยมศก
นางสาวลลิตพรรณ ไทยเดช ชั นม

เสนอ

อ.ปัทวรรณ พันชั ย

ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศก


ึ ษา 2563

โรงเรี ยนสาธิตนานาชาติมหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้ เป็ นสว่ นหนึ่ งของกิจกรรมการเรี ยนรู้ โดยใชโ้ ครงงานเป็ นฐาน (Project Based

Learning)

ึ ษาปี ที่ 5
้ ั ธยมศก
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั นม
คาํ นํา

่ นี้ เป็ นสว่ นหนึ่ งของวิชาภาษาไทยระดับชั นม


รายงานเลม ึ ษาปี ที่
้ ั ธยมศก ๕ จัดทาํ ขึ้นเพื่อจุดประสงคใ์ น

์ ละพิจารณาวรรณคดีเรื่ อง ลิลิตตะเลงพา่ ย ทางคณะผูจ้ ั ดทาํ ตอ


การวิเคราะหแ ้ งการจะนําเสนอ ขอ
้ มูลเชิงวิชาการ

ไมว่ า่ จะเป็ นทางดา้ นเนื้ อเรื่ อง, กลวิธีในการประพันธห ้ ระทั่งคุณคา่ ที่วรรณคดีเรื่ องนี้ ไดม
์ รื อแมก ้ อบให้ผูอ
้ า่ น

และหวังเป็ นอยา่ งยิง่ วา่ ขอ ่ นี้ จะสามารถให้ประโยชน์แกผ


้ มูลในรายงานเลม ้ ่ีสนใจ และตอ
่ ูท ึ ษาเกี่ยว
้ งการทาํ การศก

กับวรรณคดีเรื่ อง ลิลิตตะเลงพา่ ย ไดไ้ มม ้ าํ สิง่ ผิดพลาดประการใด


่ ากก็น้อยหากทางคณะผูจ้ ั ดทาํ ไดท ตอ
้ ง

ขออภัยมา ณ ที่น้ี และขอน้อมรับทุกคาํ แนะนําไปปรับปรุ ง ทังนี ่ นี้ สาํ เร็จไดด


้ ้ รายงานเลม ้ ว้ ยความชว่ ยเหลือของ

์ ั ทวรรณ พันชั ย ​ทางคณะผูจ้ ั ดทาํ ขอขอบพระคุณอาจารยท


อาจารยป ้ เสนอแนะเพื่อ
์ ่ีชว่ ยเป็ นผูใ้ ห้คาํ แนะนําและขอ

ที่จะให้คณะผูจ้ ั ดทาํ นํากลับ ไปแกไ้ ขรายงานเลม


่ นี้ ไดส
้ าํ เร็จลุลว่ ง

คณะผูจ้ ั ดทาํ
สารบัญ

1.การอา่ นและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม 1

1.1 เรื่ องยอ่

1.2 โครงเรื่ อง

1.3 ตัวละคร

้ งเรื่ อง
1.4 ฉากทอ

1.5 บทเจรจาหรื อราํ พึงราํ พัน

่ เรื่ องหรื อสารัตถะของเรื่ อง


1.6 แกน

2. การอา่ นและพิจารณาเนื้ อหาการใชภ


้ าษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

2.1 สรรคาํ

2.2 การเรี ยบเรี ยงคาํ

2.3 การใชโ้ วหาร

3. การอา่ นและพิจารณาประโยชน์หรื อคุณคา่ ในวรรณคดีและวรรณกรรม

3.1 คุณคา่ ดา้ นอารมณ์

3.2 คุณคา่ ดา้ นคุณธรรม

3.3 คุณคา่ ดา้ นอื่น ๆ

บรรณานุ กรม
1.การอา่ นและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

1.1 เรื่ องยอ่

้ พระชนมข์ องสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงขึ้นครองราชยโ์ ดยมีสมเด็จ


การสิน

พระเอกาทศรถเป็ นพระมหาอุปราช พระเจา้ หงสาวดีทราบขา่ วไทยผลัดเปลี่ยนแผน


่ ดินใหมก
่ ใ็ ห้มหาอุปราชายก

ทัพมาตีไทย เมื่อลานางสนมแลว้ ก็ยกทัพเขา้ ทาทางเมืองกาญจนบุรี

้ รู้ ขา่ วก็ทรงเตรี ยมการสูศ


ฝ่ายสมเด็จพระนเรศวรครัน ึ พมา่ จึงเตรี ยมกองทัพ พระมหาอุปราชาทรงปรึ กษาการศก
้ ก ึ

ึ ของไทย
แลว้ ยกเขา้ มาปะทะทัพหน้าเอาชนะขา้ ศก สว่ นสมเด็จพระนเรศวรก็ทรงปรึ กษาเพื่อหาทางเอาชนะขา้ ศก

เมื่อทัพหลวงเคลื่อนพลชา้ งทรงของสมเด็จพระนเรศวรและชา้ งทรงของสมเด็จพระเอกาทศรถกาํ ลังตกมันก็เตลิด

เขา้ ไปในวงลอ ึ
้ มของขา้ ศก ณ ตาํ บลตระพังตรุ สมเด็จพระนเรศวรทรงกระทาํ ยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา


สมเด็จพระเอกาทศรถทรงทาํ ยุทธหัตถีกับมางจาชโรและไดร้ ั บชั ยชนะทังสองพระองค ์ เมื่อพระมหาอุปราชาถูกฟัน

ขาดคอชา้ ง กองทัพหงสาวดีกแ
็ ตกพา่ ยกลับไป

สมเด็จพระนเรศวรมหาราชให้รางวัลทหารและปรึ กษาโทษนายทัพที่ตามชา้ งทรงเขา้ ไปกองทัพพมา่ ไมท


่ ัน


่ ั พนายกองทังหมด
สมเด็จพระวันรัตทุลขอรับโทษแทนแมท สมเด็จพระเนศวรสั ง่ ให้ยกทัพไปตีทวายและตะนาว

้ ไดท
้ ั ว จากนัน
ศรี เป็ นการแกต ่ าสวามิภักดิข์ อเป็ นเมือง
้ รงจัดการทาํ นุ บาํ รุ งหัวเมืองทางเหนื อ เจา้ เมืองเชียงใหมม

ขึ้น

1.2 โครงเรื่ อง

การดาํ เนิ นความตามเคา้ เรื่ องพงศาวดาร ไดแ


้ ก่ การทาํ สงคราม การตอ่ สูแ้ บบยุทธหัตถี การจัดทัพ และราย

ละเอียดตา่ งๆ ซึ่งเป็ นไปตามตาํ ราพิชัยสงครามและโบราณราชประเพณี ทุกอยา่ ง สาํ หรับเนื้ อหาที่เป็ นสว่ นเพิม

เติมสว่ นเสริ มเรื่ อง คือ บทประพันธท


์ ่ีเป็ นลักษณะนิ ราศ

1.3 ตัวละคร
ฝ่ายไทย

● สมเด็จพระนเรศวรมหาราชหรื อพระองคด
์ าํ

์ ่ี ๒ กษัตริ ยอ์ งคท


สมเด็จพระนเรศวร หรื อสมเด็จพระสรรเพชญท ์ ่ี ๑๘ แหง่ กรุ งศรี อยุธยา ทรงเป็ นพระมหา

์ ่ีเกง่ กลา้ สามารถ เป็ นผูป


กษัตริ ยท ้ ระกาศเอกราชหลังจากที่เสียไปให้กับพมา่ ถึง ๑๕ ปี รวมทังขยายราช

อาณาจักรให้กวา้ งใหญ่ ทาํ สงครามกับพมา่ จนพมา่ หวาดกลัวไมก


่ ลา้ มารบกับไทยอีกเลยเป็ นเวลาร้อยกวา่ ปี

● สมเด็จพระเอกาทศรถหรื อพระองคข์ าว

อนุ ชาของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงดาํ รงตาํ แหน่งอุปราช ครองเมืองพิษณุ โลก แตม


่ ีเกียรติยศเสมอ

พระเจา้ แผน ึ ทาํ สงครามร่วมกับสมเด็จพระนเรศวรตลอด และ


่ ดิน ตลอดรัชกาลสมเด็จพระนเรศวร ทรงออกศก

ทรงครองราชยต ์ ่ี ๓
์ อ่ จากสมเด็จพระนเรศวร พระนามวา่ สมเด็จพระเอกาทศรถ หรื อสมเด็จพระสรรเพชญท

● พระมหาธรรมราชา

์ ่ี ๑ เสด็จพระราชสมภพ พ.ศ.๒๐๙๑ แลว้ ขุนพิเรนทรเทพ ไดร้ ั บ


อีกพระนามหนึ่ งวา่ สมเด็จพระสรรเพชญท

สถาปนาขึ้นเป็ นสมเด็จพระมหาธรรมราชา แลว้ ไดร้ ั บโปรดเกลา้ ให้ไปครองเมืองพิษณุ โลก สาํ เร็จราชการหัว

เมืองฝ่ายเหนื อ มีศักดิเ์ ทียบเทา่ พระมหาอุปราช ไดร้ ั บพระราชทานพระวิสุทธิกษัตรี พระราชธิดาในสมเด็จพระ

มหาจักรพรรดิเ์ ป็ นพระอัครมเหสี ตอ่ มามีพระราชโอรสและพระราชธิดาสามพระองคค


์ ือ พระสุพรรณเทวี

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ

● สมเด็จพระวันรัตทุล

สมเด็จพระวันรัตเดิมชื่อพระมหาเถรคันฉ่อง พระชาวมอญ จาํ พรรษาอยูท


่ ่ีวัดป่าแกว้ หรื อวัดใหญช่ ั ยมงคลใน

ปัจจุบัน มีบทบาทครัง้ สาํ คัญ คือ ทา่ นเป็ นผูเ้ กลี้ยกลอ่ มให้พระยาเกียรติ์ และพระยารามที่พระเจา้ หงสาวดีสง่

มาให้ลอบกาํ จัดพระนเรศวรรับสารภาพและเขา้ ร่วมกับพระนเรศวร วีรกรรมอีกครัง้ หนึ่ งของทา่ นคือ การขอ

่ ั พนายกองที่ตามเสด็จสมเด็จพระนเรศวรไมท
พระราชทานอภัยโทษ บรรดาแมท ่ ั น ตอ
้ งโทษประหารชีวต


่ ั พนายกองทังหลาย
สมเด็จพระวันรัตไดข้ อบิณฑบาต พระราชทานอภัยโทษบรรดาแมท
ฝ่ายพมา่

● พระเจา้ หงสาวดี หรื อนันทบุเรง

์ มา่ เดิมชื่อมังชั ยสิงหร์ าช โอรสของบุเรงนอง ดาํ รงตาํ แหน่งอุปราชในสมัยบุเรงนอง ไดข้ ้ึนครองราชย ์


กษัตริ ยพ

ตอ่ จากบุเรงนอง พระราชบิดา ทรงหวังที่จะสร้างความยิง่ ใหญเ่ หมือนกับพระราชบิดา แตก


่ ท
็ าํ ไมส
่ าํ เร็จ สุดทา้ ย

้ พระชนม์
ถูกลอบวางยาพิษสิน

● มหาอุปราชา

โอรสของนันทบุเรง ดาํ รงดาํ แหน่งอุปราชาในสมัยของนันทบุเรง เดิมชื่อมังสามเกียด หรื อมังกะยอชวา เป็ น

เพื่อนเลน
่ กันกับพระนเรศวรในสมัยที่พระองคป ่ ่ีกรุ งหงสาวดี ทรงทาํ งานสนองพระราชบิดาหลายครัง้
์ ระทับอยูท

้ พระชนมใ์ น
้ วายงานครัง้ สุดทา้ ยในการยกทัพ ๕ แสนมาตีไทย และสิน
โดยเฉพาะราชการสงคราม และไดถ

การทาํ ยุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

้ งเรื่ อง
1.4 ฉากทอ

● กรุ งหงสาวดี เป็ นเมืองหลวงของพมา่

● อยุธยา เป็ นเมืองหลวงของไทย

● กาญจนบุร พระมหาอุปราชายกทัพมาตีไทยเขา้ มาทางเมืองกาญจนบุร

● ตาํ บลตระพังตรุ ที่ท่ีพระมหาอุปราชากับสมเด็จพระนเรศวรยกกองทัพเขา้ มาปะทะกัน

1.5 บทเจรจาหรื อราํ พึงราํ พัน

มาเดียวเปลี่ยวอกอา้ อายสู

สถิตอยูเ่ ออ ์ ู
้ งคด ละห้อย

พิศโพน
้ พฤกษ์พบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึ งนุ ชน้อย แน่งเนื้ อนวลสงวน

สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤๅ

เพราะเพื่อมาราญรอน ิ ไสร้
เศก

สละสละสมร เสมอชื่อ ไมน


้ า

นึ กระกาํ นามไม้ แมน


่ แมน
้ ทรวงเรี ยม

่ ฟุ้ง
สายหยุดหยุดกลิน ยามสาย

สายบห
่ ยุดเสน่หห
์ าย หา่ งเศร้า

กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม่

ถวิลทุกขวบคา่ ํ เชา้ หยุดไดฉ


้ ั นใด

ถอดคาํ ประพันธพ
์ ระมหาอุปราชาราํ พันถึงนาง

เสด็จมาลาํ พังพระองคเ์ ดียวเปลา่ เปลี่ยวใจและน่าเศร้านัก เมื่อทรงชมตน


้ ไมแ ้ ่ีทรงพบเห็นระหวา่ งทาง
้ ละดอกไมท

ก็คอ่ ยเบิกบานพระทัยขึ้นมาบา้ ง แตก ้


่ ไ็ มว่ ายคิดถึงนางสนมกาํ นัลทังหลายทรงเห็
นตน
้ สลัดไดทรงดาํ ริ วา่ เหตุใดจึง

้ งจากน้องมานอนป่า มาเพื่อทาํ สงครามกับขา้ ศก


ตอ ึ เห็นตน ้ งสละน้องมาเหมือนชื่อตน
้ สละที่ตอ ้ ไม้ เห็นตน
้ ระกาํ

ที่ช่ือตน ้ สายหยุดเมื่อสายก็หมดกลิน
้ ไมช้ า่ งเหมือนอกพี่แทๆ้ ตน ่ แตใ่ จพี่แมย้ ามสายก็ไมค
่ ลายรักน้อง กี่วันกี่คืนที่

จากน้องพี่มีแตค
่ วามทุกขค ิ ถึงน้องทุกคา่ ํ เชา้ ไมร่ ู้ วา่ จะหยุดรักน้องไดอ
์ ด ้ ยา่ งไร

่ เรื่ องหรื อสารัตถะของเรื่ อง


1.6 แกน

การยอพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ทรงมีพระปรี ชาสามารถดา้ นการทาํ ยุทธหัตถี มีชัยเหนื อพะมหา

้ ั งมีพระปรี ชาสามารถดา้ นการปกครองและพระราชจริ ยวัตรอันกอปรดว้ ยธรรมของพระราชา


อุปราชา อีกทังย
2. การอา่ นและพิจารณาเนื้ อหาการใชภ
้ าษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

2.1 สรรคาํ

้ าํ ที่เหมาะแกเ่ นื้ อเรื่ องและฐานะของบุคคล กวีเลือกใชค


2.1.1) การใชค ้ าํ ที่แสดงฐานะของบุคคล เชน

เบื้องนัน
้ นฤนาถผู้ สยามินทร์

เบี่ยงพระมาลาผิน หอ
่ นพอ
้ ง

ศั สตราวุธอริ นทร์ ถูก องคเ์ อย

เพราะพระหัตถห
์ ากป้อง ปัดดว้ ยขอทรง

้ าํ ที่มีศักดิค
จากโคลงบทนี้ กวีเลือกใชค ์ าํ สูง แสดงให้เห็นภาพเดน
่ ชั ดและความไพเราะ เชน

นฤนาถ หมายถึง กษัตริ ย ์

สยามินทร์ หมายถึง กษัตริ ยส์ ยาม (กษัตริ ยอ์ ยุธยา)

พระมาลา หมายถึง หมวก


ศั ตราวุธอริ นทร์ หมายถึง อาวุธของขา้ ศก

องค์ หมายถึง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

พระหัตถ์ หมายถึง มือ

ขอทรง หมายถีง ขอสั บสาํ หรับบังคับชา้ ง อยูใ่ ตค


้ อของชา้ ง
​ .1.2) การใชค
2 ้ าํ โดยคาํ นึ งถึงเสียง ความไพเราะของถอ ้ พิจารณาที่การ
้ ยคาํ นัน
้ ยคาํ หรื อความงามของถอ

ใชค
้ าํ สั มผัส การเลน
่ คาํ การเลน
่ ความ การเลียนเสียงธรรมชาติ เป็ นตน ้ าํ ที่มีเสียง
้ ลิลิตตะเลงพา่ ยมีการใชค

เสนาะ ดังนี้

​ 1) มีการใชส
( ์ ุกบท ทาํ ให้เกิดความ
้ ั มผัสสระและสั มผัสพยัญชนะในคาํ ประพันธท

ไพเราะ เชน

“.....ถับถึงโคกเผาเขา้ พอยามเชา้ ยังสาย หมายประมาณโมงครบ ประทบทัพรามัญ ประทัน

ทัพพมา่ ขับทวยกลา้ เขา้ แทง ขับทวยแขงเขา้ ฟัน สองฝ่ายยันยืนยุทธ์ อุดอึงโหเ่ อาฤกษ์ เอิกอึงเหเ่ อาชั ย สาด

ปื นไฟยะแยง้ แผลงปื นพิษยะยุง่ พุง่ หอกใหญค ่ ะคลุกบุกบัน เงื้อดาบฟัน


่ ะควา้ ง ขวา้ งหอกซั ดคะไขว่ ไลค

ฉะฉาด งางา้ วฟาดฉะฉับ.....”

สั มผัสสระ ไดแ
้ ก่ เขา้ – เชา้ สาย - หมาย ครบ – ทบ รามัญ – ทัน พมา่ – กลา้

แทง – แขง ฟัน – ยัน ยุทธ์ – อุด ฤกษ์ – เอิก ชั ย – ไฟ แยง้ – แผลง ยุง่ – พุง่

ควา้ ง – ขวา้ ง ไขว ่ – ไล่ บัน – ฟัน ฉาด – ฟาด

สั มผัสพยัญชนะ ไดแ
้ ก่ ถับ – ถึง โคก – เขา้ ยาม – ยังหมาย – ประมาณ –โมง

ประทบ – ทับ ประทัน – ทัพ ขับ – เขา้ ทวย – แทง ขับ – แขง – เขา้ ยัน – ยืน –

ยุทธ์ ​ ุด – อึง – เอา เอิก – อึง – เอา


อ ยะ – แยง้ ยะ – ยุง่ คะ – ควา้ ง บุก– บัน

ฉะ – ฉาด งา่ – งา้ ว ฉะ – ฉับ

้ ั มผัสพยัญชนะเดียวกันเกือบทังวรรค
(2) มีการใชส ้ เชน

​ รตระกองกอดแกว้
ก ​เรี ยมจักร้างรสแคลว้
​คลาดเคลา้ คลาสมร

จ​ าํ ใจจรจาํ จากสร้อย อยูแม


่ อย
่ า่ ละห้อย

หอ
่ นชา้ คืนสม แมแ
่ ล

วรรคที่ 1 ไดแ
้ ก่ กร – กอง – กอด – แกว้

วรรคที่ 2 ไดแ
้ ก่ เรี ยม – ร้าง – รส

วรรคที่ 3 ไดแ
้ ก่ คลาด – เคลา้ – คลา

วรรคที่ 4 ไดแ
้ ก่ อยู ่ – อยา่

(​3) มีสัมผัสสระในแตล่ ะวรรคของโคลงแตล่ ะบาทคลา้ ยกลบท เชน



ิ สิน
ชาวสยามคร้ามเศก ้
ทังผอง

นายและไพร่ไป่ปอง รบร้า

​ พยพหลบหลีกมอง
อ เอาเหตุ

ซุกซอ
่ นหอ
่ นให้ขา้ ึ ไดไ้ ปเป็ น
ศก

บาทที่ 1 ไดแ
้ ก่ สยาม – คร้าม

บาทที่ 2 ไดแ
้ ก่ ไพร่ – ไป่

บาทที่ 3 ไดแ
้ ก่ อพยพ – หลบ

บาทที่ 4 ไดแ
้ ก ่ ซอ
่ น – หอ
่ น ได้ – ไป
2.2 การเรี ยบเรี ยงคาํ

ลักษณะคาํ ประพันธ์

ลิลิตตะเลงพา่ ย แตง่ ดว้ ยคาํ ประพันธป


์ ระเภทลิลิตสุภาพ โดยแตง่ สลับกันระหวา่ งร่ายสุภาพและโคลง

สุภาพ รวม 439 บท แบง่ เป็ นโคลงสองสุภาพ 45 บท โคลงสามสุภาพ 10 บท โคลงสี่สุภาพ 335

บท และร่ายสุภาพ ้ ง่ ปี พ.ศ. 2359 จวบจนจบใน พ.ศ.


49 บท ระยะเวลาในการนิ พนธเ์ ริ่ มตังแต

2375 รวม 16 ปี

ลักษณะคาํ ประพันธ์ ดังนี้

2.2.1) โคลงสองสุภาพ

โคลงสองสุภาพมีสามวรรค วรรคหนึ่ งและวรรคสองมีวรรคละ 5 คาํ วรรคที่สามมี 4 คาํ และคาํ

สร้อย 2 คาํ บังคับเอกโท ดังแผนภูมิ

ตัวอยา่ ง

โคลงสองเป็ นอยา่ งนี้ ่ ุลบุตรชี้


แสดงแกก
เชน
่ ให้เห็นเลบง แบบนา

2.2.2) โคลงสามสุภาพ

โคลงสามสุภาพ วรรคที่หนึ่ ง วรรคที่สอง และวรรคที่สาม มีวรรคละ 5 คาํ วรรคที่ส่ม


ี ี 4 คาํ คาํ

สร้อย 2 คาํ บังคับเอก โท และสั มผัสดังแผนภูมิ

ตัวอยา่ ง

โคลงสามแปลกโคลงสอง ตามทาํ นองที่แท้

วรรคหนึ่ งพึงเติมแล้ เลห ์ ้ี จึงยล


่ น เยี่ยงเทอญ

2.2.3) โคลงสี่สุภาพ

้ โคลงสี่สุภาพหนึ่ งบท
โคลงสี่สุภาพหนึ่ งบทจะมี 4 บรรทัด บรรทัดหนึ่ งเรี ยกวา่ "บาท" เพราะฉะนัน

จะมี 4 บาท ในบาทหนึ่ งจะมี 2 วรรค วรรคหน้าจะมี 5 คาํ วรรคหลังของบาทที่ 1 บาทที่ 2 และบาท

ที่ 3 จะมี 2 คาํ สว่ นวรรคหลังของบาทที่ 4 จะมี 4 คาํ (รวมคาํ สร้อย) มีบังคับเอก 7 แหง่ โท 4

แหง่ ในบาทที่ 1 วรรคที่ 1 คาํ ที่ 4 และ 5 สามารถสลับตาํ แหน่งคาํ เอก คาํ โท ได้ ดังแผนภูมิ
ตัวอยา่ ง

่ ั ง้
มากมวนเมิลหมูด ดาษดา

กันแทรกแซงซา้ ยขวา พรั่งพร้อม

คชคาํ ้ คา่ ยพังคา โดดแลน


โจมจับขับขี่ห้อม แหท
่ า้ วจากสถานฯ

2.2.4) ร่ายสุภาพ

้ งสั มผัสกับคาํ ที่


ร่ายสุภาพ วรรคหนึ่ งมี 5 คาํ หนึ่ งบทจะมีก่ีวรรคก็ได้ คาํ สุดทา้ ยของวรรคหน้าตอ

1,2 หรื อ 3 ของวรรคตอ่ ไป และจบลงดว้ ยโคลงสองสุภาพ ดังแผนภูมิ

ตัวอยา่ ง
ศรี สวัสดิเดชะ ชนะราชอริ นทร์ ยินพระยศเกริ กเกรี ยง เพียงพกแผน ่ เลื่องชั ย
่ ฟากฟ้า หลา้ ลม

เชวง เกรงพระเกียรติระยอ่ ...เถกิงพระเกียรติฟ้ ุงฟ้า ลือตรหลบแหลง่ หลา้ โลกลว้ นสดุดี ฯ

2.3 การใชโ้ วหาร

การใชโ้ วหาร กวีเลือกใชถ


้ อ ้ ยา่ งเหมาะสมกับเนื้ อเรื่ อง ทาํ ให้
้ ยคาํ ในการบรรยาย พรรณนาและเปรี ยบเทียบไดอ

้ า่ นมองเห็นภาพชั ดเจน ดังนี้


ผูอ

2.3.1) การใชค
้ าํ ให้เกิดจินตภาพ เชน ้ าํ ที่แสดงให้เห็นภาพการตอ่ สูอ้ ยา่ งห้าวหาญของพล
่ การใชค


ทหารทังสองฝ่ ายที่ผลัดกันรุ กรับขับเคี่ยวกันดว้ ยอาวุธหลากหลายทังขอ
้ งา้ ว ทวน หอก ธนู จนตา่ งฝ่ายลม

ตายไปเป็ นจาํ นวนมาก ดังตัวอยา่ ง

...คนตอ่ คนตอ่ รบ ของา้ วทบทะกัน ตา่ งฟันตา่ งป้องปัด วางสนัดหลังสาร ขานเสียงคึกกึกกอ


้ ง

วอ่ งตอ่ วอ่ งชิงชั ย ไวตอ่ ไวชิงชนะ มา้ ไทยพะมา้ มอญ ตา่ งเขา้ รอนเขา้ โรม ทวนแทงโถม

ทวนทบ หอกเขา้ รบรอหอก หลอกลอ่ ไลไ่ ขวแ่ ควง้ แยง้ ธนู เหนี่ ยวแรง ห้าวตอ่ ห้าวหักหาญ ชาญตอ่

ชาญหักเชี่ยว เรี่ ยวตอ่ เรี่ ยวหักแรง แขงตอ่ แขงหักฤทธิ์ ตา่ งประชิดฟอนฟัน ตา่ งประชั นฟอนฟาด

ลว้ นสามารถมือทัด ลว้ นสามรรถมือทาน ผลาญกันลงเต็มหลา้ ผร้ากันลงเต็มแหลง่ แบง่ กันตายลง

ครัน ปันกันตายลงมาก ตากเต็มทง่ เต็มเถื่อน ตากเต็มเผื่อนเต็มพง

นอกจากนี้ ผูแ ้ าํ พรรณนา การสูร้ บ ทาํ ให้ผูอ


้ ตง่ ใชค ้
้ า่ นเห็นภาพชา้ งทรงของทังสองพระองค ต
์ า่ งสะบัด

เหวี่ยงกันไปมา ผลัดเปลี่ยนกันไดท
้ ี แตก ่ ีผูใ้ ดยอมแพ้ ชา้ งทรงของสมเด็จพระนเรศวรไดล
่ ไ็ มม ้ า่ ง พระมหาอุป

ราชาก็เพลี่ยงพลาํ ้ สมเด็จพระนเรศวรฟันพระมหาอุปราชาดว้ ยพระแสงของา้ วขาดสะพายแลง่ สิน


้ พระชนมท
์ ั นที

์ นคอชา้ งนั่นเอง ตอนนี้ นอกจากจะ


้ พระชนมบ
พระวรกายของพระมหาอุปราชาคอ่ ยๆแอนลงซบกับคอชา้ งและสิน


เห็นภาพการรบอยา่ งสงา่ งามแคลว่ คลอ่ งวอ่ งไวสมเป็ นกษัตริ ยข์ องทังสองพระองค ช์ ว่ งสุดทา้ ยยังเห็นภาพการ
้ พระชนมข์ องพระมหาอุปราชาที่คอ่ ยๆเอนพระองคล์ งซบกับคอชา้ ง เป็ นภาพที่หดหูแ
สิน ่ ละสะเทือนใจ ดัง

ตัวอยา่ ง

พลอยพลาํ ้ เพลียกถา้ ทา่ น ในรณ

บัดราชฟาดแสงพล พา่ ยฟ้อน

พระเดชพระแสดงดล เผด็จคู ่ เข็ญแฮ

ถนัดพระอังสาขอ
้ น ขาดดา้ วโดยขวา

​ 2.3.2) การใชโ้ วหารโดยการเปรี ยบเทียบ วา่ สมเด็จพระนเรศวรมีฤทธิ์เหมือนพระราม

ยามตอ่ สูก ึ ศั ตรู ท่ีพา่ ยแพไ้ ปเหมือนพลยักษ์ สมเด็จพระนเรศวรก็เหมือนองคพ


้ ั บทศกัณฐ์ ขา้ ศก ์ ระนารายณ์

อวตารลงมา ดังตัวอยา่ ง

บุญเจา้ จอมภพขึ้น แผน


่ สยาม

แสยงพระยศยินขาม ขาดแกลว้

พระฤทธิ์ดั่งฤทธิ์ราม รอนราพณ์ แล

ราญอริ ราชแผว้ ้ ุกภาย


แผกแพท

ไพริ นทรนาศเพี้ยง พลมาร


พระดั่งองคอ์ วตาร ่ ้ี
แตก

ิ หอ
แสนเศก ่ นหาญราญ รอฤทธิ์ พระ

ดาลตระดกเดชลี้ ประลาตหลา้ แหลง่ สถาน

​ .3.3) การใชถ
2 ้ อ
้ ยคาํ สร้างอารมณ์และความรู้ สก ้ ิลิตตะเลงพา่ ยเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับ
ึ แมล

่ ว้ ยความปรี ชาในดา้ นภาษาอยา่ งลึกซึ้งของกวี กวีสามารถ


ประวัติศาสตร์และยอพระเกียรติพระมหากษัตริ ย ์ แตด

ใชถ ้ ยคาํ ทาํ ให้ผูอ


้ อ ึ เห็นใจ เศร้าใจ ดีใจ ภูมิใจ ไดต
้ า่ นเกิดความสะเทือนอารมณ์ เกิดความรู้ สก ้ ามจุดมุง่

หมายของกวี ดังนี้

​(1) การใชถ
้ อ
้ ยคาํ ให้เกิดความรู้ สก ่ ตอนที่พระมหาอุปราชาเคลื่อนกระบวน
ึ เห็นใจ เชน

้ า่ งๆ โดยการนําชื่อตน
ทัพ ขณะเดินทางมีการชมธรรมชาติ ชมพันธุ ไ์ มต ้ ไมแ
้ ละดอกไมม
้ าเลน
่ คาํ ให้สอดคลอ
้ งกับ

ึ ของพระมหาอุปราชาไดอ
อารมณ์และความรู้ สก ้ ยา่ งไพเราะ

สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพร

เพราะเพื่อมาราญรอน ิ ไสร้
เศก

สละสละสมร เสมอชื่อ ไมน


้ า

นึ กระกาํ นามไม้ แมน


่ แมน
้ ทรวงเรี ยม

ไมโ้ รกเหมือนโรคเร้า รุ มกาม

ไฟวา่ ไฟราคลาม ลวกร้อน

้ หนึ่ งแยม
นางแยม ้ ยาม เยาวย์ ั ่ว แยม

ตูมดั่งตูมตีขอ
้ น ้ ั นแสง
อกอันก

่ ฟุ้ง
สายหยุดหยุดกลิน ยามสาย

สายบห
่ ยุดเสน่หห
์ าย หา่ งเศร้า

กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม่

ถวิลทุกขวบคา่ ํ เชา้ หยุดไดฉ


้ ั นใด

​ 2) การใชถ
( ้ ยคาํ เกิดอารมณ์สะเทือนใจ ดังปรากฏตอนที่พระมหาอุปราชาลาพระ
้ อ

สนม

พระผาดผายสูห
่ ้ อง หาอนุ ชนวลน้อง

หนุ ่ มเหน้าพระสนม

ปวงประนมนบเกลา้ งามเสงี่ยมเฟี้ ยมเฝ้า

อยูถ่ า้ ทูลสนอง

กรตระกองกอดแกว้ เรี ยมจักร้างรสแคลว้

คลาดเคลา้ คลาสมร

จาํ ใจจรจากสร้อย อยูแ่ มอ่ ยา่ ละห้อย

หอ
่ นชา้ คืนสม แมแ
่ ล
​ (3) การใชถ
้ อ ึ เจ็บปวด เชน
้ ยคาํ ให้เกิดความรู้ สก ่ ตอนพระมหาอุปราชาทูลพระเจา้ หง

สาวดีวา่ จะมีเคราะหไ์ มต
่ อ
้ งการออกรบ จึงถูกพระเจา้ หงสาวดีกลา่ วประชดดว้ ยถอ ึ เจ็บปวด
้ ยคาํ ให้เกิดความรู้ สก

อับอายวา่ ให้เอาเครื่ องแตง่ กายหญิงมาสวมใส ่

“...ฟังสารราชเอารส ธก็ผะชดบัญชา เจา้ อยุธยามีบุตร ลว้ นยงยุทธเ์ ชี่ยวชาญ หาญหัก

ึ บมิยอ่ ตอ่ สูศ


ศก ึ บมิหยอน ไป่พักวอนวา่ ใช้ ให้ธหวงธห้าม แมน
้ ก ้ เจา้ คร้ามเคราะหก
์ าจ จงอยา่ ยาตรยุทธนา

เอาพัสตราสตรี สวมอินทรี ยส์ ร่างเคราะห์ ธตรัสเยาะเยี่ยงขลาด องคอ์ ุปราชยินสาร แสนอัประมาณมาตยม


์ วล

นวลพระพักตร์ผอ่ งเผือด เลือดสลดหมดคลาํ ้ ชาํ ้ กมลหมองมัว..”

​ 4) การใชถ
( ้ อ ่ ตอนที่พระมหาอุปราชาตอ
้ ยคาํ แสดงความโศกเศร้า เชน ้ งจากพระสนม

และเดินทัพ เมื่อเห็นสิง่ ใดก็คด


ิ ถึงนางอันเป็ นที่รัก การคลา่ ํ ครวญของพระมหาอุปราชา ทาํ ให้ผูอ
้ า่ นเห็นใจใน

ความรักของพระมหาอุปราชา ดังปรากฏในตอนที่พระมหาอุปราชาเห็นตน
้ ไม้ ดอกไม้ แลว้ ราํ พันถึงพระสนม

มาเดียวเปลี่ยวอกอา้ อายสู

สถิตอยูเ่ ออ ์ ู
้ งคด ละห้อย

พิศโพน
้ พฤกษ์พบู บานเบิก ใจนา

พลางคะนึ งนุ ชน้อย แน่งเนื้ อนวลสงวน

พระครวญพระคร่ าํ ไห้ โหยหา

พลางพระพิศพฤกษา กิ่งเกี้ยว

กลกรกนิ ษฐนา- รี รัตน์ เรี ยม


ยามตระกองเอวเอี้ยว โอบออ
้ มองคเ์ รี ยม

3. การอา่ นและพิจารณาประโยชน์หรื อคุณคา่ ในวรรณคดีและวรรณกรรม

3.1 คุณคา่ ดา้ นอารมณ์

ตัวอยา่ งเชน

มาเดียวเปลี่ยวอกอา้ อายสู

สถิตอยูเ่ ออ ์ ู ละห้อย
้ งคด

พิศโพน
้ พฤกษ์พบู บานเบิก ใจนา

พลางคะนึ งนุ ชน้อย แน่งเนื้ อนวลสงวน

์ ้ี แสดงให้เห็นถึงอารมณ์รัก คิดถึงและอาลัยของพระมหาอุปราชาที่รู้สก
จากบทประพันธน ึ ตอ่ พระสนม

้ ั บไทย เนื่ องจากขัดคาํ สั ง่ ของพระเจา้ หงสาวดีนันทบุเรง ไมไ่ ด้


้ งจากคนรักมายกทัพตอ่ สูก
พระมหาอุปราชาจาํ ตอ

ซึ่งบทประพันธน
์ ้ี ทาํ ให้ผูอ
้ า่ นคลอ ึ ร่วมกันกับพระมหาอุปราชา
้ ยตามและมีความรู้ สก

3.2 คุณคา่ ดา้ นคุณธรรม

1 .ความรอบคอบไมป ่ ระมาท
ในเรื่ องลิลิตตะเลงพา่ ยนี้ เราจะเห็น คุณธรรมของพระนเรศวรไดอ ่ ชั ดและสิง่ ที่ทาํ ให้เราเห็นวา่
้ ยา่ งเดน
พระองคท์ รง เป็ นพระมหากษัตริ ยท ์ ่ีทรงพระปรี ชาสามารถมากที่สุดคือ ความรอบคอบ ไมป ่ ระมาทดั่งโคลงสี่
สุภาพตอนหนึ่ งกลา่ ววา่

พระหว่ งแตศ ึ เสี้ยน


่ ก อัสดง
เกรงกระลับกอ
่ รงค์
รั่วหลา้
คือใครจักคุมคง
ควรคู ่ เข็ญแฮ
อาจประกันกรุ งถา้
ทัพขอ
้ ยคืนถึง

หลังจากที่พมา่ ยกกองทัพเขา้ มาพระองคก ็ รงสั ง่ ให้พา่ ยพลทหารไปทาํ ลายสะพานเพื่อ วา่ เมื่อฝ่ายไทยชนะศก


์ ท ึ
สงคราม พา่ ยพลทหารของฝ่ายพมา่ ก็จะตกเป็ นเชลยของไทยทังหมด ้ นั่นแสดงให้เราเห็นวา่ พระองคท
์ รงเป็ น
์ ่ีมีทัศนคติท่ีกวา้ งไกล ซึ่งมีผลมาจากความรอบคอบไมป
กษัตริ ยท ่ ระมาท

2 .การเป็ นคนรู้ จักการวางแผน


ึ ษาเรื่ องลิลิตตะเลงพา่ ยเราจะเห็นไดช้ ั ดเจนวา่ ในชว่ ง ตอนที่สมเด็จพระ
จากการที่เราไดร้ ั บการศก
นเรศวรมหาราชทรงเปลี่ยนแผนการรบเป็ นรับศก ึ พมา่ แทนไปตีเขมร พระองคไ์ ดท ้ รงจัดการวางแผนอยา่ งเป็ น
้ นตอนอยา่ งไมร่ อชา้ ทรงแตง่ ตังให
ขันเป็ ้ ้พระยาศรี ไสยณรงคเ์ ป็ นแมท ่ ั พหน้าและพระราชฤทธานนทเ์ ป็ นปลัดทัพ
หน้าตามดว้ ยแผนการอื่นๆอีกมากมายเพื่อทาํ การรับมือ และพร้อมที่จะตอ่ สูก ้ ั บขา้ ศกึ ศั ตรู ทางฝ่ายพมา่ ยก
ตัวอยา่ งโคลงสี่สุภาพที่แสดงให้เราเห็นถึงการรู้ จักการวางแผนของสมเด็จพระ นเรศวรมหาราช

์ ู้
พระพึงพิเคราะหผ ภักดี ทา่ นนา
คือพระยาจักรี
กาจแกลว้
พระตรัสแดม
่ นตรี มอบ
มิง่ เมืองเฮย
กูไกลกรุ งแกว้
เกลือกชา้ คลาคืน

เมื่อเราเห็นถึงคุณธรรมทางดา้ นการวางแผนแลว้ เราก็ควรเอาเยี่ยงอยา่ งเพื่อใชใ้ นการ ดาํ เนิ นชีวต ิ ให้เป็ นไปอยา่ ง
มีระเบียบ มีแบบแผน ซึ่งจากคุณธรรมขอ ้ นี้ ก็อาจชว่ ยเปลี่ยนแปลงให้ทา่ นผูอ ้ า่ นทุกทา่ น ให้กลายเป็ นบุคคลที่มี
คุณภาพชีวต ิ ทางดา้ นการวางแผนในการดาํ เนิ นชีวต
ิ ก็เป็ น ไดถ
้ า้ เรารู้ จักการวางแผนให้กับตัวเราเอง

3. การเป็ นคนรู้ จกความกตัญ กตเวที


จากบทการราํ พึงของพระมหาอุปราชาถึงพระราชบิดานัน ้ แสดงให้เราเห็นอยา่ งเดน่ ชั ดเลยทีเดียววา่ พระ
มหาอุปราชาทรงมีความหว่ งใย อาทร ถึงพระราชบิดาในระหวา่ งที่ทรงออกรบ ซึ่งแสดงให้เราเห็นถึงความรัก
ของพระองคท ้ รงถา่ ยทออดความนึ กคิด และราํ พึงกับตัวเอง ดั่งโคลงสี่สุภาพ
์ ่ีมีตอ่ พระราชบิดา โดยพระองคไ์ ดท
ที่กลา่ วไวว้ า่
ณรงคน ์ เรศดา้ ว
ดัสกร
ใครจักอาจออกรอน รบสู ้
เสียดายแผน
่ ดินมอญ มอด
มว้ ยแฮ
เหตูบม
่ ีมือผู้
อื่นตา้ นทานเข็ญ

ซึ่งเมื่อแปลจะมีความหมายวา่ เมื่อยามที่สงครามขึ้นใครเลา่ จะออกไปรบแทนทา่ นพอ่ จากโคลงนี้ ไมไ่ ดแ


้ สดงให้
เราเห็นถึงความกตัญ ที่มีตอ่ พระราชบิดาของพระมหา อุปราชาเพียงอยา่ งเดียว แตย่ ั งมีความกตัญ ความ
จงรัก ภักดี ตอ่ ชาติบา้ นเมืองอีก

4. การเป็ นคนชา่ งสั งเกตและมีไหวพริ บ


สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเป็ นพระมหากษัตริ ยท ์ ่ีมีพระปรี ชาสามารถทางดา้ นการมีความ สติปัญญา
และมีไหวพริ บเป็ นเลิศ ดังนัน ้ จึงไมแ ่ ปลกเลยที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชจะทรงมีคุณธรรมทางดา้ นการเป็ น
คนชา่ งสั งเกตและมีไหวพริ บ ดว้ ยเหตุน้ี ทาํ ให้พระองคท ์ รงสามารถแกไ้ ขสถานการณ์อันคับขันในชว่ งที่ตกอยูใ่ น
วงลอ ้ มของพมา่ ได้ ซึ่งฉากที่แสดงให้เราเห็นวา่ พระองคท ์ รงมีคุณธรรมทางดา้ นนี้ คือ
ดยแขวงขวาทิศทา้ ว ทฤษฎี
แลนา
บัด ธ เห็นขุนกรี
หนึ่ งไสร้
เถลิงฉัตรจัตุรพิรีย ์

เรี ยงคัง ขูเฮย
หนแหง่ ฉายาไม้

ขอ่ ยชีเฌอนาม
ปิ่ นสยามยลแทท ้ า่ น
คะเนนึ ก อยูน ่ า
ถวิลวา่ ขุนศก ึ สาํ -
นักโน้น
ทวยทับเทียบพันลึก
แลหลาก หลายแฮ
ครบเครื่ องอุปโภคโพน ้
เพง่ เพี้ยงพิศวง

สมเด็จพระนเรศวรทรงใชว้ ธิ ีการสั งเกตหาฉัตร5ชั นของพระมหาอุ ปราชา ทาํ ให้พระองคท ์ รงทราบวา่ ใครเป็ นพระ
มหาอุปราชาทังๆที ้ ่มีทหารฝ่ายขา้ ศก ึ ร่าย ลอ้ มพระองคจ์ นรอบ แตด ่ ว้ ยความมีไหวพริ บพระองคจ์ ึงตรัสทา้ รบเสีย
กอ ่ นเพราะถา้ พระองคไ์ มท่ รงตรัส ทา้ รบเสียกอ ่ นพระองคอ์ าจทรงถูกฝ่ายขา้ ศก ้ เมื่อเรา
ึ รุ มโจมตีกเ็ ป็ นได้ ดังนัน
เห็นคุณธรรมของพระองคด ์ า้ นนี้ แลว้ ก็ควรยึดถือและนําไปปฏิบัติ ตามเพราะสิง่ ดีๆเหลา่ นี้ อาจกอ ่ ให้เกิดผลดีตอ่
ตนเอง และตอ่ ประเทศชาติได้

5. ความซื่อสั ตย ์
้ ่ ายพมา่ และฝ่าย ไทยมีความซื่อสั ตย ์
จากเนื้ อเรื่ องนี้ เราจะเห็นไดว้ า่ บรรดาขุนกรี และทหารมากมายทังฝ
และความจงรักภักดี ตอ่ ประเทศชาติของตนมากเพราะจากการที่ศก ึ ษาเรื่ องลิลิตตะเลงพา่ ยเรายังไม่ เห็นเลยวา่
บรรดาทหารฝ่ายใดจะทรยศตอ่ ชาติบา้ นเมืองของตน ซึ่งก็แสดงให้เราเห็นวา่ ความซื่อสั ตยใ์ นเราองเล็กๆน้อยๆก็
ทาํ ให้เราสามารถ ซื่อสั ตยใ์ นเรื่ องใหญๆ่ ไดซ ้ ่ึงจากเรื่ องนี้ ความซื่อสั ตยเ์ ล็กๆน้อยๆของบรรดา ทหารสง่ ผลให้ชาติ
บา้ นเมืองเกิดความเป็ นปึ กแผน ่ มั่นคงได้
เราก็เชน่ เดียวกัน….ถา้ เรารู้ จักมีความซื่อสั ตยต ์ อ่ ตนเองดั่งเชน่ บรรดาขุนกรี ทหารก็อาจนํามาซึ่งความเจริ ญ
และความมั่นคงในชีวต ิ ก็เป็ นไดซ ้ ่ึงสิง่ นี้ อาจสง่ ผลประโยชน์ตอ่ ตนเอง ตอ่ ครอบครัวและชาติบา้ นเมือง

6. การมีวาทศลิ ป์ในการพูด
จากเรื่ องนี้ มีบุคคลถึงสองทา่ นดว้ ยกันที่แสดงให้เราเห็นถึงพระปรี ชาสามารถทาง ดา้ นการมีวาทศลิ ป์ใน
การพูด ทา่ นแรกคือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในโคลงสี่สุภาพที่วา่
พระพี่พระผูผ
้ า่ น
ภพอุต-ดมเอย
ไป่ชอบเชษฐ์ยืนหยุด
ร่มไม้
เชิญการร่วมคชยุทธ์
เผยอเกียรติ ไวแ
้ ฮ
สืบวา่ สองเราไซร้
้ มี
สุดสิน
เราจะเห็นวา่ สมเด็จพระนเรศวรทรงใชว้ าจาที่ไพเราะมีความสุภาพน่าฟังตอ่ พระมหาอุปราชาซึ่งเป็ นพี่เมื่อครัง้ ที่
สมเด็จพระนเรศวรทรงประทับอยูท ่ างฝ่ายพมา่

ทา่ น ที่สองคือ สมเด็จพระวันรัต เมื่อครัง้ ที่พระองคท ์ รงมาขอพระราชทานอภัยโทษจากพระนเรศวร ให้กับ


บรรดาทหารที่ตามเสด็จพระนเรศวรในการรบไมท ่ ั น ซึ่งอยูใ่ นโคลงสี่สุภาพที่วา่
พระตรี โลกนาถแผว้
เผด็จมาร
เฉกพระราชสมภาร
พี่น้อง
เสด็จไร้พิริยะราญ
อริ นาศ ลงนา
เสนอพระยศยินกอ ้ ง
เกียรติกอ้ งทุกภาย

การมีวาทศลิ ป์ในการพูดของสมเด็จพระวันรัตครัง้ นี้ ทาํ ให้บรรดาขุนกรี ทหารไดร้ ั บการพน ้ โทษดังนัน้ จาก


คุณธรรมขอ ้ นี้ ทาํ ให้เราไดข้ อ ่ ั วเมื่อเราทราบเชน
้ คิดที่วา่ การพูดดีเป็ นศรี แกต ่ นี้ แลว้ เราทุกคนกอ่ นที่จะพูดอะไร
ตอ้ ง คิดและไตร่ตรองให้ดีกอ ่ นที่จะพูด

3.3 คุณคา่ ดา้ นอื่นๆ

คุณคา่ ดา้ นเนื้ อหา


1) รู ปแบบ ลิลิตตะเลงพา่ ยแตง่ เป็ นลิลิตสุภาพ ประกอบดว้ ยร่ายสุภาพและโคลงสุภาพ ไดแ
้ ก่ โคลงสอง

สุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่สุภาพสลับกันตามความเหมาะสมของเนื้ อหา ลิลิตตะเลงพา่ ยเป็ นวรรณคดี

แนวประวัติศาสตร์และเป็ นวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติท่ีมุง่ สดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชการที่ผู้

แตง่ เลือกใชค ์ ระเภทร่ายสุภาพและโคลงสุภาพในงานประพันธ์ จึงนับวา่ เหมาะสมอยา่ งยิง่ เพราะคาํ


้ าํ ประพันธป

้ ้ นิ ยมใชใ้ นการพรรณนาเรื่ องราวที่สูงสง่ ศั กดิส


์ ั งสองประเภทนี
ประพันธท ์ ท
ิ ธิ์

์ ระกอบของเรื่ อง
2) องคป

2.1) สาระ แกน


่ สาํ คัญของลิลิตตะเลงพา่ ย คือ การยอพระเกียรติสมเด็จ

พระนเรศวรมหาราชในดา้ นพระปรี ชาสามารถทางการรบ โดยการกระทาํ สงครามยุทธหัตถีกับ

พระมหาอุปราชาแหง่ กรุ งหงสาวดีและไดร้ ั บชั ยชนะอยา่ งงดงาม นอกจากพระปรี ชาสามารถ

ทางการรบแลว้ ผูแ
้ ตง่ ยังไดเ้ น้นพระปรี ชาสามารถในดา้ นการปกครองและพระจริ ยวัตรอันกอปรดว้ ย

ทศพิธราชธรรม 10 ประการ สั งคหวัตถุ 4 ประการ และจักรวรรดิวัตร 12 ประการ

2.2) โครงเรื่ อง ลิลิตตะเลงพา่ ยเป็ นวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวร

มหาราช ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานุ ชิตชิโนรสทรงนํามาจากประวัติศาสตร์ โดย

มีขอบเขตกาํ หนดเนื้ อหาไวเ้ พียงเรื่ องการทาํ สงครามยุทธหัตถีแตเ่ พื่อมิให้เนื้ อเรื่ องขาดชีวต


ิ ชีวา

่ เติมเรื่ องที่ไมใ่ ชก
จึงทรงเพิม ่ ารสงครามเขา้ ไป เนื้ อหาที่สาํ คัญเป็ นหลักของเรื่ อง “ตะเลงพา่ ย”

คือการดาํ เนิ นความตามเคา้ เรื่ องในพงศาวดาร ไดแ


้ ก่ การทาํ สงคราม การตอ่ สูแ้ บบยุทธหัตถี

การจัดทัพ และรายละเอียดตา่ งๆ ซึ่งเป็ นไปตามตาํ ราพิชัยสงครามและโบราณราชประเพณี

่ เติมหรื อสว่ นเสริ มเรื่ องคือสว่ นที่ประพันธเ์ ป็ นลักษณะนิ ราศ


ทุกอยา่ ง สาํ หรับเนื้ อหาที่เป็ นสว่ นเพิม

ซึ่งมีการพรรณนาเกี่ยวกับการเดินทางและการคร่ าํ ครวญอาลัยถึงนางผูเ้ ป็ นที่รักผา่ นบทบาทของ

พระมหาอุปราชา
2.3) ตัวละคร

สมเด็จพระนเรศวร

(1) มีความเป็ นนักปกครองที่ดีทรงเลือกใชค


้ นโดยพิจารณาจากคุณวุฒิ

รวมถึงทรงปรับปรุ งตาํ ราพิชัยสงครามจากของเดิมให้เหมาะสม และรัดกุมมากยิง่ ขึ้น นอกจากนี้

์ างตอนยังแสดงให้เห็นวา่ ทรงเป็ นนักปกครองที่พร้อมรับฟังความเห็นของขุนนาง


จากบทประพันธบ

และขา้ ราชบริ พาร ดังบทประพันธ์


๏ ทังมวลหมู ม
่ าตยซ์ อ
้ ง สารพลัน

ทูลพระจอมจรรโลง เลื่องหลา้

แถลงลักษณะปางบรรพ์ มาเทียบ ถวายแฮ

แนะที่ควรเสด็จคา้ เศก
ิ ไซร้ไกลกรุ ง

๏ โทไทท
้ รงสดับถอ
้ ย ทูลถวาย

ถูกหฤทัยทา่ นผาย โอษฐ์พร้อง

สูตริ กต
็ รงหมาย เหมือนตริ ตูนา

้ ง ตอ่ นํา้ ใจตู


ตริ บ่ ตา่ งกันตอ

(2) มีความเป็ นนักรบ สมเด็จพระนเรศวรทรงเป็ นนักรบที่แทจ้ ริ ง เพราะ

ึ การจัดทัพ การเคลื่อนทัพ การตังค


ทรงรอบรู้ เรื่ องกระบวนศก ้ า่ ยตามตาํ ราพิชัยสงคราม

ที่สาํ คัญคือพระองคม
์ ีความกลา้ หาญ เด็ดเดี่ยว ไมห
่ วั่นเกรงตอ่ ขา้ ศก
ึ แมจ้ ะอยูใ่ นลักษณะเสียเปรี ยบ

ก็ไมเ่ กรงกลัว แตก


่ ลับใชบ ึ ดว้ ยพระทัยที่มั่นคง
้ ุคลิกภาพอันกลา้ หาญของพระองคเ์ ผชิญกับขา้ ศก

เขม
้ แข็ง ดังบทประพันธ์

๏ สองสุริยพงศผ
์ า่ นหลา้ ขับคเชนทร์บา่ ยหน้า

แขกเจา้ จอมตะเลง แลนา


๏ ไป่เกรงประภาพเทา่ เผา้ พักตร์ทา่ นผอ่ งฤๅเศร้า

สูเ่ สี้ยนไป่หนี หน้านา

๏ ไพรี เร่งสาดซอ
้ ง โซรมปื นไฟไป่ตอ
้ ง

ตื่นเตา้ แตกฉาน ผา้ นนา

(3) มีพระปรี ชาญาณ คือ ความฉลาด รอบรู้ มีไหวพริ บ สมเด็จ

พระนเรศวรทรงมีพระปรี ชาญาณในหลายๆ ดา้ น โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ดา้ นการทาํ ศก


ึ สงคราม

ึ โดยไมว่ ูว่ ามขาดสติ ทรงพิจารณาอุบายกลศก


์ รงสุขุม รอบคอบ ทาํ การศก
พระองคท ึ ดว้ ย

ความรู้ และประสบการณ์อยา่ งแทจ้ ริ ง ตอนที่แสดงให้เห็นความมีพระปรี ชาญาณของพระองค์ เชน


ตอนที่พระองคต
์ กอยูใ่ นวงลอ ์ รงเห็นนายทัพฝั่งตรงขา้ มที่ข่ีชา้ งมีฉัตรกันถึ
ึ พระองคท
้ มของขา้ ศก ้ ง

สิบหกคนสิบหกเชือก ยากที่จะแยกแยะไดว้ า่ ใครเป็ นใคร แตด


่ ว้ ยพระปรี ชาญาณและชา่ งสั งเกต

้ ใ่ ตร้ ่มไมข้ อ่ ย มีพลทหารสี่เหลา่ เรี ยงรายอยูจ่ าํ นวนมาก


ก็เห็นนายทัพคนหนึ่ งขี่ชา้ งมีฉัตรกันอยู

้ คือพระมหาอุปราชาแน่นอน จึงตรงเขา้ ไปทรงทา้ พระมหาอุปราชากระทาํ


จึงคาดวา่ นายทัพคนนัน

ยุทธหัตถีดว้ ยวาจาสุภาพ ออ่ นโยนและให้เกียรติซ่ึงแสดงถึงพระปรี ชาญาณและไหวพริ บของ

พระองคอ์ ยา่ งดียงิ่

ดา้ นสั งคม

1) สะทอ
้ นให้เห็นธรรมชาติมนุ ษย ์ เชน

พระเจา้ หงสาวดีตรัสประชดพระมหาอุปราชาวา่ กษัตริ ยก์ รุ งศรี อยุธยามีพระโอรสที่กลา้ หาญไมค


่ รั่นคร้าม

ึ สงคราม แตพ
จอ่ การศก ่ ระโอรสของพระองคเ์ ป็ นคนขลาด ทาํ ให้พระมหาอุปราชาทรงอับอายและเกรงพระราช

อาญา จึงเกิดขัตติยมานะยอมกระทาํ ตามพระราชประสงคข์ องพระราชบิดา ดังตัวอยา่ ง


์ วล นวลพระพักตร์ผอ่ งเผือด เลือดสลดหมดคลาํ ้
“...องคอ์ ุปราชยินสาร แสนอัประมาณมาตยม

ชาํ ้ กมลหมองมัว กลัวพระอาชญายอบ นอบประณตบทมูล ทูลลาไทล


้ ีลาศ ธก็ประกาศเกณฑพ
์ ล บอกยุบลบมิ

หึง...”

สมเด็จพระนเรศวรเมื่อตกอยูใ่ นวงลอ ึ ไดใ้ ชว้ าทศลิ ป์กลา่ วเชิญพระมหาอุปราชามารบตัวตอ่ ตัว เพื่อ


้ มของขา้ ศก


์ รี ของทังสองพระองค
เป็ นเกียรติยศและศั กดิศ ่ ีการรบที่กลา้ หาญเยี่ยงนี้ อีก ดังความใน
์ สืบตอ่ ไปภายหน้าจะไมม

์ อ่ ไปนี้
บทประพันธต

พระพี่พระผูผ
้ า่ น

ภพอุต ดมเอย

ไป่ชอบเชษฐ์ยืนหยุด

ร่มไม้

เชิญราชร่วมคชยุทธ์

เผยอเกียรติ ไวแ
้ ฮ

สืบกวา่ สองเราไสร้

้ มี
สุดสิน

่ ั พนายกองที่ตามเสร็จเขา้ สนามรบไมท
ตอนที่สมเด็จพระนเรศวรทรงพิโรธแมท ่ ั นจึงตรัสสั ง่ ประหารชีวต
ิ สมเด็จ

พระวันรัต วัดป่าแกว้ ขอพระราชทานอภัยโทษ โดยยกเหตุผลวา่ เป็ นเพราะเทพยดาบันดาลให้เป็ นไป เพื่อให้

พระองคแ์ สดงพระบรมเดชานุ ภาพให้ปรากฏคาํ กลา่ วถูกพระทัยสมเด็จพระนเรศวรจึงพระราชทานอภัยโทษ แต่

ตอ ึ แกต
้ งไปทาํ การศก ้ ั วโดยให้นําทัพไปตีเมืองเมาะตะมะและตะนาวศรี

พระตรี โลกนาถแลว้ เผด็จมาร


เฉกพระราชสมภาร

พี่น้อง

เสด็จไร้พิริยะราญ

อริ นาศ ลงนา

เสนอพระยศยินกอ
้ ง

เกียรติทา้ วทุกภาย

ผิวหลายพยุหยุทธร์ ้ า โรมรอน

ชนะอมิตรมวลมอญ

มั่วมลา้ ง

พระเดชบด
่ าลขจร

เจริ ญฤทธิ์ พระนา

ไปทั่วธเรศออกอา้ ง

เอิกฟ้าดินไหว

ึ ที่ปรากฏในเรื่ อง ไดแ
้ นเกี่ยวกับขนบธรรมเนี ยมประเพณี ขนบธรรมเนี ยมในการศก
2) สะทอ ้ ก่ เมื่อพระ

ึ พระเจา้ หงสาวดีทรงประสาทและให้โอวาทการสร้างขวัญกาํ ลังใจแกท


มหาอุปราชาจะออกศก ่ หารและความเด็ด

้ ั พ ประเพณี และพิธีกรรมเกี่ยวกับ
ขาดในการรบ ความรู้ เกี่ยวกับตาํ ราพิชัยสงคราม การจัดทัพ การตังท

สงคราม เชน ่ นาม เพื่อการสร้างขวัญกาํ ลังใจแกท


่ พิธีโขลนทวารตัดไมข้ ม ์ ่ี
่ หาร ดังที่ปรากฏในบทประพันธท

กลา่ วถึงพิธีโขลนทวารซึ่งเป็ นพิธีบาํ รุ งขวัญทหารกอ ึ เหลา่ ทหารตา่ งฮึกเหิมและมีกาํ ลังใจเพราะมีพระสงฆ์


่ นออกศก

สวดพระพุทธมนตแ์ ละประพรมนํา้ พระพุทธมนตใ์ ห้ ดังนี้


“...พลันขยายพยุหบาตรา คลาเขา้ โขลนทวาเรศ สงฆส์ วดชเยศพุทธมนต์

ปรายประชลเฉลิมทัพ ตามตาํ รารับราชรณยุทธ์ โบกกบี่ธุชคลาพล ยลนาวาดาดาษ ดูสระพราศสระพรั่ง คั่งคับ

ขอบคงคา แลมหาเหาฬาร์พันลึก อธึกทอ


้ งแถวธาร...”

้ นให้เห็นความเชื่อของสั งคมไทย
3) สะทอ ความเชื่อที่ปรากฏในเรื่ อง ไดแ
้ ก่ ความเชื่อของบรรพบุรุษ

ความเชื่อเรื่ องความฝันบอกเหตุ เชื่อคาํ ทาํ นายทายทักของโหร เชน


่ ตอนที่สมเด็จพระนเรศวรทรงพระสุบน

นิ มิต จึงตรัสให้หาพระโหราจารยเ์ พื่อทาํ นายนิ มิต

ทันใดดิลกเจา้ จอมถวัลย ์

สร่างผทมถวิลฝัน

หอ
่ นรู้

พระหาพระโหรพลัน

พลางบอก ฝันนา

เร็วเร่งทายโดยกระทู้

ที่ถอ
้ ยตูแถลง

4) สะทอ ้ คิดเพื่อนําไปใชใ้ นการดาํ เนิ นชีวต


้ นขอ ้ สดงคุณธรรมดา้ นตา่ งๆ ที่มีคุณคา่ ตอ่ การ
ิ ลิลิตตะเลงพา่ ยไดแ

ดาํ เนิ นชีวต ่ ความรับผิดชอบตอ่ หน้าที่ ความเมตตา ความนอบน้อม การให้อภัย เป็ นตน
ิ เชน ้ โดยสอด

้ า่ นจะสามารถซึมซั บคุณธรรมเหลา่ นี้ ผา่ นความงามของภาษา สามารถจรรโลงใจผู้


แทรกอยูใ่ นบทประพันธ์ ผูอ

่ ตอนที่พระเจา้ นันทบุเรง ทรงสอนการศก


อา่ นได้ เชน ึ สงครามแกพ ้ คิดที่มีคุณคา่ ยิง่ ตอ่
่ ระมหาอุปราชา ก็เป็ นขอ

การดาํ เนิ นชีวต


ิ ทุกยุคสมัย ตัวอยา่ งเชน

หนึ่ งรู้ พยุหเศก
ิ ไสร้ สบสถาน

เจนจิตวิทยาการ

กาจแกลว้

รู้ เชิงพิชัยชาญ

ชุมคา่ ย ควรนา

อาจรักรอนรณแผว้

แผกแพพ
้ ั งหนี

ฯลฯ

หนึ่ งรู้ บาํ เหน็ จให้ ขุนพล

อันสมรรถมือผจญ

จืดเสี้ยน

อยา่ หยอ่ นวิริยยล

อยา่ งเกียจ

แปดประการกลเที้ยร

ถอ่ งแทท
้ างแถลง

วรรณคดีเรื่ องลิลิตตะเลงพา่ ย นับเป็ นวรรณคดีชันสู


้ ง ที่ผูอ ้ งมีความรู้ พ้ ืน
้ า่ นจะตอ

ฐานเกี่ยวกับคาํ ศั พทย์ ากบางคาํ มาบา้ งแลว้ นอกจากจะมีความไพเราะในดา้ นวรรณศลิ ป์อยา่ งยอดเยี่ยมแลว้ ผู้

่ ูอ
อา่ นยงจะไดร้ ั บความรู้ ดา้ นสั งคมวัฒนธรรมอีกมาก แตผ ้
้ งอา่ นอยา่ งตังใจ
้ า่ นตอ มีการวิเคราะหแ
์ ละหาความ

้ ยา่ งชั ดเจนและทาํ ให้เกิดความซาบซึ้งในรสวรรณคดีมากยิง่ ขึ้น


หมายศั พทย์ าก จึงจะสามารถตีความไดอ
ดา้ นวรรณศลิ ป์

1) การสรรคาํ ึ ษาเพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจใน
ลิลิตตะเลงพา่ ย เป็ นวรรณคดีมรดกลาํ ้ คา่ ที่คนไทยควรศก

้ า่ ยทอดเรื่ องราวไดอ
วีรกรรมของนักรบไทยและภูมิใจในภาษาไทยที่กวีใชถ ้ ยา่ งมีคุณคา่ ทางดา้ นวรรณศลิ ป์ ดว้ ย

การเลือกใชถ
้ อ
้ ยคาํ ไดอ
้ ยา่ งไพเราะ

้ าํ ที่เหมาะแกเ่ นื้ อเรื่ องและฐานะของบุคคล กวีเลือกใชค


1.1) การใชค ้ าํ ที่แสดงฐานะของบุคคล ดังนี้

เบื้องนัน
้ นฤ

นาถผู้ สยามินทร์

เบี่ยงพระมาลาผิน

หอ
่ นพอ
้ ง

ศั สตราวุธอริ นทร์

ถูก องคเ์ อย

เพราะพระหัตถห
์ ากป้อง

ปัดดว้ ยขอทรง

้ าํ ที่มีศักดิค
จากโคลงบทนี้ กวีเลือกใชค ์ าํ สูง แสดงให้เห็นภาพเดน
่ ชั ดและไพเราะ เชน

นฤนาถ หมายถึง

กษัตริ ย ์

สยามินทร์ หมายถึง

กษัตริ ยส์ ยาม (กษัตริ ยอ์ ยุธยา)

พระมาลา หมายถึง หมวก

ศั ตราวุธอริ นทร์ หมายถึง ึ


อาวุธของขา้ ศก
องค์ หมายถึง

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

พระหัตถ์ หมายถึง มือ

ขอทรง หมายถึง

ขอสั บสาํ หรับบังคับชา้ ง อยูใ่ ตค


้ อของชา้ ง

1.2) การใชค
้ าํ โดยคาํ นึ งถึงเสียง ความไพเราะของถอ ้ พิจารณาที่การใช้
้ ยคาํ นัน
้ ยคาํ หรื อความงามของถอ

สั มผัส การเลน
่ คาํ เลน
่ ความ การเลียนเสียงธรรมชาติ เป็ นตน ้ าํ ที่มีเสียงเสนาะ ดังนี้
้ ลิลิตตะเลงพา่ ยมีการใชค

(1) มีการใชส ์ ุกบท ทาํ ให้เกิดความไพเราะ เชน


้ ั มผัสสระและสั มผัสพยัญชนะในคาํ ประพันธท ่

“.....ถับถึงโคกเผาเขา้ พอยามเชา้ ยังสาย หมายประมาณโมงครบ ประทบทัพ

รามัญ ประทันทัพพมา่ ขับทวยกลา้ เขา้ แทง ขับทวยแขงเขา้ ฟัน สองฝ่ายยันยืนยุทธ์ อุดอึงโหเ่ อาฤกษ์ เอิกอึง

เหเ่ อาชั ย สาดปื นไฟยะแยง้ แผลงปื นพิษยะยุง่ พุง่ หอกใหญค


่ ะควา้ ง ขวา้ งหอกซั ดคะไขว่ ไลค
่ ะคลุกบุกบัน

เงื้อดาบฟันฉะฉาด งางา้ วฟาดฉะฉับ.....”

สั มผัสสระ ไดแ
้ ก่ เขา้ – เชา้ สาย - หมาย ครบ – ทบ รามัญ –

ทัน พมา่ – กลา้ แทง – แข็ง ฟัน – ยัน ยุทธ์ – อุด ฤกษ์ – เอิก ชั ย – ไฟ

แยง้ – แผลง ยุง่ – พุง่ ควา้ ง – ขวา้ ง ไขว่ – ไล่ บัน – ฟัน ฉาด

– ฟาด

สั มผัสพยัญชนะ ไดแ
้ ก่ ถับ – ถึง โคก – เขา้ ยาม – ยังหมาย –

ประมาณ –โมง ประทบ – ทับ ประทัน – ทัพ ขับ – เขา้ ทวย – แทง ขับ – แขง–
เขา้ ยัน – ยืน – ยุทธ์ อุด – อึง – เอา เอิก – อึง – เอา ยะ – แยง้ ยะ – ยุง่ คะ – ควา้ ง

บุก– บัน ฉะ – ฉาด งา่ – งา้ ว ฉะ – ฉับ

้ ั มผัสพยัญชนะเดียวกันเกือบทังวรรค
(2) มีการใชส ้ เชน

กรตระกองกอดแกว้

เรี ยมจักร้างรสแคลว้

คลาดเคลา้ คลาสมร

จาํ ใจจรจาํ จากสร้อย

อยูแ่ มอ่ ยา่ ละห้อย

หอ
่ นชา้ คืนสม

แมแ
่ ล

วรรคที่ ๑ ไดแ
้ ก่ กร – กอง – กอด – แกว้

วรรคที่ ๒ ไดแ
้ ก่ เรี ยม – ร้าง – รส

วรรคที่ ๓ ไดแ
้ ก่ คลาด – เคลา้ – คลา

วรรคที่ ๔ ไดแ
้ ก่ อยู ่ – อยาก

(3) มีสัมผัสสระในแตล่ ะวรรคของโคลงแตล่ ะบาทคลา้ ยกลบท เชน



ิ สิน
ชาวสยามคร้ามเศก


ทังผอง

นายและไพร่ไป่ปอง

รบร้า

อพยพหลบหลีกมอง

เอาเหตุ
ซุกซอ
่ นหอ
่ นให้ขา้

ึ ไดไ้ ปเป็ น
ศก

บาทที่ ๑ ไดแ
้ ก่ สยาม – คร้าม

บาทที่ ๒ ไดแ
้ ก่ ไพร่ – ไป่

บาทที่ ๓ ไดแ
้ ก่ อพยพ – หลบ

บาทที่ ๔ ไดแ
้ ก ่ ซอ
่ น – หอ
่ น ได้ – ไป

่ คาํ เพื่อให้มีความลึกซึ้งและเกิดอารมณ์กระทบใจผูอ
4) การเลน ้ า่ นโดยเน้นนัยของคาํ วา่ สายหยุด วา่ ดอก

่ หอมเมื่อลว่ งเขา้ เวลาสาย แตย่ ามสายนัน


สายหยุดจะหยุดสง่ กลิน ้ ก็มิอาจหยุดความรัก ความเสน่หา ที่มีตอ่ นาง

อันเป็ นที่รักได้ เชน


่ ฟุ้ง
สายหยุดหยุดกลิน

ยามสาย

สายบห
่ ยุดเสน่หห
์ าย

หา่ งเศร้า

กี่คืนกี่วันวาย

วางเทวษ ราแม่

ถวิลทุกขวบคา่ ํ เชา้

หยุดไดฉ
้ ั นใด

(5) การเลน
่ เสียงวรรณยุกต์ เชน

สลัดไดใดสลัดน้อง

แหนงนอน ไพร
เพราะเพื่อมาราญรอน ิ
เศก

ไสร้

สละสละสมร

เสมอชื่อ ไมน
้ า

นึ กระกาํ นามไม้

แมน
่ แมน
้ ทรวงเรี ยม

(6) การเลียนเสียงธรรมชาติ เชน


“....เจา้ พระยาไชยานุ ภาพ เจา้ พระยาปราบไตรจักร ตรับตระหนักสาํ เนี ยง

เสียงฆอ ึ อีกเอิกกอ
้ งกลองปื นศก ้ งกาหล เร่งคาํ รนเรี ยกมัน ชั นหู ชูหางเลน
่ แปร้นแปร๋แลคะไขว.
่ ”

้ าํ อัพภาส คือ การซาํ ้ อักษรลงหน้าคาํ ศั พท์ ทาํ ให้เกิดความไพเราะ เชน


(7) การใชค ่

“...สาดปื นไฟยะแยง้ แผลงปื นพิษยะยุง่ พุง่ หอกใหญค


่ ะควา้ ง ขวา้ งหอกซั ดคะไขวไ่ ลค
่ ะคลุกบุกบัน

เงื้อดาบฟันฉะฉาด งา่ งา้ วฝาดฉะฉับ...”

2) การใชโ้ วหาร กวีเลือกใชถ


้ อ ้ ยา่ งเหมาะสมกับเนื้ อเรื่ อง
้ ยคาํ ในการบรรยาย พรรณนาและเปรี ยบเทียบไดอ

ทาํ ให้ผูอ
้ า่ นมองเห็นภาพชั ดเจน

2.1) การใชค
้ าํ ให้เกิดจินตภาพ เชน ้ าํ ที่แสดงให้เห็นภาพการตอ่ สูอ้ ยา่ งห้าวหาญของพลทหารทังสอง
่ การใชค ้

ฝ่ายที่ผลัดกันรุ กรับขับเคี่ยวกันดว้ ยอาวุธหลากหลายทังขอ


้ งา้ ว ทวน หอก ธนู จนตา่ งฝ่ายลม
้ ตายไปเป็ น

จาํ นวนมาก

2.2) การใชโ้ วหารโดยการเปรี ยบเทียบ วา่ สมเด็จพระนเรศวรมีฤทธิ์เหมือนพระรามยามตอ่ สูก


้ ั บทศกัณฐ์

ึ ศั ตรู ท่ีพา่ ยแพไ้ ปเหมือนพลยักษ์ สมเด็จพระนเรศวรก็เหมือนองคพ


ขา้ ศก ์ ระนารายณ์อวตารลงมา ดังตัวอยา่ ง
บุญเจา้ จอมภพขึ้น

แผน
่ สยาม

แสยงพระยศยินขาม

ขาดแกลว้

พระฤทธิ์ดั่งฤทธิ์ราม

รอนราพณ์ แล

ราญอริ ราชแผว้

้ ุกภาย
แผกแพท

ไพริ นทรนาศ

เพี้ยง พลมาร

พระดั่งองคอ์ วตาร

่ ้ี
แตก

ิ หอ
แสนเศก ่ นหาญราญ

รอฤทธิ์ พระ

ดาลตระดกเดชลี้

ประลาตหลา้ แหลง่ สถาน

2.3 การใชถ
้ อ
้ ยคาํ สร้างอารมณ์และความรู้ สก ้ ิลิตตะเลงพา่ ยเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และยอพระ
ึ แมล

่ ว้ ยความปรี ชาในดา้ นภาษาอยา่ งลึกซึ้งของกวี กวีสามารถใชถ


เกียรติพระมหากษัตริ ย ์ แตด ้ ยคาํ ทาํ ให้ผูอ
้ อ ้ า่ น

้ ามจุดมุง่ หมายของกวี ดังนี้


ึ เห็นใจ เศร้าใจ ดีใจ ภูมิใจ ไดต
เกิดความสะเทือนอารมณ์ เกิดความรู้ สก
1) การใชถ
้ อ
้ ยคาํ ให้เกิดความรู้ สก ่ ตอนที่พระมหาอุปราชาเคลื่อนกระบวนทัพ ขณะเดินทางมีการ
ึ เห็นใจ เชน

้ า่ งๆ โดยการนําชื่อตน
ชมธรรมชาติ ชมพันธุ ไ์ มต ้ ไมแ
้ ละดอกไมม
้ าเลน
่ คาํ ให้สอดคลอ ึ
้ งกับอารมณ์และความรู้ สก

ของพระมหาอุปราชาไดอ
้ ยา่ งไพเราะ

สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพร

เพราะเพื่อมาราญรอน

ิ ไสร้
เศก

สละสละสมร

เสมอชื่อ ไมน
้ า

นึ กระกาํ นามไม้

แมน
่ แมน
้ ทรวงเรี ยม

ไมโ้ รกเหมือนโรคเร้า รุ มกาม

ไฟวา่ ไฟราคลาม

ลวกร้อน

้ หนึ่ งแยม
นางแยม ้ ยาม

เยาวย์ ั ่ว แยม

ตูมดั่งตูมตีขอ
้ น

้ ั นแสง
อกอันก

่ ฟุ้ง
สายหยุดหยุดกลิน ยามสาย
สายบห
่ ยุดเสน่หห
์ าย

หา่ งเศร้า

กี่คืนกี่วันวาย

วางเทวษ ราแม่

ถวิลทุกขวบคา่ ํ เชา้

หยุดไดฉ
้ ั นใด

(2) การใชถ ้ ยคาํ เกิดอารมณ์สะเทือนใจ ดังปรากฏตอนที่พระมหาอุปราชาลา


้ อ

พระสนม

พระผาดผายสูห
่ ้ อง หาอนุ ชนวลน้อง

หนุ ่ มเหน้าพระสนม

ปวงประนมนบเกลา้ งามเสงี่ยมเฟี้ ยมเฝ้า

อยูถ่ า้ ทูลสนอง

กรตระกองกอดแกว้ เรี ยมจักร้างรสแคลว้

คลาดเคลา้ คลาสมร

จาํ ใจจรจากสร้อย อยูแ่ มอ่ ยา่ ละห้อย

หอ
่ นชา้ คืนสม แมแ
่ ล
(3) การใชถ
้ อ ึ เจ็บปวด เชน
้ ยคาํ ให้เกิดความรู้ สก ่ ตอนพระมหาอุปราชาทูลพระเจา้ หงสาวดีวา่ จะมีเคราะหไ์ ม่

ตอ
้ งการออกรบ จึงถูกพระเจา้ หงสาวดีกลา่ วประชดดว้ ยถอ ึ เจ็บปวดอับอายวา่ ให้เอาเครื่ อง
้ ยคาํ ให้เกิดความรู้ สก

แตง่ กายหญิงมาสวมใส ่

“...ฟังสารราชเอารส ธก็ผะชดบัญชา เจา้ อยุธยามีบุตร ลว้ นยงยุทธเ์ ชี่ยวชาญ

ึ บมิยอ่ ตอ่ สูศ


หาญหักศก ึ บมิหยอน ไป่พักวอนวา่ ใช้ ให้ธหวงธห้าม แมน
้ ก ้ เจา้ คร้ามเคราะหก
์ าจ จงอยา่ ยาตร

ยุทธนา เอาพัสตราสตรี สวมอินทรี ยส์ ร่างเคราะห์ ธตรัสเยาะเยี่ยงขลาด องคอ์ ุปราชยินสาร แสนอัประมาณมา

์ วล นวลพระพักตร์ผอ่ งเผือด เลือดสลดหมดคลาํ ้ ชาํ ้ กมลหมองมัว..”


ตยม

(4) การใชถ
้ อ
้ ยคาํ แสดงความโศกเศร้า เชน ้ งจากพระสนมและเดินทัพ เมื่อเห็นสิง่
่ ตอนที่พระมหาอุปราชาตอ

ิ ถึงนางอันเป็ นที่รัก การคลา่ ํ ครวญของพระมหาอุปราชา ทาํ ให้ผูอ


ใดก็คด ้ า่ นเห็น

ใจในความรักของพระมหาอุปราชา ดังปรากฏในตอนที่พระมหาอุปราชาเห็นตน
้ ไม้ ดอกไม้ แลว้ ราํ พันถึงพระ

สนม

มาเดียวเปลี่ยวอกอา้ อายสู

สถิตอยูเ่ ออ ์ ู
้ งคด

ละห้อย

พิศโพน
้ พฤกษ์พบู

บานเบิก ใจนา

พลางคะนึ งนุ ชน้อย

แน่งเนื้ อนวลสงวน
พระครวญพระคร่ าํ ไห้ โหยหา

พลางพระพิศพฤกษา

กิ่งเกี้ยว

กลกรกนิ ษฐนา-

รี รัตน์ เรี ยม

ยามตระกองเอวเอี้ยว

โอบออ
้ มองคเ์ รี ยม

บรรณาณุ กรม

​ ุณคา่ ที่ไดร้ ั บจากลิลิตตะเลงพา่ ย [ออนไลน์]


Thaililitpc5.blogspot ค

เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 1 มิถุนายม พ.ศ 2563 สืบคน


้ ไดจ้ าก

http://thaililitpc5.blogspot.com/

ไมร่ ะบุ. ลิลิตตะเลงพา่ ย [ออนไลน์]


เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 2 มิถุนายม พ.ศ. 2563. สืบคน
้ ไดจ้ าก

https://sites.google.com/a/htp.ac.th/lilitalangpai/9-bth-wikhera

ah/8-2-dan-wrrnsilp

ครู อภิชิต สุธาวา. ลิลิตตะเลงพา่ ย [ออนไลน์]

เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 4 มิถุนายม พ.ศ. 2563. สืบคน


้ ไดจ้ าก

https://sites.google.com/site/aphichitsuthawa/lilit-taleng-phay

ไมร่ ะบุ. ลิลิตตะเลงพา่ ย [ออนไลน์]

เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 2 มิถุนายม พ.ศ. 2563. สืบคน


้ ไดจ้ าก

https://sites.google.com/site/pangglasses/bth-thi-1-lilit-taleng

-phay/reuxng-yx

Teachertonthai ว​ เิ คราะหล์ ิลิตตะเลงพา่ ย [ออนไลน์]

เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 3 มิถุนายม พ.ศ 2563 สืบคน


้ ไดจ้ าก

https://teachertonthai.wordpress.com/2017/10/28/first-blog-post/

นางสาวจุฑามาศ เปรมปรี .Thaiwannakadee [ออนไลน์]

เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 1 มิถุนายม พ.ศ 2563 สืบคน


้ ไดจ้ าก

https://sites.google.com/site/wannakadeethaim4/wrrnkhdi-thiy/lil

it-taleng-phay/taw-lakhr-lilit-taleng-phay

You might also like