You are on page 1of 79

เรื่ องราวของคุณธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานอาวุโส เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ซึ่งให้สมั ภาษณ์แบบเปิ ดใจกับนิตยสาร Nikkei Asian Review

เมื่อประมาณต้นปี 2559 มีท้ งั หมด 30 ตอน ขอเก็บเป็ นข้อมูลไว้ให้ผทู้ ี่สนใจได้ศึกษาครับ

----------------------------------------------------
บทนำ

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จะไม่เป็ นองค์กรธุรกิจชั้นนำอย่างเช่นทุกวันนี้ หากไม่มีประธานกรรมการชื่อ ธนินท์ เจียรวนนท์ ซึ่ งบริ หารงานมาอย่างยาวนาน
เป็ นเวลากว่า 5 ทศวรรษ ได้พฒั นาธุรกิจและสร้างความเปลี่ยนแปลงจากร้านจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ผกั เล็กๆ ที่บิดา ได้ก่อตั้งขึ้นจนเติบโตเป็ นหนึ่งใน
องค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ที่สุดของเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ปั จจุบนั ครอบครัวเจียรวนนท์ได้รับการจัดอันดับให้เป็ นหนึ่งในครอบครัวที่มีความมัง่ คัง่
มากที่สุดในเอเชียอีกด้วย

คุณธนินท์ ในวัย 77 ปี ซึ่ งน้อยครั้งนักที่จะให้สมั ภาษณ์กบั สื่ อใดๆ ได้เปิ ดใจกับนิตยสาร Nikkei Asian Review เมื่อช่วงต้นปี พ.ศ.
2559 ด้วยเรื่ องราวต่างๆ เกี่ยวกับตัวเขาและการสร้างความเติบโตทางธุรกิจของ “เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์” ซึ่งได้รับการร้อยเรี ยงออกมาเป็ นบทความ
ยาว 30 ตอนในคอลัมน์ “My Personal History” ที่ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกเป็ นภาษาจีนและภาษาญี่ปุ่นในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559
นำเสนอเรื่ องราวทั้งด้านชีวิตส่ วนตัวตั้งแต่วยั เด็ก จนถึงด้านธุรกิจที่เริ่ มตั้งแต่กิจการเล็กๆ ในประเทศไทยสู่ ธุรกิจที่ประสบความสำเร็ จในระดับโลก
และต่อมาบทความได้รับการแปลเป็ นภาษาอังกฤษเผยแพร่ ผา่ นเว็บไซต์ Nikkei Asian Review อีกด้วย

คอลัมน์ My Personal History หรือ Watashi no Rirekisho คืออัตชีวประวัติบุคคลชั้ นนำระดับโลก ปรากฏครั้งแรกใน


หนังสื อพิมพ์ นิกเคอิ (Nikkei) เมื่อปี พ.ศ. 2499 ที่ผ่านมาได้ นำเสนอเรื่องราวในความทรงจำของบุคคลสำคัญซึ่งนำการเปลี่ยนแปลงมาสู่ โลก
และช่ วยสร้ างแรงบันดาลใจสู่ ผ้ อู ่ านมาแล้ วมากมาย โดยคุณธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการและประธานคณะผูบ้ ริ หาร เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ คือ
คนไทยคนแรกที่ได้รับเกียรติน้ ี

สำหรับบุคคลที่มีชื่อเสี ยงของโลกที่เคยได้รับการเผยแพร่ ในคอลัมน์ My Personal History อาทิ นางมาร์กาเร็ ต แทตเชอร์ อดีตนายก


รัฐมนตรี หญิงของอังกฤษ นายลี กวน ยู อดีตประธานาธิบดีสิงคโปร์ นายพลซูฮาร์โต อดีตประธานาธิบดีอินโดนีเซี ย นายจอร์จ ดับเบิลยู บุช อดีต
ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริ กา ดร. มหาธีร์ บิน โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรี มาเลเซี ย นายอลัน กรี นสแปน อดีตประธานธนาคารกลางสหรัฐฯ นาย
แจ็ค เวลช์ อดีตซี อีโอแห่งบริ ษทั เจเนอรัล อิเล็กทริ ก หรื อ จี .อี. นายทอม วัตสัน โปรกอล์ฟชื่อดังระดับโลก ตลอดจนนักธุรกิจชั้นนำของญี่ปุ่น เช่น
นายโคโนซุเกะ มัตสุ ชิตะ ผูก้ ่อตั้งพานาโซนิค นายโชอิจิโร่ โตโยดะ ประธานบริ ษทั โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน่ เป็ นต้น

----------------------------------------------------

บทที่ 1: กำเนิดในจีน เติบโตในไทย วิสัยทัศน์ ระดับโลก


เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ถือกำเนิดมาจากร้านจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ผกั ที่คุณพ่อของผมก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2464 บนถนนเยาวราช กรุ งเทพฯ ปั จจุบนั ผม
ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ เป็ นผูนำ ้ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รุ่ นที่ 3 บริ หารองค์กรซึ่ งมีธุรกิจหลากหลายในกว่า 100 ประเทศทัว่ โลก

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ คือหนึ่งในบริ ษทั ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีธุรกิจหลัก 3 กลุ่มได้แก่ กลุ่มเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารครอบคลุมธุรกิจ


อาหารสัตว์ กลุ่มธุรกิจการตลาดและการจัดจำหน่าย (ร้านสะดวกซื้ อและ ร้านค้าปลีกอื่นๆ) และกลุ่มธุรกิจโทรคมนาคม อาทิ โทรศัพท์เคลื่อนที่ โดย
ข้อมูล ณ ปี พ.ศ. 2558 มียอดขายทัว่ โลกมูลค่ารวม 45,000 ล้านดอลลาร์ (1,620,000 ล้านบาท) มีการลงทุนใน 20 ประเทศ และเครื อ
ข่ายการค้าตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้และจีน ไปจนถึงยุโรปและสหรัฐอเมริ กา มีพนักงานทั้งสิ้ นกว่า 300,000 คน

ข้อมูลและตัวเลขข้างต้น เป็ นเพียงส่ วนเดียว ซึ่ งอาจจะยังไม่สื่อถึงความเป็ นเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์อย่างครบถ้วน จึงขอยกประเทศญี่ปุ่นมาเป็ นตัวอย่าง

หากนึกถึงชั้นวางอาหารสำเร็ จรู ปในร้านสะดวกซื้ อของญี่ปุ่น จะเห็นว่ามีสินค้าของซี พีอยูท่ วั่ ไป อาทิ อาหารสำเร็ จรู ปที่ผลิตจากเนื้ อไก่ และเนื้อหมู
ซึ่ งถูกบรรจุในถุงบรรจุอาหารที่มีการปิ ดผนึกอย่างมิดชิด หากท่านลองพลิกดูดา้ นหลังบรรจุภณั ฑ์น้ นั และเห็นตราสัญลักษณ์วงกลมสี เหลืองที่มีตวั
อักษร ซีพี สี แดงอยูใ่ นวงกลม นัน่ ก็คือสิ นค้าที่ผลิตโดย บริ ษทั เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั หลักของเครื อฯ สิ นค้าเหล่านี้
เป็ นสิ นค้าที่แปรรู ปเป็ นสิ นค้ากึ่งสำเร็ จรู ปในไทย แล้วส่ งออกไปยังญี่ปุ่น ภายใต้ความร่ วมมือระหว่างเครื อฯ กับบริ ษทั อาหารและร้านสะดวกซื้ อของ
ญี่ปุ่น

“คงจะไม่ เป็ นการกล่ าวอ้ างเกินไป ถ้ าจะขนานนามว่ าเครือเจริญโภคภัณฑ์ เป็ น บริษทั ที่ปฏิวตั ิโต๊ ะอาหารของประเทศญี่ปุ่น” จากการเริ่ มส่ งออกเนื้อ
ไก่ไปยังญี่ปุ่นตั้งแต่ปีพ.ศ. 2516 และในราวทศวรรษที่ 2520 หลังจากที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ในประเทศไทยได้เริ่ มธุรกิจเลี้ยงกุง้ จนประสบ
ความสำเร็ จแล้ว ก็ได้เริ่ มส่ งออกกุง้ ไปยังญี่ปุ่น ตั้งแต่น้ นั มา ซี พี ก็ได้ขายเนื้อไก่และกุง้ ในราคาที่เป็ นธรรมให้ชาวญี่ปุ่น ทำให้ไก่ทอดและกุง้ ทอดกลาย
เป็ นเมนูประจำบนโต๊ะอาหารของชาวญี่ปุ่น

การแสวงหาโอกาสใหม่ ๆ อยู่ในดีเอ็นเอของเรา

หลังจากจีนเริ่ มเปิ ดประเทศในปี พ.ศ. 2521 ซีพี เป็ นบริ ษทั ต่างชาติบริ ษทั แรกที่เข้าไปลงทุน อีกทั้งเป็ นบริ ษทั ต่างชาติบริ ษทั แรกที่ได้จดทะเบียน
การค้าในเขตเศรษฐกิจพิเศษเซิ นเจิ้น มณฑลกวางตุง้ ตั้งแต่น้ นั มาเราก็ใช้ชื่อ เจียไต๋ กรุ๊ ป หรื อที่ภาษาจีนกลางอ่านว่า “เจิ้งต้า” (1) ในการดำเนิน
ธุรกิจที่ประเทศจีน ซึ่ งก็ได้กลายเป็ นชื่อที่คุน้ หูของชาวจีนในประเทศจีนเป็ นอย่างมาก

ในประเทศจีนนั้น ซี พี ก็จดั เป็ นบริ ษทั ขนาดใหญ่ เฉพาะธุรกิจของเครื อฯ ในจีนมีมูลค่าเกือบ 40% ของยอดขายรวมของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ทวั่
โลก สำหรับคำถามที่วา่ ทำไมบริ ษทั ของไทยอย่าง ซี พี จึงสามารถเข้าไปดำเนินธุรกิจในจีนมากถึงขนาดนั้น คุณพ่อของผมมีส่วนอย่างสำคัญ

คุณพ่อของผมชื่อนายเจี่ย เอ็กชอ เป็ นชาวจีนโพ้นทะเลที่เกิดในมณฑลกวางตุง้ คุณพ่อเดินทางไปหลายประเทศ ทั้งประเทศจีน ประเทศไทย และประ


เทศอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ โดยได้ขยายกิจการออกไปเรื่ อยๆ ด้วยการที่คุณพ่อมีเชื้อสายจีน เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์จึงมีความสัมพันธ์อนั แนบ
แน่นกับประเทศจีนไปด้วย

แม้วา่ ผมและพี่นอ้ งจะเกิดในประเทศไทย แต่คุณพ่อของผมก็ต้งั ชื่อภาษาจีนให้ลูกๆ ทุกคน พี่ชายคนที่ 1 ของผมชื่อ “เจิ้งหมิน” พีช่ ายคนที่ 2 ชื่อ
“ต้าหมิน” พี่ชายคนที่ 3 ชื่อ “จงหมิน” และผมชื่อ “กัว๋ หมิน” เมื่อนำคำแรกของชื่อทั้ง 4 คนมารวมกัน จะได้คำว่า “เจิ้งต้า” และ “จงกัว๋ ” (2) หรื อ
แปลว่า ยุติธรรม และประเทศจีน

คุณพ่อไม่เพียงแต่ส่งลูกๆ ไปเรี ยนในโรงเรี ยนไทย แต่ยงั ได้ส่งพวกเราไปเรี ยนในเมืองจีนด้วย ดังนั้นพี่นอ้ งของผมทั้ง 12 คน จึงสามารถพูดภาษา
ไทยและภาษาจีนได้อย่างคล่องแคล่ว และหลังจากที่พวกเราได้สืบทอดกิจการต่อจากรุ่ นคุณพ่อ เรายังคงติดต่อกับชาวจีนและชาวจีนโพ้นทะเลเรื่ อย
มา ซึ่งทำให้กิจการของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ขยายออกไปทัว่ ประเทศจีนและในประเทศอื่นๆ ที่มีชาวจีนโพ้นทะเล

ที่สำคัญที่สุดคือ ประเทศไทยให้การสนับสนุนเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ และยอมรับตระกูลเจียรวนนท์ที่เป็ นคนต่างถิ่นย้ายมาพำนัก และให้โอกาสใน


การทำมาหากินอย่างเท่าเทียมกัน ถึงแม้วา่ ในยุคหนึ่งประเทศไทยจะมีขอ้ ขัดแย้งด้านการเมืองกับประเทศจีน แต่รัฐบาลไทยก็ไม่เคยขับไล่ชาวจีนโพ้น
ทะเลออกจากประเทศไทย และในช่วงที่มีการปฏิวตั ิวฒั นธรรมจีนในประเทศจีน คุณพ่อของผมต้องสู ญเสี ยกิจการที่ลงทุนในจีนไป แต่ที่เมืองไทย
คุณพ่อของผมยังคงรักษากิจการของครอบครัวไว้ได้ นับว่าเป็ นโชคดีของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ที่คุณพ่อของผมเลือกตั้งสำนักงานใหญ่ในประเทศไทย
หากวันนั้นคุณพ่อเลือกตั้งสำนักงานใหญ่ในประเทศจีน เราอาจไม่มีเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เช่นในวันนี้

กล่าวโดยสรุ ปสำหรับความเป็ นมาของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์กค็ ือเรื่ องราวของชาวจีนโพ้นทะเลที่ได้เข้ามาตั้งรกราก ประกอบอาชีพ และดำเนินชีวิตใน


ประเทศไทยได้อย่างมีความสุ ข เป็ นเพราะคนไทยยินดีเปิ ดรับคนต่างชาติ ซึ่ งผมหวังว่าประสบการณ์กว่าครึ่ งชีวิตของผมจะเป็ นประโยชน์และเป็ น
ข้อคิดให้แก่คนรุ่ นหลังได้ไม่มากก็นอ้ ย

หมายเหตุ:

(1) “เจิ้งต้า” มาจากสุ ภาษิตจีน “เจิ้งต้ากวงหมิง” แปลว่า ซื่ อสัตย์ ยุติธรรม เที่ยงตรง
(2) “จงกัว๋ ” แปลว่า ประเทศจีน

เจ้ าสั วธนินท์ เปิ ดธุรกิจ CP เดินหน้ าลงทุนทั่วโลก เผยรายได้ 60-70% มาจากต่ างประเทศ

หลายคนอาจคิดว่า CP มีรายได้หลักจากในประเทศ จากการขายสิ นค้าการเกษตร แต่ ธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานอาวุโส ของกลุ่ม CP ได้ออกมา


เปิ ดเผยว่า CP เป็ นบริ ษทั ที่ลงทุนกว่า 20 ประเทศ ทำตลาดกว่า 100 ประเทศทัว่ โลก เพราะเป็ นธุรกิจอาหารและการเกษตรจึงสามารถไปได้ทุก
แห่ง และสามารถสร้างรายได้ส่วนใหญ่ 60-70% ของบริ ษทั มาจากต่างประเทศ และมีแนวโน้มมากขึ้นเรื่ อยๆ

CP มีมุมมองที่วา่ บริ ษทั คนไทย ที่เมื่อใหญ่แล้วต้องออกไปบุกเบิกตลาดต่างประเทศ นำรายได้เข้าสู่ ประเทศไทย ทุกประเทศที่ CP ไปลงทุน ต้อง
มีธงชาติไทยไปอยูท่ ี่หน้าโรงงานเสมอ เพื่อให้ทวั่ โลกเห็นว่าคนไทยทัดเทียมประเทศชั้นนำของโลก แต่ไม่วา่ ไปประเทศไหนก็ได้รับการต้อนรับ

“CP เป็ น International Company มานานแล้ ว แต่ ไม่ เคยบอกใคร แนวทางของ CP คือ การบุกตลาดต่ างประเทศต้ องเข้ าไปลงทุน
ไม่ ได้ ไปแค่ ขายของเท่ านั้น สนับสนุนให้ คนในประเทศนั้นได้ เรี ยนรู้ ได้ พฒ
ั นา เท่ ากับว่ า CP เติบโตขึน้ แต่ คนในประเทศนั้นก็เติบโตขึน้ ด้ วย”

 
 

ซีพกี บั การลงทุนในประเทศจีน

หลังจากจีนเริ่ มเปิ ดประเทศในปี พ.ศ. 2521 ซีพี เป็ นบริ ษทั ต่างชาติบริ ษทั แรกที่เข้าไปลงทุน อีกทั้งเป็ นบริ ษทั ต่างชาติบริ ษทั แรกที่ได้จดทะเบียน
การค้าในเขตเศรษฐกิจพิเศษเซิ นเจิ้น มณฑลกวางตุง้ ตั้งแต่น้ นั มาใช้ชื่อ เจียไต๋ กรุ๊ ป หรื อที่ภาษาจีนกลางอ่านว่า “เจิง้ ต้า” หนึ่งในการดำเนินธุรกิจที่
ประเทศจีน ซึ่งก็ได้กลายเป็ นชื่อที่คุน้ ในประเทศจีนนั้น ซี พีในจีนจัดเป็ นบริ ษทั ขนาดใหญ่ เฉพาะธุรกิจของเครื อฯ ในจีนมีมูลค่าเกือบ 40% ของ
ยอดขายรวมของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ทวั่ โลก

ซีพผี นึกรายใหญ่  “เบลลิซิโอฟู้ ด” เร่ งเครื่องเจาะตลาดอเมริกา

หลังจากเริ่ มต้นกลยุทธ์สำคัญตั้งแต่ช่วงปลายปี  2559 ให้บริ ษทั เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรื อซี พีเอฟ ทุ่มเม็ดเงิน
กว่า 38,000 ล้านบาท ซื้ อหุน้  100% ของบริ ษทั เบลลิซิโอ ฟู้ ด อิ้งค์ (Bellisio) ผูนำ ้ ด้านการผลิตอาหารสำเร็ จรู ปพร้อมรับประทานที่ใหญ่
ที่สุดและเติบโตเร็ วที่สุดในสหรัฐอเมริ กา เพื่อรองรับเทรนด์อาหารแช่แข็งทัว่ โลกที่มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่ อง

ทั้งนี้ เบลลิซิโอเป็ นผูผ้ ลิตและผูจ้ ดั จำหน่ายอาหารแช่แข็งแบบ Single Serve ภายใต้ตราสิ นค้า มิชิลิน่า


ส์ (Michelina’s) แอทคินส์ (Atkins) บอสตันมาร์เก็ต (Boston Market) ชิลีส์ (Chili’s) อีทติ้งเวล (EatingWell) และ
อีท (Eat!) รวมทั้งเป็ นผูผ้ ลิตร่ วมสิ นค้าภายใต้แบรนด์ของลูกค้า (Private Label) และผูป้ ระกอบการธุรกิจอาหารต่างๆ ซึ่งการประเดิมนำ
เข้าสิ นค้าแบรนด์บอสตัน มาร์เก็ต เข้ามาเจาะตลาดไทย ถือเป็ นการเริ่ มต้น Synergy ของ 2 ธุรกิจใหญ่

ตลาดอเมริ กามีศกั ยภาพมาก จำนวนประชากรมากถึง 325 ล้านคน คิดเป็ น 5% ของประชากรโลก และมีกำลังซื้ อสู ง ประกอบกับยังมีมูลค่าธุรกิจ


อาหารมากกว่า 5.3 ล้านล้านเหรี ยญสหรัฐฯ ซึ่ งตลาดอาหารแช่แข็งและอาหารกินเล่นมีอตั ราเติบโตเฉลี่ยไม่ต ่ำกว่า 4-5% ต่อปี ผลิตภัณฑ์มวล
รวมของประเทศหรื อจีดีพีราว 19 ล้านล้านเหรี ยญสหรัฐ คิดเป็ น 1 ใน 4 ของจีดีพีของโลก

ซีพขี ยายฐานในยุโรป

ซี พีเอฟขยายตลาดในยุโรป ซื้ อกิจการอาหารพร้อมรับประทาน “ท็อปส์ฟดส์ ู้ ” สัญชาติเบลเยียม หนุนแผนขยายฐานการผลิตเสริ มความแข็งแกร่ งใน


การกระจายสิ นค้าในยุโรป Tops Foods เป็ นบริ ษทั ที่ประกอบธุรกิจด้านการผลิตและจำหน่ายอาหารพร้อมรับประทาน จดทะเบียนจัดตั้งในราช
อาณาจักรเบลเยียมในปี  2536 มีรายได้ประมาณ 12 ล้านยูโรในปี  2555 และมีสินทรัพย์รวมมูลค่าประมาณ 10.6 ล้านยูโร โดยมีกำลังการ
ผลิตอาหารพร้อมรับประทานจำนวนประมาณ 100,000 ถาดต่อวัน การตอกย้ำการเป็ นครัวของโลก ด้วยการขยายฐานการผลิตอาหารพร้อมรับ
ประทานไปยังทวีปยุโรปเพื่อการจำหน่ายให้แก่ประเทศต่างๆ ในแถบนั้น โดยโรงงานของ Tops Foods เป็ นโรงงานที่ใช้เทคโนโลยีการผลิต
อาหารพร้อมรับประทานด้วยไมโครเวฟที่ทนั สมัยและได้มาตรฐาน

ซีพกี บั ตลาดอินเดีย

บริ ษทั เจริ ญโภคภัณฑ์ (อินเดีย) เริ่ มทำธุรกิจที่เมืองเจนไน รัฐทมิฬนาฑู ในปี  2540 โดยตั้งโรงงานอาหารสัตว์ และทำฟาร์มไก่เนื้อระบบจ้างเลี้ยง


จากนั้นจึงขยายไปยังกิจการสร้างฟาร์มไก่พนั ธุ์ และโรงฟักที่เมืองบังคาลอร์ ตามมาด้วยเมืองวิจายาวาดา รัฐอานธรประเทศ, เมืองปูเน่ รัฐมหาราษฏ
ระ, เมืองเวลลอร์ รัฐทมิฬนาฑู, เมืองชิททู รัฐอานธรประเทศ,รัฐปั ญจาบและรัฐฮารี ยาน่า

 
สำหรับประเทศอินเดีย ปั จจุบนั ซี พีได้เข้ามาลงทุนใน 4 บริ ษทั ฯ คือ 
(1) บริ ษทั  CP Aquaculture (India) จำกัด ผลิตและจำหน่ายอาหารกุง้ และปลา เพาะฟักลูกกุง้  
(2) บริ ษทั  Charoen Pokphand (India) จำกัด ผลิตและจำหน่ายอาหารสัตว์ เพาะฟักลูกไก่ 
(3) บริ ษทั  Charoen Pokphand Seeds (India)จำกัด ผลิตและจำหน่ายเมล็ดข้าวโพดพันธุ์ผสม 
(4) บริ ษทั สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) บริ ษทั ในเครื อกลุ่มบริ ษทั เจริ ญโภคภัณฑ์ (CP Group) ประกาศลงทุนในธุรกิจค้าส่ ง Cash &
Carry ตั้งเป้ าหมายเปิ ดศูนย์คา้ ส่ ง 15 สาขา ภายใน 3  ปี ด้วยเงินลงทุน 10,000 ล้านรู ปี ใน 5 ปี แรก ซึ่ งการลงทุนในครั้งนี้จะสร้างงานทั้ง
ทางตรงและทางอ้อมให้กบั ชุมชนกว่า 5,000 ตำแหน่ง โดย LOTS Wholesale Solutions สองสาขาแรกเปิ ดดำเนินการในปี  
2018  ณ กรุ งเดลี

ซีพี กับรัสเซีย

ซี พีเอฟขยายฐานซื้ อบริ ษทั ไก่ครบวงจรในประเทศรัสเซี ย เล็งใช้เป็ นฐานผลิตส่ งออกสิ นค้าไปยังภูมิภาคใกล้เคียง กิจการไก่ครบวงจรของ


บริ ษทั  Agro-Invest Brinky B.V. ในประเทศรัสเซี ยจะเป็ นฐานที่สำคัญสำหรับการขยายธุรกิจในประเทศรัสเซี ยของซีพีเอฟ เนื่องจาก
ตลาดสัตว์ปีกในประเทศรัสเซี ยเป็ นตลาดที่ไม่มีผผู้ ลิตรายใหญ่ที่มีอำนาจเหนือตลาด (fragmented market) ในขณะที่อตั ราการบริ โภคเนื้ อ
สัตว์ยงั คงเติบโตอย่างต่อเนื่ อง ประกอบกับประเทศรัสเซี ยมีจำนวนประชากรสู งคือมากกว่า 140 ล้านคน นอกจากนั้น เมื่อรวมกับธุรกิจสุ กรที่ซีพี
เอฟได้ลงทุนอยูแ่ ล้ว บริ ษทั จะมีศกั ยภาพในการเติบโตในอนาคตจากการเพิ่มมูลค่าให้กบั ผลิตภัณฑ์จากเนื้ อสัตว์ที่หลากหลายและมีโอกาสที่จะพัฒนา
ธุรกิจไปสู่ การส่ งออกสิ นค้าเนื้อสัตว์จากประเทศรัสเซี ยไปยังประเทศอื่นๆ
 

ซีพกี บั ความร่ วมมือในประเทศญี่ปุ่น

ซี พีได้ผนึกกำลัง อิโตชู ซึ่ งเป็ นบริ ษทั การค้าใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของญี่ปุ่น มียอดขายเมื่อสิ้ นงวดบัญชีมีนาคม 2557 ประมาณ 1.7 ล้านล้านบาท
โดยมีสดั ส่ วนยอดขายของธุรกิจอาหารในสัดส่ วน 26% หรื อคิดเป็ นจำนวนประมาณ 400,000 ล้านบาท โดยมีการทำธุรกิจหลากหลายใน
ประเทศญี่ปุ่นและมีการลงทุนในต่างประเทศหลายประเทศ ซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย ธุรกิจของอิโตชูมีท้ งั การค้าภายในประเทศและต่าง
ประเทศ  อาทิ ธุรกิจค้าปลีกภายใต้ชื่อ แฟมิลี่มาร์ท ที่มีสาขามากกว่า 10,000 สาขา ธุรกิจค้าส่ งและศูนย์กระจายสิ นค้า การให้บริ การด้านระบบ
ขนส่ งสิ นค้า โลจิสติกส์) การทำธุรกิจผลไม้กระป๋ องภายใต้ตราสิ นค้า Dole ธุรกิจด้านการเงิน ธุรกิจพลังงาน ธุรกิจ Textile เป็ นต้น ทั้งยังเป็ น
บริ ษทั จดทะเบียนรายใหญ่ 1 ใน 5 ในตลาดหลักทรัพย์ญี่ปุ่น นอกจากนั้นอิโตชูยงั เป็ นผูนำ ้ เข้าสิ นค้าอาหารระดับต้น ๆ ของประเทศญี่ปุ่นด้วย

นอกจากนี้ ซี พี ยังผนึกกำลังกับ อิโตชู ไปเป็ นพันธมิตรกับกลุ่มซิ ติก ประเทศจีน นับเป็ นการสร้างความร่ วมมือที่ยงิ่ ใหญ่ระหว่างบริ ษทั ชั้นนำของ
เอเชีย ได้แก่ ไทย ญี่ปุ่น และจีน โดยมีเป้ าหมายที่จะผนึกกำลังเพื่อแสวงหาโอกาสทางการค้าการลงทุน ทั้งในเอเชีย และทัว่ โลก ซึ่ งจะเสริ มศักยภาพ
ของภาคธุรกิจในเอเชียให้โดดเด่นบนเวทีโลก โดยในส่ วนของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์น้ นั การร่ วมทุนนี้จะช่วยขยายโอกาสธุรกิจด้านเกษตรอุตสาหกรรม
และอาหาร การค้าปลีก และการค้าระหว่างประเทศ และอื่นๆ โดยอาศัยความเชี่ยวชาญของทุกฝ่ าย ซึ่ งมัน่ ใจว่าความร่ วมมือครั้งนี้จะช่วยกระตุน้ การ
ค้า และส่ งเสริ มการลงทุนในไทย และทัว่ ภูมิภาค

ซีพใี นประเทศเวียดนาม
ซี พี ก่อตั้ง บริ ษทั ซี .พี.เวียดนาม ไลฟ์ สต๊อค จำกัด สร้างโรงงานผลิตอาหารสัตว์บกภาคใต้ที่จงั หวัดด่องนายเป็ นแห่งแรก หลังจากนั้นใน
ปี  2554 ได้เปลี่ยนชื่อเป็ น บริ ษทั ซี .พี. เวียดนาม คอร์ปอเรชัน่ จากนั้นขยายไปสู่ ธุรกิจเพาะเลี้ยงสุ กร ไก่เนื้อ ไก่ไข่ ส่ วนทางภาคใต้เน้นการเพาะ
เลี้ยงสัตว์น้ำ โดยเฉพาะกุง้ ขาวแวนนาไม และปลาแพนกาเซี ยส ดอร์รี่ ณ บริ เวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง

ปั จจุบนั ซี พีเวียดนามมีธุรกิจตั้งแต่อาหารสัตว์ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ โรงงานแปรรู ป และจุดจำหน่าย ครอบคลุมทั้งในสัตว์บกและสัตว์น ้ำ ซึ่งถ้าพิจารณาดีๆ


จะเห็นว่าซี พีเวียดนาม ยกโมเดลธุรกิจแบบครบวงจรจากประเทศไทยไปดำเนินการ การทำธุรกิจครบวงจรเป็ นส่ วนหนึ่งของมาตรฐานการผลิตสิ นค้า
เกษตรที่จะสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ท้ งั กระบวนการผลิต อันเป็ นปั จจัยสำคัญในการตอบสนองความปลอดภัยในอาหาร (Food
Safety) เพื่อผูบ้ ริ โภคทัว่ โลก นี่จึงเป็ นส่ วนหนึ่งที่จะยกระดับภาคเกษตรของประเทศเวียดนามให้ทดั เทียมสากล

กูมูสต้ า…ฟิ ลิปปิ นส์

ซี พีเอฟ นำเทคโนโลยีทางการเกษตรและอาหาร ถ่ายทอดสู่ เกษตรกรชาวฟิ ลิปปิ นส์ เพื่อเพิ่มผลผลิตอาหารโปรตีนคุณภาพสู ง พร้อมร่ วมมือกับ


พันธมิตรท้องถิ่น พัฒนากระบวนการผลิตอาหารของฟิ ลิปปิ นส์ให้เข้าสู่ ผผู้ ลิตอาหารปลอดภัยและมีความมัน่ คงทางอาหารมาโดยตลอด ทั้งยังช่วยยก
ระดับคุณภาพชีวิตและความเป็ นอยูข่ องประชาชนในประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ผ่านโครงการส่ งเสริ มอาชีพเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกรรายย่อย

ปั จจุบนั ธุรกิจของซี พีเอฟในฟิ ลิปปิ นส์ ประกอบด้วยการผลิตอาหารสัตว์บกและสัตว์น ้ำ ฟาร์มไก่และฟาร์มสุ กร โดยการผลิตดังกล่าวเป็ นไปเพื่อ


รองรับความต้องการในประเทศเป็ นหลักช่วยทดแทนการนำเข้าเนื้อสัตว์ และมุ่งเน้นการสร้างงานสร้างอาชีพตลอดจนสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรราย
ย่อยชาวฟิ ลิปปิ นส์ เพื่อให้ปัจจัยการผลิตอาหารมนุษย์มีคุณภาพดีต้ งั แต่ตน้ ทางคืออาหารสัตว์ ตลอดจนพ่อพันธุ–์ แม่พนั ธุ์ท้ งั ไก่และสุ กร ซึ่งจะส่ งผล
ต่อเนื่องมาถึงการผลิตอาหารคุณภาพดีเพื่อเลี้ยงผูบ้ ริ โภคในประเทศอย่างเพียงพอในราคายุติธรรม

ซาลามัด ดาตัง… มาเลเซีย

บริ ษทั เจริ ญโภคภัณฑ์มาเลเซี ย จำกัด (ซีพีมาเลเซี ย) ล่าสุ ดได้นำโครงการเลี้ยงไก่ไข่ครบวงจร มาสร้างประโยชน์มหาศาลแก่ประเทศมาเลเซี ย โดย


เชิญภาครัฐบาล กรมปศุสตั ว์ กระทรวงเกษตร ของมาเลเซี ย เข้ามาเรี ยนรู้เทคโนโลยีการผลิตไก่ไข่ที่เป็ นมิตรสิ่ งแวดล้อม (Green Farm-Zero
Waste) ศึกษาระบบ Biogas ที่ทำให้ฟาร์มสามารถผลิดไฟฟ้ าใช้ภายในฟาร์มได้ถึง 7.2 ล้านกิโลวัตต์ต่อปี ลดต้นทุนพลังงานได้ปี
ละ 30 ล้านบาท

ขณะที่ผลผลิตไข่ไก่ที่วางจำหน่ายจะเป็ นไข่ไก่ที่ผลิตด้วยระบบอัตโนมัติ  มีระบบการลำเลียงไข่โดยสายพานมาโรงบรรจุที่เรี ยกว่าระบบ Inline ไ


ม่ตอ้ งใช้มือสัมผัสไข่จนกว่าจะถึงมือผูบ้ ริ โภค เครื่ องคัดขนาดไข่ของที่นี่ ถือว่าทันสมัยที่สุดในเอเชียไข่ทุกฟองจะผ่านการล้าง และฆ่าเชื้อโดย
ระบบ UV ถึง 3 ครั้ง ก่อนเครื่ องจะนำไข่ลงบรรจุภณ ั ฑ์ ที่มีระบบฆ่าเชื้อระดับ Nano Technology ใหม่ล่าสุ ดในเอเชียไข่ไก่จากฟาร์มซี พี
มาเลเซี ยจึงปลอดจากเชื้อ Salmonella 100%

ส่ วนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในมาเลเซี ย มีความโดดเด่นอย่างมากในการเพาะเลี้ยงกุง้ ตลอดจนแปรรู ปกุง้ ตามมาตรฐานความปลอดภัยขั้นสู ง กระทัง่


สามารถส่ งออกไปยัง สหรัฐอเมริ กา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น สร้างรายได้แก่ประเทศมาเลเซี ยอีกทางหนึ่ง มาเลเซี ย จึงเป็ นอีกประเทศหนึ่งที่ซีพีเอฟ
เข้าไปมีบทบาทในการต่อยอดการพัฒนาภาคเกษตรในภูมิภาคอาเซี ยน ด้วยการส่ งมอบคุณภาพการผลิตที่สะอาด ปลอดภัย ตรวจสอบย้อนกลับได้

เรื่ องราวของคุณธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานอาวุโส เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ซึ่งให้สมั ภาษณ์แบบเปิ ดใจกับนิตยสาร Nikkei Asian Review
เมื่อประมาณต้นปี 2559 มีท้ งั หมด 30 ตอน ขอเก็บเป็ นข้อมูลไว้ให้ผทู้ ี่สนใจได้ศึกษาครับ

----------------------------------------------------

บทที่ 2: จากเมืองแต้ จิ๋ว สู่ การตั้งรกรากที่กรุ งเทพฯ


บ้านเกิดคุณพ่อของผมอยูท่ ี่อำเภอเถ่งไฮ่ (1) เมืองแต้จิ๋ว ซึ่ งอยูท่ างด้านตะวันออกของเมืองกวางตุง้ ทางใต้ของเมืองแต้จิ๋ว อยูต่ ิดกับท่าเรื อเมืองซัวเถา
เมืองแต้จิ๋วกับเมืองซัวเถา เรี ยกรวมกันว่า “แต้ซวั ” ปัจจุบนั อำเภอเถ่งไฮ่อยูใ่ นการปกครองของเมืองซัวเถา เดิมทีครอบครัวของคุณพ่อเป็ นเจ้าของที่ดิน
คุณปู่ ของผมก็เป็ นเจ้าของที่ดิน รายได้ที่ใช้ในชีวิตประจำวันมาจากการเก็บค่าเช่าที่ดินเพียงอย่างเดียว ซึ่ งก็เป็ นรายได้ที่เพียงพอ คุณปู่ ไม่จำเป็ นต้องไป
ทำงานอื่นอีก

คุณพ่อของผมเกิดปี พ.ศ. 2439 มีพี่นอ้ งทั้งหมด 5 คน คุณพ่อเป็ นลูกชายคนโต มีนอ้ งชาย 2 คน และน้องสาวอีก 2 คน ในบรรดาน้องๆ ของคุณ
พ่อ น้องชายคนที่ 2 คือ ท่านชนม์เจริ ญ (ชื่อจีน เซี่ ย เส้าเฟย) ซึ่ งเป็ นคุณอาคนที่ 3 ของผมนั้น ภายหลังท่านคือมือขวาของคุณพ่อในการทำธุรกิจ
ส่ วนคุณปู่ ของผม ท่านเสี ยชีวิตตั้งแต่อายุราว 30 กว่าปี ซึ่งตอนนั้นคุณพ่อเพิ่งจะมีอายุเพียง 15 ปี เท่านั้น

หลังจากที่คุณปู่ เสี ยชีวิตไป ภาระทางบ้านทั้งหมดจึงตกอยูท่ ี่คุณพ่อของผม ซึ่ งเป็ นลูกชายคนโตของครอบครัว คุณอาคนที่ 2 ของผมเป็ นคนเรี ยน
หนังสื อเก่ง คุณพ่อของผมจึงตัดสิ นใจให้คุณอาคนที่ 2 ไปเรี ยนต่อในมหาวิทยาลัย ซึ่ งในสมัยนั้นเมืองแต้จิ๋วยังไม่มีมหาวิทยาลัย คุณอาจึงต้องไป
เรี ยนที่มณฑลเสฉวน ค่าใช้จ่ายในการส่ งคุณอาไปเรี ยนคิดเป็ นเงินจำนวนไม่นอ้ ย ดังนั้นคุณพ่อและคุณอาคนที่ 3 จึงต้องเริ่ มทำการค้าขายตั้งแต่วยั
เยาว์

แต้ซวั เป็ นสถานที่ที่มีการค้าเจริ ญรุ่ งเรื องมาตั้งแต่สมัยโบราณ คนที่เกิดที่นนั่ เรี ยกตนเองว่าคนซัวเถา สมัยนั้นซัวเถายังรายล้อมไปด้วยภูเขา ถนน
หนทางก็เดินทางไม่สะดวก ถ้าต้องการออกไปหาลู่ทางทำมาหากินภายนอก การเดินทางด้วยเรื อเป็ นทางเดียวที่สะดวกที่สุด การค้าขายระหว่างแต้ซวั
และญี่ปุ่นมีมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์ซ่ง (ปี พ.ศ. 1503-1822) หลังจากที่เมืองซัวเถาเปิ ดท่าเรื อพาณิ ชย์ในปี พ.ศ. 2403 ชาวแต้จิ๋วจำนวนมากก็มี
โอกาสได้ออกไปแสวงหาที่ทำกินใหม่ๆ บ้างก็ไปฮ่องกงซึ่ งตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษ บ้างก็มาประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เช่น
ประเทศไทย

ชาวจีนแต้จิ๋วจำนวนไม่นอ้ ยที่อพยพไปทำการค้าที่ฮ่องกงและประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ต่างประสบความสำเร็ จทั้งสิ้ น จนเป็ นที่ยอมรับ


กันทัว่ ไปว่าชาวจีนแต้จิ๋วเป็ นชาวจีนที่มีความสามารถในการทำการค้า นอกจาก ซีพี แล้วยังมีธนาคารกรุ งเทพ ผูก้ ่อตั้งธนาคารกรุ งเทพก็อพยพมาจาก
เมืองแต้จิ๋ว ลี กา ชิง (Li Ka Shing) มหาเศรษฐีแห่งเกาะฮ่องกงก็เป็ นชาวจีนแต้จิ๋ว
ท่ านเจี่ ย เอ็กชอ คุณพ่ อของผมเกิดที่ มณฑลกวางตุ้ง ประเทศจี น ได้ เดินทางมาแสวงหาโอกาสใหม่ ๆ ที่ เอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้
คุณลักษณะของคนแต้ จิ๋ว

แม้วา่ คุณพ่อจะเกิดในตระกูลเจ้าของที่ดิน ไม่มีความรู้ดา้ นการทำการค้ามาก่อน แต่กลับสามารถทำการค้าขายไปต่างประเทศได้เอง ซึ่งนัน่ อาจเป็ น


เพราะคุณพ่อมีเชื้อสายแต้จิ๋ว จึงมีหวั การค้าซึ่ งเป็ นคุณลักษณะที่โดดเด่นของคนแต้จิ๋วด้วย ทำให้ผนั ตัวจากเจ้าของที่ดินไปเป็ นนักธุรกิจได้

ผักของแต้ จิ๋วมีชื่อเสี ยงด้ านคุณภาพและรสชาติ แต่ เมื่อนำเมล็ดพันธุ์นีไ้ ปปลูกในต่ างประเทศ จะสามารถปลูกได้ แค่ ครั้งเดียว ไม่ สามารถนำมาขยาย
เมล็ดพันธุ์แล้ วนำไปปลูกซ้ำได้ อกี ไม่ เช่ นนั้นคุณภาพและปริมาณผลผลิตจะลดลง ดังนั้นในแต่ละปี ต้องมีการซื้ อเมล็ดพันธุ์ใหม่ๆ จากเมืองแต้จิ๋ว คุณ
พ่อเห็นว่านี่เป็ นโอกาสในการค้าขาย จึงเริ่ มคัดสรรเมล็ดพันธุ์ผกั และทำธุรกิจค้าเมล็ดพันธุ์ผกั โดยคุณพ่อตัดสิ นใจเลือกมาทำการค้าในเอเชียตะวัน
ออกเฉี ยงใต้

จากไกลบ้ าน

ประมาณปี พ.ศ. 2462 คุณพ่อเดินทางมาประเทศไทยและอาศัยอยูก่ บั ญาติ สมัยนั้นรัฐบาลไทยสนับสนุนการเข้ามาของชาวจีนโพ้นทะเล ชาวจีน


แต้จิ๋วจำนวนไม่นอ้ ยจึงได้เข้ามาประเทศไทย ปั จจุบนั ลูกหลานชาวจีนในประเทศไทยมีจำนวนกว่า 7 ล้านคน หรื อคิดเป็ น 10% ของประชากรทั้ง
ประเทศ

ประเทศไทยเป็ นประเทศเดียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ที่ไม่ได้ตกเป็ นอาณานิคมของชาติตะวันตก และขณะนั้นยังไม่มีธุรกิจขนาดใหญ่จาก


อเมริ กาและยุโรปมาขยายการลงทุนในไทย คุณพ่อจึงเห็นช่องทางการค้าขายในประเทศไทย หลังจากอพยพมากรุ งเทพฯ คุณพ่อก็ได้ลงหลักปั กฐานที่
เยาวราช

ชาวจีนแต้จิ๋วที่อพยพมาส่ วนใหญ่จะยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็ นหลัก คุณพ่อนำเมล็ดพันธุ์ที่นำมาจากเมืองจีนขายให้แก่เกษตรกรและส่ งขายให้ร้านค้า


ปลีก ท่านค่อยๆ เก็บหอมรอมริ บ เมื่อได้เงินก้อนหนึ่งในปี พ.ศ. 2464 คุณพ่อจึงเปิ ด “ร้านเจียไต๋ จึง” ขึ้นบนถนนเยาวราช

“เจิง้ ต้ า” มาจากสุ ภาษิตจีน “เจิง้ ต้ ากวงหมิง” แปลว่ า ซื่อสั ตย์ ยุติธรรม เที่ยงตรง คุณพ่อของผมเคยเปิ ดร้านชื่อ “กวงต้า” ตั้งแต่สมัยที่ยงั อยูท่ ี่ซวั เถา
หลังจากอพยพมาที่ไทยแล้ว จึงเปิ ดร้าน “เจิ้งต้า” คำว่า “เจิ้งต้า” ในภาษาแต้จิ๋ว อ่านว่า “เจียไต๋ ” ซึ่ งร้านเจียไต๋ จึงก็คือต้นกำเนิดของเครื อเจริ ญ
โภคภัณฑ์ และบริ ษทั เจียไต๋ กย็ งั ดำเนินธุรกิจค้าเมล็ดพันธุ์อยูท่ ี่เยาวราชมาจนถึงปั จจุบนั

หมายเหตุ:
(1) ในภาษาจี นกลาง คือ อำเภอเฉิ งไห่

เรื่ องราวของคุณธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานอาวุโส เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ซึ่งให้สมั ภาษณ์แบบเปิ ดใจกับนิตยสาร Nikkei Asian Review
เมื่อประมาณต้นปี 2559 มีท้ งั หมด 30 ตอน ขอเก็บเป็ นข้อมูลไว้ให้ผทู้ ี่สนใจได้ศึกษาครับ

---------------------------------------------------

บทที่ 3: คุณพ่ อผู้ไฝ่ รู้ และช่ างสั งเกต

 
เมื่อปี พ.ศ. 2464 คุณพ่ อของผมได้ เปิ ดร้ านจำหน่ ายเมล็ดพันธุ์ชื่อ “เจี ยไต๋ จึง” ขึน้ ที่ กรุงเทพฯ

คุณพ่อของผมชอบของใหม่ๆ หลังจากที่ท่านเปิ ด “ร้านเจียไต๋ จึง” แล้ว ท่านได้เริ่ มใช้ตราเรื อบิน (เครื่ องบิน) แม้วา่ เมล็ดพันธุ์และเครื่ องบินจะไม่ได้มี
ความสัมพันธ์กนั เลย แต่คุณพ่อบอกว่า “เรื อบิน (เครื่ องบิน) เป็ นสัญลักษณ์ของเทคโนโลยี และแสดงถึงความทันสมัย” จึงได้ประทับตราเรื อบินลง
บนบรรจุภณั ฑ์ของทางร้าน

สมัยนั้นร้านเจียไต๋ ขายเมล็ดพันธุ์ผกั กาดขาว ผักกาดเขียว หัวผักกาด โดยบรรจุใส่ ถุงเล็กๆ ซึ่ งเป็ นถุงกระดาษที่พิมพ์สี แม้วา่ จะมีคนคิดว่า ไม่มีความ
จำเป็ นที่จะต้องทำบรรจุภณ ั ฑ์ให้สวยงาม เพราะเป็ นสิ นค้าที่ขายให้แค่เกษตรกร แต่คุณพ่อท่านไม่คิดเช่นนั้น

นอกจากนี้ บนถุงกระดาษยังได้ พมิ พ์ วนั หมดอายุของเมล็ดพันธุ์ไว้ อกี ด้ วย ถ้ าหากซื้อไปแล้ ว สิ นค้ าหมดอายุ ลูกค้ าสามารถนำมาเปลี่ยนใหม่ ได้ วิธีการ
ขายสิ นค้ าแบบนี้ เราจะไม่ ได้ พบเห็นมากนักในสมัยนั้น คุณพ่ อพูดกับผมเสมอว่ า “งานปลูกผักเป็ นงานที่หนัก ชาวสวนต้ องรดน้ำทุกวัน ถ้ าเมล็ด
พันธุ์ที่ปลูกลงไปไม่ ขึน้ ชาวสวนก็ขาดทุนย่ อยยับ ดังนั้นเราต้ องไม่ ทำให้ ลูกค้ าขาดทุน”

ความใฝ่ วิเคราะห์

แม้วา่ คุณพ่อจะไม่ได้มีการศึกษาสู ง แต่กลับมีความสามารถในการสังเกตแบบนักวิทยาศาสตร์ ท่านพบว่าคนกรุ งเทพฯ ในสมัยก่อนนิยมเลี้ยงไก่บน


ชั้นดาดฟ้ าของบ้าน แต่ไก่ที่เลี้ยงจะไม่ค่อยออกไข่ คุณพ่อสังเกตว่าไก่พวกนั้นกินแต่หนอนกับหญ้า

คุณพ่อคิดว่าไก่พวกนั้นอาจจะขาดสารอาหาร จึงนำปลาป่ นมาผสมกับรำข้าว ทำเป็ นอาหารให้ไก่กิน นอกจากนี้ยงั ให้ไก่กินผักและเปลือกหอยบดเพิ่ม


คุณพ่อไม่มีความรู้เรื่ องโภชนาการและสารอาหาร ท่านไม่รู้จกั โปรตีน ไม่รู้จกั แคลเซี ยม แต่เพราะท่านเป็ นคนช่างสังเกต จึงทดลองทำอาหารสัตว์
ปรากฏว่าไก่ที่เคยไม่ออกไข่ หลังจากที่กินอาหารที่คุณพ่อผสมก็เริ่ มออกไข่ทุกวัน
คุณพ่อของผมยังชอบพัฒนาและปรับปรุ งเมล็ดพันธุ์ผกั ท่านมีสวนผักที่เมืองแต้จิ๋วและเมืองไทย โดยท่านจะเลือกเฉพาะพันธุ์ผกั ที่ดี เพื่อมาขยายพันธุ์
ต่อ จะเห็นได้วา่ ความรู้ที่คุณพ่อมี ไม่ได้มาจากการศึกษาในโรงเรี ยนเกษตรเลย แต่เกิดจากการสัง่ สมประสบการณ์และการสังเกตเป็ นหลัก

ผมรู้สึกภูมิใจมากที่ได้มีบุคลิกเหมือนคุณพ่อ ตรงที่เป็ นคนชอบศึกษาสิ่ งแปลกใหม่และ มีความสามารถในการสังเกตสิ่ งต่างๆ รอบตัว คุณพ่อของผม


ให้ความสำคัญกับคุณภาพของสิ นค้าและให้ความสำคัญกับลูกค้า นี่เป็ นเหตุผลหนึ่งที่กิจการค้าเมล็ดพันธุ์ผกั เติบโตอย่างรวดเร็ ว เมื่อกิจการเติบโตขึ้น
คุณพ่อจึงให้ท่านชนม์เจริ ญ ซึ่ งเป็ นคุณอาคนที่ 3 ของผมมาช่วยกิจการที่ร้าน

คุณภาพสำคัญที่สุด

คุณพ่อให้ความสำคัญกับคุณภาพของเมล็ดพันธุ์มากที่สุด ท่านจะรับเฉพาะเมล็ดพันธุ์ที่ดีมาขายเท่านั้น เมล็ดพันธุ์ที่นำมาขายมาจากหลายๆ แหล่ง


นอกจากนำมาจากเมืองแต้จิ๋วแล้ว ยังมาจากอีกหลายที่ในประเทศจีน หรื อบางพันธุ์มาจากประเทศญี่ปุ่น สมัยนั้นคุณพ่อเริ่ มนำเมล็ดพันธุ์จากญี่ปุ่นเข้า
มาขายแล้ว

ในปี พ.ศ. 2483 คุณพ่อเคยเป็ นผูแ้ ทนจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ของบริ ษทั Takii&Co. ซึ่ งตั้งอยูท่ ี่เมืองเกียวโตของญี่ปุ่น ขณะที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์
กับ Takii ยังคงรักษาความสัมพันธ์ทางการค้าเรื่ อยมาจนถึงวันนี้ พร้อมทั้งได้มีการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ผกั และผลไม้ร่วมกัน นอกจากนี้เมื่อปี พ.ศ.
2558 ที่ผา่ นมาก็ถือเป็ นปี แห่งการฉลองครอบรอบ 75 ปี ความร่ วมมือทางธุรกิจระหว่าง 2 บริ ษทั อีกด้วย

ท่านคงสงสัยว่าคนที่พดู ภาษาไทยและภาษาอังกฤษไม่ได้อย่างคุณพ่อของผมจะทำการค้ากับต่างประเทศได้อย่างไร คำตอบก็คือคุณพ่อได้จา้ ง มร. อ


เล็กซานเดอร์ แคมป์ เบลล์ (Mr. Alexander Campbell) ซึ่ งเป็ นคนอังกฤษที่พดู ภาษาไทยได้ ด้วยเงินเดือนที่สูงมากให้มาทำงานติดต่อต่าง
ประเทศ เช่น งานด้านสัญญา เป็ นต้น

การที่คุณพ่อจ้าง มร. แคมป์ เบลล์ในตำแหน่งที่สำคัญนั้น คุณพ่อของผมได้สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เราจะดูความสามารถของบุคคลเป็ นสำคัญโดยไม่


คำนึงถึงเชื้อชาติ และนี่คือเหตุผลหนึ่งที่ทำให้ เจียไต๋ ซึ่งเป็ นร้านจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ผกั เล็กๆ มีพนักงานเพียงไม่กี่คน สามารถติดต่อค้าขายกับบริ ษทั
ต่างชาติได้ มร. แคมป์ เบลล์ทำงานกับเจียไต๋ จนถึงยุคทศวรรษ 2520 ขณะที่มีอายุถึง 80 กว่าปี

เรื่ องราวของคุณธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานอาวุโส เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ซึ่งให้สมั ภาษณ์แบบเปิ ดใจนิตยสาร Nikkei Asian Review เมื่อ
ประมาณต้นปี 2559 มีท้ งั หมด 30 ตอน ขอเก็บเป็ นข้อมูลไว้ให้ผทู้ ี่สนใจได้ศึกษาครับ

----------------------------------------------------

บทที่ 4: ผมเกิดและ เติบโตที่เยาวราช


อาคารซึ่ งเป็ นสถานที่ เกิดของผม ปั จจุบันเป็ นที่ ตั้งของสำนักงานใหญ่ กลุ่มธุรกิจเมล็ดพันธุ์ฯ ของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์

ผมเกิดในปี พ.ศ. 2482 ในย่านเยาวราช ซึ่ งเป็ นถนนเก่าแก่สายหนึ่งของกรุ งเทพฯ ที่มีชาวจีนอาศัยอยูเ่ ป็ นจำนวนมาก ปัจจุบนั ถนนสายนี้ กลายเป็ น
แหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสี ยงไปแล้ว คุณพ่อของผมเปิ ด “ร้านเจียไต๋ จึง” บริ เวณใกล้แม่น้ำเจ้าพระยา ร้านอยูห่ ่างจากท่าเรื อแค่ประมาณ 200 เมตร

สมัยนั้นยังไม่มีรถยนต์ แม่น้ำเจ้าพระยาจึงเป็ นเส้นทางเศรษฐกิจสำคัญของกรุ งเทพฯ พ่อค้าและชาวนาต่างก็นงั่ เรื อสัญจรไปมา ข้างๆ ท่าเรื อมีตลาด
แห่งหนึ่ง เป็ นสถานที่ที่เกษตรกรนำสิ นค้าเกษตรมาขาย เป็ นตลาดที่คึกคัก พอเกษตรกรขายของเสร็ จ ก็จะมาซื้ อเมล็ดพันธุ์จากร้านเจียไต๋ กลับไปเพาะ
ปลูก

บ้ านเกิดของผม

คุณพ่อของผมแต่งงานตั้งแต่ครั้งที่อยูเ่ มืองแต้จิ๋ว หลังจากที่กิจการเริ่ มเป็ นรู ปเป็ นร่ างขึ้นแล้ว คุณพ่อจึงรับคุณแม่มาอยูท่ ี่เมืองไทยด้วย คุณพ่อเปิ ด
สำนักงานใหญ่และบ้านพักบนถนนฝั่งตรงข้ามกับร้านเจียไต๋ โดยชั้น 1 เป็ นสำนักงาน และที่เก็บของ ชั้น 2 และชั้น 3 เป็ นที่พกั อาศัย ส่ วนชั้น
ดาดฟ้ าเอาไว้ตากเมล็ดพันธุ์

ผมเกิดบนชั้น 3 ของบ้าน ท่านชนม์เจริ ญและครอบครัวอาศัยอยูบ่ นชั้น 2 สมัยนั้นที่บา้ นไม่ให้ผมเข้าไปยุง่ ที่สำนักงานเลย จะอนุญาตให้ผมเล่นที่


หลังบ้านอย่างเดียว ผมจำได้วา่ ที่ช้ นั 1 มีกระป๋ องที่เอาไว้ใส่ เมล็ดพันธุ์เต็มไปหมด เมล็ดพันธุ์น้ ีดูแลรักษาค่อนข้างยาก แห้งไปก็ไม่ได้ ชื้นไปก็ไม่ดี
ดังนั้นการบรรจุลงกระป๋ องอย่างมิดชิด จึงเป็ นการรักษาคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ไว้อย่างดี

ที่สำนักงานมีพนักงาน 3 คน หนึ่งในนั้นคือ มร. อเล็กซานเดอร์ แคมป์ เบลล์ (Mr. Alexander Campbell) ซึ่งเป็ นพนักงานชาวอังกฤษ
มีหน้าที่แปลเอกสารภาษาต่างประเทศต่างๆ และเขียนจดหมายธุรกิจที่เป็ นภาษาต่างประเทศ เขามีหอ้ งทำงานส่ วนตัว ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าห้องทำงาน
ของคุณพ่อเสี ยอีก ในห้องของ มร. แคมป์ เบลล์ยงั มีหอ้ งรับแขกแยกต่างหาก นอกจากนี้กย็ งั มีพนักงานคนไทยที่พดู ภาษาอังกฤษได้อีกด้วย
ปั จจุบนั บรรยากาศบริ เวณร้านเจียไต๋ จึงยังคงเหมือนกับสมัยที่ผมยังเป็ นเด็ก บริ ษทั เจียไต๋ ในปั จจุบนั ยังคงขยายกิจการอย่างต่อเนื่อง สถานที่ที่ผมเกิด
ได้กลายเป็ นที่ต้ งั ของสำนักงานใหญ่ กลุ่มธุรกิจเมล็ดพันธุ์ไปแล้ว ร้านค้าฝั่งตรงกันข้ามยังคงขายเมล็ดพันธุ์อยู่ ร้านค้าที่ท่านประธานจรัญและท่าน
ประธานมนตรี (พี่ชายทั้ง 2 ของผม) เคยเช่าทำธุรกิจอาหารสัตว์กย็ งั คงอยูข่ า้ งร้านเมล็ดพันธุ์เหมือนเดิม

แผ่ นดินที่โอบอ้ อมอารี

การที่ยงั ไม่มีรถยนต์ ทำให้ถนนเงียบมาก แต่ชาวจีนแต้จิ๋วที่เข้ามาในเมืองไทยนั้น มีจำนวนมากที่เปิ ดร้านอาหารจีนแต้จิ๋ว ร้านขายใบชา และขาย


สิ นค้าจากเมืองจีน ป้ ายร้านค้าข้างถนนก็ยงั เป็ นป้ ายเดิมที่เขียนด้วยภาษาจีน การอาศัยอยูใ่ นย่านถนนเยาวราชจึงคล้ายกับอยูใ่ นเมืองจีนเช่นกัน

พ่อแม่ของผมและคนในครอบครัวต่างก็พดู ภาษาจีนแต้จิ๋วได้ ดังนั้นชาวจีนที่มาอาศัยอยูย่ า่ นเยาวราช หากพูดไทยไม่ได้กไ็ ม่เป็ นอุปสรรคเท่าใดนัก


เพราะพ่อค้าและลูกค้าต่างเป็ นคนจีนแต้จิ๋วทั้งนั้น การพูดภาษาจีนแต้จิ๋วไม่ได้ต่างหากที่จะทำให้คา้ ขายลำบาก

ดังนั้น ถนนเยาวราชของกรุ งเทพฯ จึงเหมือนเมืองแต้จิ๋วในจีน สังคมไทยถือว่ามีความโอบอ้อมอารี กบั คนจีนที่อพยพเข้ามาในเมืองไทย ชาวจีนโพ้น


ทะเลในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้จำนวนมากถูกต่อต้าน ถูกกดขี่ แต่ที่ประเทศไทยไม่มีเหตุการณ์แบบนี้ นี่อาจจะเป็ นเพราะคนไทยส่ วน
ใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ จึงมีความเมตตากรุ ณา และมีจิตใจเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่

เมื่อตอนที่ผมเป็ นเด็ก ประเทศไทยเป็ นประเทศที่สงบสุ ข ในขณะที่ประเทศอื่นๆ มีสงครามอย่างต่อเนื่ องเป็ นเวลานาน แต่เมื่อญี่ปุ่นขยายแนวรบเข้า


มาในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ สงครามมหาเอเชียบูรพาปะทุข้ ึน กิจการของคุณพ่อซึ่ งกำลังเจริ ญเติบโตได้ดีอยูน่ ้ นั จึงพลอยได้รับผลกระทบไปด้วย

----------------------------------------------------

เรื่ องราวของคุณธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานอาวุโส เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ซึ่งให้สมั ภาษณ์แบบเปิ ดใจนิตยสาร Nikkei Asian Review เมื่อ
ประมาณต้นปี 2559 มีท้ งั หมด 30 ตอน ขอเก็บเป็ นข้อมูลไว้ให้ผทู้ ี่สนใจได้ศึกษาครับ

----------------------------------------------------

บทที่ 5: คำสอนของแม่ ให้ เห็นอกเห็นใจผู้อนื่

แม้วา่ คุณพ่อจะเปิ ด “ร้านเจียไต๋ จึง” ที่กรุ งเทพฯ แต่ธุรกิจหลักยังคงอยูท่ ี่ซวั เถามาตั้งแต่สมัยเริ่ มทำธุรกิจใหม่ๆ ในเมืองจีน เมล็ดพันธุ์ที่เราพัฒนาที่ซวั
เถาจะส่ งผ่านฮ่องกงแล้วเข้ามาประเทศไทย และส่ งต่อไปยังประเทศอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ รวมทั้งประเทศอินเดียด้วย เมล็ดพันธุ์ที่คุณพ่อ
ขายสามารถปลูกได้ในประเทศเขตร้อนทุกประเทศ

เมื่อสงครามมหาเอเชียบูรพาปะทุข้ ึนในเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2484 เส้นทางการเดินเรื อระหว่างไทยและจีนถูกตัดขาด ถึงกระนั้นคุณพ่อก็ไม่ได้นิ่ง


เฉย แต่ยา้ ยไปอยูท่ ี่สาขาย่อยในมาเลเซี ย แต่คาดไม่ถึงว่ามาเลเซี ยก็ถูกกองทัพญี่ปุ่นยึดครอง คุณพ่อจึงออกจากประเทศมาเลเซี ยไม่ได้ จนกระทัง่
สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง คุณพ่อจึงได้กลับมาประเทศไทยอีกครั้ง

ในช่วงนั้นพี่ชายทั้งสองคนของผมคือ ท่านประธานจรัญและท่านประธานมนตรี ยังเรี ยนอยูท่ ี่มณฑลเสฉวน ทั้งสองท่านก็ไม่สามารถเดินทางออกจาก


ประเทศจีนได้เช่นกัน

ก่อนที่กองทัพญี่ปุ่นเคลื่อนพลเข้าสู่ ประเทศไทย รัฐบาลไทยได้ลงนามร่ วมเป็ นพันธมิตรกับญี่ปุ่น ไทยจึงรอดพ้นจากภัยสงครามมาได้ ช่วงสมัย


สงครามนี้เอง คุณอาของผมคือท่านชนม์เจริ ญได้เข้ามาช่วยดูแลกิจการร้านแทนคุณพ่อ

สองแขนที่คอยโอบอุ้ม
คุณ
แม่ ของผมเป็ นผู้ที่เห็นอกเห็นใจผู้อื่น และแสดงความเอือ้ อาทรต่ อผู้คนรอบข้ างอยู่เสมอ

ด้วยคุณพ่อไม่ค่อยได้อยูท่ ี่ประเทศไทย ชีวิตในวัยเด็กของผมจึงมีความผูกพันกับคุณแม่เฉิ น จิน จี้ (Chen Jinji) เป็ นอย่างมาก คุณแม่เป็ นคน
จิตใจอ่อนโยน คิดถึงผูอ้ ื่นอยูเ่ สมอ จะเห็นได้จากเมื่อถึงเวลากินข้าว คุณแม่มกั จะพูดกับคนงานในบ้านว่า “พวกเธอเตรี ยมกับข้าวเสร็ จแล้ว ฉันก็หิว
แล้ว พวกเธอก็คงหิ วเหมือนกัน งานตรงนี้ไม่มีอะไรแล้ว พวกเธอไปกินข้าวก่อนเถอะ” เสี ยงที่อ่อนโยนของคุณแม่ยงั คงวนเวียนอยูท่ ี่ขา้ งหูผมเสมอมา

คุณตาของผมก็เป็ นคนแต้จิ๋ว ครอบครัวของท่านทำการค้าใหญ่ที่เจริ ญรุ่ งเรื องมาก แต่โชคร้าย ที่มาประสบภัยพิบตั ิทางธรรมชาติครั้งใหญ่จนทำให้สูญ


เสี ยทุกสิ่ งในชัว่ พริ บตา

ขณะนั้นคุณแม่ยงั เป็ นเด็ก เมืองแต้จิ๋วถูกคลื่นยักษ์เข้าซัดกระหน่ำและได้คร่ าชีวิตผูค้ นไปจำนวนนับไม่ถว้ น บ้านของคุณแม่ซ่ ึ งอยูไ่ ม่ห่างจากทะเลถูก


ทำลายจนไม่เหลืออะไรเลย ธุรกิจของครอบครัวล่มสลาย คุณยายของผมก็เสี ยชีวิตในเหตุการณ์ครั้งนั้น แต่คุณแม่และพี่นอ้ งบางคนอพยพออกมาได้
ทัน และรอดชีวิตมาได้ดว้ ยการปั นส่ วนอาหารกันอย่างยากลำบาก ในที่สุดคุณตาจึงตัดสิ นใจย้ายถิ่นฐานมากรุ งเทพฯ

อาจจะด้วยประสบการณ์เลวร้ายในครั้งนั้น คุณแม่จึงมีอุปนิสยั ใจคอที่อ่อนโยน เป็ นคนเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ เห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น และชอบช่วยเหลือคนที่
ลำบากอยูเ่ สมอ คุณแม่ดูแลญาติพี่นอ้ งที่มีฐานะยากจนกว่าเป็ นอย่างดี ทุกสัปดาห์คุณแม่ตอ้ งไปเยีย่ มญาติ และให้เงินพวกเขาอยูเ่ สมอ เงินของคุณแม่
ส่ วนใหญ่นำไปช่วยเหลือคนที่ลำบากทั้งสิ้ น คุณแม่มกั จะพูดกับคนรอบข้างเสมอว่า “ฉันไม่ตอ้ งการเงิน เพราะลูกๆ คือสมบัติที่ล ้ำค่าของฉัน” เมื่อถึง
วาระที่คุณแม่จากโลกนี้ไป ไม่เพียงแต่ครอบครัวและญาติพี่นอ้ งที่ร้องไห้เสี ยใจ แม้แต่คนงาน คนขับรถที่บา้ นต่างก็พากันเสี ยใจทั้งสิ้ น นี่เป็ นเพราะ
เมื่อตอนที่คุณแม่ยงั มีชีวิตอยูน่ ้ นั ท่านเป็ นคนที่ดูแลเอาใจใส่ พวกเขาเหมือนคนในครอบครัวคนหนึ่ง

คุณแม่เป็ นผูท้ ี่นึกถึงคนอื่นอยูเ่ สมอ ท่านเป็ นคนที่เอาใจเขามาใส่ ใจเรา มักช่วยเหลือคนที่ลำบากเป็ นประจำ บางคนอาจจะคิดว่าคุณแม่ช่วยเหลือคน
เพื่อหวังผลตอบแทนในภายหลัง แต่ในความเป็ นจริ งคุณแม่ไม่เคยคาดหวังให้พวกเขากลับมาทดแทนบุญคุณใดๆ เลย

คุณแม่ได้สอนปรัชญาในการดำเนินชีวิตที่สำคัญที่สุดให้แก่ผม นัน่ ก็คือ “การรู้จกั ให้ผอู้ ื่น” ซึ่ ง “การให้” นี้เองเป็ นพื้นฐานหลักของการบริ หารธุรกิจ
ของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ผบู้ ริ หารจะต้องรู้จกั เอาใจเขามาใส่ ใจเรา รู้จกั เข้าใจผูอ้ ื่น และต้องรู้จกั ให้โอกาส ให้ประโยชน์กบั คู่คา้ และพนักงาน

ในช่วงสุ ดท้ายของชีวิตคุณแม่ ผมทุ่มเทให้กบั งานมากจนเกินไป จนมีเวลาให้คุณแม่นอ้ ยลง สิ่ งนี้ทำให้ผมเสี ยใจจนถึงทุกวันนี้

----------------------------------------------------

บทที่ 6: ความฝันในวัยเด็ก...ผู้กำกับภาพยนตร์

ผมไม่คิดไม่ฝันเลยว่า วันหนึ่งจะได้มาเป็ นนักธุรกิจ ตอนที่ผมยังเป็ นเด็กอยูน่ ้ นั ผมฝันอยากจะเป็ นผูกำ


้ กับภาพยนตร์ ผมหลงใหลหนังฮ่องกง ผมชอบ
ดูหนังแอ๊คชัน่ ผมเคยลองเขียนบทภาพยนตร์เองด้วย และยังเคยแสดงละครที่ตวั เองเขียนบทขึ้นให้คุณครู และเพื่อนๆ ได้ชม

นอกจากนี้ ผมยังชอบมายากล สมัยนั้นยังไม่มีโทรทัศน์ ผมดูการแสดงมายากลครั้งแรกที่โรงละคร ผมขอให้นกั มายากลสอนผมเล่นมายากลบ้าง พอก


ลับมาบ้าน ผมก็ฝึกเล่นมายากลเอง จนสามารถเสกนกพิราบออกจากกล่องได้ และยังเสกข้าวสารออกจากกระป๋ องเปล่าได้ดว้ ย

เริ่มต้ องดูแลตัวเอง
ผมในวัย 10 ปี ขณะอยู่ชั้นประถมศึกษา (แถวหน้ าคนใส่ หมวก)

โรงเรี ยนแห่งแรกที่ผมเข้าเรี ยนคือชั้นประถมโรงเรี ยนจีนที่เปิ ดสอนในกรุ งเทพฯ การเรี ยนการสอนใช้ภาษาไทยเป็ นหลัก ส่ วนภาษาจีนสอนวันละ 1
ชัว่ โมง หลังจากนั้น 1 ปี ผมก็ยา้ ยไปเรี ยนที่โรงเรี ยนสารสิ ทธิ์ พิทยาลัย ซึ่ งเป็ นโรงเรี ยนคริ สเตียนประจำในจังหวัดราชบุรี สิ่ งแวดล้อมที่นนั่ เหมาะสม
กับการเรี ยนเป็ นอย่างมาก และนี่เป็ นครั้งแรกที่ผมต้องจากบ้าน ต้องดูแลรับผิดชอบเกือบทุกสิ่ งด้วยตนเอง เพื่อนร่ วมชั้นส่ วนใหญ่มาจากครอบครัวที่
มีฐานะดี บางคนมาไกลจากมาเลเซี ย เพื่อนๆ จำนวนมากเป็ นลูกหลานชาวจีน แต่ที่โรงเรี ยนไม่มีการสอนภาษาจีน สอนแต่ภาษาไทย ทำให้การเรี ยน
ภาษาจีนของผมขาดช่วงไประยะหนึ่ง ภายหลังเมื่อต้องเรี ยนภาษาจีนอีกครั้ง ผมจึงลำบากไม่นอ้ ย

ชัว่ โมงสันทนาการที่โรงเรี ยนส่ วนใหญ่เป็ นการออกกำลังกาย และจะมีการสอนชกมวยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง เวลาเพื่อนๆ ในชั้นเรี ยนทะเลาะกัน บาง
ครั้งก็ใช้มวยมาตัดสิ น

ผมชอบเลี้ยงสัตว์ต้ งั แต่เด็ก ตอนอายุ 9 ขวบ ผมเริ่ มเลี้ยงไก่ชนกับนกพิราบ แต่เพราะผมเรี ยนในโรงเรี ยนประจำ จึงไม่อนุญาตให้นกั เรี ยนเลี้ยงสัตว์
ผมจึงนำไก่ชนและนกพิราบไปฝากเลี้ยงไว้ที่บา้ นของอาจารย์ ปัจจุบนั ผมก็ยงั คงชอบไก่ชน ผมชอบดูการชนไก่และจะไปชมในเวลาที่โอกาสอำนวย

ชีวติ หลังสงคราม

ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา คุณพ่อติดอยูท่ ี่มาเลเซี ย หลังจากสงครามยุติลง จึงได้กลับประเทศไทย คุณพ่ออยูท่ ี่ไทยได้ไม่นานก็ไปซัวเถา


นอกจากคุณพ่อจะเปิ ดร้านเจียไต๋ จึงที่กรุ งเทพฯ แล้ว ยังเปิ ดร้านกวงไต๋ ในซัวเถาอีกด้วย ร้านกวงไต๋ ที่ซวั เถาส่ งออกเมล็ดพันธุ์ไปสู่ ภูมิภาคเอเชีย ซึ่ ง
คุณพ่อตั้งใจคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ที่ซวั เถาเป็ นอย่างดี

เดือนสิ งหาคม ปี พ.ศ. 2488 สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงด้วยความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น ญี่ปุ่นถอยทัพกลับ ภายหลังจีนก็เกิดสงครามในประเทศซึ่ ง


ลุกลามขยายเป็ นวงกว้าง เป็ นสงครามระหว่างพรรคก๊กมินตัง๋ และพรรคคอมมิวนิสต์จีน พรรคคอมมิวนิสต์จีนได้รับชัยชนะเหนือพรรคก๊กมินตัง๋ และ
ประกาศก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนในเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2492 ในช่วงแรกของการขึ้นมาของพรรคคอมมิวนิสต์ ธุรกิจของคุณพ่อที่ซวั เถายัง
คงเหมือนเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลง

ในช่วงแรกของการปกครองโดยรัฐบาลจีนใหม่ มีการสนับสนุนนโยบายสร้างเศรษฐกิจ แสวงหาความร่ วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ธุรกิจ


ภาคเอกชนจึงไม่ถูกกีดกัน อีกทั้งยังดึงดูดให้ชาวจีนโพ้นทะเลที่อพยพไปต่างประเทศได้กลับมาช่วยสร้างชาติอีกด้วย ชาวจีนโพ้นทะเลที่เคยอยูท่ ี่
แต้จิ๋ว ก็ส่งลูกหลานกลับมาเมืองจีน

คุณพ่อถามผมว่าจะไปเรี ยนที่ซวั เถาไหม ผมตอบรับด้วยความยินดีและเตรี ยมตัวเดินทางในทันที ซึ่ งขณะนั้นผมอายุเพียง 11 ปี เท่านั้น

----------------------------------------------------

บทที่ 7: กลับมาซัวเถา...สู้ ฝึกฝนอักขระจีน

ผมเห็นทะเลและนัง่ เรื อครั้งแรกในชีวิตก็ตอนอายุ 11 ขวบ ผมนัง่ เรื อขนส่ งลำใหญ่จากไทยไปซัวเถา เรื อโคลงเคลงไปตามคลื่นทะเล คนจำนวนมาก
เมาเรื อ แต่ผมไม่รู้สึกเมาเรื อเลย หลังจากนั้น 1 สัปดาห์ เรื อก็เดินทางถึงบ้านเกิดของคุณพ่อที่ซวั เถา

บ้านเกิดของคุณพ่ออยูท่ ี่หมู่บา้ นโผ่วเล้ง อำเภอเถ่งไฮ่ ปัจจุบนั อยูใ่ นการปกครองของเมืองซัวเถา คุณพ่อมีบา้ นอยูท่ ี่นนั่ ซัวเถาเป็ นเมืองท่าเรื อการค้า
แบบของอาคารบ้านเรื อนเป็ นตึกแถวที่ติดถนนมีระเบียงแบบ “อาเขต” ซึ่ งได้รับอิทธิพลมาจากอาคารสถาปั ตยกรรมแบบตะวันตก กล่าวคือ ถ้าเป็ น
อาคารสองชั้นจะทำเป็ นกึ่งร้านค้ากึ่งที่อยูอ่ าศัย ชั้นล่างของอาคารจะมีหลังคายืน่ ออกมาติดต่อเนื่องกันเป็ นระยะๆ เพื่อให้มีทางเท้าที่ขนานไปกับถนน
ทั้งยังเป็ นทางเดินที่มีหลังคาช่วยบังแดดบังฝนให้คนเดินเท้าอีกด้วย อาคารแบบนี้เป็ นเอกลักษณ์ของซัวเถา ผมอาศัยบนชั้น 3 ของอาคาร ตอนนี้
อาคารนั้นก็ยงั อยู่ แต่ไม่มีคนอาศัยแล้ว สมัยนั้นคุณพ่อของผมมักไม่ค่อยพำนักอยูบ่ า้ น แต่จะไปอยูท่ ี่สวน ตอนที่ผมอยูซ่ วั เถา ไม่มีปัญหาเรื่ องการ
สื่ อสารเลย เพราะตอนที่อยูก่ รุ งเทพฯ ผมใช้ภาษาแต้จิ๋วสื่ อสารกับคุณแม่อยูแ่ ล้ว

เรียนตามให้ ทัน
อย่างไรก็ตาม ปั ญหาใหญ่ของผมในเรื่ องการสื่ อสารอยูท่ ี่ตวั อักษรจีน ตอนผมอยูท่ ี่กรุ งเทพฯ ผมได้เรี ยนภาษาจีนที่โรงเรี ยนแรกเพียง 1 ปี หลังจาก
นั้นพอย้ายมาเรี ยนที่โรงเรี ยนสารสิ ทธิ์ พิทยาลัยก็ไม่ได้เรี ยนภาษาจีนอีก เพราะที่โรงเรี ยนสอนแต่ภาษาไทย ในปี พ.ศ. 2495 ผมเข้าไปเรี ยนชั้น ป.4
ที่ซวั เถา เพื่อจะเขียนภาษาจีนให้คล่อง ผมต้องเอาตำราต่ำกว่า ป.4 มาศึกษาเพิ่มเติม

ในสมัยนั้น นักเรี ยนที่อยูใ่ นชั้นเดียวกันมีอายุต่างกันมาก สาเหตุเพราะเมื่อเกิดการก่อตั้งชาติจีนใหม่ คนที่ไม่เคยได้เรี ยนหนังสื อแต่มีอายุมากแล้ว ก็มี


โอกาสได้เรี ยนหนังสื ออีกครั้ง ประกอบกับมีลูกหลานชาวจีนอีกจำนวนไม่นอ้ ยที่ได้กลับมาเรี ยนที่ซวั เถา เด็กๆ เลยถูกนำมาเรี ยนรวมกัน ตอนนั้นผมก็
ถือว่าอายุมากในชั้นเรี ยนเหมือนกัน แต่กย็ งั ไม่ใช่เด็กโตสุ ด เพื่อนร่ วมชั้นบางคนอายุมากกว่า 15 ปี
ผมในเครื่ องแบบชุดนักเรี ยนที่ ผกู ผ้ าพันคอสี แดง สมัยไปเรี ยนต่ อชั้นประถมศึกษาที่ ซัวเถา ประเทศจี น
ผมไม่อยากให้เพื่อนๆ ล้อ จึงตั้งใจเรี ยนภาษาจีนโดยซื้ อพจนานุกรมภาษาแต้จิ๋วมาจากร้านขายหนังสื อ และขอยืมหนังสื อเรี ยนของเพื่อน ป.1 และ
ป.2 เพื่อมาศึกษาด้วยตนเองที่บา้ นตอนหลังเลิกเรี ยน และผมจะตื่นตอน 6 โมงเช้าเพื่อลุกขึ้นมาท่องหนังสื อจีนที่ระเบียงบ้านทุกวัน ที่โรงเรี ยนมีการ
สอบแทบทุกวัน ทุกครั้งหลังจากสอบเสร็ จผมจะขอให้คุณครู ช่วยอธิบายข้อผิดพลาดให้ผมอีกครั้ง

ในแต่ละมณฑลของประเทศจีนต่างก็มีภาษาท้องถิ่นเป็ นของตนเอง การออกเสี ยง และไวยากรณ์กแ็ ตกต่างกันอย่างมาก หลังจากที่พรรคคอมมิวนิสต์


ได้จดั ตั้งรัฐบาลมาปกครองประเทศจีน ก็ได้ส่งเสริ มให้มีการสอนภาษาจีนกลางเป็ นภาษามาตรฐานไปทัว่ ประเทศ โรงเรี ยนที่ผมเรี ยนก็มีการสอน
ภาษาจีนกลางสัปดาห์ละ 1 ครั้ง แต่คะแนนพูดจีนกลางของผมยังไม่ค่อยดีนกั ภายหลังไปทำธุรกิจในไต้หวัน จึงมีโอกาสได้ฝึกพูดจนคล่อง

งานอดิเรกที่สร้ างธุรกิจ

ช่วงอยูช่ ้ นั ป.5 ผลการเรี ยนของผมดีข้ ึนตามลำดับ สอบได้ที่ 2 และ 3 ของห้อง พอเริ่ มรู้หนังสื อจีนแล้ว ผมก็เรี ยนได้ดีข้ ึนมาก วิชาคณิ ตศาสตร์เป็ น
วิชาที่ผมถนัดที่สุด ไม่เรี ยนก็สามารถสอบได้คะแนนสู งๆ เมื่อผลการเรี ยนของผมดีข้ ึนแล้ว ผมก็มีเวลาให้กบั งานอดิเรกมากขึ้น ตั้งแต่ผมเรี ยนชั้น
ประถมที่ไทย ผมก็ชอบเลี้ยงไก่ชนแล้ว พอย้ายมาเรี ยนที่ซวั เถา ผมก็เลี้ยงไก่ชนอีกครั้ง และก็ชอบนำไก่ชนไปฝึ กฝี มือกับไก่ชนของคนแถวบ้าน

ผมยังได้ไก่ตวั เมียมาจากสวนของคุณพ่ออีกด้วย ผมจึงเริ่ มเลี้ยงไก่ตวั เมีย เพื่อนๆ ที่โรงเรี ยนมักผลัดเปลี่ยนกันมาให้อาหารไก่ที่บา้ นของผม เมื่อไก่
ออกไข่ ผมก็แบ่งไข่ให้เพื่อนๆ เอากลับไปบ้าน ที่ระเบียงบ้านของผมยังมีกรงนกอีกด้วย ในกรงมีนกพิราบสี ขาวหลายสิ บตัว ผมให้อาหารนกพิราบ
ทุกวัน และเริ่ มฝึ กนกพิราบ ผมยังจำได้วา่ เคยปล่อยให้พวกมันบินไป แต่มีหลายตัวไม่ได้บินกลับมา ผมเลยไปขอความรู้จากเพื่อนข้างบ้านที่ชำนาญ
การเลี้ยงนกพิราบ ให้สอนเคล็ดลับการเลี้ยง บางทีการที่ผมได้มาทำธุรกิจสัตว์ปีก ส่ วนหนึ่งอาจเป็ นผลมาจากการที่ผมผูกพันกับไก่และนกมาตั้งแต่วยั
เด็กก็เป็ นได้

เมื่อผมยังเด็ก กล้องถ่ายรู ปเป็ นของที่หาได้ยาก ผมชอบเล่นกล้องถ่ายรู ปมาก และผมมักใช้กล้องถ่ายรู ปของคุณพ่อ ถ่ายรู ปให้คุณครู และเพื่อนๆ เสมอ
ผมล้างรู ปถ่ายเองที่บา้ น ทุกครั้งหลังจากล้างรู ปเสร็ จ ผมก็จะเอารู ปถ่ายไปแจกให้ทุกคน การที่ผมชื่นชอบเทคโนโลยีและของใหม่ๆ ตั้งแต่เด็กนั้น น่า
จะส่งผลต่อการประกอบอาชีพในภายหลังของผมอยูม่ ากทีเดียว

----------------------------------------------------

บทที่ 8: ผู้นำตัวน้ อย กับความรู้ ที่ยงิ่ ใหญ่

ขณะเรี ยนอยูท่ ี่ซวั เถา ผมได้พบคุณครู ผหู้ ญิงที่ผมจะไม่มีวนั ลืมไปตลอดชีวิต ท่านเป็ นคุณครู ประจำชั้นตอนผมเรี ยนที่ซวั เถา คุณครู ท่านนั้นชื่อ เฉิ น
ซื อฟู่ (Chen Shifu) ตอนที่ผมมาซัวเถาใหม่ๆ ทุกอย่างรอบตัวแปลกใหม่สำหรับผมไปหมด เพื่อนๆ ก็มีไม่มาก ครู เฉิ นให้กำลังใจผมเป็ นอย่าง
มาก ผมจำได้วา่ มีอยูค่ รั้งหนึ่งครู เชียร์ผมให้ข้ ึนไปพูดบนเวที ผมเลยขึ้นไปเล่านิทานพื้นบ้านของไทย ทุกคนต่างพากันขำขันกับเรื่ องที่ผมเล่า ไม่นาน
ผมก็เข้ากับเพื่อนๆ และสิ่ งแวดล้อมใหม่ได้

ตอนนั้นครู เฉิ นซึ่ งจบจากวิทยาลัยครู อายุยงั ไม่ถึง 30 ปี สามีของครู กเ็ ป็ นคุณครู อยูท่ ี่เมืองกิ๊กเอี๊ยว 1 ซึ่ งอยูห่ ่างจากซัวเถาออกไปประมาณ 30
กิโลเมตร มีอยูค่ รั้งหนึ่งผมไม่สบาย เลยไม่ได้ไปโรงเรี ยน ครู เฉิ นมาเยีย่ มผมที่โรงพยาบาลหลายครั้ง หลังจากผมออกจากโรงพยาบาลแล้ว ครู ยงั ใช้
เวลาช่วงปิ ดเทอมภาคฤดูร้อนสอนเสริ มให้ผมเพื่อตามเพื่อนให้ทนั อีกด้วย ทำให้คุณครู ไม่ได้กลับไปเจอครอบครัวที่เมืองกิ๊กเอี๊ยว

ครู เฉิ นรักนักเรี ยนเหมือนรักลูกของท่านเอง คุณครู อ่อนโยนและใจดีกบั นักเรี ยนทุกคนในห้อง ตอนที่ครู เป็ นครู ประจำชั้น ครู ไม่เคยลางานเลยสักวัน
เดียว ถึงแม้วา่ คุณครู จะเป็ นหวัด ไม่สบาย มีไข้ คุณครู กย็ งั มาสอน เวลาครู ไม่สบาย นักเรี ยนอย่างพวกเรามักจะไปบ้านครู ช่วยกันทำความสะอาดบ้าน
ให้ครู ผมยังนำยาที่เอามาจากเมืองไทยไปให้ครู อีกด้วย
ผม (แถวที่ สองซ้ ายสุด) กับคุณครู เฉิ น (ตรงกลางแถวหน้ า) รายล้ อมด้ วยนักเรี ยนในชั้นเรี ยนที่ ซัวเถา

เรียนรู้ ที่จะเป็ นผู้นำ

ครู เฉิ นเป็ นห่วงนักเรี ยนที่เรี ยนไม่ดีจะตามเพื่อนในห้องไม่ทนั ครู จึงให้นกั เรี ยนในห้องช่วยกันติวหนังสื อ มีนกั เรี ยนบางคนซึ่ งที่บา้ นยังไม่มีไฟฟ้ า
ตอนกลางคืนจึงอ่านหนังสื อ และทำการบ้านไม่ได้ บ้านของผมค่อนข้างกว้างขวาง ผมจึงรวมกลุ่มเพื่อนๆ มาติวหนังสื อที่บา้ นในตอนกลางคืน

ผมแบ่งหัวข้อวิชาต่างๆ ให้เพื่อนๆ ผลัดกันมาติว วิธีการนี้ทำให้เราครอบคลุมเนื้ อหาวิชาได้ทุกสาขาและยังทำให้เพื่อนๆ สนใจการเรี ยนมากขึ้น ผม


ยังให้เพื่อนที่คะแนนการเรี ยนไม่ดีคา้ งคืนที่บา้ นด้วย ตอนเช้าตื่นมาอ่านหนังสื อกัน เพื่อนๆ เหล่านั้นเริ่ มมีผลการเรี ยนดีข้ ึน สุ ดท้ายผลคะแนนรวมของ
ชั้นเรี ยนของผมได้เป็ นอันดับ 1 ของโรงเรี ยน

ผมเริ่ มเป็ นผูนำ


้ ตัวน้อยของห้อง และยังได้เป็ นหัวหน้าทีมการแข่งขันกีฬาบาสเกตบอล และชักเย่อ โดยผมเป็ นผูว้ างแผนการเล่น เพื่อนร่ วมชั้นต่าง
พร้อมใจเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน และเอาชนะการแข่งขันทั้งสองรายการได้ แม้วา่ ตอนนั้นยังเป็ นเด็กอยู่ แต่ผมก็ได้เรี ยนรู้วา่ ความสำเร็ จมาจากการ
สร้างแรงจูงใจคนในทีม ภายหลังผมก็ได้รับเลือกให้เป็ นหัวหน้าห้อง

เรื่ องที่ผมไม่เคยลืมอีกหนึ่งเรื่ องคือ ตอนนั้นมีเพื่อนร่ วมชั้นที่มีนิสยั เกเรคนหนึ่ง เขามักสร้างปั ญหาเป็ นประจำ เพื่อนๆ ต่างไม่มีใครอยากคบ แม้แต่พอ่
แม่ของเขาก็ไม่สนใจเขา เขาอยูเ่ หงาๆ คนเดียว เป็ นเด็กที่ไม่มีคนรักและสนใจ แต่ผมสงสารเขามาก มีผมคนเดียวในชั้นที่ยอมคบเขาเป็ นเพื่อน ยอม
เล่นกับเขา ผมค่อยๆ เตือนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเขา เขาไม่ยอมฟังใครเลยทั้งคุณครู และพ่อแม่ แต่เขาฟังผมคนเดียว
ผมเรี ยนรู้การเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื่น รู้จกั เอาใจเขามาใส่ ใจเรามาจากคุณแม่ ทัศนคติน้ ีเองที่มีส่วนสำคัญในการบริ หารธุรกิจของผมในภายหลัง ต้องรู้จกั
คิดในมุมมองของคนอื่นเท่านั้น เราถึงจะได้รับความเคารพจากคนอื่น ในทางกลับกัน ถ้าเรานึกถึงแต่ตวั เองพยายามที่จะยัดเยียดความคิดของเราแต่
ฝ่ ายเดียว ก็จะไม่มีใครยอมฟังเรา

เดินหน้ าต่ อไป

ผมเรี ยนที่ซวั เถาจนถึงชั้นมัธยมปี ที่ 1 ก็ยา้ ยไปเรี ยนที่กวางเจาเมืองหลวงของมณฑลกวางตุง้ โดยอาศัยอยูก่ บั พี่สาวซึ่ งเรี ยนอยูใ่ นระดับมหาวิทยาลัยที่
กวางเจาเช่นกัน ภาษาแต้จิ๋วที่เคยใช้ในชีวิตประจำวันก็ตอ้ งปลี่ยนเป็ นภาษากวางตุง้ ถึงแม้วา่ ภาษาจีนแต้จิ๋วและภาษาจีนกวางตุง้ จะเป็ นภาษาในมณฑล
กวางตุง้ เหมือนกัน แต่การออกเสี ยงนั้นต่างกันมาก ภาษาจีนกวางตุง้ จึงเหมือนภาษาต่างประเทศสำหรับผม

แม้ไม่นานผมจะเริ่ มฟังภาษากวางตุง้ เข้าใจ แต่กย็ งั พูดไม่ได้ ยังดีที่ผมรู้ตวั หนังสื อภาษาจีน จึงพอเข้าใจบ้าง ผมอยูท่ ี่กวางเจาได้ 1 ปี ยังไม่ทนั ได้เรี ยน
จบ ก็ตอ้ งย้ายไปเรี ยนภาษาอังกฤษที่ฮ่องกง

----------------------------------------------------

----------------------------------------------------

บทที่ 9: ฮ่ องกงและการหยุดเรียนหนังสื อ

ผมเรี ยนหนังสื อที่ฮ่องกงจนอายุ 17 ปี ผมจะอ่านหนังสื อทุกวัน นอกจากอ่านหนังสื อแล้วก็ดูหนัง ผมฝันตั้งแต่เด็กว่าจะเป็ นผูกำ


้ กับภาพยนตร์ เพื่อน
ของผมคนหนึ่งมีพี่ชายเป็ นดารา อายุของเขาประมาณ 18-19 ปี เพราะมีพี่ของเพื่อนที่เป็ นดารา ผมจึงมีโอกาสได้เข้าไปดูโรงถ่ายภาพยนตร์ มี
โอกาสสังเกตว่าเขาถ่ายทำกันอย่างไร และในตอนนั้นผมตั้งใจจะเป็ นผูกำ้ กับภาพยนตร์จริ งๆ

ฮ่องกงในช่วงราวทศวรรษ 2490 ยังไม่ได้เจริ ญเหมือนทุกวันนี้ บนท้องถนนมีรถยนต์นอ้ ยมาก คนจีนที่อพยพมาจากจีนแผ่นดินใหญ่กม็ ีจำนวน


มาก คนยากจนมักอาศัยในบ้านสังกะสี ตามเชิงเขา ส่ วนคนที่รวยหน่อยก็จะย้ายออกจากฮ่องกงไปอยูท่ ี่อื่น พ้นจากช่วงนี้ไประยะหนึ่ง ฮ่องกงถึงเริ่ ม
เจริ ญขึ้น

โรงเรี ยนที่ผมเรี ยนที่ฮ่องกง ใช้ภาษาจีนกวางตุง้ และภาษาอังกฤษในการเรี ยนการสอน ปั จจุบนั โรงเรี ยนนี้ได้ปิดไปแล้ว คุณพ่ออยากให้ผมเรี ยนที่
ฮ่องกง เพื่อให้ผมมีพ้ืนฐานภาษาอังกฤษที่ดี แล้วจะส่ งผมไปเรี ยนต่อระดับมหาวิทยาลัยที่ออสเตรเลีย ความคิดของคุณพ่อในตอนนั้นคือ อยากให้ผม
ตั้งใจศึกษาด้านการเกษตรที่ออสเตรเลีย ซึ่ งเป็ นประเทศที่มีเกษตรกรรมที่กา้ วหน้าและทันสมัย จะได้กลับมาช่วยธุรกิจของครอบครัว

ตลอด 17 ปี ที่เติบโตมา ผมเริ่ มระอาที่ตอ้ งปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงอยูเ่ นื องๆ ผมเรี ยนภาษาไทยที่โรงเรี ยนประถมในไทย


ใช้ภาษาจีนแต้จิ๋วที่ซวั เถา พอไปกวางเจาเริ่ มเรี ยนภาษาจีนกวางตุง้ ย้ายมาฮ่องกงเรี ยนภาษาจีนกวางตุง้ และยังเรี ยนภาษาอังกฤษเพิ่ม ถ้าต้องไปเรี ยนต่อ
ที่ออสเตรเลียอีก ผมก็ตอ้ งหมัน่ ฝึ กฝนภาษาอังกฤษอย่างขะมักเขม้นอีกครั้ง คิดถึงสมัยที่ตอ้ งลำบากฝ่ าฟันเพื่อให้เขียนตัวหนังสื อจีนทันเพื่อนตอน
เรี ยนประถมที่ซวั เถาแล้ว ผมไม่อยากจะเจอสภาพนั้นอีก จึงตัดสิ นใจไม่ไปเรี ยนต่อที่ออสเตรเลีย ซึ่งเดิมทีตอ้ งไปกันสองคนกับน้องสาว สุ ดท้ายน้อง
สาวของผมจึงไปเรี ยนต่อที่ออสเตรเลียเพียงคนเดียว

หนทางรอดเดียว

ผมอาศัยอยูท่ ี่ฮ่องกงจนถึงปลายทศวรรษ 2490 ในตอนนั้นประเทศจีนมีการเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายเศรษฐกิจอย่างชัดเจน จากเดิมในช่วงเริ่ มก่อ


ตั้งชาติในยุคสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลจีนเคยสนับสนุนนักธุรกิจบริ ษทั เอกชนและต้อนรับชาวจีนโพ้นทะเล แต่ต่อมามีนโยบายแปรเปลี่ยนมา
ต่อต้านบริ ษทั เอกชนและระบบเศรษฐกิจทุนนิยม รัฐบาลเริ่ มยึดที่ดินของเอกชน และสนับสนุนเกษตรกรรมระบบคอมมูนแทน ด้วยเหตุน้ ีคุณพ่อซึ่ งมี
บริ ษทั และสวนเกษตรที่ซวั เถาจึงกลับกลายเป็ นนายทุนและเจ้าของที่ดินที่รัฐบาลต้องการโค่นล้ม

แต่ถือว่าคุณพ่อยังโชคดี เดิมทีคุณพ่อไม่สามารถเดินทางออกนอกประเทศได้ แต่คุณพ่อเป็ นโรคเกี่ยวกับทางเดินอาหาร จำเป็ นต้องเดินทางมารับการ


รักษาด้วยการผ่าตัดที่ฮ่องกง คุณพ่อจึงได้ออกจากประเทศจีน ประจวบกับตอนนั้นฮ่องกงตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษ จีนไม่สามารถเข้ามา
แทรกแซงการปกครองฮ่องกงได้ ฮ่องกงจึงถือว่าเป็ นที่ที่ปลอดภัย คุณพ่อจึงรอดพ้นมาได้ ถ้าวันนั้นคุณพ่อออกจากจีนช้าไปนิดเดียว ท่านอาจไม่มี
ชีวิตรอดออกมาก็ได้

ภายหลัง บริ ษทั ที่ซวั เถาและสวนเกษตรถูกรัฐบาลยึดไปทั้งหมด คุณพ่อสู ญเสี ยทรัพย์สินที่มีอยูท่ ี่เมืองจีน ผมก็ไม่สามารถเดินทางจากฮ่องกงไปซัวเถา
และกวางเจาได้อีก เพราะเกรงว่าจะถูกกักตัวอยูท่ ี่ประเทศจีน จนกระทัง่ ช่วงปลายทศวรรษ 2510 หลังจากที่ท่านเติ้งเสี่ ยวผิงดำเนินนโยบายปฏิรูป
และเปิ ดประเทศ ผมจึงได้กลับไปเมืองจีนอีกครั้ง

หลังจากที่ผมตัดสิ นใจไม่เรี ยนที่ออสเตรเลีย คุณพ่อบอกผมว่า “ถ้าไม่เรี ยน ก็กลับมาทำงานกับทางบ้าน” ผมจึงออกจากฮ่องกงกลับมาประเทศไทย


ระหว่างที่ผมใช้ชีวิตอยูท่ ี่จีนและฮ่องกง ต้องขอบคุณพี่ชายทั้งสองของผมที่ได้พฒั นาธุรกิจร้านเจียไต๋ จึงที่คุณพ่อได้ก่อตั้งขึ้นที่กรุ งเทพฯ เติบโตขึ้น
เป็ นธุรกิจขนาดกลางนามว่า ร้านเจริ ญโภคภัณฑ์ แล้ว

จากซ้ าย มร. อเล็กซานเดอร์ แคมป์ เบลล์ ท่ านชนม์ เจริ ญ คุณอาของผม และท่ านเจี่ ย เอ็กชอ คุณพ่ อของผม

 ----------------------------------------------------

บทที่ 10: ชื่อใหม่ และงานใหม่

เมื่อผมกลับมาถึงประเทศไทย ผมจำเป็ นต้องเปลี่ยนชื่อเป็ นภาษาไทย

ชื่อภาษาจีนของผม “เจี่ย ก๊กหมิน” เป็ นชื่อที่คุณพ่อของผมตั้งให้ โดยออกเสี ยงตามภาษาจีนแต้จิ๋ว (ในภาษาจีนกลาง อ่านว่า “เซี่ ย กัว๋ หมิน”) ตอนที่
ผมเดินทางจากฮ่องกงเพื่อกลับเมืองไทย ผมใช้หนังสื อเดินทางที่มีชื่อภาษาจีนอยู่ ตอนนั้นประเทศจีนปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ ในขณะที่
รัฐบาลไทยต่อต้านการปกครองระบบคอมมิวนิสต์ ความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศจึงไม่ค่อยดีนกั รัฐบาลไทยเข้มงวดการอพยพของคนจีนเข้ามา
ในประเทศและให้ลูกหลานคนจีนที่เกิดในประเทศไทยเปลี่ยนชื่อจากภาษาจีนเป็ นชื่อไทย

“ธนินท์” เป็ นชื่อไทยของผม ซึ่ งมีขา้ ราชการในสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองช่วยตั้งให้ ผมไม่ได้เป็ นคนเลือกสรรเอง ผมไม่เข้าใจความหมายของชื่อ


แต่ฟังแล้วรู้สึกไพเราะดีกเ็ ลยตกลง และใช้ชื่อนี้มาโดยตลอด

“เจียรวนนท์” นามสกุลภาษาไทยของผมนี้ ผมใช้ตามพี่ชายคนที่ 3 คือ ท่านประธานสุ เมธซึ่ งใช้เป็ นคนแรก สมัยนั้นตอนที่ท่านประธานสุ เมธกลับ
ประเทศไทย ก็จำเป็ นต้องเปลี่ยนจาก Xie Zhongmin (เซี่ ย จงหมิน) มาใช้ชื่อภาษาไทยเช่นกัน ภายหลังผมก็ใช้นามสกุลนี้ตามท่าน

เริ่มจากงานระดับล่ าง

ตอนที่ผมเรี ยนอยูท่ ี่ซวั เถา กวางเจาและฮ่องกงนั้น คุณพ่อได้ขยายกิจการไปมากแล้ว ร้านเจียไต๋ จึง ซึ่ งเป็ นร้านขายเมล็ดพันธุ์ที่คุณอาของผมดูแล ขยาย
ร้านออกไปจนเป็ นร้านค้าใหญ่ นอกจากขายเมล็ดพันธุ์แล้ว เรายังเริ่ มขายปุ๋ ยและยาปราบศัตรู พืชด้วย

หลังจากที่ท่านประธานจรัญและท่านประธานมนตรี เรี ยนจบจากเสฉวน ก็กลับมากรุ งเทพฯ เพื่อช่วยกิจการของที่บา้ น ในปี พ.ศ. 2496 ท่าน
ประธานจรัญได้เริ่ มทำธุรกิจอาหารสัตว์ โดยท่านตั้งใจขยายกิจการออกไปเป็ นธุรกิจเกี่ยวกับการเกษตรเป็ นหลัก และตั้งชื่อบริ ษทั ว่า “เจริ ญ
โภคภัณฑ์” หรื อเรี ยกย่อ ๆ ภาษาอังกฤษว่า CP

“เจริ ญโภคภัณฑ์” เป็ นชื่อที่คุณพ่อบุญธรรมของพี่สะใภ้ผม ซึ่ งเป็ นนายทหารตั้งขึ้น “เจริ ญ” หมายถึง เติบโต รุ่ งเรื อง และ “โภคภัณฑ์” หมายถึง
สิ นค้าอุปโภคบริ โภค

ร้านเจียไต๋ จึง ในยุคเริ่ มแรก จนถึงปั จจุบนั ก็ยงั ใช้ชื่อเจียไต๋ อยู่ และภายหลังเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้ขยายกิจการไปยังประเทศจีน เราจึงใช้ชื่อ “เจิ้งต้า”
(ภาษาจีนกลางของคำว่า เจียไต๋ ) เป็ นชื่อบริ ษทั ในประเทศจีน
จากซ้ าย ผม ท่ านประธานจรั ญ พี่ชายคนโต, ท่ านประธานมนตรี พี่ชายคนรอง, และท่ านประธานสุเมธ พี่ชายคนที่ สาม

ตอนที่ผมกลับมาจากฮ่องกง ซีพีได้ขยายกิจการไปเป็ นธุรกิจขนาดกลางแล้ว และเข้าสู่ ธุรกิจอาหารสัตว์ภายใต้การบริ หารของพี่ชายทั้งสอง โดย


อาหารสัตว์ที่บริ ษทั ขายในตอนนั้นเน้นขายอาหารเลี้ยงไก่ หมู มีท้ งั ข้าวโพด แป้ งถัว่ เหลือง รำข้าว ปลาป่ น เป็ นต้น ยุคนั้นเรามีโรงงานแปรรู ปเล็ก ๆ
อยู่ แต่เรายังไม่ได้ผสมอาหารสัตว์เอง

พ่อสอนผมว่า “ต้องเริ่ มเรี ยนรู้งานตั้งแต่ข้ นั แรกของงาน ตอนนั้นผมเพิ่งจะมีอายุ 18 ปี เต็ม ผมทำหน้าที่เป็ นผูช้ ่วยทัว่ ไปในร้าน เปิ ดปิ ดร้าน เช็ดโต๊ะ
และงานจิปาถะอื่น ๆ รวมทั้งรับผิดชอบงานด้านการรับเงิน ออกใบเสร็ จ การจ่ายเงิน ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ อีกด้วย ผมไม่ได้เรี ยนด้านการบริ หารธุรกิจจาก
สถาบันการศึกษาใด ๆ แต่เรี ยนรู้จากของจริ ง และจากการลงมือทำงานจริ ง”

ทุก ๆ เช้า จะมีรถบรรทุกคันหนึ่งมาจอดที่หน้าร้านของเรา เพื่อจัดหาวัตถุดิบอาหารสัตว์และนำไปส่ งที่โรงงาน ผมอยากจะรู้วา่ ธุรกิจอาหารสัตว์ทำ


อย่างไร เช้าวันหนึ่งผมจึงตื่นแต่เช้าตรู่ แล้วเดินทางไปกับรถบรรทุกคันนี้ ผมได้มีโอกาสสังเกตกระบวนการทั้งหมดตั้งแต่การรับวัตถุดิบ การแปรรู ป
จนกลายเป็ นสิ นค้า รวมทั้งการบริ หารจัดการสิ นค้าอีกด้วย และเมื่อรถบรรทุกกลับมาถึงร้านก็เป็ นเวลา 08.00 น. ซึ่งได้เวลาเปิ ดร้านพอดี  

----------------------------------------------------

บทที่ 11: รายได้ เล็ก ๆ น้ อย ๆ จากการขนส่ งหมูและบทเรียนทรงคุณค่ า


เมื่อกลับมากรุ งเทพฯ ผมได้เข้ามาช่วยพี่ชาย 2 คนทำงาน ทำให้มีรายได้เล็ก ๆ น้อย ๆ พอดีตอนนั้นท่านประธานมนตรี ซึ่ งเป็ นพี่ชายคนรองของผม
ได้ร่วมมือกับผูส้ ่ งออกรายหนึ่ง ทำธุรกิจส่งออกหมูไปฮ่องกง ท่านประธานมนตรี มอบหมายหน้าที่สำคัญ คือ การขนส่ งหมูทางเรื อให้ผมรับผิดชอบ
เรื อ 1 ลำ สามารถขนส่ งหมูได้ครั้งละ 2,000-3,000 ตัว ซึ่ งงานในสถานที่ที่ใช้ลำเลียงหมูน้ นั รี บเร่ งและยุง่ วุน่ วายมาก

หมู 2,000-3,000 ตัว บนเรื อจะเบียดกันไปมาในที่แคบ ๆ โดยมีใบมะพร้าวบังฝนบังลม ทุกครั้งเมื่อเรื อเดินทางถึงฮ่องกง จะมีหมูตายเป็ น


จำนวนมาก เพื่อลดจำนวนการตายของหมู พีช่ ายของผมจึงเสนอกับผมว่า ถ้าหมูตายน้อยลง 1 ตัว จะให้เงินรางวัลผม 100 บาท ดังนั้น ถ้าหมูตาย
น้อยลงสัก 10 ตัว ผมก็จะได้เงิน 1,000 บาท สมัยนั้นถ้ามีเงินสัก 300 บาท ก็สามารถไปรับประทานอาหารในภัตตาคารที่หรู หราที่สุดของ
ฮ่องกงได้แล้ว แถมยังมีเงินเหลืออีกมากด้วย

หลังจากที่ผมได้สงั เกตอย่างละเอียดแล้วก็พบว่า จำนวนหมูที่ตายมีความสัมพันธ์อย่างมากกับการโคลงเคลงของเรื อ การที่หวั เรื อกระทบกับเกลียว


คลื่นโดยตรง และโคลงเคลงอย่างแรง จึงทำให้หมูที่อยูใ่ นพื้นที่แคบ ๆ บริ เวณหัวเรื อชนกระแทกกันได้ง่ายมาก ซึ่ งสาเหตุอาจมาจากทิศทางของลม
แต่ถา้ จัดวางหมูไว้ช่วงกลางลำเรื อในช่วงฤดูร้อน (เดือนพฤษภาคม-กันยายน) และจัดวางหมูไว้ช่วงท้ายเรื อในฤดูหนาว (เดือนพฤศจิกายน-
กุมภาพันธ์) หมูจะตายน้อยลง

ผมจึงเสนอกับหัวหน้าที่ดูแลเรื่ องงานลำเลียงสิ นค้าที่ท่าเรื อว่า ถ้าหมูตายลดลง 1 ตัว ผมจะให้เงินเขา 20 บาท หัวหน้างานยินดีรับข้อเสนอของผม


ทุกครั้งเขาจึงจัดวางหมูไว้ที่ช่วงกลางหรื อช่วงท้ายของเรื อตามที่ผมต้องการ สำหรับพนักงานลำเลียงและขนส่ งคนอื่น ๆ ที่ท่าเรื อ ผมก็แบ่งเงิน 30
บาท จาก 100 บาท ให้พวกเขาด้วย แม้วา่ ผมจะแบ่งเงินให้คนงานแล้ว ผมก็ยงั มีเงินเหลืออีก 50 บาท หลังจากที่ปรับตำแหน่งการจัดวางหมูบนเรื อ
แล้ว ปรากฏว่าอัตราการตายของหมูกล็ ดลง จากประสบการณ์น้ ี ผมจึงได้เรี ยนรู้ถึงความสำคัญของการบริ หารจัดการการขนส่ งสิ นค้าและการแบ่งปั น
ประโยชน์ร่วมกันกับผูอ้ ื่น

เปลีย่ นงาน
ภาพถ่ายเมือ
่ ครัง้ ทีผ ้
่ ม (ที่ 2 จากซาย) ทำงานสหพันธ์สหกรณ์ค ้าไข่แห่งประเทศไทย
และเจ ้านายของผม ดร.ชำนาญ ยุวบูรณ์ (ที่ 4 จากขวา)

ช่วงปลายทศวรรษ 2490 รัฐบาลไทยดำเนินนโยบายใหม่ คือ เข้ามาบริ หารจัดการการส่ งออกไข่สตั ว์ปีก เช่น ไข่ไก่ ไข่เป็ ด เป็ นต้น และจัดตั้งหน่วย
งานเฉพาะขึ้นเป็ น “สหพันธ์สหกรณ์คา้ ไข่แห่งประเทศไทย” ช่วงนั้นผมทำงานอยูท่ ี่ร้านเจียไต๋ มาได้ประมาณ 2 ปี ผมรู้สึกกระตือรื อร้นที่จะทำงานนี้
จึงเสนอตัวอาสาเข้ามาทำงานที่สหพันธ์สหกรณ์คา้ ไข่แห่งประเทศไทยควบคู่กนั ไปด้วยในตำแหน่งผูจ้ ดั การสหกรณ์ ซึ่ งเป็ นองค์กรที่บริ หารร่ วมกับ
รัฐบาล

ก่อนหน้าที่จะมีการใช้นโยบายนี้ การส่ งออกไข่ไก่ไปยังสิ งคโปร์ มาเลเซี ย ฮ่องกง และมาเก๊า ทำได้อย่างเสรี ภายหลังจากที่มีการใช้นโยบายนี้ การส่ ง
ออกไข่ไก่จึงอยูภ่ ายใต้การดำเนินการของสหกรณ์แต่เพียงผูเ้ ดียว

ข้อดีของนโยบายนี้คือ ไม่มีการแข่งขันระหว่างผูส้ ่ งออก ราคาสิ นค้าค่อนข้างคงที่ รัฐบาลก็มีรายได้จากเงินภาษีซ่ ึ งเก็บจากสหกรณ์

ผมเข้ามาทำงานในสหกรณ์โดยรับผิดชอบงานด้านการส่ งออก รัฐบาลไทยได้เชิญข้าราชการระดับสู งท่านหนึ่งมาเป็ นประธานของสหกรณ์ ท่านคือ


ดร.ชำนาญ ยุวบูรณ์ ซึ่ งเรี ยนจบด็อกเตอร์ดา้ นกฎหมายจากฝรั่งเศส ท่านเป็ นอธิบดีกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ซึ่ งถือเป็ นตำแหน่งที่มีความ
สำคัญยิง่ ท่าน ดร. ชำนาญบอกกับผมว่า “ผมเชื่อมัน่ ในตัวคุณ คุณทำงานให้เต็มที่” และท่านยังได้มอบหมายงานสำคัญ ๆ เกือบทั้งหมดให้ผมรับผิด
ชอบ

เด็กหนุ่มในวัย 20 ปี อย่างผมจึงได้เป็ นผูร้ ับผิดชอบและมี อำนาจเต็มในการแปรรู ปขั้นต้นของเนื้อไก่ เนื้อเป็ ด และเนื้อห่านทั้งหมดของกรุ งเทพฯ ผม


ได้เรี ยนรู้วิธีการทำงานในองค์กรจากท่านดร.ชำนาญ ได้เรี ยนรู้การเป็ นผูนำ
้ การบริ หารคน การเตรี ยมการประชุมและการจัดประชุม แม้แต่การ
รายงานต่อคณะกรรมการบริ หารก็เป็ นงานที่ผมรับผิดชอบ

นอกจากนี้ ผมยังมีเลขานุการซึ่ งเป็ นข้าราชการที่ท่านประธานส่ งมาช่วยงานด้วยคนหนึ่ง ระหว่างที่ผมทำงานอยูท่ ี่สหกรณ์ ผมบริ หารงานด้วยความ


ซื่ อตรง ไม่เคยยักยอกเงินและไม่ทำเรื่ องผิดกฎหมาย เมื่อเวลาผ่านไป บรรดาเถ้าแก่ที่อยูใ่ นสหกรณ์ท้ งั หลายก็ให้การยอมรับและมีทศั นคติที่ดีต่อคน
หนุ่มอย่างผม

ช่วงที่มีการจัดตั้งสหกรณ์ กิจการสัตว์ปีกของประเทศไทยประสบปั ญหาใหญ่ปัญหาหนึ่งคือ สมัยนั้นการแปรรู ปขั้นต้น เช่น การถอนขน และการ


เชือด ต้องอาศัยแรงงานคนทั้งหมด ซึ่ งใน 1 วัน ต้องแปรรู ปสัตว์ปีกมากกว่า 100,000 ตัว หากใช้แรงงานคนเพียงอย่างเดียว จะไม่สามารถทำได้
ทันเวลา และยังทำให้มีตน้ ทุนที่สูงอีกด้วย ดังนั้น หนทางเดียวที่จะช่วยลดต้นทุนในการแปรรู ปลงได้ จึงจำเป็ นต้องนำเครื่ องจักรแปรรู ปแบบ
อัตโนมัติเข้ามาใช้งาน

----------------------------------------------------

บทที่ 12: การงานถึงจุดพลิกผัน...จากฟ้าสู่ ดิน

ตอนอายุ 20 ต้น ๆ ชีวิตผมก็ราบรื่ นดี แม้ผมอายุยงั น้อยก็ได้บริ หารงานส่ งออกไข่ไก่ที่สหพันธ์สหกรณ์คา้ ไข่แห่งประเทศไทย สมัยนั้นญี่ปุ่น
สหรัฐอเมริ กา และยุโรป มีการใช้เครื่ องถอนขนไก่แล้ว รัฐบาลไทยก็ได้ซ้ื อเครื่ องจักรนี้มาจากเดนมาร์ก อย่างไรก็ตาม เครื่ องจักรนี้กย็ งั ใช้ไม่ได้
เพราะไก่เนื้อมีขนาดไม่เท่ากัน

เครื่ องถอนขนไก่ของญี่ปุ่นแตกต่างกับเครื่ องของยุโรปและอเมริ กา ราวทศวรรษ 2500 ผมถูกส่ งไปดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น นี่เป็ นครั้งแรกที่ผมได้ไป


ญี่ปุ่น เจ้าหน้าที่ชาวญี่ปุ่นที่รับผิดชอบงานต้อนรับ เมื่อเห็นว่ารัฐบาลไทยส่ งเด็กหนุ่มอายุ 21 ปี อย่างผมมาดูงาน ก็ถึงกับประหลาดใจ

แม้ขณะนั้นเทคโนโลยีแปรรู ปไก่ของญี่ปุ่นยังไม่ทนั สมัยมากนัก แต่ผมก็จองซื้ อเครื่ องถอนขนไก่จำนวน 16 เครื่ องกลับประเทศไทย ดร.ชำนาญ ยุว
บูรณ์ ซึ่ งเป็ นประธานสหกรณ์ได้ช้ ีแนะว่า “มีแค่เครื่ องจักรอย่างเดียว ยังไม่สามารถจัดการแบบอัตโนมัติได้ เพราะขนาดของไก่ตอ้ งเท่ากันด้วยถึงจะ
ใช้การได้”

ไก่เนื้อในประเทศไทยทั้งหมดเป็ นไก่พนั ธุ์พ้ืนเมืองที่เกษตรกรเลี้ยงแบบปล่อย ทั้งขนาดและอายุของไก่กแ็ ตกต่างกัน “ทำอย่างไรถึงจะเลี้ยงไก่เนื้อ


ออกมาให้ได้ขนาดเท่ากัน” ปั ญหาใหญ่ขอ้ นี้เป็ นปั ญหาที่สหกรณ์ยงั คงแก้ไขไม่ได้ ภายหลังเมื่อผมได้ทำงานที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ผมได้แก้ไขปั ญหา
นี้ได้สำเร็ จ ทำให้เกิดการพัฒนาแบบก้าวกระโดด ซึ่ งเราจะพูดกันในช่วงหลัง

โลกตึงเครียด ไทยได้ รับผลกระทบ


ผมแต่งงานตอนอายุ 23 ปี ซึ่ งตอนนั้นกำลังประสบความสำเร็ จในชีวิต เมื่อผมตั้งใจจะเดินหน้าทำงานอย่างเต็มกำลัง ความโชคร้ายก็มาเยือน

แม้ จะอายุ 20 ต้ น ๆ ผมก็มีบทบาทรั บผิดชอบงานที่ สำคัญคือการส่ งออกไข่ ไก่ ของประเทศไทย

ในช่วงทศวรรษ 2500 ประเทศจีนและอดีตสหภาพโซเวียตซึ่ งต่างก็เป็ นประเทศสังคมนิยม เกิดข้อขัดแย้งกันอย่างรุ นแรง จากการที่จีนวิพากษ์


วิจารณ์สหภาพโซเวียตว่าเป็ นลัทธิแก้ (Revisionism: ประเทศสังคมนิยมที่เบี่ยงเบนตัวเองออกจากแนวทางของระบอบคอมมิวนิสต์ด้ งั เดิมแล้ว
เดินไปเข้าสู่ ระบอบทุนนิยม) ทำให้สหภาพโซเวียตไม่พอใจเป็ นอย่างมาก จึงยุติความช่วยเหลือที่ให้แก่จีน โดยจีนต้องชำระหนี้คืนให้สหภาพโซเวียต
ก่อนกำหนด

ตอนนั้นเศรษฐกิจจีนขาดสภาพคล่อง ต้องส่ งออกสิ นค้าเพื่อหาเงินมาชำระหนี้ แต่จีนยังขาดผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรมที่จะส่ งออก จึงเน้นส่ งออก


ผลผลิตทางการเกษตร ซึ่ งก่อนเกิดกรณี พิพาท จีนส่ งออกเนื้อหมูจำนวนมากไปยังสหภาพโซเวียตจนทำให้เกิดภาวะขาดแคลนเนื้ อหมูในฮ่องกง แต่
ภายหลังเมื่อจีนได้หนั มาส่ งออกยังฮ่องกงเป็ นหลัก และส่ งออกผลผลิตทางการเกษตรเป็ นจำนวนมาก ทำให้ราคาเนื้อหมูและไข่ไก่ตกต่ำอย่างหนัก
ไข่ไก่ที่สหกรณ์ขายไปฮ่องกงจึงประสบภาวะขาดทุน
สภาพเงินทุนของเราตกต่ำ เพราะเป็ นองค์กรที่ต้ งั ขึ้นมาเพื่อมุ่งช่วยเหลือเกษตรกรที่เลี้ยงไก่ไข่ แต่สหกรณ์ไม่ได้มีเงินมากมายมาตั้งแต่ตน้ แล้ว ผม
พยายามคิดหาวิธีแก้ปัญหาและปรับปรุ งการบริ หารงานอย่างเต็มที่แต่กย็ ากจะแก้ไข เพราะปัญหาใหญ่คือการขาดเงินทุน การที่ผมบริ หารงานสหกรณ์
ด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ตมาโดยตลอด จึงไม่มีสมาชิกคนใดตำหนิผมในสถานการณ์ที่ยากลำบากเช่นนี้

ผมตกงานในวัย 25 ปี เมื่อรัฐบาลไทยยกเลิกสหกรณ์ และกลับไปดำเนินนโยบายที่อนุญาตให้ส่งออกไข่ไก่อย่างเสรี ผมได้กลับมาช่วยธุรกิจที่บา้ น


อีกครั้งในปี พ.ศ. 2507 ขณะนั้นท่านจรัญ พี่ชายคนโตของผมเป็ นประธานบริ ษทั และท่านมนตรี พี่ชายคนรองเป็ นผูจ้ ดั การใหญ่ ดูแลธุรกิจอาหาร
สัตว์

ท่านมนตรี เป็ นผูท้ ี่มีวิสยั ทัศน์กว้างไกล ความคิดหลักแหลม และเฉลียวฉลาด นอกจากท่านจะดูแลกิจการอาหารสัตว์แล้ว ท่านยังบริ หารงานการค้า
สิ นค้าเกษตร ได้แก่ ข้าวโพด ถัว่ เขียว ถัว่ เหลือง เป็ นต้น อีกทั้งยังรับผิดชอบดูแลการผลิตกระสอบที่ใช้บรรจุธญั พืช และท่านต้องการจะทุ่มเทกำลัง
ทั้งหมดให้กบั การค้าขายและการบริ หารโรงงาน จึงเสนอตำแหน่งผูจ้ ดั การทัว่ ไปให้แก่ผม

ด้วยเหตุน้ ี ผมจึงได้สืบทอดกิจการอาหารสัตว์จากท่านประธานมนตรี ซึ่งตอนนั้นเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์มีพนักงานประมาณ 200 คน และขนาดของ


ธุรกิจอาหารสัตว์กเ็ ป็ นธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ประสบการณ์การบริ หารองค์กรที่ผมได้สัง่ สมมาเมื่อครั้งยังทำงานที่สหกรณ์ ก็ได้นำมาใช้
ปฏิบตั ิจริ ง ท่านประธานจรัญไว้วางใจผมที่เป็ นน้องชายคนเล็กให้เข้ามารับตำแหน่งสำคัญ และยังให้โอกาสผมในการบริ หารงานเองอย่างเต็มที่

----------------------------------------------------

บทที่ 13: จากกิจการครอบครัวสู่ องค์ กรทางธุรกิจ

พืน้ ที่ สำนักงานใหญ่ เดิมของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ในช่ วงทศวรรษที่ 2490-2500 ปั จจุบันคือหนึ่งในสำนักงาน และคลังสิ นค้ า
บริ ษทั ของเราเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ผมตระหนักว่า ถึงเวลาแล้วที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์จะต้องเปลี่ยนจากกิจการครอบครัวไปสู่ องค์กรที่บริ หารโดย
บุคลากรที่มีความเป็ นมืออาชีพ ผมตัดสิ นใจเชิญบุคลากรที่มีความสามารถจากภายนอกมาช่วยบริ หารงานแทนคนในครอบครัว เพราะผูท้ ี่ไม่มีความ
ชำนาญในการบริ หารธุรกิจ ในไม่ชา้ ก็อาจจะตามการพัฒนาของโลกธุรกิจไม่ทนั

ผมทำเช่นนี้กเ็ พื่อจะหลีกเลี่ยงความขัดแย้งระหว่างญาติพี่นอ้ งที่อาจกระทบต่อกิจการในอนาคต ถึงแม้วา่ ญาติพี่นอ้ งในรุ่ นคุณพ่อและรุ่ นของผมจะร่ วม


มือร่ วมใจกันสร้างบริ ษทั จนเติบใหญ่ แต่คุณพ่อก็ยงั คงเป็ นห่วงว่าจะมีความขัดแย้งเกิดขึ้นภายในครอบครัว คุณพ่อจึงขอให้ลูก ๆ แยกออกไปอยูต่ ่าง
หากหลังจากที่แต่งงานแล้ว โดยไม่อนุญาตให้อาศัยอยูใ่ นบ้านต่อ

คุณพ่อเคยกล่าวว่า “ไม่วา่ พี่นอ้ งจะปรองดองกันมากเท่าไร เมื่อแต่งงานและมีครอบครัวเป็ นของตัวเองแล้ว อาจจะมีปากเสี ยงกันได้ ถ้าอยูใ่ นชายคา
เดียวกัน”

เรื่องลำบากใจ

ในบรรดาธุรกิจของชาวจีนโพ้นทะเล มีจำนวนไม่นอ้ ยที่ลูกหลานรุ่ นที่ 2 และ 3 ยังคงเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หารงานของกิจการครอบครัว แต่ก็


มีจำนวนไม่นอ้ ยที่ครอบครัวแตกแยกกัน จนทำให้ธุรกิจล่มสลายไปด้วย ผมตัดสิ นใจยกเลิกระบบบริ หารงานแบบครอบครัว โดยบอกกล่าวกับบรรดา
พี่สาวที่ทำงานในบริ ษทั ว่า “ผมจะให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่ดีกว่างานที่พี่ ๆ ทำอยู่ พี่จะได้พกั ผ่อนและมีความสุ ขกับการใช้ชีวิตอย่างเต็มที่”
และขอให้พี่สาวออกจากงานที่บริ ษทั

ความลำบากใจที่สุดคือการบอกกับพี่สะใภ้คนโต ซึ่ งท่านเป็ นคนดีมาก และทำงานอย่างทุ่มเท หลังจากที่ท่านประธานจรัญก่อตั้งธุรกิจอาหารสัตว์แล้ว


พี่สะใภ้เป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบงานด้านบัญชีมาโดยตลอด ผมลำบากใจที่ตอ้ งขอให้พี่สะใภ้ออกจากงาน แต่เพื่อบริ ษทั ผมจำเป็ นต้องตัดสิ นใจแบบนั้น

ผมพูดกับพี่สะใภ้วา่ “ไม่วา่ พี่จะเสี ยสละ อุทิศตนเองให้บริ ษทั เพียงใด คนอื่นก็อาจยังมีความเคลือบแคลงสงสัย เพราะพี่เป็ นภรรยาของประธาน
บริ ษทั ” ผมค่อย ๆ พูดเกลี้ยกล่อมให้คนในครอบครัวออกจากงานบริ หาร และเปลี่ยนให้คนหนุ่มสาวที่มีความสามารถเฉพาะด้านมาทำงานแทน

ผมยังตั้งกฎขึ้นมาอีกข้อหนึ่งนัน่ คือ ไม่ให้ลูกหลานของตระกูลเข้ามาบริ หารธุรกิจเกษตร ซึ่งเป็ นธุรกิจหลักของบริ ษทั และแน่นอนว่าหมายรวมถึง


ลูกชายของผมด้วย ธุรกิจของบริ ษทั จะพัฒนาเติบโตไปอย่างราบรื่ น ก็เพราะมีทีมงานที่มีศกั ยภาพสู ง ถ้าให้ลูกหลานในตระกูลเข้าไปบริ หาร ไม่วา่ จะ
ทำได้ดีแค่ไหน ก็อาจไม่เป็ นที่ยอมรับจากทุกคน

ก่อนที่ลูกหลานของตระกูลจะเข้ามาทำงานในบริ ษทั ทีมงานของบริ ษทั ได้บริ หารกิจการจนประสบความสำเร็ จมากแล้ว ถ้าให้ลูกหลานในตระกูลเข้า


มารับตำแหน่งผูบ้ ริ หาร จะทำให้ทุกคนรู้สึกว่าสู ญเสี ยโอกาสในการเติบโตก้าวหน้า ทำให้พวกเขารู้สึกว่าไม่มีอนาคต นอกจากจะทำให้บุคลากรที่มี
ความสามารถต้องจากบริ ษทั ไปแล้ว ยังจะส่งผลเสี ยต่อระบบการพัฒนาบุคลากรในด้านการพัฒนาคนที่จะขึ้นมาทดแทนเป็ นรุ่ น ๆ ไป

ผมไม่เคยเรี ยนด้านเศรษฐศาสตร์ แต่จากประสบการณ์การทำงานจริ ง ผมตระหนักอย่างเด่นชัดว่า การถือหุน้ กับการบริ หารควรแยกออกจากกัน ผู้


บริ หารมีหน้าที่สร้างผลกำไรแก่บริ ษทั ด้วยความรู้แบบมืออาชีพ ส่ วนผูถ้ ือหุน้ ก็ควรยินดีกบั ผลตอบแทนที่มาจากกำไร ไม่ควรให้ผถู้ ือหุน้ เข้าไป
เกี่ยวข้องกับการบริ หาร มิฉะนั้นจะก่อให้เกิดความวุน่ วายและอาจทำให้ประสิ ทธิภาพในการบริ หารลดลง

ผมให้สมาชิกในครอบครัวเป็ นผูถ้ ือหุน้ โดยผมอุทิศตัวเองในฐานะผูบ้ ริ หาร ทำหน้าที่ดว้ ยความตั้งใจและทุ่มเท เมื่อผูถ้ ือหุน้ ได้รับการดูแลที่ดี และผม
ก็ไม่ได้คิดที่จะครอบครองหุน้ ไว้แต่เพียงผูเ้ ดียว สมาชิกในครอบครัวจึงพอใจและยอมรับในการเปลี่ยนแปลงครั้ งนี้

ในฐานะที่เป็ นผูบ้ ริ หาร ถึงแม้วา่ ผมต้องทำงานหนักกว่าคนอื่น เพียงแค่ได้เงินเดือนและโบนัสผมก็พอใจแล้ว ถ้าผมถือหุน้ ทั้งหมดเพียงผูเ้ ดียว ไม่
เพียงแต่จะมีปัญหากับญาติพี่นอ้ ง แต่ยงั จะถูกสังคมวิพากษ์วิจารณ์อีกด้วย

ในปี พ.ศ. 2512 ตอนที่ผมอายุได้ 30 ปี ท่านประธานจรัญซึ่งเป็ นพี่ชายคนโตของผม แต่งตั้งให้ผมดำรงตำแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เครื อ


เจริ ญโภคภัณฑ์ นับเป็ นช่วงที่กิจการครอบครัวได้ปรับเปลี่ยนสู่ การเป็ นองค์กรธุรกิจที่มีผบู้ ริ หารที่มีความรู้ความสามารถ ผมได้เข้ามารับช่วงการ
บริ หารธุรกิจอย่างเต็มตัว แต่ความสัมพันธ์ระหว่างพี่นอ้ งของพวกเราเป็ นไปด้วยดีมาโดยตลอดนับจากนั้น ทุกวันนี้เวลาพบปะกัน ก็ยงั พูดคุยกันฉันพี่
น้องด้วยความเป็ นมิตร

----------------------------------------------------

บทที่ 14: นำเข้ าไก่ เนือ้ จากสหรัฐอเมริกา

เมื่อผมได้เป็ นกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์แล้ว ผมมีปัญหาหนึ่งข้อที่จำเป็ นต้องแก้ไขนัน่ ก็คือ ทำให้ขนาดของไก่เนื้อเท่ากัน ในช่วงที่
ผมทำงานที่สหพันธ์สหกรณ์คา้ ไข่แห่งประเทศไทย ผมเคยคิดจะนำเครื่ องจักรเข้ามาใช้ ทำให้การแปรรู ปถอนขนไก่เนื้ อเป็ นระบบอัตโนมัติท้ งั หมด
แต่กทำ็ ไม่สำเร็ จ สาเหตุกเ็ นื่องมาจากขนาดของไก่พ้ืนเมืองของประเทศไทยนั้นไม่เท่ากัน

ดร.ชำนาญ ยุวบูรณ์ ซึ่ งเคยเป็ นประธานสหกรณ์คา้ ไข่แห่งประเทศไทย เคยชี้แนะผมว่า “ควรจะเลี้ยงไก่เนื้อให้มีขนาดเท่ากัน” สมัยนั้นสหรัฐอเมริ กา


มีความก้าวหน้าในการเลี้ยงไก่เนื้อให้มีขนาดเท่ากันอย่างแพร่ หลาย โดยได้มาจากการผสมและพัฒนาไก่พนั ธุ์ ลูกไก่ที่ได้รับการผสมแล้ว ใช้เวลาใน
การเลี้ยงให้โตเพียง 8 สัปดาห์ ยิง่ ไปกว่านั้นยังมีน้ำหนักประมาณ 1.5 กิโลกรัมเท่า ๆ กันอีกด้วย

ความสั มพันธ์ นำมาซึ่งธุรกิจ

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ มีความสัมพันธ์อนั ดีกบั ธนาคารเชส แมนฮัตตัน (Chase Manhattan Bank) ของสหรัฐอเมริ กา (ปัจจุบนั คือ เจพี มอร์
แกนเชส: J.P. Morgan Chase) ธนาคารแห่งนี้เป็ นผูด้ ูแลงบบัญชีนำเข้าและส่ งออกของเครื อฯ โดยธนาคารฯ ได้แนะนำให้ผมรู้จกั กับบริ ษทั
อาร์เบอร์ เอเคอร์ส (Arbor Acres) ซึ่งเป็ นบริ ษทั ไก่พนั ธุ์ที่ใหญ่ที่สุดของสหรัฐฯ และอาร์เบอร์ เอเคอร์ส กับธนาคารเชส แมนฮัตตันก็มีความ
เกี่ยวข้องกัน

ประธานของธนาคารเชส แมนฮัตตันในสมัยนั้นคือ David Rockefeller ซึ่งเป็ นหลานชายของ John D. Rockefeller ราชาค้าน้ำมัน


รายใหญ่ของสหรัฐอเมริ กา ส่ วนพี่ชายของ David Rockefeller ก็คือ Nelson Rockefeller เป็ นรองประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในสมัย
ประธานาธิบดี Gerald Ford (สิ งหาคม พ.ศ. 2517-มกราคม พ.ศ. 2520) และเป็ นนักธุรกิจ ซึ่ ง Nelson Rockefeller ได้เข้าซื้ อ
บริ ษทั อาร์เบอร์ เอเคอร์ส และด้วยความสัมพันธ์กบั ธนาคารเชส แมนฮัตตัน ในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2513 ผมจึงได้มีโอกาสไปดูกิจการไก่พนั ธุ์ที่
สหรัฐฯ สมัยนั้นการเดินทางไปสหรัฐฯ ต้องใช้ค่าใช้จ่ายในการเดินทางสู ง ผมปรึ กษากับท่านประธานจรัญ ท่านสนับสนุนผมเต็มที่และพูดกับผมว่า
“เธอต้องไปดูงานที่อเมริ กา” ถ้าไม่มีคำพูดของท่านคำนั้น อาจจะไม่มีเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เช่นในวันนี้กเ็ ป็ นได้

หลังจากที่ไปถึงสหรัฐอเมริ กาแล้ว ผมไปเยีย่ มชมเมืองนิ วยอร์ค (New York) ก่อน หลังจากนั้นได้ไปรัฐเมน (Maine) ซึ่งที่นนั่ เป็ นแหล่ง
เลี้ยงไก่เนื้อของสหรัฐฯ แต่ไก่ เนือ้ ที่เกิดจากการผสมสองสายพันธุ์จะไม่ สามารถนำไปผสมพันธุ์ต่อได้ ดังนั้นเราจึงจำเป็ นต้ องนำเข้ าไก่ พ่อแม่ พนั ธุ์ด้วย

ที่สหรัฐอเมริ กา การเลี้ยงไก่เนื้อกลายเป็ นอุตสาหกรรมใหญ่ไปแล้ว บริ ษทั อาหารสัตว์จะซื้ อไก่ที่ผสมแล้วจากบริ ษทั ไก่พนั ธุ์ก่อน จากนั้นจะเซ็น
สัญญากับผูเ้ ลี้ยงไก่ ให้ผเู้ ลี้ยงไก่เป็ นผูเ้ ลี้ยง บริ ษทั อาหารสัตว์ไม่เพียงแต่จดั หาอาหารสัตว์ให้ผเู้ ลี้ยง แต่ยงั ให้ยาที่ใช้ป้องกันโรคด้วย เมื่อไก่โตแล้ว
บริ ษทั อาหารสัตว์กจ็ ะรับซื้ อไก่เนื้อกลับไป

ผมได้เห็นไก่อายุ 8 สัปดาห์ มีน ้ำหนักถึง 1.5 กิโลกรัม แม้วา่ จะมีพ้ืนที่เพียงเล็กน้อย แต่กส็ ามารถเลี้ยงไก่ได้เป็ นจำนวนมาก โดยขณะนั้นเกษตรกรผู้
เลี้ยงไก่ของไทย 1 ราย สามารถเลี้ยงไก่ได้มากที่สุดเพียง 100 ตัวเท่านั้น ในขณะที่เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงไก่ของอเมริ กา 1 ราย สามารถเลี้ยงไก่ได้มากถึง
10,000 ตัว ยิง่ ไปกว่านั้น อาหารที่ไก่เนื้อกินก็นอ้ ยกว่าไก่พ้ืนเมืองมาก

ผมตัดสิ นใจนำเข้าไก่พนั ธุ์มาเมืองไทย ช่วงนั้นผูท้ ี่รับผิดชอบการบริ หารบริ ษทั อาร์เบอร์ เอเคอร์ส คือ Rodman Rockefeller ซึ่งเป็ นลูกชาย
ของ Nelson Rockefeller ซึ่ งต้องขอบคุณ David Rockefeller ที่เป็ นคนนัดหมายให้ผมได้พบกับ Rodman และหลังจากที่ได้
ประชุมกันแล้ว Rodman Rockefeller ก็ตกลงร่ วมลงทุนกับเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ทนั ที

ในปี พ.ศ. 2513 เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์กบั บริ ษทั อาร์เบอร์ เอเคอร์ส ร่ วมกันตั้งบริ ษทั ร่ วมทุน และพัฒนาธุรกิจไก่พนั ธุ์ในประเทศไทย ซึ่ งบริ ษทั อาร์
เบอร์ เอเคอร์ส ก็มีกิจการไก่เนื้อที่ประเทศอินเดียอยูด่ ว้ ย เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์จึงใช้วิธีนำเข้าไก่พนั ธุ์มาจากอินเดีย

ภายหลังครอบครัว Rockefeller ได้ขายหุน้ บริ ษทั อาร์เบอร์ เอเคอร์ส แต่ผมกับครอบครัว Rockefeller ยังคงรักษาความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
จนมาถึงวันนี้ การร่ วมมือทำธุรกิจกับธนาคารเชส แมนฮัตตันและครอบครัว Rockefeller เป็ นประสบการณ์ที่มีคุณค่าอย่างยิง่ ในชีวิตของผม
----------------------------------------------------
บทที่ 15: การผลิตแบบครบวงจร จากฟาร์ มสู่ โต๊ ะอาหาร

ในปี พ.ศ. 2513 ผมนำเข้าพันธุ์ไก่เนื้อจากบริ ษทั อาร์เบอร์ เอเคอร์ส ของสหรัฐอเมริ กา ไก่เนื้อจำเป็ นต้องมีคนเลี้ยง บริ ษทั อาหารสัตว์เซ็นสัญญา
กับเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงไก่ ให้เกษตรกรเป็ นผูเ้ ลี้ยง เมื่อไก่โตได้น้ำหนักที่ตกลงกันไว้แล้วบริ ษทั จึงรับซื้ อกลับไป ที่สหรัฐฯ รู ปแบบการเลี้ยงแบบนี้แพร่
หลายมากแล้ว ผมจึงตัดสิ นใจนำรู ปแบบธุรกิจนี้จากสหรัฐอเมริ กาเข้ามาในประเทศไทย และสิ่ งที่ตอ้ งทำเป็ นอันดับแรก คือทำให้เกษตรกรเชื่อมัน่ ใน
รู ปแบบการเลี้ยง

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ใช้รูปแบบการบริ หารที่บริ ษทั เป็ นผูร้ ับผิดชอบทั้งหมด โดยจะช่วยเกษตรกรจัดหาทุนโดยเป็ นตัวกลางประสานงานกับธนาคาร
แนะนำการสร้างฟาร์มเลี้ยงไก่ จัดหาอาหารที่ใช้เลี้ยงไก่และวัคซี นป้ องกันโรคให้เกษตรกร รวมถึงส่ งสัตวแพทย์เข้าไปให้บริ การด้วย ในช่วงแรก
เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงไก่ไม่เชื่อเลยว่าจะมีบริ ษทั ที่ดีขนาดนี้

ผมไปตามบ้านของเกษตรกรที่เลี้ยงไก่ ค่อย ๆ อธิบายพวกเขาว่า “ไม่วา่ ราคาตลาดอยูท่ ี่เท่าใด ซี พจี ะรับซื้ อตามราคาที่ระบุไว้ในสัญญาเมื่อไก่โต” ใน


ที่สุดก็มีเกษตรกรเลี้ยงไก่รายหนึ่งในอำเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี ตกลงเซ็นสัญญากับเรา จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2518 เริ่ มมีการเลี้ยงไก่เนื้ อในปริ มาณ
มาก กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงไก่ที่เคยเชื่อครึ่ งไม่เชื่อครึ่ ง เมื่อเห็นว่ามีผหู้ นั มาเลี้ยงไก่ในรู ปแบบที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์แนะนำ ก็ค่อย ๆ มีเกษตรกรรายอื่น ๆ
ทยอยเลี้ยงตามกันมา

ต้นปี พ.ศ. 2516 เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้สร้างโรงฟักไข่เพื่อส่ งลูกไก่เนื้อจำนวนมากให้เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงไก่ ขณะเดียวกันก็ได้สร้างโรงงานอาหาร


สัตว์ โรงเชือด และโรงงานแปรรู ปเนื้อไก่ที่บางนา ซึ่ งเป็ นเขตชานเมืองของกรุ งเทพฯ เมื่อไก่มีขนาดเท่ากันก็สามารถทำการแปรรู ปขั้นต้นด้วยเครื่ อง
ถอนขนไก่ได้ การแปรรู ปเนื้อไก่ดว้ ยระบบอัตโนมัติที่เคยเป็ นปั ญหาค้างคามาหลายปี ก็ได้รับการแก้ไขในที่สุด

ทำให้ ครบวงจร

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ได้ เริ่ มสร้ างกระบวนการผลิตไก่ เนือ้ แบบครบวงจรเป็ นครั้ งแรกในประเทศไทย ที่ อำเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี
เมื่อเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้สร้างโรงงานอาหารสัตว์ข้ึนเองแล้ว ก็สามารถผลิตอาหารสัตว์ให้พอเพียงกับการใช้งานได้ นอกจากนี้ยงั จัดตั้งบริ ษทั
ก่อสร้างฟาร์มไก่ และบริ ษทั ขนส่ งไก่อีกด้วย เครื อฯ ได้สร้างระบบการผลิตไก่เนื้อแบบครบวงจรในประเทศไทย กล่าวคือ ตั้งแต่อาหารสัตว์ที่เป็ นต้น
น้ำ จนถึงการแปรรู ปเนื้ อไก่ที่เป็ นปลายน้ำ

ในช่วงต้น เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงไก่ที่เซ็นสัญญากับเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ส่ วนใหญ่อยูใ่ นอำเภอศรี ราชา ในปี พ.ศ. 2520 เครื อฯ จึงได้ลงทุนสร้างโรงงาน
อาหารสัตว์ในอำเภอศรี ราชาขึ้น และภายหลังเครื อฯ ยังได้จดั รวมเอาทุกห่วงโซ่การผลิตเข้าไว้ดว้ ยกันอย่างครบถ้วน เพื่อสร้างระบบการผลิตแบบ
ครบวงจร กล่าวคือ นำโรงงานอาหารสัตว์ โรงฟักไข่ ฟาร์มเลี้ยงไก่ โรงเชือดและโรงงานแปรรู ปมาไว้ในบริ เวณเดียวกัน

ลูกไก่ที่ได้จากการฟักแล้วจะถูกส่ งไปฟาร์มเลี้ยงไก่ที่อยูใ่ กล้เคียง อาหารสัตว์กจ็ ะส่ งมาจากโรงงานที่อยูไ่ ม่ห่างกันนัก หลังจากที่ไก่โตแล้ว ฟาร์มเลี้ยง


ไก่จะส่ งไก่ไปโรงงานแปรรู ป แล้วเข้าสู่ กระบวนแปรรู ปเป็ นอาหารสำเร็ จรู ป เช่น ไก่ทอด ไส้กรอก เป็ นต้น จะเห็นได้วา่ ทุกกระบวนการผลิตจะอยู่
ในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน ตั้งแต่การปลูกข้าวโพด ซึ่ งเป็ นขั้นตอนแรกของการผลิตอาหารสัตว์ จนถึงการแปรรู ปอาหารซึ่ งเป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของการผลิต

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้สร้างฐานการผลิตไก่เนื้อ 3 แห่ง ได้แก่ เขตชานเมืองของกรุ งเทพฯ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ต่อมาธุรกิจเลี้ยง
หมู ธุรกิจเลี้ยงกุง้ ก็ใช้รูปแบบการผลิตแบบครบวงจรเช่นกัน โมเดลการบริ หารแบบครบวงจรนี้ ช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพในการผลิต สามารถตรวจสอบ
ย้อนกลับที่มาของอาหารได้ เป็ นวิธีการที่มีประสิ ทธิภาพอย่างยิง่ ยวด

ปั จจุบนั การผลิตแบบครบวงจรของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ยงั คงขยายห่วงโซ่อุปทานอย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ ขึ้นไปถึงจุดเริ่ มต้นของต้นน้ำในการพัฒนา


คุณภาพของเมล็ดพันธุ์ขา้ วโพด ให้มีการเจริ ญเติบโตที่ดีและได้ปริ มาณผลผลิตสู ง ในด้านปลายน้ำ เราเข้าสู่ ธุรกิจอาหารจานด่วนและธุรกิจค้าปลีก
เพื่อขยายช่องทางการจำหน่ายสิ นค้าของบริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้สร้างห่วงโซ่อุปทานอาหารแบบครบวงจร นับตั้งแต่ฐานการผลิตจากไร่ นา
หรื อฟาร์มเลี้ยงสัตว์ มาจนถึงโต๊ะอาหาร (From Farm to Table) ซึ่ งยังไม่มีบริ ษทั ใดมีห่วงโซ่อุปทานที่ครบถ้วนเช่นนี้

การที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์พฒั นาธุรกิจไก่เนื้อให้กา้ วหน้านั้น นับเป็ นการสร้างคุณประโยชน์ต่อภาคชนบทของประเทศไทยเป็ นอย่างยิง่ โดยการรับ


ซื้ อข้าวโพดที่เกษตรกรปลูก สร้างโอกาสให้มีอาชีพใหม่ในฟาร์มเลี้ยงไก่และโรงงาน ที่สำคัญไปกว่านั้น เครื อฯ ทำให้เนื้อไก่ที่เคยมีราคาสู งกลายเป็ น
อาหารราคาย่อมเยาที่ครัวเรื อนในชนบทก็สามารถซื้ อหารับประทานได้

----------------------------------------------------

บทที่ 16: ขยายธุรกิจสู่ ทวีปเอเชีย รอเวลากลับสู่ จีน

ผมเคยกล่าวไปแล้วว่าเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์มีความร่ วมมือทางธุรกิจกับบริ ษทั Takii & Co., Ltd. ของญี่ปุ่นมาตั้งแต่สมัยคุณพ่อแล้ว และเมื่อ
ผมเข้ามารับช่วงบริ หารงานเครื อฯ ก็ได้มีความร่ วมมือกับประเทศญี่ปุ่นเพิ่มมากขึ้น ในปี พ.ศ. 2515 โรงชำแหละไก่แห่งแรกที่บางนานำเข้าเครื่ อง
แช่แข็งจากบริ ษทั คู่คา้ ในประเทศญี่ปุ่น

ในปี ต่อมา เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เริ่ มส่ งออกเนื้อไก่สดแช่แข็งไปญี่ปุ่น โดยผ่านบริ ษทั Itoman Corporation (ปัจจุบนั คือบริ ษทั Nippon
Steel & Sumikin Bussan) เมื่อเห็นความสำเร็ จของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ บริ ษทั อื่น ๆ ในประเทศไทยก็เริ่ มลงทุนทำธุรกิจเลี้ยงไก่อย่างต่อ
เนื่อง จนทำให้ช่วงหนึ่ง ญี่ปุ่นนำเข้าเนื้อไก่สดแช่แข็งจากประเทศไทยถึงร้อยละ 30 ของเนื้อไก่สดแช่แข็งที่นำเข้าทั้งหมด

แต่น่าเสี ยดายที่ในปี พ.ศ. 2547 เกิดไข้หวัดนกระบาดเข้ามายังประเทศไทย ทำให้ไทยไม่สามารถส่ งออกเนื้อไก่สดแช่แข็งได้จนถึงปี พ.ศ. 2556


โชคดีที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้ร่วมมือทางธุรกิจกับบริ ษทั ที่ผลิตอาหารและเครื อข่ายธุรกิจร้านอาหาร (Chain Restaurant) ของญี่ปุ่นมา
ตั้งแต่ปลายทศวรรษ 2530 ที่ได้มีการปรับเปลี่ยนจากการส่ งออกเนื้อไก่สดแปรรู ปมาเป็ นส่ งออกอาหารแปรรู ปปรุ งสุ ก โดยปั จจุบนั ปริ มาณการส่ ง
ออกผลิตภัณฑ์ของเครื อฯ ไปยังญี่ปุ่นคิดเป็ นร้อยละ 20 ของปริ มาณการส่ งออกทั้งหมดของเครื อฯ
โรงงานอาหารสั ตว์ แห่ งแรกของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ที่ไต้ หวัน ก่ อสร้ างขึน้ ราวทศวรรษที่ 2510

ความเกือ้ กูลกันของชาวจีนโพ้ นทะเล

นอกจากญี่ปุ่น ผมยังมีโอกาสเดินทางไปไต้หวันบ่อยครั้ง โดยครั้งแรกคือตอนต้นทศวรรษ 2500 ระหว่างการเดินทางไปญี่ปุ่น สมัยนั้นสนามบิน


ไต้หวันมีรถแท็กซี่ นอ้ ยมาก เพื่อนของพีช่ ายผมขับรถยนต์ยหี่ อ้ โฟล์คมารับที่สนามบิน ซึ่ งเป็ นคุณลักษณะหนึ่งของชาวจีนโพ้นทะเลที่มกั จะมีคนรู้จกั
ในหลายประเทศทัว่ โลก และด้วยความช่วยเหลือของเพื่อน ๆ ชาวไต้หวัน ผมจึงได้เปิ ดโรงงานอาหารสัตว์แห่งแรกที่ไต้หวันในปี พ.ศ. 2510

ผมเคยเรี ยนหนังสื อที่ซวั เถาและสามารถพูดภาษาจีนแต้จิ๋วได้ แต่ยงั พูดภาษาจีนกลางซึ่ งเป็ นภาษาจีนมาตรฐานไม่ค่อยดีนกั ระหว่างที่ได้ติดต่องานกับ


คนไต้หวัน ทำให้ภาษาจีนกลางของผมพัฒนาดีข้ ึนเป็ นลำดับจนสามารถสื่ อสารได้คล่อง ซึ่งเป็ นประโยชน์อย่างมากในภายหลัง ต่อมากิจการที่
ไต้หวันได้พฒั นาไปสู่ ธุรกิจเลี้ยงไก่และอุตสาหกรรมแปรรู ปอาหารจากเนื้ อสัตว์ ขณะที่บริ ษทั ซึ่ งจดทะเบียนในท้องถิ่นก็เปลี่ยนเป็ นบริ ษทั จดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์ไต้หวันด้วย

ฮ่องกงเป็ นหนึ่งในฐานสำคัญของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์มานาน โดยในปลายทศวรรษ 2490 เครื อฯ ได้เข้าไปตั้งบริ ษทั อาหารสัตว์และบริ ษทั นำเข้า
ไข่ไก่ พอมาถึงทศวรรษ 2510 ก็ได้สร้างโรงงานอาหารสัตว์ นอกจากนี้ ยงั ได้ต้ งั บริ ษทั ลูกของเครื อฯ ซึ่ งเป็ นบริ ษทั โฮลดิ้ง (holding
company: บริ ษทั ที่ประกอบธุรกิจลงทุนในหุน้ เพื่อเป็ นเจ้าของหุน้ ใหญ่ในบริ ษทั อื่น ๆ) เช่น บริ ษทั การค้า บริ ษทั ประกันภัย และบริ ษทั การเงิน
เป็ นต้น ปัจจุบนั ยังมีอีกหลายบริ ษทั ในเครื อที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง เช่น C.P. Pokphand ที่ทำธุรกิจการเกษตร เป็ นต้น
เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ยงั ขยายธุรกิจที่มาเลเซี ยและสิ งคโปร์อีกด้วย ท่านประธานสุ เมธ พี่ชายคนที่ 3 ของผม เป็ นผูเ้ ข้าไปบุกเบิกธุรกิจที่อินโดนีเซี ย
แม้วา่ เครื อข่ายกิจการของเครื อฯ จะขยายไปในทวีปเอเชีย แต่กย็ งั ไม่ได้เข้าไปในจีนแผ่นดินใหญ่ ซึ่ งเป็ นสถานที่ที่ผมเคยไปเรี ยนชั้นประถมและมัธยม

ระหว่างปี พ.ศ. 2503-2513 ซึ่งเป็ นช่วงการปฏิวตั ิวฒั นธรรมในจีน ช่วงนั้นผูนำ ้ จีนอย่างหลิว เส้าฉี และเติ้ง เสี่ ยวผิง ถูกปลดออกจากตำแหน่ง
กิจกรรมทางเศรษฐกิจภาคเอกชนถูกระงับ ประเทศจีนและสหภาพโซเวียตซึ่ งต่างก็ยดึ ถือแนวทางการปกครองระบอบสังคมนิยมเกิดข้อขัดแย้งกัน จีน
ถูกโดดเดี่ยวจากทัว่ โลก คนจีนที่มีเพื่อนในต่างประเทศถูกมองว่าเป็ นฝ่ ายต่อต้านรัฐบาล ชาวจีนโพ้นทะเลเองก็ไม่สามารถกลับเข้าจีนแผ่นดินใหญ่ได้

คุณพ่อของผมดำเนินธุรกิจฟาร์มเกษตรที่ซวั เถาในช่วงทศวรรษ 2490 ถ้าตอนนั้นท่านไม่ออกจากประเทศจีนเนื่องจากต้องมารักษาตัวที่ฮ่องกง


ท่านอาจไม่มีชีวิตรอดแล้วก็ได้ ในช่วงนั้นรัฐบาลไทยก็ดำเนิ นนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์ คุณพ่อจึงไม่สามารถกลับประเทศไทยได้ ต้องอาศัยอยูท่ ี่
ฮ่องกงและสิ งคโปร์ และเฝ้ าคอยติดตามสถานการณ์ของจีนแผนดินใหญ่ คุณพ่อมักจะพูดกับผมว่า “ต้องเตรี ยมตัวไว้เสมอ เมื่อโอกาสกลับเมืองจีนมา
ถึง จะได้พร้อมเดินทางทุกเมื่อ”

ในช่วงปฏิวตั ิวฒั นธรรมนั้น การยิง่ ห้ามดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคเอกชน ได้ส่งผลให้ประชาชนจีนประสบภาวะยากจนข้นแค้นมากขึ้น


แต่คุณพ่อก็มีความเชื่อเสมอว่า สิ่ งใดก็ตามเมื่อดำเนินไปจนถึงที่สุดแล้ว ก็จะมีการพลิกเปลี่ยนกลับ และจะเกิดโอกาสในเวลาเดียวกัน ผมมีความคิด
เช่นเดียวกันกับคุณพ่อ ซึ่งการคาดการณ์ของท่านก็เป็ นจริ ง เพราะหลังจากมีการประกาศสิ้ นสุ ดการปฏิวตั ิวฒั นธรรมในปี พ.ศ. 2519-2520 เติ้ง
เสี่ ยวผิงได้กลับมากุมอำนาจทางการเมืองอีกครั้ง โดยท่านหันมาใช้นโยบายเปิ ดประเทศสู่ ภายนอกพร้อมทั้งทำการปฏิรูปเศรษฐกิจจีนครั้งใหญ่

----------------------------------------------------

ทที่ 17: หวนคืนสู่ จีน และพบครู ผ้ มู ีพระคุณอีกครั้ง

ในฐานะที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เป็ นลูกค้ารายใหญ่ของธนาคารเชส แมนฮัตตัน (Chase  Manhattan Bank) ที่ปัจจุบนั คือเจพี มอร์แกน เชส
(J.P. Morgan Chase) ธนาคารเชส แมนฮัตตันได้แนะนำให้เรารู้จกั กับบริ ษทั ที่ทำธุรกิจไก่เนื้อของสหรัฐอเมริ กา ต่อมาด้วยการแนะนำของ
ธนาคารฯ อีกเช่นกัน เครื อฯ ก็ได้ร่วมมือทางธุรกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้กบั บริ ษทั คอนติเนนตัล เกรน (Continental Grain) ซึ่ ง
เป็ นบริ ษทั ทำธุรกิจค้าวัตถุดิบรายใหญ่ของสหรัฐอเมริ กา

ในปี พ.ศ. 2521 จีนเริ่ มดำเนินนโยบายเปิ ดประเทศ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้ตดั สิ นใจทันทีในการร่ วมลงทุนกับบริ ษทั คอนติเนนตัล เกรน ทำธุรกิจ
อาหารสัตว์ที่จีนแผ่นดินใหญ่ หลังจากที่ผมออกมาจากจีนในช่วงทศวรรษ 2490 ผมก็ไม่ได้กลับไปอีกเลย เพราะในช่วงที่การปฏิวตั ิวฒั นธรรมแผ่
ขยายไปทัว่ ประเทศจีน (พ.ศ. 2503-2513) ชาวจีนโพ้นทะเลไม่สามารถกลับไปแผ่นดินบ้านเกิดที่จากมาได้

ปลายปี พ.ศ. 2522 หลังจากที่ผมออกจากจีนไปนานกว่า 20 ปี ผมก็ได้มีโอกาสเดินทางไปประเทศจีนอีกครั้งกับผูบ้ ริ หารระดับสู งของบริ ษทั คอน


ติเนนตัล เกรน โดยนัง่ เครื่ องบินจากฮ่องกงไปกวางเจา มณฑลกวางตุง้ การเดินทางครั้งนี้มีเวลาในจีนสั้นมาก หลังจากที่หารื อทางธุรกิจเสร็จลงใน
ช่วงเช้า ตอนเย็นก็รีบบินกลับฮ่องกงเลย ผมเคยอยูท่ ี่กวางเจาเป็ นระยะสั้น ๆ สมัยเรี ยนมัธยมช่วงปลายทศวรรษ 2490 ตอนนั้นกวางเจาเป็ นเมือง
ศูนย์กลางของจีนตอนใต้ที่เจริ ญรุ่ งเรื องมาก อีกทั้งยังเป็ นเมืองที่ดึงดูดชาวฮ่องกงเป็ นจำนวนมากอีกด้วย

เมื่อได้กลับไปกวางเจาอีกครั้ง ภาพที่สะท้อนในสายตาของผมกลับเป็ นบรรยากาศที่วงั เวงของช่วงปฏิวตั ิวฒั นธรรม วัดวาอารามและโบราณวัตถุที่มี


ค่าทางวัฒนธรรมถูกทำลายไปมาก กวางเจาแทบไม่เหลือเค้าความเจริ ญในอดีตให้เห็นเลย

บรรยากาศที่หดหู่เช่นนี้ หลายบริ ษทั ที่ต้ งั ใจจะกลับเข้ามาลงทุนต่างก็ถอยทัพ แต่ผมไม่คิดถอย เพราะคิดว่า “นี่แหละคือโอกาส” ในประเทศที่


เศรษฐกิจพัฒนาแล้วอย่างสหรัฐอเมริ กาและญี่ปุ่น โอกาสการพัฒนาธุรกิจจะมีนอ้ ย ขณะที่ประเทศจีนหลังการปฏิวตั ิวฒั นธรรมนั้นล้าหลังไปมาก ซึ่ง
เราสามารถเข้าไปบุกเบิกตั้งแต่ตน้ ได้ ดังนั้นผมจึงตัดสิ นใจไปลงทุนที่จีน

การรอคอยที่เนิ่นนาน
ครู เฉิ น (กลาง) คุณครู ประจำชั้นประถมศึกษาที่ ซัวเถา เราได้ พบกันอีกครั้ งเมื่อสิ ้นสุดยุคการปฏิ วัติวัฒนธรรม

การได้หวนกลับไปยังประเทศจีนในรอบนี้ ผมมีความตั้งใจว่าจะต้องหาโอกาสไปซัวเถาเพื่อเยีย่ มครู เฉิ น ซื อฟู่ (Chen Shifu) ซึ่ งเป็ นคุณครู
ประจำชั้นสมัยประถมที่ผมให้ความเคารพและระลึกถึงท่านอยูเ่ สมอ ในสมัยปฏิวตั ิวฒั นธรรม การติดต่อทางไปรษณี ยร์ ะหว่างจีนกับต่างประเทศถูก
สัง่ ห้าม ผมจึงไม่ได้ทราบถึงชีวิตความเป็ นอยูข่ องครู เลย

ผมใช้โอกาสที่ไปกวางเจาเพื่อคุยเรื่ องธุรกิจครั้งที่ 2 โทรศัพท์ไปที่ซวั เถา และทราบว่าครู เฉิ นยังอยูท่ ี่ซวั เถา ผมตัดสิ นใจไปเยีย่ มครู ที่เคยมีพระคุณกับ
ผมในทันที ครู เฉิ นมารับผมที่สนามบินด้วยตัวเอง ครู ที่อายุไม่ถึง 30 ปี ในตอนนั้น ตอนนี้กลับเป็ นผูส้ ู งวัยอายุเกือบ 60 ปี แล้ว “ครู ยงั ดูเหมือนเดิม
เลย ผมมองครู แวบเดียวก็จำครู ได้” ผมรู้สึกตื่นเต้นมากเมื่อได้เจอครู เฉิ นอีกครั้ง ใบหน้าของครู ยงั คงมีรอยยิม้ อยูเ่ สมอเหมือนดังเช่นเมื่อก่อน แต่ใน
ช่วงปฏิวตั ิวฒั นธรรม ครู เฉิ นก็ประสบกับความยากลำบากไม่นอ้ ย เพราะสมัยนั้นครู อาจารย์ถูกมองว่าเป็ นฝ่ ายต่อต้าน

สามีของครู เฉิ นซึ่ งเป็ นคุณครู ช้ นั มัธยม เคยเป็ นสมาชิกสภาท้องถิ่นในสมัยที่จีนปกครองโดยพรรคก๊กมินตัง๋ ทำให้ในช่วงปฏิวตั ิวฒั นธรรมสามีของครู
ต้องถูกจองจำ หลังจากปฏิวตั ิวฒั นธรรมสภาพครอบครัวของครู เฉิ นก็ไม่สามารถกลับมาเป็ นเหมือนเดิมได้อีก สมาชิกครอบครัวที่มีท้ งั หมด 3 คน
ต้องอาศัยกันอย่างเบียดเสี ยดในห้องเล็ก ๆ ที่มีขนาดเพียง 6-7 ตารางเมตร

หลังจากที่ผมได้เจอครู เฉิ นแล้ว เดิมทีผมจะซื้ อบ้านให้ครู หลังหนึ่ง แต่ครู เฉิ นไม่ยอมรับเพราะท่านชอบความเรี ยบง่าย ผมจึงได้แต่ให้ครู ไปอยูท่ ี่บา้ น
เก่าที่ผมเคยอยูต่ อนที่เรี ยนชั้นประถม หลังจากที่ซวั เถาเริ่ มมีการก่อสร้างอาคารคอนโดมิเนียมที่ทนั สมัย ผมจึงซื้ อห้องชุดให้ครู และให้ครู ยา้ ยเข้าไป
อยู่
ผมจะไปเยีย่ มครู เฉิ นทุกครั้งที่ไปซัวเถา ปี นี้ครู มีอายุครบ 93 ปี แล้ว แต่ร่างกายยังแข็งแรงอยู่ หลังจากที่สามีและลูกชายของครู เสี ยชีวิตไปแล้ว ชีวิต
ของครู กเ็ งียบเหงา แต่กไ็ ด้เพื่อน ๆ สมัยเรี ยนประถมที่ต่างหมัน่ ไปเยี่ยมดูแลครู ที่บา้ นเสมอ ๆ

----------------------------------------------------

บทที่ 18: ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหมายเลข 0001 บริษัทต่ างชาติบริษัทแรกในเซินเจิน้

ปี พ.ศ. 2522 ฮ่องกงยังคงอยูภ่ ายใต้การปกครองของอังกฤษ มีหมู่บา้ นชาวประมงเล็ก ๆ แห่งหนึ่งที่ต้ งั อยูข่ า้ ง ๆ เกาะฮ่องกง เมืองนั้นคือ “เซิ นเจิ้น”
ซึ่ งมีประชากรอยูเ่ พียงไม่กี่หมื่นคน แตกต่างกับปั จจุบนั ที่เซิ นเจิ้นมีประชากรมากกว่า 10 ล้านคน สมัยนั้นเซิ นเจิ้นยังไม่มีโรงแรมที่จะสามารถเข้าพัก
ได้สกั แห่ง เมื่อเติ้ง เสี่ ยวผิง ได้กลับมามีบทบาททางการเมืองอีกครั้ง หลังจากที่ถูกปลดออกในช่วงปฏิวตั ิวฒั นธรรมจีน ท่านได้ต้ งั หมู่บา้ นชาวประมง
เล็ก ๆ แห่งนี้เป็ นเขตเศรษฐกิจพิเศษที่กลายเป็ นต้นแบบดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ

ในตอนนั้นบริ ษทั ต่างประเทศส่ วนใหญ่ต่างมองเขตเศรษฐกิจพิเศษเซิ นเจิ้นด้วยความเคลือบแคลงสงสัย แต่ผมกลับเชื่อมัน่ ท่านเติ้ง เสี่ ยวผิง เนื่องจาก
ตั้งแต่ช่วงก่อนการปฏิวตั ิวฒั นธรรม ท่านก็มีวิสยั ทัศน์ที่เปิ ดโอกาสให้ภาคเอกชนมีบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจแล้ว เมื่อผมได้กลับไปประเทศจีน
ในปี พ.ศ. 2522 อีกครั้ง ผมรู้สึกได้ถึงความปรารถนาและความกระตือรื อร้นของชาวจีนซึ่ งอยากจะมีชีวิตความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน ผมเชื่อมัน่ เป็ นอย่าง
มากว่าจีนจะไม่กลับไปเดินบนเส้นทางดังเช่นสมัยปฏิวตั ิวฒั นธรรมอีกแล้ว

เริ่มเปิ ดสนาม

ในปี พ.ศ. 2523 รัฐบาลจีนประกาศจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษอย่างเป็ นทางการ ซึ่งประกอบด้วย 4 เมือง ได้แก่ เมืองเซิ นเจิ้น เมืองจูไห่ เมืองซัวเถา
ของมณฑลกวางตุง้ และเมืองเซี่ ยเหมินในมณฑลฝูเจี้ ยน หลังจากการปฏิวตั ิวฒั นธรรมสิ้ นสุ ดลง ข้าราชการระดับผูบ้ ริ หารท้องถิ่นในสมัยที่คุณพ่อยัง
ทำธุรกิจฟาร์มเกษตรอยูท่ ี่ซวั เถา ก็ทยอยกลับมามีบทบาทการเมืองอีกครั้ง การเจรจาร่ วมทุนทางธุรกิจเกิดขึ้นที่บา้ นของข้าราชการระดับสู งท่านหนึ่ง
ซึ่ งเป็ นเพื่อนเก่าของคุณพ่อที่เมืองกวางเจา มณฑลกวางตุง้ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ และบริ ษทั คอนติเนนตัล เกรน ของสหรัฐอเมริ กา ได้ร่วมลงทุนก่อตั้ง
บริ ษทั “เจียไต๋ คอนติ” (Chia Tai Conti) ซึ่งชื่อบริ ษทั 2 ตัวแรก ตั้งตามชื่อร้านเจียไต๋ กิจการเมล็ดพันธุ์ที่คุณพ่อตั้งขึ้นที่กรุ งเทพฯ เครื อเจริ ญ
โภคภัณฑ์ได้ใช้ชื่อ “เครื อเจียไต๋ ” (Chia Tai Group) ที่ประเทศจีนตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมา

ไม่นานรัฐบาลท้องถิ่นของเมืองเซิ นเจิ้นได้อนุมตั ิใบอนุญาตประกอบกิจการให้เครื อเจียไต๋ ได้ใบอนุญาตฯ เลขที่ 0001 ซึ่ งหมายถึง เครื อฯ เป็ น
บริ ษทั ต่างชาติรายแรกที่เข้าไปลงทุนที่เซิ นเจิ้น ในปี พ.ศ. 2524 โดยเป็ นการลงทุนเปิ ดโรงงานอาหารสัตว์ที่เซิ นเจิ้น และในบริ เวณใกล้เคียงกันก็ได้
สร้างฟาร์มเลี้ยงหมูและไก่ และเริ่ มทำธุรกิจครบวงจร (integration) ตามแบบที่เมืองไทย
ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหมายเลข 0001
เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ เป็ นบริ ษัทต่ างชาติรายแรกที่ เข้ าไปลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษเซิ นเจิ น้

เครื อเจียไต๋ ได้เริ่ มเปิ ดโรงงานพรมที่ซวั เถา และก็ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหมายเลข 1 เช่นกัน สมัยนั้นภัตตาคารของจีนจำนวนมากมีความ


ต้องการใช้พรม ธุรกิจของเราที่เริ่ มต้นในมณฑลกวางตุง้ ค่อย ๆ ขยายไปที่เมืองกวางเจาและเมืองจูไห่

เวลาต่อมาการเจรจาความร่ วมมือทางธุรกิจที่นครเซี่ ยงไฮ้ซ่ ึงเป็ นเมืองการค้าที่ใหญ่ที่สุด กลับเริ่ มต้นอย่างไม่ค่อยราบรื่ นนัก จากการที่ผมพยายาม


อธิบายรู ปแบบการเลี้ยงไก่ในเวลานั้นของไทยให้ มร. วาง เต้าหาน (Mr. Wang Daohan) ผูว้ า่ การนครเซี่ ยงไฮ้ฟังว่า “ที่เมืองไทย เกษตรกร
1 คน สามารถเลี้ยงไก่ได้ถึง 10,000 ตัว” แต่ท่านอาจจะรู้สึกสงสัยว่าทำได้จริ งหรื อ โบราณว่าสิ บปากว่าไม่เท่าตาเห็น ผมจึงเชิญคณะรองผูว้ า่ ฯ
นครเซี่ ยงไฮ้มาดูงานที่เมืองไทย

เมื่อคณะผูแ้ ทนจากเซี่ ยงไฮ้เดินทางถึงสนามบินนานาชาติดอนเมืองก็ถึงกับตกตะลึง เพราะสนามบินกรุ งเทพฯ ที่อยูต่ ่อหน้าพวกเขานั้นใหญ่กว่าสนาม


บินเซี่ ยงไฮ้หลายเท่านัก รถยนต์บนท้องถนนก็มีจำนวนมาก เพราะในช่วงปฏิวตั ิวฒั นธรรมจีนนั้น เศรษฐกิจของประเทศไทยได้เติบโตไปอย่าง
รวดเร็ ว

คณะผูแ้ ทนพูดกับผมด้วยความประหลาดใจว่า “พวกเราคิดว่าประเทศไทยยังล้าหลังกว่าประเทศจีน แต่เราน่าจะประเมินผิดเสี ยแล้ว” หลังจากที่


คณะฯ ได้ดูงานฟาร์มเลี้ยงไก่ที่เกษตรกร 1 คน เลี้ยงไก่ได้ 10,000 ตัว แล้ว เมื่อกลับถึงโรงแรมก็ประชุมกันต่อจนดึกและมีมติที่จะนำเทคโนโลยี
การเลี้ยงแบบนี้ไปใช้ ในที่สุดเราก็ได้เริ่ มทำธุรกิจเลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู และธุรกิจแปรรู ปเนื้อสัตว์ที่เซี่ ยงไฮ้ ภายหลังเจียไต๋ ยงั ได้ขยายกิจการเข้าไปใน
มณฑลเสฉวน และเขตการเกษตรแถบตะวันออกเฉี ยงเหนือใน 3 มณฑล จนกลายเป็ น 1 ใน 2 บริ ษทั ผลิตอาหารสัตว์ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศจีน

เจียไต๋ นำรู ปแบบการผลิตแบบครบวงจร ตั้งแต่การปลูก การผลิตอาหารสัตว์ จนถึงการแปรรู ปเนื้ อสัตว์เข้ามาในประเทศจีน เป็ นการกระตุน้ การ
พัฒนาธุรกิจในท้องถิ่น ธุรกิจสัญชาติจีนเองก็ยดึ เอาเจียไต๋ ซึ่งมีเทคโนโลยีที่ยอดเยีย่ มในด้านต่าง ๆ เป็ นแบบอย่าง เช่น สู ตรอาหารสัตว์ บางบริ ษทั ถึง
กับซื้ อตัวพนักงานด้านเทคนิคของเราไป การที่ธุรกิจอาหารสัตว์ ธุรกิจเลี้ยงไก่ และธุรกิจเลี้ยงหมูของจีน สามารถเพิ่มปริ มาณการผลิตได้ในระยะเวลา
อันสั้น อีกทั้งยังมีประสิ ทธิภาพในการผลิตสู งขึ้นนั้น ปฏิเสธไม่ได้วา่ เจียไต๋ มีส่วนอย่างสำคัญจากการนำเอาเทคโนโลยีที่ทนั สมัยเข้ามาในจีน

ก่อนที่จีนจะปฏิรูปเศรษฐกิจและดำเนินนโยบายเปิ ดประเทศ คนจีนต้องใช้คูปองในการแลกซื้ อไข่ไก่และเนื้อหมู ปั จจุบนั ถ้าต้องการจะรับประทานก็


ซื้ อได้ทนั ที และนี่เป็ นสิ่ งที่ระบบคอมมูนและรัฐวิสาหกิจทำไม่ได้ แต่เอกชนสามารถทำให้เกิดขึ้นได้

----------------------------------------------------

บทที่ 19: ธุรกิจมอเตอร์ ไซค์ ความสำเร็จครั้งใหม่ ที่เกิดขึน้ จาก “การคิดต่ าง”

วันหนึ่งพี่ชายซึ่ งเป็ นลูกพี่ลูกน้องของผมมาถามว่า “สนใจอยากเป็ นตัวแทนส่ งออกมอเตอร์ไซค์ซิ่งฝูที่ผลิตโดยประเทศจีนไหม” ตอนนั้นเป็ นช่วงต้น


ทศวรรษ 2520 ซึ่ งเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เพิง่ เข้าไปทำธุรกิจในจีนได้ไม่นาน สมัยนั้นเซี่ ยงไฮ้เป็ นผูผ้ ลิตรถมอเตอร์ไซค์ยหี่ ้อ “ซิ่ งฝู” (Xingfu)
และเป็ นช่วงที่จีนขาดแคลนเงินตราต่างประเทศ จึงต้องการจะใช้การส่ งออกเพื่อดึงดูดเงินตราต่างประเทศ

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้จดั ประชุมที่ฮ่องกงเพื่อปรึ กษาหารื อเรื่ องนี้ และเมื่อบรรดาผูบ้ ริ หารระดับสู งได้รับทราบต่างก็พากันแสดงท่าทีไม่ค่อยมัน่ ใจว่า
ธุรกิจตัวแทนขายมอเตอร์ไซค์ซิ่งฝูจะมีความเป็ นไปได้ และมีความคิดเห็นทำนองว่า “นี่ไม่ใช่การขายของโบราณใช่ไหม แบบรถดูโบราณ ทำความ
เร็ วได้นอ้ ย คงไม่มีคนต้องการซื้ อ” เนื่องจากแม้วา่ มอเตอร์ไซค์ยหี่ อ้ ซิ่ งฝูจะผลิตโดยบริ ษทั ของเซี่ ยงไฮ้แต่กลับมีโมเดลเหมือนรถมอเตอร์ ไซค์ที่ผลิตใน
ยุโรปช่วงทศวรรษ 2480-2490

ในที่ประชุม ผมตอบไปว่า “ถ้าเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้เป็ นตัวแทนเพียงรายเดียวในโลก ผมจะทำ” และได้บอกกับพี่ชายที่เป็ นญาติผพู้ ี่ของผมว่า
“เงื่อนไขคือให้ผซู้ ้ื อชำระเงินที่ฮ่องกง แล้วรับสิ นค้าที่จีน พี่ไปถามเจ้าของโรงงานที่เซี่ ยงไฮ้ว่าตกลงตามเงื่อนไขที่ผมเสนอไหม” คนในที่ประชุมเมื่อ
ได้ยนิ ดังนั้นก็รู้สึกสงสัยปนประหลาดใจ แต่ผมมีแผนในใจแล้ว...
เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ เริ่ มเข้ าไปดำเนินธุรกิจรถจักรยานยนต์ ในประเทศจี นราวทศวรรษที่ 2520

รถคันเดิม ปรับวิธีใหม่

ในช่วงต้นทศวรรษ 2520 ประเทศจีนเพิ่งเริ่ มดำเนินนโยบายเปิ ดประเทศ ชาวจีนโพ้นทะเลจำนวนมาก เมื่อเดินทางกลับบ้านเกิด ต้องเอารถ


มอเตอร์ไซค์กลับมาด้วย ในสมัยนั้นรถยนต์มีนอ้ ยมาก คนส่ วนใหญ่มีเพียงจักรยาน ถนนหนทางในชนบทก็แคบมาก พาหนะที่สะดวกที่สุดที่ใช้ใน
การเดินทางไปไหนมาไหนก็คือมอเตอร์ ไซค์ที่สามารถบรรทุกสิ่ งของได้เกือบทุกอย่าง เช่น ผัก ผลไม้ กุง้ หมู หรื อแม้แต่คน สมัยนั้นการขนส่ งจากซัว
เถาไปกวางเจาต้องอาศัยมอเตอร์ ไซค์เป็ นหลัก ถึงแม้วา่ แบบของมอเตอร์ไซค์ยหี่ อ้ ซิ่ งฝูจะดูโบราณ แต่กเ็ ป็ นพาหนะที่ใช้แทนการเดินและใช้ในการ
ขนส่ ง จึงถือว่ายังมีประโยชน์มากในจีน

อย่างไรก็ตาม ความท้าทายของเราก็คือ จะขายมอเตอร์ไซค์ในจีนอย่างไรถึงจะได้เงินจากต่างประเทศ ผมได้ต้ งั กลุ่มลูกค้าเป้ าหมายเป็ นชาวจีนโพ้น


ทะเลที่ตอ้ งไปอยูต่ ่างประเทศ รวมถึงญาติ ๆ ของพวกเขาที่อยูใ่ นประเทศจีน โดยปรับวิธีการขายคือ ให้คนที่ซ้ื อมอเตอร์ไซค์โอนเงินจากต่างประเทศ
มาที่ฮ่องกง เมื่อเงินเข้าบัญชีแล้วจึงค่อยมารับรถที่จีน วิธีการขายแบบนี้ ช่วยลดภาระของชาวจีนโพ้นทะเลที่ตอ้ งหาซื้ อรถมอเตอร์ไซค์มาจากต่าง
ประเทศเวลากลับบ้าน อีกทั้งยังอำนวยความสะดวกแก่ญาติพี่นอ้ งของชาวจีนโพ้นทะเลให้สามารถซื้ อรถมอเตอร์ ไซค์ภายในประเทศได้อีกด้วย

ผมได้ลงโฆษณาในหนังสื อพิมพ์ ข้อความว่า โอนเงินจากต่างประเทศมาฮ่องกงก็สามารถมารับรถมอเตอร์ไซค์ในจีนได้ เมื่อโฆษณานี้ ออกไป รถ


มอเตอร์ไซค์จำนวน 20,000 คันก็ขายหมดทันที โรงงานในเซี่ ยงไฮ้กไ็ ด้รับเงินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศก้อนใหญ่ รัฐบาลเซี่ ยงไฮ้ได้เชิญผมไปพบ
และถามว่า อยากจะร่ วมลงทุนผลิตรถมอเตอร์ ไซค์กบั โรงงานที่เซี่ ยงไฮ้หรื อไม่ ภายหลังผมจึงได้ก่อตั้งบริ ษทั Shanghai Ek-Chor
Motorcycle Co., Ltd. ขึ้น

บริ ษทั เห็นว่าจำเป็ นต้องใช้เทคโนโลยีในการผลิตมอเตอร์ไซค์ใหม่ ๆ ไม่สามารถยึดรู ปแบบเดิม ๆ อย่างยีห่ อ้ ซิ่ งฝูได้ ผมจึงนึกถึงบริ ษทั ฮอนด้า ซึ่ง
สมัยนั้นฮอนด้าผลิตมอเตอร์ ไซค์รุ่น “ซีจี125” (CG125) ที่ได้รับความนิยมในประเทศที่กำลังพัฒนาอย่างประเทศไทยเป็ นอย่างมาก ผมจึงไป
พบบริ ษทั ในญี่ปุ่นเพื่อพูดคุยหาโอกาสในการทำธุรกิจในเซี่ ยงไฮ้ โดยมีขา้ ราชการเซี่ ยงไฮ้ร่วมเดินทางไปด้วย ระหว่างการเจรจา ทางฮอนด้าแสดง
ความสนใจจะลงทุนในรู ปแบบบริ ษทั ร่ วมทุน แต่ผมอธิบายว่า การตั้งบริ ษทั ร่ วมทุนเป็ นเรื่ องยุง่ ยาก และยังนำมาซึ่ งความเสี่ ยง หลังจากที่ทางฮอนด้า
ได้พิจารณาไตร่ ตรองอย่างรอบคอบแล้ว ก็เปลี่ยนเป็ นการให้ลิขสิ ทธิ์ เทคโนโลยีการผลิตแทน ภายหลังจากลงทุนผลิตมอเตอร์ ไซค์ในปี พ.ศ. 2528
แล้ว รถมอเตอร์ไซค์ฮอนด้าของบริ ษทั Shanghai Ek-Chor Motorcycle ก็ดงั เป็ นพลุแตก

การทำธุรกิจให้ สำเร็จต้ องคิดต่ าง ไม่มีใครคิดมาก่อนว่ามอเตอร์ไซค์ยหี่ อ้ ซิ่ งฝู ซึ่งไม่มีใครสนใจมาก่อนเมื่อปรับวิธีการขายแล้ว กลับกลายเป็ นสิ นค้าที่
ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมาก ด้วยเหตุน้ ีเครื อเจียไต๋ จึงเข้าสู่ ธุรกิจผลิตรถมอเตอร์ไซค์และรถยนต์ในประเทศจีน ซึ่ งเป็ นธุรกิจใหม่ของเครื อฯ

----------------------------------------

ทที่ 20: Chia Tai Vision รายการที่พลิกโฉมวงการโทรทัศน์ จีน

ผมมีโอกาสได้ไปประเทศจีนบ่อยขึ้น ทุกครั้งที่ไปประเทศจีน ผมจะดูรายการโทรทัศน์ของจีนทั้งด้วยความบังเอิญบ้างและด้วยความ


ตั้งใจบ้าง ผมคิดว่าเนื้อหารายการโทรทัศน์ของจีนนั้นไม่ค่อยน่าสนใจเลย ทันใดนั้นความคิดอยากเป็ นผูกำ
้ กับภาพยนตร์ต้งั แต่สมัย
เด็กก็ผดุ ขึ้นมา ทำให้ผมเกิดความคิดต้องการจะผลิตรายการโทรทัศน์ที่สนุกและมีสาระเพื่อออกอากาศในประเทศจีน

ผมมีเพื่อนชาวไต้หวันคนหนึ่งชื่อ มร. ออง ปิ่ ง หรง (Mr. Ping Yung Ongg) เขาเป็ นผูบ้ ุกเบิกกิจการโทรทัศน์ที่ไต้หวัน
โดยเริ่ มจากการทำงานเป็ นเจ้าหน้าที่สถานีวิทยุจนไต่เต้าขึ้นสู่ ตำแหน่งผูบ้ ริ หาร อีกทั้งยังร่ วมบุกเบิกทำ “สถานีโทรทัศน์จีน”
(China TV: CTV) ซึ่งเป็ นสถานีโทรทัศน์ทอ้ งถิ่นของไต้หวัน นอกจากนี้เขายังใช้ชีวิตอยูท่ ี่ญี่ปุ่นหลายปี ในฐานะตัวแทน
บริ ษทั สื่ อของไต้หวันประจำกรุ งโตเกียวอีกด้วย ซึ่งที่ญี่ปุ่น หากเอ่ยถึงชื่อ มร. ออง ที่เป็ นคุณพ่อของคุณจูด้ ี ออง (Judy Ongg)
นักร้องชื่อดัง ทุกคนต่างก็รู้จกั ทั้งนั้น

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เริ่ มเข้าไปลงทุนที่ไต้หวันตั้งแต่ยคุ 2510 ผมเดินทางไปไต้หวันบ่อยครั้ง และได้รู้จกั กับ มร. ออง ซึ่งเป็ นผู้
ผลิตรายการโทรทัศน์ที่โดดเด่นจากการแนะนำของนักธุรกิจชาวไต้หวันท่านหนึ่ง เมื่อเราได้พบกันก็รู้สึกชอบพอกันทันที และไปมา
หาสู่ จนกลายเป็ นเพื่อนสนิท

ช่วงทศวรรษ 2520 ในแวดวงชาวจีนโพ้นทะเล ไม่มีใครรู้จกั และคุน้ เคยรายการโทรทัศน์ของต่างประเทศดีเท่ากับ มร. ออง ผมได้


ก่อตั้งบริ ษทั ผลิตรายการโทรทัศน์ข้ ึนที่ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ โดยเชิญ มร. ออง มาดำรงตำแหน่งประธาน ไม่นานเราก็ได้รับโอกาสให้
นำรายการที่ผลิตขึ้นมาออกอากาศที่สถานีโทรทัศน์ CCTV ของจีน รวมทั้งเป็ นสปอนเซอร์ดว้ ย และนี่จึงเป็ นที่มาของรายการ
Chia Tai Variety Show

รายการ Chia Tai Variety Show เป็ นรายการที่จะมาพูดคุย แนะนำสถานที่และประเพณี ทอ้ งถิ่นในที่ต่าง ๆ ของประเทศ
จีนและของโลก โดยเชิญผูช้ มมาชมที่โรงถ่าย รายการทอล์คโชว์ประเภทนี้ เป็ นที่คุน้ เคยกันมานานแล้วในประเทศญี่ปุ่นและ
สหรัฐอเมริ กา แต่เป็ นเรื่ องแปลกใหม่สำหรับชาวจีนในขณะนั้น รายการออกอากาศครั้งแรกในเดือนเมษายน พ.ศ. 2533 โดยออก
อากาศสัปดาห์ละ 1 ครั้ง เพลงประกอบรายการขับร้องโดยคุณจูด้ ี ออง โดยมี มร. ออง เป็ นผูป้ ระพันธ์คำร้อง

พิธีกรของรายการ คือ หยาง หลาน (Yang Lan) ซึ่งขณะนั้นมีอายุเพียง 22 ปี เธอเรี ยนจบจากภาควิชาภาษาอังกฤษที่


Beijing Foreign Studies University เธอเป็ นเด็กสาวที่มีความน่ารัก ทุกครั้งที่ดำเนินรายการเธอจะสวมชุดที่มีสีสนั
สดใสขึ้นกล้อง จึงดึงดูดผูช้ มได้เป็ นจำนวนมาก ซึ่งเป็ นการสร้างความแตกต่างจากรายการอื่น ๆ และสิ่ งที่ผชู้ มคุน้ เคยแบบเดิม ๆ คือ
ภาพของพิธีกรวัยกลางคนที่มานัง่ อ่านข่าวด้วยท่วงท่าสุ ขมุ เรี ยบเฉย หยาง หลาน จึงนับเป็ นปรากฏการณ์แปลกใหม่ที่สร้างความตื่น
ตาตื่นใจให้กบั วงการโทรทัศน์จีนอย่างมาก
ในยุคนั้นรายการ Wonder of the World ของ Chia Tai Vision เป็ นรายการแนะนำเรื่ องราวที่น่าสนใจของต่าง
ประเทศที่คนจีนไม่ค่อยได้รับรู้ สมัยนั้นชาวจีนส่ วนใหญ่ยงั ไม่มีโอกาสได้สมั ผัสเรื่ องราวของต่างประเทศมากนัก รายการ
Wonder of the World ทำให้ผชู้ มได้ท่องโลกเหมือนได้เดินทางไปด้วยตัวเอง มีคนจำนวนไม่นอ้ ยเมื่อได้ชมรายการ
Wonder of the World แล้วถึงกับตั้งใจจะไปเที่ยว หรื อศึกษาต่อที่ต่างประเทศเลยทีเดียว

รายการ Chia Tai Variety Show ได้รับคำชื่นชมจากผูช้ มเป็ นอย่างมาก ทุกสัปดาห์เมื่อมีการออกอากาศ มีผชู้ มถึง 500-
600 ล้านคนรอชมช่วงรายการเพลง “The Devotion of Love” ที่คุณจูด้ ี ออง ขับร้อง ได้กลายเป็ นเพลงฮิตติดหูติดปาก
ทุกคน นอกจากนี้ยงั มีรายการ Chia Tai Theatre จะมีการฉายภาพยนตร์ต่างประเทศสัปดาห์ละ 1 ครั้ง รายการ Chia Tai
Variety Show และรายการ Chia Tai Theatre ทำให้ความฝันในวัยเด็กของผมที่อยากเป็ นผูกำ ้ กับภาพยนตร์เป็ นจริ ง
อีกทั้งยังเปิ ดโลกทัศน์ให้กบั คนจีนในสมัยนั้นได้อีกด้วย

หลังจากที่ มร. ออง เกษียณอายุแล้ว รายการ Chia Tai Variety Show ก็ยงั คงออกอากาศอยู่ และกลายเป็ นรายการที่ออก
อากาศยาวนานที่สุดของประเทศจีน ชื่อเสี ยงของ Chia Tai Variety Show ก็ยงั ทำให้คนจีนที่ไม่เคยรู้จกั บริ ษทั ได้คุน้ เคย
กับชื่อ “เจียไต๋ ” มากขึ้น

ภายหลัง หยาง หลาน ไปเรี ยนต่อที่สหรัฐอเมริ กา ซึ่งผมเป็ นผูใ้ ห้ทุนการศึกษาแก่เธอ ครั้งหนึ่งที่ผมเดินทางไปกรุ งวอชิงตัน ประเทศ
สหรัฐอเมริ กา หยาง หลาน และสามี ก็ยงั ได้มาหา หยาง หลาน ไม่เพียงเป็ นพิธีกรที่มีชื่อเสี ยง แต่ยงั เคยมีบทบาททางการเมืองใน
ฐานะสมาชิกสภาที่ปรึ กษาทางการเมืองแห่งชาติจีนอีกด้วย
 

โปสเตอร์ รายการ “Chia Tai Variety Show” รายการบันเทิ งที่ ออกอากาศยาวนานที่ สุดของประเทศจี น

 
----------------------------------------

บทที่ 21: เชื่อมั่นในท่ านเติง้ เสี่ ยวผิง เจียไต๋ จึงเติบโตในจีน

เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2533 ผมได้ มีโอกาสพบกับท่ านเติง้ เสี่ ยวผิง ผู้นำสู งสุ ดของประเทศจีนที่ปักกิง่ แม้ก่อนหน้านั้นผมจะเคยได้ร่วมกับคณะ
นายกรัฐมนตรี ของไทยไปพบท่านมาแล้วหลายครั้ง แต่ครั้งนี้ท่านให้ผมเข้าพบในฐานะประธานเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ แม้วา่ จะอยูใ่ นวัย 85 ปี แต่ท่าน
ก็ยงั พูดคุยด้วยน้ำเสี ยงที่ชดั เจนและสดใส

“ชื่อของพวกคุณพี่นอ้ ง ตั้งได้ดีมาก” ท่านเติ้ง เสี่ ยวผิง จับมือผมพลางพูดถึงชื่อภาษาจีนของพวกเราพี่นอ้ งทั้งสี่ คน ซึ่ งก่อนหน้านี้ผมได้เคยบอกไป


แล้วว่า คุณพ่อของผมเป็ นผูต้ ้ งั ชื่อให้พวกเรา ได้แก่ เจิ้งหมิน ต้าหมิน จงหมิน และกัว๋ หมิน (ผม) เมื่อนำคำหน้ามารวมกันจะได้คำว่า “เจิง้ ต้ า จงกัว๋ ”
ซึ่งแปลว่ า ยุติธรรม และประเทศจีน หรือเป็ นประโยคที่ความหมายโดยรวมว่ า “เพือ่ ให้ ประเทศจีนเดินตามเส้ นทางที่ถูกต้ อง และพัฒนาให้ ยงิ่ ใหญ่
เข้ มแข็ง”

ผมได้ พบกับท่ านเติง้ เสี่ ยวผิงผู้นำสู งสุดของจี นเมื่อเดือนเมษายนพ.ศ. 2533

ย้อนไปในปี พ.ศ. 2532 ประเทศจีนเกิดความวุน่ วายทางการเมือง ท่านจ้าว จื่อหยาง (Zhao Ziyang) ซึ่งเป็ นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่ง
ชาติจีนในตอนนั้นต้องลงจากอำนาจ ในขณะที่บริ ษทั ต่างชาติทยอยถอนการลงทุนจากประเทศจีน แต่เครื อเจียไต๋ (ชื่อของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ที่
ประเทศจีน) กลับเพิ่มการลงทุนโดยไม่ลงั เลใจใด ๆ ทั้งสิ้ น

เราเป็ นบริ ษทั แรก ๆ ที่เข้าไปลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษที่ท่านเติ้ง เสี่ ยวผิง ตั้งขึ้น ท่านผูนำ


้ สู งสุ ดต้อนรับเราอย่างอบอุ่น การพบกันครั้งนี้ ไม่เพียง
เพื่อแสดงความชื่นชมในความสำเร็ จทางธุรกิจเท่านั้น ยังเป็ นการแสดงออกเจตนารมณ์ที่จะรักษาการลงทุนจากต่างประเทศไว้ในสถานการณ์ที่เปราะ
บางระหว่างจีนกับโลกภายนอกในขณะนั้น

“ผมหวังว่าชาวจีนโพ้นทะเลที่มีอยูก่ ว่าสิ บล้านคนทัว่ โลก จะสนใจกลับมาลงทุนในจีนเหมือนเช่นกับท่าน จีนจะดำเนินนโยบายการเปิ ดประเทศอย่าง


ต่อเนื่องและเพิ่มมาตรการให้เปิ ดประเทศมากขึ้น” ท่านเติ้ง เสี่ ยวผิง กล่าวกับผมด้วยน้ำเสี ยงที่เต็มไปด้วยความจริ งใจ และแฝงด้วยความหมายที่ลึกซึ้ ง

เดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2535 ท่านเติ้ง เสี่ ยวผิง ซึ่ งมีอายุมากแล้ว ได้เดินทางไปสำรวจเขตเศรษฐกิจพิเศษเซิ นเจิ้น ท่านได้ประกาศให้จีนเร่ งการ
ปฏิรูปและเปิ ดประเทศให้มากขึ้น ซึ่งเป็ นเหตุการณ์ครั้งสำคัญที่ทำให้บรรยากาศการลงทุนภายในและนอกประเทศจีนเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว
นักลงทุนต่างชาติหลัง่ ไหลเข้ามาลงทุนในประเทศจีนเป็ นจำนวนมาก การที่เจียไต๋ ได้เข้าไปลงทุนในประเทศจีนก่อนหน้าบริ ษทั อื่น ๆ เราจึงอยูใ่ น
ฐานะที่ได้เปรี ยบในเรื่ องโอกาสที่จีนจะเปิ ดให้ก่อน

เล็งเห็นโอกาส

ปลายทศวรรษ 2520-ต้นทศวรรษ 2530 นายจู หรงจี (Zhu Rongji) ซึ่ งในขณะนั้นเป็ นผูว้ า่ การนครเซี่ ยงไฮ้ ภายหลังได้ดำรงตำแหน่ง
นายกรัฐมนตรี คนที่ 9 ของประเทศจีน ได้เสนอแผนพัฒนาเขตผูต่ ง (Pudong) ขึ้น นครเซี่ ยงไฮ้น้ นั มีการแบ่งออกเป็ น 2 เขตใหญ่ ๆ คือ เขตผูต่ ง
ฝั่งตะวันออกและเขตผูซ่ ี ฝั่งตะวันตก โดยมีแม่น้ำหวงผู่ (Huangpu) ไหลผ่านกลางเมืองเป็ นเส้นแบ่งเขต เวลานั้นฝั่งผูซ่ ี (Puxi) เป็ นเขต
พาณิ ชย์ ส่ วนฝั่งผูต่ งเป็ นโรงต่อเรื อและที่นา

ตอนนั้นธุรกิจเลี้ยงไก่และธุรกิจรถมอเตอร์ไซค์ของเจียไต๋ ที่เซี่ ยงไฮ้ประสบความสำเร็ จ ท่านจู หรงจี ผูว้ า่ การนครเซี่ ยงไฮ้ จึงอยากให้เจียไต๋ เข้ามาช่วย
พัฒนาพื้นที่ผตู่ ง ซึ่ งเดิมทีพ้ืนที่ส่วนใหญ่ยงั รกร้าง ขนาดบริ ษทั อสังหาริ มทรัพย์ของฮ่องกงยังไม่สนใจเลย แต่สญ
ั ชาตญาณบอกผมว่า “ไม่ชา้ ก็เร็ ว ผู่
ตงจะเป็ นพื้นที่เจริ ญแน่นอน” เพราะฝั่งตรงข้ามผูต่ ง คือเขตการค้าผูซ่ ี ที่เจริ ญรุ่ งเรื อง

การพัฒนาเขตผูต่ งเริ่ มจากการตัดถนน เจียไต๋ ได้ ลงทุนสร้ างห้ างสรรพสิ นค้ า “ซู เปอร์ แบรนด์ มอลล์ ” ที่มีมูลค่าการลงทุนประมาณ 450 ล้านดอลลาร์
สหรัฐ (15,300 ล้านบาท) ตั้งอยู่เยือ้ งกับ “หอไข่ มุก” ซึ่งเป็ นสั ญลักษณ์ ของนครเซี่ยงไฮ้ ใช้เวลาในการก่อสร้างหลายปี จนในที่สุดก็ได้เปิ ด
ตัวอย่างเป็ นทางการในปี พ.ศ. 2545 และเป็ นดังที่ผมคาดการณ์ไว้ เมื่อเขตผูต่ งได้เชื่อมกับเขตผูซ่ ี ดว้ ยสะพานและอุโมงค์ที่สร้างขึ้นมาใหม่ ก็ได้ทำ
ให้ผตู่ งกลายเป็ นเขตการค้าที่รุ่งเรื องแห่งที่ 2 ของนครเซี่ ยงไฮ้

เจียไต๋ เริ่มธุรกิจโลตัส ซู เปอร์ เซ็นเตอร์ จากเขตผู่ตง แล้ วขยายไปทั่วประเทศจีน ปัจจุบันมีเครือข่ ายร้ านกว่ า 80 สาขา เจียไต๋ ยงั ได้กา้ วไปสู่ ธุรกิจ
เวชภัณฑ์ จากพื้นฐานความต้องการผลิตภัณฑ์ยาในธุรกิจเลี้ยงไก่และหมู ต่อมาเราจึงได้เข้าไปลงทุนในบริ ษทั ผลิตยาต่าง ๆ ของประเทศจีนกว่า 20
บริ ษทั ซึ่ งเป็ นยาที่ใช้กบั คน เช่น บริ ษทั ที่ผลิตยา “ซานจิ่วเว่ยไท่” (Sanjiuweitai) และ “ชิงชุนเป่ า” (Qingchunbao) เป็ นต้น

เครือเจียไต๋ เข้ าไปลงทุนทั่วประเทศจีน ยกเว้นมณฑลชิงไห่และทิเบต ปัจจุบันมีกจิ การมากกว่ า 300 บริษทั ครอบคลุมธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรม


ธุรกิจอาหาร ธุรกิจยานยนต์ ธุรกิจรายการโทรทัศน์ ธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจเวชภัณฑ์ เป็ นต้น นับเป็ นมูลค่าการลงทุนรวมถึง 110,000 ล้านหยวน
(550,000 ล้านบาท) มียอดขายในปี พ.ศ. 2558 ประมาณ 100,000 ล้านหยวน (500,000 ล้านบาท) ความจริ งได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า
ความเชื่อมัน่ ในวิสยั ทัศน์ของท่านเติ้ง เสี่ ยวผิง นำมาซึ่ งความเติบโตของการดำเนินธุรกิจในประเทศจีนที่เห็นได้อย่างชัดเจน
ซูเปอร์ แบรนด์ มอลล์ ตั้งอยู่เยือ้ งกับหอไข่ มกุ สั ญลักษณ์ ของนครเซี่ ยงไฮ้ เปิ ดเมื่อปี พ.ศ. 2545

ห้ างโลตัสซูเปอร์ เซ็นเตอร์ (ปั จจุบันใช้ ชื่อว่ าซี .พี. โลตัส)ธุรกิจค้ าปลีกของเครื อฯในประเทศจี น (ภาพจากผู้จัดการออนไลน์ )

----------------------------------------

บทที่ 22: วิสัยทัศน์ ครัวของโลก


หากมีใครถามผมว่าจะสื บทอดและรักษากิจการให้คงอยูต่ ่อไปได้อย่างไร ผมจะตอบว่า วิธีการมีอยูอ่ ย่างเดียวคือ “ต้ องพัฒนาและคิดสร้ างสรรค์ สิ่ง
ใหม่ อย่ างต่ อเนื่อง” คุณพ่อของผมเริ่ มจากการสร้างกิจการขายเมล็ดพันธุ์ พี่ ๆ ก็ได้ช่วยกันขยายกิจการสู่ ธุรกิจอาหารสัตว์ เมื่อผมเข้ามาสื บทอดการ
บริ หารต่อ ก็พฒั นาธุรกิจอีกหลากหลายด้าน ได้แก่ เลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู เลี้ยงกุง้ แปรรู ปอาหาร ค้าปลีก โทรคมนาคม และอื่น ๆ อย่างต่อเนื่อง จะเห็นว่า
เราไม่เคยหยุดการพัฒนาเลย

ในช่วงทศวรรษ 2510 หลังจากทำธุรกิจเลี้ยงไก่ได้ไม่นาน ผมก็เริ่ มทำธุรกิจเลี้ยงหมู ซึ่งก็มีรูปแบบคล้ายกับการเลี้ยงไก่ นัน่ คือเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์
ให้ลูกหมูแก่เกษตรกรเพื่อนำไปเลี้ยง หลังจากที่หมูโตแล้ว บริ ษทั ก็จะรับซื้ อกลับไป แล้วนำเนื้อหมูไปแปรรู ปและขายเป็ นอาหารต่อไป เครื อฯ เป็ นผู้
สร้างฟาร์มเลี้ยงหมูและจัดหาอาหารสัตว์ให้เกษตรกร ในช่วงทศวรรษที่ 2520 เครื อฯ ได้ร่วมมือทางธุรกิจกับบริ ษทั ในยุโรปและสหรัฐอเมริ กา นำ
เข้าหมูที่ได้รับการปรับปรุ งพันธุ์แล้วสู่ ประเทศไทย อย่างไรก็ตาม เนื้อหมูของยุโรปและสหรัฐอเมริ กาไม่ถูกปากคนไทยนัก ทำให้ เครื อฯ ริ เริ่ มที่จะ
พัฒนาพันธุ์หมูข้ ึนเองจนสำเร็ จ สามารถนำหมูพนั ธุ์ใหม่ออกวางขายในตลาดได้ช่วงทศวรรษ 2530

กลับของแพงให้ ถูกลง

กุง้ กุลาดำ เป็ นกุง้ พันธุพ์ ้ืนเมืองของประเทศไทย ซึ่ งได้รับความนิยมจากผูบ้ ริ โภคเป็ นอย่างมาก แต่สำหรับธุรกิจการเพาะเลี้ยงกุง้ นั้น แรกเริ่ มมาจาก
ประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ทศวรรษ 2500 แล้ว จากนั้นจึงถ่ายทอดไปยังไต้หวัน การที่ญี่ปุ่นมีชื่อเสี ยงในธุรกิจนี้มายาวนาน เครื อฯ จึงเริ่ มต้นธุรกิจเลี้ยงกุง้
โดยร่ วมทุนกับบริ ษทั ญี่ปุ่นก่อน แต่ปรากฏว่า กุง้ ของญี่ปุ่นไม่เหมาะกับสภาพอากาศประเทศไทย

ขณะนั้นเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์มีธุรกิจอาหารสัตว์และธุรกิจเลี้ยงไก่ที่ไต้หวัน ประธานที่รับผิดชอบงานบริ หารธุรกิจที่ไต้หวันได้อธิบายให้ผมฟังว่า


“ธุรกิจเลี้ยงกุง้ ที่ไต้หวันเองก็ประสบความสำเร็ จอย่างมาก” ผมจึงเสนอกลับไปว่า “ถ้าคุณสนใจธุรกิจเลี้ยงกุง้ ขอให้นำเทคโนโลยีของไต้หวันเข้ามา
ในประเทศไทย ผมจะให้คุณดูแลธุรกิจนี้”

สุ ดท้ายเราจึงตัดสิ นใจนำเทคโนโลยีจากไต้หวันเข้ามาเพาะเลี้ยงกุง้ กุลาดำของประเทศไทย และภายหลังได้เปลี่ยนเป็ นการเลี้ยงกุง้ ขาวพันธุ์ L.


Vannamei ซึ่ งเป็ นกุง้ สายพันธุ์อเมริ กาใต้ที่ทนต่อโรคได้ดี

กระบวนการเลี้ยงกุง้ ก็คล้ายคลึงกับกระบวนการเลี้ยงไก่ และหมู กล่าวคือ เราเริ่ มจากการเลี้ยงลูกกุง้ ก่อน หลังจากนั้นส่ งลูกกุง้ ให้เกษตรกรเลี้ยงกุง้ นำ
ไปเลี้ยงต่อจนได้ขนาดที่ตอ้ งการซื้ อเพื่อนำมาแปรรู ป เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เริ่ มส่ งออกกุง้ กุลาดำที่เลี้ยงในประเทศไทยไปญี่ปุ่นตั้งแต่ปีพ.ศ. 2530
หลังจากนั้นจึงส่ งออกไปยุโรปและสหรัฐอเมริ กา

กุง้ กุลาดำได้เปลี่ยนแปลงวิถีการรับประทานอาหารของญี่ปุ่นเป็ นอย่างมาก ทำให้ชาวญี่ปุ่นได้รับประทานกุง้ ทอดและซูชิ ซึ่ งเคยเป็ นสิ นค้าราคาสู ง


สำหรับคนส่ วนใหญ่ กลายเป็ นอาหารที่เกือบทุกคนก็หาซื้ อได้ จึงกล่าวได้วา่ ทั้งกุง้ กุลาดำและไก่เนื้อของเราได้ออกไปสู่ ตลาดโลกแล้ว

ลำดับถัดไป การแปรรู ป

ขณะที่ธุรกิจของเครื อฯ ในตอนนั้นเกี่ยวข้องกับการเลี้ยงไก่ หมู และกุง้ ได้มีขา้ ราชการระดับสู งด้านปศุสตั ว์ของไต้หวันท่านหนึ่งให้คำชี้แนะสำคัญ


แก่ผมที่นำไปสู่ การต่อยอดธุรกิจว่า “เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ควรทำธุรกิจแปรรู ปอาหาร”

ก่อนหน้านี้ แม้วา่ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้ส่งออกเนื้อไก่เสี ยบไม้สำหรับทำไก่ยา่ งเสี ยบไม้ไปญี่ปุ่นแล้วก็ตาม แต่กย็ งั ไม่มีผลิตภัณฑ์อาหารแปรรู ปแช่
แข็ง หลังจากช่วงปลายยุค 2520 แล้ว เมื่อไมโครเวฟเริ่ มแพร่ หลายในประเทศไทย จึงค่อย ๆ มีการอุ่นอาหารแช่แข็งรับประทานกันในครอบครัว

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์จึงได้เพิ่มสายการผลิตอาหารแปรรู ปจากเนื้ อสัตว์และกุง้ ในโรงงาน มีการผลิตไก่ทอดสไตล์ญี่ปุ่นและนักเก็ตไก่ทอด สเต็กหมู


สเต็กกุง้ เป็ นต้น ในบรรดาอาหารเหล่านั้น บะหมี่เกี๊ยวกุง้ ซึ่ งทำมาจากเกี๊ยวกุง้ ทั้งตัวเป็ นผลิตภัณฑ์ยอดนิยมที่เราคิดค้นขึ้นมา เกี๊ยวกุง้ นั้นเนื้อแน่นและ
เด้ง โดยนำเกี๊ยว เส้นบะหมี่และน้ำซุปบรรจุลงภาชนะ แล้วนำไปเข้ากระบวนการแช่เยือกแข็ง (IQF) หลังจากนั้นนำผลิตภัณฑ์ออกจากโรงงานไป
วางจำหน่าย สิ นค้าทุกตัวที่คิดค้นขึ้นมาใหม่ ผมจะต้องชิมและเสนอแนวทางการปรับปรุ งด้วยตนเองทั้งสิ้ น

รู ปแบบการเลี้ยงไก่เนื้อและกุง้ กุลาดำที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ริเริ่ มบุกเบิกขึ้นมา นับเป็ นต้นแบบให้บริ ษทั อื่น ๆ ในประเทศไทยจำนวนมากได้นำไปใช้
และส่ งออกไปญี่ปุ่นได้ในปริ มาณมากเช่นเดียวกับเครื อฯ ผมไม่ทนั สังเกตว่าคนเริ่ มเรี ยกประเทศไทยว่า “ครัวของญี่ปุ่น” ตั้งแต่เมื่อใด แต่ผมจะไม่
หยุดเพียงแค่น้ ี ...

ผมได้ กำหนดวิสัยทัศน์ มุ่งสู่ การเป็ น “ครัวของโลก” โดยเราจะก้ าวออกจากเอเชียไปยังภูมิภาคอืน่ ๆ ทั่วโลกด้วย เมื่อปี พ.ศ. 2558 เครื อเจริ ญ
โภคภัณฑ์ได้เข้าซื้ อกิจการ Top’s Foods ซึ่งเป็ นโรงงานผลิตอาหารชนิดปรุ งสุ กของเบลเยีย่ ม ผูบ้ ริ โภคชาวยุโรปจะได้มีโอกาสรับประทาน
อาหารจากโลกตะวันออกอย่างอาหารไทยที่มีความเป็ นเอกลักษณ์ ที่สำคัญโรงงานแห่งนี้ยงั เป็ นโรงงานอาหารแปรรู ประบบอัตโนมัติ
(Automation) ที่ทนั สมัยที่สุดของโลกในปั จจุบนั โดยใช้เจ้าหน้าที่ควบคุมเครื่ องจักรเพียง 7 คน และเพื่อให้บริ การด้านอาหารที่สะอาดและ
ปลอดภัยแก่ผคู้ นทัว่ โลกได้อย่างเพียงพอ เครื อฯ ยังเตรี ยมที่จะสร้างโรงงานแปรรู ปอาหารแบบนี้ ในอีกหลาย ๆ ประเทศ

กระบวนการผลิตอาหารปรุ งสุกพร้ อมรั บประทานของบริ ษัท Top’s Foods ประเทศเบลเยี่ยมที่ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ได้ เข้ าซื ้อกิจการเป็ นระบบ
อัตโนมัติ (Automation) เกือบตลอดสายการผลิต
เกี๊ยวกุ้งซี พีผลิตด้ วยเทคโนโลยีทันสมัยมีมาตรฐานสากลและเป็ นผลิตภัณฑ์ ก้ งุ รายแรกของไทยที่ ได้ รับฉลากลดโลกร้ อน

----------------------------------------

บทที่ 23: ธุรกิจค้ าปลีกและการกระจายสิ นค้ า...เริ่มต้ นขึน้ ได้ จากมิตรภาพ

ช่วงเริ่ มต้นของการทำธุรกิจแปรรู ปอาหารนั้น เนื้อไก่และเนื้อหมูที่ได้รับการแปรรู ปขั้นต้นแล้วของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จะถูกส่ งกระจายออกไปให้


ตัวแทนจำหน่าย เช้าวันรุ่ งขึ้นสิ นค้าจะวางจำหน่ายในตลาดสด แต่ดว้ ยอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ของประเทศไทยสู งถึง 30 องศา ดังนั้น ตลาดสดที่ไม่มี
ตูแ้ ช่เย็นจะมีกลิ่นไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น แน่นอนว่าถ้าสิ นค้าเน่าเสี ยและเสื่ อมคุณภาพก็จะส่ งผลกระทบต่อชื่อเสี ยงของเครื อฯ ดังนั้นต้องหาวิธีแก้
ปั ญหากลิ่นไม่พึงประสงค์น้ ี ให้ได้

ในช่วงแรกเรานำผูค้ า้ ปลีกมารวมตัวกัน ให้พวกเขานำเนื้อสัตว์แปรรู ปของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ใส่ ตเู ้ ย็นแล้วนำไปวางขาย ซึ่งตูเ้ ย็นนี้เราเป็ นฝ่ ายจัดหา
ให้ อย่างไรก็ตาม สมัยนั้นระบบการขนส่ งของไทยค่อนข้างล้าหลัง ด้วยเหตุน้ ีจึงยังไม่สามารถรับประกันคุณภาพของสิ นค้าได้อย่างเต็มที่ ปั ญหานี้
ทำให้ผมตระหนักว่า หากต้องการจะแก้ปัญหาเรื่ องคุณภาพสิ นค้า และบริ หารธุรกิจอาหารแบบครบวงจรให้สำเร็ จนั้น จำเป็ นที่เราจะต้องมีช่อง
ทางการจัดจำหน่ายของธุรกิจค้าปลีกรายย่อยด้วย

ในขณะที่เรากำลังหาแนวทางแก้ไขปั ญหา โอกาสก็มาถึงโดยไม่คาดคิด ต้นทศวรรษ 2520 SHV Holding Company ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ด้าน
พลังงานรายใหญ่ของเนเธอร์แลนด์ได้มาขอปรึ กษากับผมว่า ต้องการจะทำธุรกิจถ่านหิ นที่ประเทศจีน เพราะสมัยนั้นมีเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เป็ นบริ ษทั
ต่างชาติเพียงรายเดียวที่เข้าไปทำธุรกิจในประเทศจีน
บริ ษทั SHV ต้องการที่จะซื้ อถ่านหิ นจากประเทศจีน ขณะเดียวกันก็มีเป้ าหมายจะขายท่าเรื อลอยน้ำให้จีนด้วย เมื่อผมได้ช่วยประสานงานกับ
กระทรวงพลังงานของจีนจนเป็ นที่เรี ยบร้อยและกำลังจะเริ่ มดำเนินการแล้วนั้น สัญญาธุรกิจระหว่างสองฝ่ ายกลับต้องยุติลง เนื่องจากรัฐบาล
เนเธอร์แลนด์ขณะนั้นตัดสิ นใจขายเรื อดำน้ำให้ไต้หวัน ส่ งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองประเทศ

ถึงแม้วา่ ธุรกิจถ่านหิ นจะเจรจาไม่สำเร็ จ แต่ผมกับผูบ้ ริ หารระดับสู งของ SHV ก็กลายเป็ นเพื่อนกัน บริ ษทั SHV นั้นมีแม็คโคร (Makro) เป็ น
บริ ษทั ลูก ซึ่ งดำเนินธุรกิจค้าส่ งจำพวกผลิตภัณฑ์อาหารให้แก่ร้านอาหารและลูกค้ารายย่อยในรู ปแบบ cash and carry คือ ลูกค้ามาซื้ อสิ นค้า
ด้วยเงินสดและขนสิ นค้าไปเอง ผมตั้งใจว่าจะนำแม็คโครเข้ามาเปิ ดกิจการในประเทศไทย

ตอนนั้นผูบ้ ริ หารแม็คโครของ SHV ไม่เห็นด้วยนักและมีทีท่าห่วงใยว่า “รู ปแบบการบริ หารนี้ อาจยังเร็ วเกินไปสำหรับประเทศไทย” ผมจึงได้ไป
พบประธานของ SHV ที่เนเธอร์แลนด์ดว้ ยตนเอง และพยายามโน้มน้าวท่าน ในที่สุดปี พ.ศ. 2531 เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์และบริ ษทั SHV ก็ได้
จัดตั้งบริ ษทั ร่ วมทุนกัน และสร้างระบบโลจิสติกส์คุณภาพตามที่รอคอยมานาน ปี ต่อมาก็ได้เปิ ดแม็คโคร สาขาแรกขึ้นในประเทศไทย โดยเพียงแค่
ร้านอาหารและร้านค้าปลีกรายย่อยมาสมัครเป็ นสมาชิกของแม็คโคร ก็สามารถซื้ อสิ นค้าของเครื อฯ ได้ในราคาพิเศษ

ลำดับต่อมาก็คือร้านสะดวกซื้ อ ซึ่งการนำธุรกิจนี้เข้ามายังประเทศไทยนั้น ธนาคารเชส แมนฮัตตัน (Chase Manhattan Bank) ปัจจุบนั คือ


เจพี มอร์แกน เชส (J.P. Morgan Chase) ซึ่งสนิทสนมกับเรามีส่วนช่วยเหลือเป็ นอย่างมาก ธนาคารฯ ช่วยจัดให้ผมไปเยีย่ มชมธุรกิจต่าง ๆ
และได้พบปะกับบุคคลที่ผมต้องการในสหรัฐอเมริ กา

ช่วงทศวรรษ 2520 กิจการ 7-Eleven ยังเป็ นของบริ ษทั เซาท์แลนด์ คอร์ปอเรชัน่ (The Southland Corporation) แห่งประเทศ
สหรัฐอเมริ กาที่ก่อตั้งธุรกิจนี้ข้ ึนมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2470 (ต่อมาได้ขายหุน้ ให้กบั บริ ษทั เซเว่น แอนด์ ไอ โฮลดิงส์ : Seven & i Holdings
แห่งประเทศญี่ปุ่น ที่ได้กลายมาเป็ นเจ้าของธุรกิจ 7-Eleven นับตั้งแต่ปีพ.ศ. 2534 จนถึงปัจจุบนั ) ขณะนั้นตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมใน
ประเทศ (GDP) ของคนไทยอยูท่ ี่เฉลี่ยประมาณ 1,000 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 34,000 บาท) ต่อคนต่อปี เท่านั้น ร้านสะดวกซื้ อจึงถูก
มองว่ายังเร็ วเกินไปที่จะเกิดธุรกิจนี้ในประเทศไทย แต่ผมไม่คิดเช่นนั้น เพราะถึงแม้วา่ ผูบ้ ริ โภคคนไทยจะใช้จ่ายเงินต่อคนไม่สูง แต่จำนวนลูกค้าร้าน
สะดวกซื้ อต่อร้านของไทยสู งถึง 15 เท่าของร้านสะดวกซื้ อในสหรัฐอเมริ กา ค่าเช่าพื้นที่และค่าจ้างพนักงานก็ถูกกว่า

ผมจึงเชิญมร. จอห์น พี ทอมป์ สัน (Mr. John P. Thompson) ประธาน และ มร. เจอเรย์ ดับเบิลยู ทอมป์ สัน (Mr. Jere W.
Thompson) กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ของเซาท์แลนด์ คอร์ปอเรชัน่ ซึ่ งเป็ นสองพี่นอ้ งตระกูลทอมป์ สัน ทายาท มร. โจ ซี ทอมป์ สัน ผูก้ ่อตั้ง 7-
Eleven มาสำรวจพื้นที่จริ งที่เมืองไทย หลังจากที่ท่านทั้งสองมาดูแล้ว ก็เห็นด้วยกับความคิดของผม ในปี พ.ศ. 2532 เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์กไ็ ด้
เปิ ดร้านสะดวกซื้ อ 7-Eleven สาขาแรกที่ถนนพัฒน์พงศ์ ซึ่งอยูใ่ จกลางกรุ งเทพฯ และเป็ นแหล่งรวมของชาวต่างชาติ มีลูกค้าเข้ามาอุดหนุนจน
เต็มร้านทุกวัน

ธุรกิจสุ ดท้ายคือร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ ที่เราตั้งขึ้นช่วงกลางยุค 2530 ให้ชื่อว่า “โลตัส” หรื อโลตัส ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ที่ได้ขยายเครื อข่ายร้านค้าไป
อย่างรวดเร็ ว มีศูนย์กระจายสิ นค้าทัว่ ประเทศไทย เรายังได้สร้างระบบโลจิสติกส์ท้ งั แบบแช่เย็นและแช่แข็งอีกด้วย

ในที่สุดกลิ่นไม่พึงประสงค์จากตลาดสดในอดีตก็ได้รับการแก้ไขจนหมดสิ้ น เมื่อเราสามารถสร้างช่องทางการจัดจำหน่ายธุรกิจค้าปลีกรายย่อยและ
การกระจายสิ นค้าไปสู่ ผบู้ ริ โภคอย่างมีประสิ ทธิภาพ นับแต่น้ นั มาผลิตภัณฑ์ที่วางจำหน่ายของเครื อฯ ก็สามารถมัน่ ใจในคุณภาพระดับสู งสุ ดได้ตลอด
เวลา
ในงานพิธีเปิ ดร้ าน 7-Eleven สาขาแรกซึ่ งตั้งอยู่ที่ถนนพัฒน์ พงศ์ กรุ งเทพฯ

----------------------------------------

บทที่ 24: เข้ าสู่ ธุรกิจโทรคมนาคม...เศรษฐกิจไทยขาขึน้

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์มีธุรกิจหลัก 3 กลุ่ม ในประเทศไทยได้แก่ ธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหาร ธุรกิจค้าปลีก และธุรกิจโทรคมนาคม อันที่จริ ง


ผมไม่ได้ต้ งั ใจจะทำธุรกิจโทรคมนาคมตั้งแต่แรก จากในอดีตความหลากหลายทางธุรกิจของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ลว้ นแต่พฒั นามาจากพื้นฐาน
การเกษตร กล่าวคือ อาหารสัตว์ กิจการเลี้ยงไก่ กิจการเลี้ยงหมู ซึ่ งไม่มีความเกี่ยวข้องกับธุรกิจโทรคมนาคมเลย

เข้ าสู่ ธุรกิจโดยไม่ คาดฝัน

จากจุดเริ่ มต้นเรื่ อยมาจนถึงทศวรรษที่ 2520 กิจการด้านโทรศัพท์ในประเทศของไทยนั้น อยูภ่ ายใต้การบริ หารและให้บริ การโดยองค์การโทรศัพท์


แห่งประเทศไทยเพียงองค์กรเดียวเท่านั้น รู ปแบบเช่นนี้มีจุดอ่อนหลายประการ เช่น ประการแรก การที่องค์การโทรศัพท์เป็ นผูใ้ ห้บริ การรายเดียวจึง
ส่ งผลต่อประสิ ทธิภาพในการขยายการใช้งานโทรศัพท์ไปสู่ ครัวเรื อนที่ทำได้ชา้ มาก ประการที่สอง การขอติดตั้งโทรศัพท์ตอ้ งรอคิวนานหลายปี
ทั้งหมดนี้ทำให้โทรศัพท์ไม่เป็ นที่แพร่ หลายในครัวเรื อนเท่าที่ควร กระทัง่ ในปี พ.ศ. 2531 หลังจากประเทศไทยมีการเลือกตั้ง และพลเอก ชาติชาย
ชุณหะวัณ เป็ นนายกรัฐมนตรี คนใหม่ จึงได้เริ่ มการปฏิรูปกิจการโทรคมนาคมขึ้น

รัฐบาลไทยตัดสิ นใจเปิ ดเสรี กิจการโทรคมนาคมให้บริ ษทั และภาคเอกชนจากทัว่ โลกเข้ามาลงทุนเพื่อส่ งเสริ มให้มีการใช้โทรศัพท์ในวงกว้าง ซึ่ง
บริ ษทั ธุรกิจโทรคมนาคมรายใหญ่ ๆ ของประเทศต่าง ๆ เช่น อังกฤษ เยอรมนี ฝรั่งเศส ต่างก็สนใจเข้ามาร่ วมประมูลด้วย

สังคมต่างก็คาดหวังให้มีบริ ษทั ของไทยเข้าร่ วมประมูลครั้งนี้ แต่เนื่องจากการเข้าร่ วมประมูลจำเป็ นต้องชำระเงินประกันก้อนใหญ่ ซึ่ งสมัยนั้น


นอกจากบริ ษทั ปูนซิ เมนต์ไทยแล้ว ก็มีเพียงเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เท่านั้นที่มีคุณสมบัติในการเข้าร่ วม ภายหลังบริ ษทั ปูนซิ เมนต์ไทยได้ถอนตัวไป ผล
ปรากฏกว่าเครื อฯ สามารถชนะการประมูลบริ ษทั ต่างชาติ และได้รับสิ ทธิ์ ในการบริ หารกิจการบริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานให้กบั คนไทยได้ในที่สุด

ต่อมาเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้ลงทุนในธุรกิจโทรศัพท์ดว้ ยเม็ดเงินจำนวนมหาศาล ถึงแม้วา่ ระหว่างนั้นจะมีการเปลี่ยนบริ ษทั ต่างชาติที่มาร่ วมลงทุนกับ


เราบ้าง แต่กก็ ล่าวได้ว่านับตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 2530 เครื อฯ ได้มีส่วนปฏิรูปและสร้างคุณูปการให้กบั กิจการโทรคมนาคมของประเทศ ทำให้การใช้
โทรศัพท์พ้ืนฐานแพร่ หลายในกรุ งเทพฯ จากเดิมที่ตอ้ งรอการติดตั้งโทรศัพท์หลายปี ก็สามารถร่ นเวลาทำได้อย่างรวดเร็ วภายใน 1 สัปดาห์เท่านั้น
ธุรกิจโทรคมนาคมเติบโตขึ้นจนกลายเป็ นหนึ่งในธุรกิจหลักของเครื อฯ ภายใต้การบริ หารของ True Corporation หรื อ บริ ษทั ทรู
คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (มหาชน)

ในช่วงดังกล่าว เรายังไม่ได้สนใจการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่ งหากเราร่ วมประมูลและได้รับสิ ทธิ์ ในการบริ หาร ผมเชื่อว่าธุรกิจโทรศัพท์
เคลื่อนที่ของเราจะเติบโตและให้บริ การลูกค้าได้อย่างแข็งแกร่ งกว่านี้มาก

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้เริ่ มพัฒนากิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบครบวงจร เมื่อเข้าสู่ ศตวรรษที่ 21 เราก้าวจนตามทันบริ ษทั ที่เข้าสู่ ธุรกิจนี้ก่อนหน้าเรา
2 บริ ษทั ได้ดว้ ยนวัตกรรมรู ปแบบการให้บริ การใหม่ ๆ ที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง รวมถึงอัตราค่าบริ การพิเศษ ทรู (True) จึงกลายเป็ นบริ ษทั ที่
บริ หารกิจการโทรคมนาคมครอบคลุมทุกด้านเพียงรายเดียวในประเทศไทย เกิดเป็ น “True Convergence” ซึ่ งประกอบด้วยโครงข่าย
โทรศัพท์ เคเบิลทีวี และอินเทอร์เน็ต

เมื่อเร็ ว ๆ นี้ ทรู ยงั ได้ประมูลคลื่น 4G หรื อระบบสื่ อสารไร้สายความเร็ วสู งระยะที่ 4 โดยได้รับใบอนุญาตคลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิร์ต (MHz)
ทำให้นอกจากทรู จะเป็ นผูใ้ ห้บริ การ 4G รายแรกแล้ว ยังทำให้ทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ถือครองคลื่นความถี่มากที่สุดในประเทศไทย
อีกด้วย นับเป็ นโอกาสที่ดีในการขยายฐานลูกค้าและยกระดับความสามารถด้านการให้บริ การของเราได้ดียิง่ ขึ้น

เดิมทีผมไม่คิดว่าธุรกิจโทรคมนาคมจะมีความเกี่ยวข้องกับธุรกิจหลักของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์อย่างธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหาร และธุรกิจค้า


ปลีก แต่ปัจจุบนั กลับมีบทบาทเป็ นอย่างมาก เราสามารถซื้ อซิ มการ์ดชนิด prepaid ของทรู และโทรศัพท์มือถือได้ที่ร้าน 7-Eleven การได้
สิ ทธิ์ในการบริ หารเครื อข่ายโทรคมนาคม ยังทำให้เครื อฯ มีโอกาสเข้าสู่ ธุรกิจพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) และธุรกิจเคเบิลทีวีอีก
ด้วย

บทเรียนที่ขื่นขม

ช่วงปลายทศวรรษ 2520 ถึงต้นทศวรรษ 2530 เศรษฐกิจของประเทศไทยเติบโตเป็ นร้อยละ 10 มาโดยตลอด จนถูกขนานนามว่า “ความ


มหัศจรรย์ของเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้” เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เองก็ขยายธุรกิจตามการเติบโตของเศรษฐกิจประเทศเช่นกัน ช่วงเวลานั้นทุกอย่างดูดีเกิน
ความเป็ นจริ ง หลายบริ ษทั ในประเทศไทยรวมถึงเครื อฯ ต่างเร่ งขยายการเติบโตทางธุรกิจ และเพิ่มการกูเ้ งินจากต่างประเทศ แต่วิกฤตการเงินเอเชียใน
ปี 2540 ทำให้ผมตระหนักว่านัน่ ไม่ใช่การเติบโตที่แท้จริ ง
หลังจากเข้ าสู่ธุรกิจโทรคมนาคมเราได้ เริ่ มจำหน่ ายโทรศัพท์ มือถือผ่ านร้ านสะดวกซื ้อของเครื อฯ

----------------------------------------

บทที่ 25: ฝ่ าวิกฤตเศรษฐกิจเอเชีย

ปี พ.ศ. 2540 ปี ที่ตอ้ งจดจำ...เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 สหราชอาณาจักรส่ งมอบคืนเกาะฮ่องกงสู่ ประเทศจีน ผมตอบรับคำเชิญให้เป็ น
ที่ปรึ กษาของคณะทำงานบริ หารเกาะฮ่องกง และเข้าร่ วมทำงานเพื่อเตรี ยมการส่ งมอบอำนาจการปกครองคืนให้เกาะฮ่องกง เช้าตรู่ ของวันที่ 1
กรกฎาคม ผมเข้าร่ วมพิธีส่งมอบคืนเกาะฮ่องกง ซึ่งมีประธานาธิบดีเจียง เจ๋ อหมิน และผูนำ
้ จีนท่านอื่น ๆ เข้าร่ วมพิธีดว้ ย

ในวันต่อมา คือวันที่ 2 กรกฎาคม ผมเดินทางจากฮ่องกงกลับกรุ งเทพฯ พอลงจากเครื่ องบินไม่นานก็รู้วา่ เกิดเรื่ องใหญ่ข้ ึนแล้ว

เรื่องท้ าทายใหญ่ ที่สุดในชีวติ ผม

ประเทศไทยใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่มาเป็ นเวลานาน โดยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้ที่ 25 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ ทำให้การค้า การลงทุน


เงินกู้ และธุรกรรมทางการเงินระหว่างไทยกับต่างประเทศจึงไม่เคยได้รับผลกระทบด้านความเสี่ ยงจากการเปลี่ยนแปลงค่าเงิน

บริ ษทั ไทยสามารถกูเ้ งินจากต่างประเทศได้โดยง่าย จึงขยายกิจการกันอย่างเต็มที่ รวมทั้งเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์กเ็ ช่นเดียวกัน


อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2539 บัญชีเดินสะพัดของไทยเริ่ มขาดดุลหนัก หลายคนเห็นว่าเงินบาทต่อดอลลาร์ มีมูลค่าเกินจริ ง การขาดดุลอย่างหนักนี้
ตกเป็ นเป้ าของนักฉวยโอกาส ทำการโจมตีค่าเงิน โดยการถล่มขายเงินบาท รัฐบาลไทยพยายามรักษาค่าเงินโดยการเข้าแทรกแซงซื้ อเงินบาทในตลาด
แต่กไ็ ม่ประสบความสำเร็ จ

ในวันที่ 2 กรกฎาคม รัฐบาลยกเลิกระบบค่าเงินคงที่ และประกาศใช้ระบบแลกเปลี่ยนลอยตัวเงินบาท ค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์กล็ ด


ฮวบลง

ภายในครึ่ งปี เงินตราสกุลท้องถิ่นในประเทศแถบเอเชียอื่น ๆ ก็ถูกนักลงทุนเทขาย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศตกต่ำเป็ นประวัติการณ์


เป็ นสัญญาณว่าวิกฤตการเงินเอเชียได้มาถึงแล้ว

เดือนมกราคมพ.ศ. 2541 ค่าเงินบาทอ่อนตัวลงไปอยูท่ ี่ 50 บาทต่อ 1 ดอลลาร์ หรื อเท่ากับเงินบาทมีมูลค่าลดลง 1 เท่า นัน่ หมายความว่าเงินกู้
จากต่างประเทศเมื่อคิดเป็ นเงินบาทแล้ว ผูก้ จู้ ะมีภาระต้องหาเงินมาชำระหนี้เพิ่มขึ้นเป็ นทวีคูณทันที

ธนาคารต่างประเทศเกรงว่าจะไม่ได้รับชำระเงินกูค้ ืนจากลูกหนี้แถบภูมิภาคเอเชีย จึงไม่ยอมปล่อยเงินกูใ้ ห้ประเทศในแถบนี้ ไม่เพียงเท่านั้น ธนาคาร


ต่างประเทศยังขอให้เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์คืนเงินกูก้ ่อนกำหนดเวลาชำระอีกด้วย สัญญาเงินกูร้ ะยะเวลา 5 ปี กลายเป็ นโมฆะ มีเพียงไม่กี่ธนาคาร
เท่านั้นเช่น ธนาคาร HSBC ของอังกฤษ ที่ยอมยืดเวลาในการชำระคืนเงินกูใ้ ห้แก่เครื อฯ ตอนนั้นกิจการใหญ่ ๆ ในทวีปเอเชียที่ขาดเงินทุนค่อย ๆ
ล้มละลายและสู ญหายไปในที่สุด

ผมตั้งใจจะรักษาเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เอาไว้ จึงตัดสิ นใจขายหุน้ ของบริ ษทั ลูกที่อยูใ่ นเครื อฯ ทันที ช่วงนั้นโลตัส ซูเปอร์เซ็นเตอร์ กำลังเจริ ญรุ่ งเรื องถึง
ขีดสุ ด ผมจำต้องขายหุน้ จำนวน 75% ของโลตัสฯ ให้แก่บริ ษทั เทสโก้ของอังกฤษ ส่ วนหุน้ ของแม็คโคร (Makro) ซึ่ งเป็ นธุรกิจค้าส่ งระบบ
สมาชิกได้ขายคืนให้บริ ษทั SHV ของเนเธอร์แลนด์ ส่ วนที่เมืองจีนได้ขายบริ ษทั มอเตอร์ไซค์และหุน้ ในอีกหลายบริ ษทั

ภายใต้วิกฤตครั้งนั้น เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์มุ่งเน้นการลงทุนใน 3 ธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหาร ธุรกิจค้าปลีก และธุรกิจ


โทรคมนาคม และเมื่อปริ มาณการผลิตอาหารเพิ่มมากขึ้น รวมถึงการส่ งออกไปทัว่ โลกที่ขยายตัวมากขึ้น จึงช่วยให้เครื อฯ ได้รับเงินตราต่างประเทศ
กลับเข้ามาในมือ ในส่ วนของธุรกิจร้านค้าสะดวกซื้ อ 7-Eleven ที่เครื อฯ บริ หารอยูน่ ้ นั เมื่อมีการขยายธุรกิจในรู ปแบบการขายแฟรนไชส์ออกไป
แทนที่จะเปิ ดร้านเอง ก็ทำให้ธุรกิจค้าปลีกของเครื อฯ ก้าวหน้าไปได้รวดเร็ วยิง่ ขึ้น ส่ วนธุรกิจโทรคมนาคมมีรายได้เพิ่มขึ้นเมื่อเข้าสู่ ธุรกิจ e-
Money, e-Commerce และเคเบิลทีวี

ถือได้วา่ วิกฤตเศรษฐกิจครั้งนั้นเป็ นปั ญหายิง่ ใหญ่ที่สุดที่ผมต้องเผชิญตั้งแต่เข้ามารับช่วงการบริ หารเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ แต่เป็ นเพราะเราสามารถตั้ง
รับได้ทนั ไม่เพียงแต่จะไม่ลม้ ละลาย ตรงกันข้ามกลับสร้างความแข็งแกร่ งให้กบั ธุรกิจหลักของเครื อฯ มากขึ้น ดังเช่นความหมายของคำว่า “วิกฤต”
ในภาษาจีนที่มีความลึกซึ้ งมาก โดยตัวอักษรจีนคำนี้ประกอบด้วยคำที่แปลว่า “ความเสี่ ยง” และคำที่แปลว่า “โอกาส” ความหมายที่แฝงอยูจ่ ึงมีท้ งั
ความเสี่ ยง แต่กซ็ ่อนไว้ซ่ ึ งโอกาส

ต้นศตวรรษที่ 21 เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ผา่ นพ้นวิกฤตเศรษฐกิจมาได้ แล้วกลับมาเติบโตอย่างก้าวกระโดดอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2556 เครื อฯ ได้ซ้ื อ
หุน้ แม็คโครคืนจากบริ ษทั SHV ในส่ วนของโลตัส ซูเปอร์เซ็นเตอร์ที่เราเคยเป็ นผูบ้ ุกเบิกมาตั้งแต่ตน้ ผมก็ต้ งั ใจจะซื้ อกิจการกลับคืนมาจากบริ ษทั
เทสโก้ แต่เรื่ องนี้ตอ้ งขึ้นอยูก่ บั การตัดสิ นใจของฝ่ ายเทสโก้ดว้ ย
วิกฤตการเงินเอเชี ยทำให้ เครื อฯจำเป็ นต้ องขายหุ้น 75% ของห้ างโลตัสซูเปอร์ เซ็นเตอร์

----------------------------------------

บทที่ 26: สามประสาน ‘ซีพ’ี ‘อิโตชู ’ ‘ซิติก’ ผนึกความแข็งแกร่ ง

สุ ภาษิตจีนที่วา่ “เทียนสื อ ตี้ลี่ เหริ นเหอ” มีความหมายว่า “ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดภายใต้ความพร้อมของเงื่อนเวลา สถานที่ และบุคคล” ซึ่งเรื่ อง
ราวความร่ วมมือทางธุรกิจระหว่างเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์และอิโตชู (Itochu) ช่วยสะท้อนถึงความหมายของสุ ภาษิตนี้ ได้เป็ นอย่างดี

ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2556 เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้ซื้อหุน้ จำนวน 15.6% ของบริ ษทั ผิงอันประกันภัย จำกัด (Ping An Insurance
Group Company of China, Ltd.) บริ ษทั ด้านประกันภัยแห่งแรกและใหญ่เป็ นอันดับต้น ๆ ของประเทศจีน ปัจจุบนั แบ่งธุรกิจออก
เป็ น 3 ด้าน คือ การประกันภัย การธนาคาร และการลงทุน การเข้าซื้ อหุน้ ผิงอันก็เพื่อมุ่งขยายและเสริ มความแข็งแกร่ งให้กบั ธุรกิจด้านการเงินของ
เครื อฯ

ตอนนั้นมีผบู้ ริ หารที่รับผิดชอบกิจการของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ในจีนได้บอกว่าอยากแนะนำคน ๆ หนึ่งให้ผมรู้จกั บุคคลที่เขาหมายถึงก็คือ มร. มาซา


ฮีโร่ โอกาฟูจิ (Mr. Masahiro Okafuji) ประธานของอิโตชู คอร์ปอเรชัน่ (Itochu Corporation: บริ ษทั ด้านการค้าชั้นนำของ
ญี่ปุ่น) ผมได้ฟังเรื่ องราวตอนที่บริ ษทั ต่าง ๆ ด้านสิ่ งทอในญี่ปุ่นกำลังทยอยเลิกกิจการ แต่ประธานโอกาฟูจิ กลับสามารถทำกำไรในธุรกิจสิ่ งทอได้
เพิ่มขึ้นถึง 5 เท่า ทำให้ผมรู้สึกชื่นชมและสนใจประสบการณ์การทำธุรกิจของท่านเป็ นอย่างมาก เพียงแต่ตอนนั้น เครื อฯ และอิโตชูยงั ไม่มีความร่ วม
มือทางธุรกิจกันมากนัก ทั้งสองฝ่ ายจึงยังไม่มีโอกาสได้พบปะกัน

เวลาผ่านไปครึ่ งปี เราไม่ละความพยายามที่จะขอสานสัมพันธ์กบั อิโตชูอย่างต่อเนื่อง และจุดเปลี่ยนได้มาถึงในช่วงกลางเดือนตุลาคม เมื่อผมเดินทาง


ไปโตเกียวและได้มีโอกาสร่ วมรับประทานอาหารกลางวันมื้อสำคัญกับมร. โอกาฟูจิ ซึ่ งจังหวะที่เราได้จบั มือทักทายกัน ความรู้สึกบอกผมทันทีวา่ “
การได้ร่วมทำธุรกิจกับท่านผูน้ ้ ี จะไม่มีปัญหาแน่นอน” การพบกันครั้งแรกนั้น ผมได้แสดงเจตจำนงอย่างจริ งใจกับมร. โอกาฟูจิ ว่า “เครื อฯ หวังว่า
จะมีโอกาสได้ถือหุน้ บริ ษทั อิโตชูเพื่อเป็ นพันธมิตรธุรกิจที่เติบโตไปด้วยกัน”

มร. โอกาฟูจิ ตอบข้อเสนอของผมว่า “ถ้าอิโตชูสามารถถือหุน้ ในเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้ดว้ ย เท่ากับว่าทั้งสองฝ่ ายต่างก็ได้ร่วมลงทุนในบริ ษทั ของ
กันและกัน ผมจะลองพิจารณาดู” ในอดีตผมเคยรู้จกั ผูบ้ ริ หารระดับสู งของบริ ษทั ญี่ปุ่นหลายท่าน แต่กบั การพบกันเพียงครั้งแรกแล้วสามารถบรรลุสู่
ความร่ วมมือทางธุรกิจก็คงมี มร. โอกาฟูจิ ที่เป็ นท่านแรก ในที่สุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557 ทั้งสองฝ่ ายจึงได้ลงทุนร่ วมกัน โดยเครื อฯ ซื้ อหุน้
ของอิโตชูจำนวน 4.9% คิดเป็ นมูลค่าประมาณ 32,000 ล้านบาท ขณะที่อิโตชูกไ็ ด้ซ้ื อหุน้ ของบริ ษทั ในเครื อฯ คือ บริ ษทั ซี พีโภคภัณฑ์ หรื อ ซี
พีพี (C.P. Pokphand: CPP) ซึ่งเป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง จำนวน 25% คิดเป็ นมูลค่าประมาณ 27,200 ล้าน
บาท

ข้ อตกลงครั้งใหญ่

การร่ วมลงทุนข้ามชาติครั้งนี้ถือว่าเป็ นการพัฒนาไปอีกขั้น อย่างไรก็ตาม เนื่องจากตลาดญี่ปุ่นอยูใ่ นภาวะอิ่มตัว ไม่มีความต้องการของผูบ้ ริ โภคเพิ่ม


ขึ้น บริ ษทั ญี่ปุ่นจึงไม่มีช่องทางที่จะขยายตลาดเพิ่มได้มากนัก ผมจึงได้แนะนำให้อิโตชูลงทุนในกลุ่มบริ ษทั ซิ ติก (CITIC Group) ซึ่ งเป็ นหนึ่ง
ในบริ ษทั ของรัฐบาลจีนที่ใหญ่ที่สุด ซึ่ งทำธุรกิจหลายด้าน เพื่อแสวงหาโอกาสในการพัฒนาธุรกิจในตลาดจีนและตลาดเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ให้
มากขึ้น

กลุ่มซิ ติก เป็ นบริ ษทั ที่จดั ตั้งตามคำแนะนำของท่านเติ้ง เสี่ ยวผิง ตั้งแต่ยคุ ปฏิรูปเศรษฐกิจและเปิ ดประเทศจีนในช่วงแรก ๆ และยังเป็ นบริ ษทั ที่มีความ
หมายเชิงสัญลักษณ์ของการขับเคลื่อนการปฏิรูปและการเปิ ดประเทศจีนอีกด้วย ประธานโอกาฟูจิ ของอิโตชู เป็ นผูม้ ีวิสยั ทัศน์ที่โดดเด่น และมีความ
กล้าที่จะปฏิรูปและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ อย่างไรก็ตาม การตัดสิ นใจลงทุนในบริ ษทั ซิ ติก ไม่ได้เป็ นเพียงแค่การลงทุนด้วยเงินจำนวนมหาศาลกว่า 10
ล้านล้านเยน (ประมาณ 3.39 ล้านล้านบาท) เท่านั้น แต่ยงั ต้องได้รับการอนุมตั ิเป็ นพิเศษจากรัฐบาลจีนด้วย มร. ฉาง เจิ้นหมิง (Chang
Zhenming) ประธานของกลุ่มซิ ติก ได้ช่วยอธิบายให้รัฐบาลกลางของจีนได้เข้าใจ จึงอนุมตั ิการลงทุนของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์และอิโตชูใน
บริ ษทั ซิ ติก ด้วยเหตุผลสำคัญ 2 ประการคือ 1. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เป็ นบริ ษทั ข้ามชาติบริ ษทั แรกที่เข้าไปลงทุนในประเทศจีน และ 2. อิโตชู เป็ น
บริ ษทั ที่ทำการค้ากับจีนมายาวนาน โดยเริ่ มตั้งแต่ช่วงก่อนการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างจีนและญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2515 โดยท่านโจว
เอินไหล (Zhou Enlai) ซึ่งเป็ นนายกรัฐมนตรี ของจีนในสมัยนั้น ได้เคยกล่าวยกย่องอิโตชูวา่ เป็ น “บริ ษทั การค้าที่มีความสัมพันธ์ฉนั มิตร”

เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 บริษัทชั้นนำของทวีปเอเชียสามบริษัท อันได้ แก่ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ประเทศไทย อิโตชู คอร์ ปอเรชั่น ประเทศญี่ปุ่น
และ กลุ่มซิติก ประเทศจีน ได้ ประกาศการผนึกกำลังเป็ นพันธมิตรทางธุรกิจอย่ างเป็ นทางการ ซึ่งเป็ นข่ าวโด่ งดังไปทั่วทวีปเอเชีย เครื อฯ และอิโตชู
ร่ วมกันลงทุนด้วยเงินจำนวน 1.2 ล้านล้านเยน (ประมาณ 406,700 ล้านบาท) เข้าถือหุน้ จำนวน 20% ของกลุ่มซิ ติก ทำให้อิโตชูมีรากฐาน
ทางธุรกิจที่เข้มแข็งในตลาดจีนและอาเซี ยน ทั้งสามบริ ษทั ต่างก็มีจุดแข็งที่แตกต่างกันออกไป กล่าวคือ อิโตชูเป็ นหนึ่งในบริ ษทั ที่ทำธุรกิจครบวงจรที่
ใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น มีระบบโลจิสติกส์และเครื อข่ายธุรกิจทัว่ โลกที่มีมาตรฐานระดับสากล อีกทั้งยังเพียบพร้อมไปด้วยบุคลากรที่มีความ
สามารถอีกด้วย ส่ วนเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์กเ็ ป็ นบริ ษทั ที่ทำธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมแบบครบวงจรที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
ตั้งแต่การเกษตรจนถึงการแปรรู ปอาหารสู่ โต๊ะอาหาร (from farm to table) มีรูปแบบการค้าปลีกที่หลากหลาย อีกทั้งยังมีความสัมพันธ์กบั
นักธุรกิจชาวจีนโพ้นทะเลอีกมากมาย ในขณะที่กลุ่มซิ ติก ที่ทำธุรกิจขนาดใหญ่หลากหลายประเภท ทั้งด้านการเงิน ภาคอุตสาหกรรม และมีเครื อข่าย
ธุรกิจกระจายไปทัว่ ประเทศจีน การผนึกกำลังของพันธมิตรทั้งสามบริ ษทั ทั้งด้านทรัพยากรและเครื อข่ายทางธุรกิจได้ช่วยเสริ มจุดเด่น และเติมเต็ม
ช่องว่างให้กนั และกัน นับเป็ นการรวมตัวที่แข็งแกร่ ง และสร้างเวทีทางธุรกิจในระดับโลกให้กว้างใหญ่ยงิ่ ขึ้น
การผนึกกำลังเป็ นพันธมิตรธุรกิจของ 3 องค์ กรชั้นนำคือเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ประเทศไทย Itochu ประเทศญี่ปุ่นและ Citic Group ประเทศ
จี นเป็ นข่ าวโด่ งดังไปทั่วเอเชี ย

----------------------------------------

บทที่ 27: ธงชาติไทยปลิวไสว ทุกแห่ งหนที่เครือเจริญโภคภัณฑ์ เข้ าไปลงทุน

“ไม่ ควรวางไข่ ท้งั หมดไว้ ในตระกร้ าใบเดียว” คือแนวคิดของผมในช่วงหลังจากวิกฤตเศรษฐกิจเอเชียผ่านพ้นไปแล้ว ผมเห็นถึงความจำเป็ นที่จะต้อง


กระจายความเสี่ ยงเพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับธุรกิจของเครื อฯ เราได้เพิ่มความสำคัญของการขยายธุรกิจ เช่น โรงงานอาหารสัตว์ และโรงงาน
แปรรู ปไปยังประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ กิจการในแต่ละประเทศประสบความสำเร็ จเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะการดำเนินงานที่เวียดนามมี
การขยายตัวเติบโตขึ้นอย่างชัดเจน

ในประเทศจีน เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ทำธุรกิจด้านอาหารสัตว์มาเป็ นเวลานาน แต่เพื่อให้จีนเป็ นฐานการส่ งออกผลิตภัณฑ์อาหารไปยังประเทศต่าง ๆ


ทัว่ โลกนอกเหนือจากประเทศไทย เราได้ไปสร้างโรงงานผลิตอาหารที่เมืองฉิ นหวงเต่า (Qinhuangdao) มณฑลเหอเป่ ย (Hebei) และเมือง
ชิงเต่า (Qingdao) มณฑลซานตง (Shandong) เพื่อเตรี ยมพร้อมส่ งออกอาหารแปรรู ปจากจีนไปยังประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลก ในอดีตเครื อเจริ ญ
โภคภัณฑ์จะเป็ นฝ่ ายขยายการลงทุนในจีนเป็ นหลัก แต่เมื่อเร็ ว ๆ นี้ เราได้ชกั ชวนให้บริ ษทั จากจีนเข้ามาลงทุนในไทยบ้าง เช่น บริ ษทั ไชน่า โมบายล์
(China Mobile) ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหญ่ระดับโลกได้เข้ามาถือหุน้ บริ ษทั ทรู คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (มหาชน) 18% และ
บริ ษทั เซี่ ยงไฮ้ ออโต้โมทีฟ อินดัสทรี คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (SAIC) บริ ษทั รถยนต์ขนาดใหญ่ที่สุดในจีนได้ร่วมลงทุนกับเครื อฯ ตั้งโรงงาน
ประกอบรถยนต์ “เอ็มจี” (MG) ขึ้นในประเทศไทย

นอกจากนี้ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ได้ขยายธุรกิจในระดับโลก เรายังสร้างโรงงานปรับปรุ งคุณภาพข้าวที่ใหญ่และทันสมัยที่สุดในโลกขึ้นที่จงั หวัด


พระนครศรี อยุธยา โดยมีการส่ งออก “ข้าวหอมมะลิตราฉัตร” จำนวนมากสู่ ตะวันออกกลางและทวีปแอฟริ กา สำหรับประเทศตลาดเกิดใหม่อย่างตุรกี
และอินเดีย เราได้สร้างธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารครบวงจร ตั้งแต่โรงงานผลิตอาหารสัตว์จนถึงการแปรรู ปเนื้ อไก่อีกด้วย

ในทวีปยุโรป เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ได้ซ้ื อบริ ษทั ท็อปส์ฟดส์ ู้ (Top’s Foods) ซึ่ งเป็ นธุรกิจผลิตอาหารพร้อมรับประทานของเบลเยีย่ ม ท็อปส์
ฟู้ ดส์ได้รับสิ ทธิบตั รนวัตกรรมการฆ่าเชื้อโรคด้วยคลื่นไมโครเวฟ ซึ่ งเป็ นเทคโนโลยีที่ทนั สมัยที่สุดของโลกในปั จจุบนั ทำให้อาหารสามารถเก็บใน
อุณหภูมิปกติได้เป็ นเวลานาน โดยมีกำลังการผลิตอาหารพร้อมรับประทานวันละ 100,000 กล่อง และส่ งออกไปยังประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป
กว่า 10 ประเทศ

การที่รัสเซี ยลดค่าเงินรู เบิลได้นำมาซึ่ งโอกาส จากการที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ กำลังขยายธุรกิจไก่เนื้อครบวงจร โดยได้ซ้ื อฟาร์มไก่เนื้อในรัสเซี ยเพื่อ
ให้ได้ส่วนแบ่งการตลาด 5% นอกจากนี้ยงั ได้สร้างกิจการเลี้ยงหมูครบวงจร เพื่อให้รัสเซี ยเป็ นฐานการส่ งออกสิ นค้าไปยังสหภาพยุโรปของเครื อฯ
ด้วย

แก่ นของเครือฯ

ยิง่ กิจการขยายไปทัว่ โลกมากเพียงใด “ปรัชญา 3 ประโยชน์ ส่ ู ความยัง่ ยืน” ที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ยดึ มัน่ ในการดำเนินธุรกิจอันได้แก่ การคำนึงถึง
ประโยชน์ต่อประเทศชาติ ประโยชน์ต่อประชาชน และสุ ดท้ายจึงเป็ นประโยชน์ต่อบริ ษทั ก็ยงิ่ มีความสำคัญมากขึ้นเท่านั้น ไม่ ว่าเครือฯ จะเข้ าไป
ลงทุนในประเทศใด ก็จะยึดถือปรัชญานีเ้ ป็ นหลักในการดำเนินธุรกิจมาตลอด เพราะหากคิดแต่จะเอาประโยชน์เข้าบริ ษทั ก่อน ก็จะมองข้ามการคำนึง
ถึงประโยชน์ต่อประเทศชาติและประโยชน์ต่อประชาชน ในที่สุดก็จะไม่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลและประชาชนประเทศนั้น ๆ ธุรกิจของเราก็
ไม่สามารถเติบโตและเจริ ญก้าวหน้าได้

อย่างไรก็ตาม บนเส้นทางการดำเนินธุรกิจที่ยดึ มัน่ ปรัชญา 3 ประโยชน์สู่ความยัง่ ยืน ที่มีความเชื่อว่าการคำนึงถึงประโยชน์ต่อประเทศชาติและ


ประชาชนก่อนเป็ นสิ่ งถูกต้องนั้น ก็มกั จะพบอุปสรรคอยูเ่ สมอ แม้ ว่าเครือฯ จะตั้งใจปฏิบัติอย่ างเต็มที่ แต่ กย็ งั มีผ้ ทู ี่ไม่ เข้ าใจ ออกมาวิพากษ์ วจิ ารณ์
และโจมตี ถึงจะไม่ สบายใจแต่ ผมก็น้อมรับคำวิจารณ์ เหล่ านั้นด้ วยความเคารพ แล้ วนำมาวิเคราะห์ ไตร่ ตรอง และปรับปรุ งแก้ ไขให้ ดียงิ่ ขึน้

ปี พ.ศ. 2547 ประเทศไทยเกิดการระบาดของไข้หวัดนกอย่างรุ นแรง เกษตรกรได้รับผลกระทบจนยากลำบากมาก เครื อฯ ได้ร่วมมือกับภาครัฐ


คิดค้นนวัตกรรมการเลี้ยงไก่ระบบสุ ขาภิบาลและการป้ องกันโรคที่มีประสิ ทธิภาพ นอกเหนือจากโรงเรื อนระบบปิ ดที่ได้รับการพัฒนามาก่อนหน้านี้
แล้ว จึงช่วยป้ องกันการระบาดของเชื้อโรคที่มากับนกและไก่ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น ในที่สุดเราก็สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้

ในส่ วนของธุรกิจเลี้ยงกุง้ เราได้คิดค้นนวัตกรรมการเลี้ยงกุง้ ในโรงเรื อนระบบปิ ดแบบครบวงจรที่มีความปลอดภัยทางชีวภาพโดยไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ


ชื่อว่า “ฟาร์มร้อยเพชร” ขึ้นที่จงั หวัดตราดในปี พ.ศ. 2550 ซึ่ งได้ช่วยคลายความกังวล และสร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูบ้ ริ โภคได้อย่างมาก ฟาร์มแห่ง
นี้สามารถป้ องกันเชื้อโรคที่อาจปนเปื้ อนมากับอากาศ น้ำ และดินเข้าสู่ ฟาร์มเลี้ยงกุง้ มีระบบบำบัดน้ำที่ใช้ในการเลี้ยงกุง้ และยังป้ องกันการรั่วไหล
ออกสู่ ภายนอก ผ่านการรับรองตามระบบมาตรฐานสากลด้านสิ่ งแวดล้อมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

เพื่อพัฒนาบรรดาผูบ้ ริ หารในอนาคตของเครื อฯ ให้มีศกั ยภาพในการสรรสร้างธุรกิจใหม่ มาขับเคลื่อนองค์กร เราจึงได้ลงทุนสร้างศูนย์พฒั นาผูนำ


้ ขึ้น
ที่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสี มา ที่สามารถรองรับคนได้ถึง 300 คน ซึ่ งนอกจากจะใช้ประโยชน์สำหรับฝึ กฝนผูนำ ้ ให้มีมุมมองระดับโลกและแนวคิด
ที่เปิ ดกว้างแล้ว เรายังต้องการที่จะให้พวกเขาได้ซึมซับใน “ปรัชญา 3 ประโยชน์สู่ความยัง่ ยืน” ของเครื อฯ ด้วย
ศูนย์ พฒ
ั นาผู้นำเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ อ.ปากช่ อง จ.นครราชสี มา

แม้ ว่าเครือเจริญโภคภัณฑ์ จะขยายกิจการไปทั่วโลก ผมและครอบครัวเจียรวนนท์ ต่างรู้ สึกสำนึกในบุญคุณของแผ่ นดินไทยอยู่เสมอ ย้อนไปตั้งแต่ครั้ง


ปฏิวตั ิวฒั นธรรมในจีนที่รัฐบาลได้ยดึ สวนเกษตรและทรัพย์สินของคุณพ่อไปทั้งหมด การที่ท่านได้มาเริ่ มต้นธุรกิจใหม่ในประเทศไทยด้วยการเปิ ด
ร้านจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ผกั จนเวลาผ่านไปเกือบ 1 ศตวรรษ กิจการได้เจริ ญก้าวหน้า ขยายการเติบโตไปอีกหลายธุรกิจ รวมถึงขยายการลงทุนไปสู่
ระดับโลกในวันนี้ ก็ดว้ ยพระมหากรุ ณาธิคุณใต้ร่มพระบรมโพธิสมภาร รวมถึงประเทศไทยที่สงบร่ มเย็น และคนไทยเปี่ ยมไปด้วยจิตใจที่โอบอ้อม
อารี

เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ภาคภูมิใจในความเป็ นบริ ษทั ไทย สำนักงานและโรงงานของเครื อฯ ทัว่ โลก จะมีธงชาติไทยที่โบกไสวในทุกประเทศที่เราเข้าไป
ลงทุน

ทุกสำนักงานและโรงงานของเครื อฯทั่วโลกจะมีธงชาติไทยโบกสะบัดประกาศความภูมิใจที่ ธุรกิจไทยได้ ก้าวไปสู่ เวที ระดับโลก


 

----------------------------------------

บทที่ 28: มิตรภาพนำมาซึ่งโอกาสทางธุรกิจ

ที่ผา่ นมาผมยังคงสานสัมพันธ์อนั ดีกบั มิตรสหายที่เคยช่วยเหลือกันมาโดยตลอด และด้วยมิตรภาพนี้บางครั้งก็นำพาโอกาสทางธุรกิจมาด้วย เครื อ


เจริ ญโภคภัณฑ์ขยายธุรกิจไปยังญี่ปุ่นก็เพราะได้รับความช่วยเหลือและการสนับสนุนอย่างเต็มที่จาก มร. ออง ปิ่ ง หรง (Mr. Pin Yung
Ongg) ซึ่งเป็ นชาวไต้หวัน มร.ออง เป็ นคุณพ่อของคุณจูด้ ี ออง (Ms. Judy Ongg) ซึ่งเป็ นนักร้องที่มีชื่อเสี ยงในญี่ปุ่น

ถึงแม้วา่ มร.ออง จะมีอายุมากกว่าผม 10 กว่าปี แต่เรากลับคุยกันถูกคอและคบหากันเป็ นเพื่อน และเขาก็เป็ นเพื่อนสนิทกับท่านประธานมนตรี พี่


ชายของผมด้วย มร.ออง พำนักอยูท่ ี่ญี่ปุ่นเป็ นเวลานาน ทุกครั้งที่ผมไปญี่ปุ่นเขาจะช่วยเป็ นล่ามให้ มร. ออง มีเพื่อนในญี่ปุ่นมากมาย เครื อฯ ส่งออก
เนื้อไก่ไปญี่ปุ่นได้กด็ ว้ ยการแนะนำของ มร. ออง ซึ่ งในที่สุดเขายังดำรงตำแหน่งประธานบริ ษทั ซี พีเอฟ โตเกียว จำกัด (CPF Tokyo Co.,
Ltd.) และภายหลังเราได้ทำรายการโทรทัศน์ “Chia Tai Variety Show” ที่จีนร่ วมกันดังที่ผมกล่าวถึงไปแล้ว (ในบทที่ 20) การได้
รู้จกั มร.ออง ผมต้องขอบคุณ มร. ไช่ เทียน โซ่ว (Mr. Cai Tian Shou) นักธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ที่มีชื่อเสี ยงเพื่อนเก่าชาวไต้หวันอีกคน
หนึ่งที่แนะนำให้เรารู้จกั กัน

เพื่อนชาวไต้หวันอีกคนที่ผมไม่มีวนั ลืมคือ มร. สวี เหว่ย เฟิ ง (Mr. Hsu Wei Feng) ในยุคทศวรรษ 2490 เขาได้สร้างห้างสรรพสิ นค้า
ขนาดใหญ่แห่งแรกในไต้หวัน มร. สวี เป็ นผูช้ ื่นชอบอาหารอร่ อย ๆ เราเคยตระเวนหาอาหารรสชาติดีในที่ต่าง ๆ และเขายังแนะนำร้าน Rogairo
ร้านอาหารจีนชื่อดังในกรุ งโตเกียวให้ผมรู้จกั ซึ่ งผมจะไปรับประทานเสมอ ๆ เมื่อมีโอกาสเดินทางไปญี่ปุ่น แต่น่าเสี ยดายที่ มร. สวี เหว่ยเฟิ ง เสี ย
ชีวิตตั้งแต่อายุยงั น้อย

ที่สิงคโปร์ ผมก็มีเพื่อนสนิทชื่อ มร. อู๋ ชิง เลี่ยง (Mr. Goh Cheng Liang) ซึ่งเป็ นชาวจีนแต้จิ๋วเหมือนกัน เขาเป็ นผูบ้ ริ หารบริ ษทั
Wuthelam Holding โดยร่ วมทุนกับบริ ษทั นิปปอน เพ้นท์ (Nippon Paint) ดำเนินธุรกิจสี น้ำมันในสิ งคโปร์และมาเลเซี ย เขาเป็ นผู้
มีชื่อเสี ยงคนหนึ่งในแวดวงชาวจีนโพ้นทะเลและในจีน จากการสร้างชื่อสี ยหี่ อ้ “นิปปอน เพ้นท์” จนเป็ นที่ยอมรับ

เมื่อพูดถึงคนจีนแต้จิ๋ว ตั้งแต่สมัยคุณพ่อ ท่านได้ร่วมทำธุรกิจกับ มร. หว่อง ฉวนนาม (Mr. Wong Quan Nam) ประธานบริ ษทั Good
Earth ในฮ่องกง เขาทำธุรกิจจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ผกั และยาปราบศัตรู พืชเหมือนกับคุณพ่อของผม รวมถึงยังเป็ นตัวแทนจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ที่คุณพ่อ
ผลิตด้วย

เมื่อครั้งที่บริ ษทั เอสเอชวี (SHV) ประเทศเนเธอร์แลนด์ตอ้ งการนำเข้าถ่านหิ นจากจีน ก็ติดต่อให้ผมช่วยประสานงาน ผมจึงได้รู้จกั และสนิทสนม
กับ Mr. Paul Fentener van Vlissingen ประธานเอสเอชวีและครอบครัว ทั้งยังได้รับความไว้วางใจให้นำร้านค้าส่ งระบบสมาชิกคือ
แม็คโคร (Makro) มาเปิ ดกิจการที่ประเทศไทยเป็ นแห่งแรก หลังจากที่ Mr. Paul Fentener van Vlissingen เสี ยชีวิตในปี พ.ศ.
2549 ผมก็ยงั คงรักษาสัมพันธภาพกับพีช่ ายของเขาเป็ นอย่างดี เรามีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันมาตลอดกว่า 20 ปี และได้ร่วมกันขยายกิจการจน
ก้าวหน้า กระทัง่ ปี พ.ศ. 2540 เมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในเอเชีย ผมได้ขายหุน้ ของแม็คโครให้บริ ษทั เอสเอชวี และได้ซ้ื อแม็คโครกลับมาอีกครั้งใน
ปี พ.ศ. 2556 ซึ่งผูท้ ี่มาถามผมว่าต้องการจะซื้ อแม็คโครกลับหรื อไม่กค็ ือลูกสาวของพี่ชาย Mr. Paul Fentener van Vlissingen
นัน่ เอง ความสัมพันธ์อนั ดีที่ยาวนานเช่นนี้นบั เป็ นเรื่ องที่พบเห็นได้นอ้ ยมาก

นอกจากนี้ ผมยังได้ติดต่อกับครอบครัว Rockefeller ในสหรัฐอเมริ กามาเป็ นเวลานานอีกด้วย David Rockefeller ซึ่ งเป็ นผูส้ ื บทอด
กิจการรุ่ นที่ 3 ของครอบครัวเป็ นคนแนะนำบริ ษทั เลี้ยงไก่เนื้อรายใหญ่ของสหรัฐอเมริ กาให้ผมรู้จกั ก่อนหน้านี้ผมจะหาโอกาสไปเยีย่ มเขาทุกปี แต่
ปั จจุบนั เขามีอายุกว่า 100 ปี แล้ว ผมจึงไม่ค่อยได้พบเขาบ่อยนัก

ผมยังสนิทสนมกับครอบครัวอดีตประธานาธิบดี จอร์จ เอช ดับเบิลยู บุช อีกด้วย ตอนที่ผมร่ วมกับบริ ษทั สหรัฐอเมริ กาทำธุรกิจโทรคมนาคมใน
ประเทศไทย ท่านก็เดินทางมาร่ วมพิธีเปิ ด ปัจจุบนั ท่านมีอายุ 90 กว่าปี แล้ว ผมจะไปเยีย่ มท่านทุก ๆ 1-2 ปี และในปี ที่ผา่ นมาผมก็ได้มีโอกาสเข้า
พบท่านและภริ ยา แม้วา่ จะนัง่ บนรถเข็นหลังประสบอุบตั ิเหตุหกล้มในบ้านพัก แต่ท่านยังพูดคุยด้วยเป็ นอย่างดี

ที่ประเทศจีน ผมยังคบหานักธุรกิจที่มีอายุนอ้ ยกว่า ผมนับถือหม่า อวิ๋น (Ma Yun) หรื อแจ็ค หม่า (Mr. Jack Ma) ซึ่งเป็ นผูก้ ่อตั้งกลุ่มอาลี
บาบา (Alibaba Group) ธุรกิจ e-Commerce ให้เป็ นอาจารย์ในด้านการบริ หารอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ ถึงแม้วา่ เขาจะ
มีอายุนอ้ ยกว่าผมหลายปี แต่กเ็ ป็ นผูม้ ีความสามารถโดดเด่นหลายด้านที่ควรศึกษาเป็ นแบบอย่าง และปั จจุบนั นี้ช่องว่างระหว่างวัยไม่ได้เป็ นอุปสรรค
สำหรับการสร้างมิตรภาพที่ดีต่อกันอีกแล้ว

ในฐานะตัวแทนนักธุรกิจจี นโพ้ นทะเลผมได้ เข้ าร่ วมงานสำคัญของประเทศจี นมากมายรวมถึงการประชุมประจำปี


“Boao Forum for Asia”

 
----------------------------------------

บทที่ 29: สานต่ อความฝันที่ไม่ สิ้นสุ ด...“เปลีย่ นเกษตรกรสู่ ผ้ ถู ือหุ้น”

เพื่อทำความฝันที่ยงิ่ ใหญ่ให้เป็ นจริ ง ผมได้ทดลองโครงการใหม่ข้ ึนที่หมู่บา้ นผิงกู่ (Pinggu) ซึ่ งตั้งอยูใ่ นเขตชานเมืองทางตะวันออกเฉี ยงเหนือ
ของนครปั กกิ่ง นัน่ คือ “โครงการไก่ไข่ 3 ล้านตัวผิงกู่” ที่เริ่ มการผลิตในเดือนเมษายน พ.ศ. 2555

โครงการแห่งนี้คือโรงงานผลิตไข่ไก่ที่ครบวงจรและทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่ง โดยสร้างเป็ นโรงเรื อนระบบปิ ดทั้งหมดเพื่อป้ องกันเชื้อโรคเข้าสู่ โรงเรื อน


ไก่ไข่จำนวน 3 ล้านตัวสามารถผลิตไข่ได้วนั ละ 2.4 ล้านฟอง ทุกขั้นตอนการผลิตตั้งแต่การผสมอาหารสัตว์ซ่ ึ งเป็ นขั้นตอนแรก จนถึงการส่ งไข่ไก่
ออกจากโรงงานซึ่ งเป็ นขั้นตอนสุ ดท้าย จะควบคุมด้วยระบบเครื่ องจักรอัตโนมัติ (Automation) ทั้งหมด กล่าวคือ อาหารสัตว์จะถูกลำเลียง
ผ่านท่อไปยังฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่ แล้วนำส่ งไปเลี้ยงไก่ เมื่อไก่ออกไข่แล้ว ไข่จะถูกส่งด้วยสายพานลำเลียงไปสู่ พ้ืนที่จดั เก็บและคัดแยก ภายในโรงงานมี
แขนกลเหมือนที่ใช้ในโรงงานประกอบรถยนต์ (Robotics) ค่อย ๆ นำไข่ไก่ข้ ึนวางบนชั้น กระบวนการผลิตเหล่านี้ ถูกควบคุมด้วยระบบ
คอมพิวเตอร์ท้ งั หมด

การใช้ ห่ ุนยนต์ ที่โครงการเลีย้ งไก่ ไข่ ผิงกู่ทางตะวันออกเฉี ยงเหนือของกรุ งปั กกิ่ง

ส่ วนมูลจากไก่ 3 ล้านตัว จะถูกนำไปทำปุ๋ ยชีวภาพและนำไปใช้ในสวนผลไม้ที่อยูใ่ กล้เคียง ไก่แก่ที่ไม่สามารถออกไข่ได้แล้วจะถูกนำไปแปรรู ป


อาหาร และชิ้นส่ วนที่เหลือจะถูกนำไปเป็ นอาหารจระเข้ ซึ่งการเลี้ยงจระเข้ยงั สามารถสร้างรายได้ที่ดีให้กบั โครงการอีกด้วย จะเห็นว่าการนำ
ทรัพยากรกลับมาหมุนเวียนใช้อย่างคุม้ ค่า สามารถรักษาสิ่ งแวดล้อมบริ เวณใกล้เคียง และยังช่วยบริ หารต้นทุนการดำเนินการได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ

แม้โครงการนี้จะตั้งอยูใ่ นหมู่บา้ นที่เต็มไปด้วยแรงงาน แต่เราก็ใช้พนักงานเพียงไม่กี่สิบคน ส่ วนเกษตรกรจำนวนเกือบ 5,000 คนที่อาศัยอยูใ่ น


บริ เวณใกล้เคียงนั้นจะอยูใ่ นฐานะผูถ้ ือหุน้ อย่างแท้จริ ง ผูถ้ ือหุน้ ก็มีหลักประกันว่าจะได้รับค่าเช่าที่ดินในอัตราที่แน่นอน และหากโครงการมีผล
ประกอบการที่ดีกจ็ ะได้รับเงินปั นผลเป็ นการเพิ่มเติมด้วย
สำหรับเครื อเจียไต๋ แล้ว โครงการผลิตไข่ไก่น้ ีจะได้กำไรหรื อไม่ อาจไม่ใช่ประเด็นที่สำคัญที่สุด เนื่องจากยังมีธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น การ
ผลิตอาหารสัตว์ การผลิตไก่พนั ธุ์ การแปรรู ปอาหาร และการค้าปลีกที่เป็ นธุรกิจปลายน้ำก็สามารถสร้างผลกำไรได้ แต่ในอีก 20 ปี ข้างหน้า เราจะ
โอนกรรมสิ ทธิ์โครงการแห่งนี้ให้แก่สหกรณ์ซ่ ึ งมีเกษตรกรเป็ นสมาชิก

อาจเกิดคำถามว่า เครื อเจียไต๋ มีจุดมุ่งหมายอย่างไรที่ไปสร้างโครงการที่ผลิตด้วยระบบอัตโนมัติในหมู่บา้ นที่มีแรงงานเพียบพร้อมอยูแ่ ล้ว คำตอบคือ


รู ปแบบการบริ หารแบบนี้ มีขอ้ ดี 2 ประการ คือ

ประการที่หนึ่ง ช่วยให้เกษตรกรมีรายได้สูงขึ้น เพราะให้เกษตรกรเป็ นเถ้าแก่และผูถ้ ือหุน้ มากกว่ารับจ้างใช้แรงงาน ผูถ้ ือหุน้ จะมีรายได้จากส่ วนแบ่ง
กำไร มีหลักประกันในชีวิต เกษตรกรที่ตอ้ งการมีรายได้มากขึ้นก็ยงั สามารถไปทำงานอื่น ๆ นอกโครงการได้ ซึ่งลำพังการรับจ้างทำงานในโรงงาน
ทัว่ ไปเพียงอย่างเดียว ย่อมไม่สามารถสร้างรายได้ที่ดีเท่านี้  

ประการที่สอง เป็ นการรับมือกับสังคมผูส้ ู งอายุ (Aging Society) ที่จะเกิดขึ้นจากการที่ประเทศจีนใช้ “นโยบายลูกคนเดียว” มาอย่างยาวนาน


ซึ่ งเพิ่งได้รับการยกเลิกไปเมื่อปี พ.ศ. 2558 ทำให้ในอนาคตจะมีช่วงเวลาที่แรงงานวัยหนุ่มสาวของจีนทั้งในเขตเมืองและชนบทมีจำนวนลดน้อยลง

งานในอนาคต

ญี่ปุ่นเป็ นประเทศแรกในทวีปเอเชียที่ประสบปั ญหาสังคมผูส้ ู งอายุ อัตราการเกิดต่ำ และนับวันปั ญหาจะทวีความรุ นแรงยิง่ ขึ้น ดังนั้น ในทวีปเอเชีย
โรงงานที่ใช้ระบบอัตโนมัติจึงมีความจำเป็ นอย่างยิง่ ยวด นอกจากนี้การใช้เครื่ องจักรในกระบวนการผลิตยังสามารถหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดและปั ญหา
จากคนงานใหม่ซ่ ึ งยังไม่ได้รับการฝึ กฝนให้ชำนาญพอ จนอาจส่ งผลกระทบต่อความปลอดภัยและประสิ ทธิภาพของงานอีกด้วย

ผมสนใจติดตามความก้าวหน้าเรื่ องหุ่นยนต์ และเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เป็ นอย่างยิง่ เพราะยิง่ มนุษย์ใช้เครื่ องมือที่ทนั สมัยมากขึ้นเท่าใด กำลังการ


ผลิตก็ยงิ่ สู งมากขึ้นเท่านั้น เมื่อก่อนคุณพ่อของผมทำงานโดยไม่มีวนั หยุดเลยตลอด 7 วันใน 1 สัปดาห์ แต่หลังจากที่ผมมารับช่วงต่อ บริ ษทั ก็ได้เริ่ ม
ให้มีวนั หยุด 1 วัน และเพิ่มเป็ น 2 วันมาจนทุกวันนี้ ที่เราสามารถทำเช่นนี้ได้กเ็ พราะเทคโนโลยีการผลิตด้วยเครื่ องจักรกลทำให้ประสิ ทธิภาพการ
ผลิตสู งขึ้น และในอนาคตหากมีการนำหุ่นยนต์มาช่วยทำงานเพิม่ มากขึ้น เราอาจจะเพิม่ วันหยุดเป็ น 3 วันต่อสัปดาห์กเ็ ป็ นได้

ศตวรรษที่ 21 จะเป็ นยุคที่หุ่นยนต์ปลดปล่อยมนุษย์จากการใช้แรงงานที่ยาวนานและเหนื่อยยาก ระบบคอมมิวนิสต์และสังคมนิยมเป็ นรู ปแบบของ


สังคมในอุดมคติ แต่การขาดแคลนอาหารและปั จจัยต่าง ๆ ไม่สามารถจะนำไปสู่ สงั คมในอุดมคติได้ ระบบอัตโนมัติแก้ปัญหาการขาดแคลนแล้วยัง
สร้างผลผลิตส่ วนเกินได้อีกด้วย จึงทำให้มนุษย์เดินตามเส้นทางสู่ สงั คมที่ใฝ่ ฝันได้ซ่ ึ งผมเองก็อยากมีส่วนช่วยการเดินตามความฝันนี้ ดว้ ยการพัฒนา
ธุรกิจให้กา้ วหน้าสื บไป

เทคโนโลยีอัตโนมัติในการลำเลียงไข่ ไก่ จากโรงเรื อนเลีย้ งไก่ ส่ ู กระบวนการทำความสะอาด คัดแยก บรรจุ และผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ ของ
โครงการเลีย้ งไก่ ไข่ 3 ล้ านตัว ผิงกู่
 

 
 

ไข่ ไก่ ไหลตามราง

 
 

โรงคัดไข่ ไก่

 
 

อาหารสั ตว์ ส่งตรงตามท่ อไปยังโรงเลีย้ ง

 
ไข่ ไก่ ที่วางขายมีจุดขายที่ แตกต่ างกัน อาทิ ไข่ ไก่ สำหรั บเด็ก คนท้ อง และไข่ ไก่ ที่มีอาหารเสริ ม เป็ นต้ น
โดยดูความแตกต่ างจากสี ที่กล่ อง 

อ้างอิง:  ซีพีกบั โมเดลเกษตรอุตสาหกรรมสมัยใหม่

----------------------------------------

ทที่ 30: การสร้ างครอบครัวของผม

ตอนอายุประมาณ 18 ปี ผมเพิ่งเดินทางจากฮ่องกงกลับกรุ งเทพฯ และได้พบกับคุณหญิงเทวี ภรรยาของผมเป็ นครั้งแรกโดยบังเอิญที่สวนดอกไม้


แห่งหนึ่ง ในใจของผมคิดว่า “คุณหญิงสวยราวกับนางฟ้ าบนดิน” ตอนนั้นคุณหญิงก็กำลังอยูใ่ นช่วงวัยรุ่ นอายุประมาณ 17 ปี และรู้จกั มักคุน้ กับพี่ ๆ
ของผมมาก่อนแล้ว ทั้งยังเป็ นญาติของเพื่อนผมที่ทำงานอยูท่ ี่หน่วยงานธุรกิจอาหารสัตว์ของเราตั้งแต่สมัยที่ท่านประธานมนตรี บริ หารอยู่

บ้านญาติของคุณหญิงอยูห่ ลังบริ ษทั ของเรา คุณหญิงมักจะมาพักผ่อนหย่อนใจที่สวนหลังบริ ษทั ของเราเสมอ ๆ ผมชอบการถ่ายรู ปมาตั้งแต่เด็ก ครั้ง
หนึ่งผมไปเที่ยวทะเล และได้พบกับคุณหญิง ผมมีโอกาสได้ถ่ายรู ปให้คุณหญิงด้วย ซึ่ งปั จจุบนั รู ปถ่ายใบนั้นก็ยงั ถูกเก็บรักษาไว้อย่างดี

หลังจากที่ได้รู้จกั กับคุณหญิงเทวีในครั้งนั้นแล้ว ผมก็ไม่ได้ไปมาหาสู่ กบั คุณหญิงอีก ตอนนั้นผมอายุยงั น้อย ไม่ได้ไปเรี ยนต่อที่ออสเตรเลีย และเพิ่ง
เริ่ มทำงาน ตำแหน่งงานของผมก็เป็ นเพียงพนักงานเล็ก ๆ คนหนึ่ง ผมรู้สึกว่าตัวเองไม่คู่ควรกับคุณหญิง และยังไม่พร้อมที่จะมีความรัก ผมจึงทุ่มเท
กำลังทั้งหมดไปที่งาน

เวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ วราวชัว่ พริ บตา ในตอนที่ผมอายุ 22 ปี ก็ได้พบคุณหญิงโดยบังเอิญอีกครั้งในงานแต่งงานของเพื่อน ตอนนั้นคุณหญิงยังไม่


ได้แต่งงาน และยังไม่มีคนรัก ขณะที่การงานของผมที่สหกรณ์ก็
กำลังไปได้ดี มีความสำเร็ จในหน้าที่การงานบ้างแล้ว ผมจึงตัดสิ นใจขอคุณหญิงแต่งงาน ผมเริ่ มสร้างครอบครัวตอนอายุ 23 ปี เราทั้งสองมีทายาท 5
คน เป็ นลูกชาย 3 คน และลูกสาว 2 คน

ผมและภรรยา (คุณหญิงเทวี)พร้ อมด้ วยลูก ๆ และหลาน ๆ

ครอบครัวกับธุรกิจ

ผมเคยกล่าวไว้ก่อนหน้านี้ วา่ จะไม่ให้ลูกชายเข้ามาทำงานในธุรกิจดั้งเดิมของเครื อฯ นัน่ คือเกษตรอุตสาหกรรมและอาหาร ผมยังยืนยันเช่นนั้น สุ ภกิต


ซึ่ งเป็ นลูกชายคนโต เป็ นคนที่มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีเพื่อนฝูงมากมาย เขาเป็ นคนดี คนที่รู้จกั ต่างก็ชอบเขา สุภกิตรับผิดชอบดูแล “ทรู วิชนั่ ส์” (True
Visions: ธุรกิจให้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก) ตั้งแต่เริ่ มต้น ปั จจุบนั สุ ภกิตยังดูแลการลงทุนขนาดใหญ่ของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ และ
ธุรกิจค้าปลีกในประเทศจีนอีกด้วย
ณรงค์ ลูกชายคนที่สอง เป็ นคนที่มีความรับผิดชอบสู งมาก ผมมอบหมายงานขยายธุรกิจโลตัส ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ซึ่ งเป็ นกิจการไฮเปอร์มาร์เก็ตในจีน
ให้เขาดูแล แต่จากการที่เขาไม่มีอำนาจบริ หารงานอย่างเต็มที่ ทำให้แนวคิดหลายอย่างไม่ได้นำไปใช้ปฏิบตั ิจริ ง ธุรกิจจึงยังขยายไม่ได้ตามเป้ าหมายที่
เขาวางไว้ แม้ณรงค์จะประสบกับปั ญหาอุปสรรค และความยากลำบากในการทำงานเพียงใด ก็ไม่เคยท้อแท้ หรื อบ่นให้ผมได้ยนิ แม้แต่นอ้ ย

ศุภชัย ลูกชายคนที่สาม เดิมทีเขาเริ่ มทำงานในตำแหน่งผูบ้ ริ หารในบริ ษทั ที่ทำธุรกิจผลิตพีวีซี ซึ่ งเป็ นการร่ วมทุนระหว่างเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์และ
บริ ษทั ของเบลเยีย่ ม ต่อมาศุภชัยได้รับการโอนย้ายให้มารับผิดชอบธุรกิจโทรคมนาคมของเครื อฯ โดยผมให้เริ่ มจากโทรศัพท์พ้ืนฐาน (โทรศัพท์
บ้าน) เพื่อตั้งต้นเรี ยนรู้ข้ ึนไปทีละขั้น ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจเอเชียปี พ.ศ. 2540 ธุรกิจโทรคมนาคมของเราได้รับผลกระทบเช่นกัน ธนาคารเจ้าหนี้
หลายแห่งที่ศุภชัยเข้าไปเจรจาเรื่ องแผนการปรับปรุ งธุรกิจจนเกิดความเชื่อมัน่ ได้เสนอแนะให้ศุภชัยดำรงตำแหน่งซี อีโอของบริ ษทั ซึ่ งต่อมาธุรกิจนี้ก็
สามารถผ่านพ้นวิกฤตมาได้และพัฒนาเติบโตกลายเป็ น บริ ษทั ทรู คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (มหาชน) ในทุกวันนี้

สำหรับแนวทางการสื บทอดธุรกิจ ผมได้ปรึ กษากับพี่ชายทั้งสามคนแล้ว และกำหนดแนวทางคร่ าว ๆ ไว้วา่ ขั้นตอนแรก ผมจะดำรงตำแหน่งประธาน


อาวุโสของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ให้สุภกิตดำรงตำแหน่งประธาน และศุภชัยดำรงตำแหน่งซี อีโอ โดยระหว่าง 10 ปี ถัดจากนี้ ไป เราต้องสร้างว่าที่ซีอี
โอคนใหม่ของเครื อฯ ขึ้นมารับช่วงต่อ ผมคิดว่าผูบ้ ริ หารระดับสู งควรมีวาระการบริ หารงานที่ระยะเวลา 10 ปี จะเหมาะสมที่สุด เพราะ 5 ปี นั้นอาจ
สั้นเกินไป แต่หลังจาก 10 ปี ผมก็จะลงจากตำแหน่งประธานอาวุโส สุภกิตซึ่ งเป็ นลูกชายคนที่หนึ่งก็จะมารับตำแหน่งประธานอาวุโสแทนผม ส่ วน
ศุภชัยลูกชายคนที่สาม ก็จะมาดำรงตำแหน่งประธานของเครื อฯ ตำแหน่งซี อีโอที่วา่ งลงหลังจากศุภชัยพ้นวาระ ก็จะมีผบู้ ริ หารคนใหม่มาดำรง
ตำแหน่งต่อไป

เมื่อเล่าถึงครอบครัว ผมอยากจะขอกล่าวถึงท่านเจี่ย เอ็กชอ คุณพ่อของผม ซึ่ งในช่วงการปฏิวตั ิวฒั นธรรมจีนนั้น คุณพ่อสู ญเสี ยกิจการทุกอย่างใน
ประเทศจีน ท่านต้องอาศัยอยูใ่ นฮ่องกงและสิ งคโปร์ ส่ วนผมอยูใ่ นประเทศไทย จึงมีโอกาสพบคุณพ่อน้อยมาก แต่ทุกครั้งที่ได้พบกัน ท่านจะ
ถ่ายทอดข้อคิดดี ๆ ให้ผมฟังอยูเ่ สมอ ซึ่ งช่วยจุดประกายความคิดให้ผมนำไปต่อยอดได้เป็ นอย่างดี จนกระทัง่ หลังจากท่านเติ้ง เสี่ ยวผิง ได้กลับมามี
อำนาจทางการเมือง ทำให้การติดต่อระหว่างคนไทยกับคนจีนกลับเข้าสู่ ภาวะปกติอีกครั้ง ซึ่งช่วงแรกของการปฏิรูปเศรษฐกิจและเปิ ดประเทศจีนนั้น
คุณพ่อได้แนะนำและพาผมกลับไปประเทศจีน เพื่อปรึ กษาหารื อการเข้าไปทำธุรกิจในจีน ช่วงเวลานั้นคุณพ่อซึ่ งมีอายุมากแล้ว ท่านได้เห็นความ
เปลี่ยนแปลงของจีน และเพิ่งจะมีโอกาสได้กลับมาใช้ชีวิตในกรุ งเทพฯ และท่านผูซ้ ่ ึ งเคยเผชิญทั้งมรสุ มแห่งชีวิตและการประสบความสำเร็ จ ก็ได้เสี ย
ชีวิตบนผืนแผ่นดินไทยแห่งนี้ในปี พ.ศ. 2526

----------------------------------------

You might also like