You are on page 1of 209

คํานํา

องคความรู “คูมือ การรังวัดเฉพาะรายโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน


(RTK GNSS Network)” เปนองคความรูที่ไดรับการคัดเลือกจาก คณะกรรมการจัดการความรูของกรมที่ดิน
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ พัฒนาระบบขอมูลที่ดินและ
แผนที่แหงชาติที่มีศักยภาพ รองรับการพัฒนาประเทศและรองรับการบริการในระดับสากล
ทั้งนี้ ขอมูลและเนื้อหาขององคความรูเลมนี้ ไดรวบรวมขึ้นอยางเปนระบบ ทั้งทางทฤษฎี
ตามหลักวิชาการ และความรูจากประสบการณในการปฏิบัติงาน เพื่อใหผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของสามารถ
นําไปใชประโยชน ตลอดจนสามารถแกไขปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล

กองเทคโนโลยีทําแผนที่
กองฝกอบรม
กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
เมษายน ๒๕๖๑
สารบัญ

หนา
คํานํา ก
สารบัญ ข
สารบัญรูป ค
บทที่ ๑ ความเปนมา ๑๑
บทที่ ๒ ทฤษฎีและหลักการทํางานของระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน ๒  ๑
(RTK GNSS Network)
บทที่ ๓ ขั้นตอนการปฏิบัติงานรังวัดและนําเขาขอมูล ๓๑
บทที่ ๔ ขั้นตอนการลงระวางดิจิทัล ๔๑
บทที่ ๕ ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไข ๕๑

ภาคผนวก
ระเบียบที่เกี่ยวของ
 ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการติดตอหรือการแจงผูมีสิทธิในที่ดินขางเคียงใหมาลงชื่อรับรอง
แนวเขตหรือคัดคานการรังวัด พ.ศ. ๒๕๒๑
 ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการแจงเจาของที่ดินขางเคียงกรณีรังวัดแบงแยกที่ดินที่มีการรังวัด
ใหมแลว พ.ศ. ๒๕๒๗
 ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดและทําแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดินโดยวิธีแผนที่
ชั้นหนึ่งในระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม พ.ศ. ๒๕๔๒
 ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK
Network) ในงานรังวัดเฉพาะราย พ.ศ. ๒๕๕๘
สารบัญรูป

หนา
รูป ๑  ๑ ตําแหนงสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS) ของกรมที่ดิน ๑๓
ที่ดําเนินการแลวเสร็จ รวมทั้งสิ้น ๙๒ สถานี
รูป ๑  ๒ ตําแหนงของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงที่กรมแผนที่ทหาร ๑๔
จะดําเนินการติดตั้ง จํานวน ๘๐ สถานี
รูป ๑  ๓ พื้นที่ ๓๖ จังหวัด ที่กรมที่ดินประกาศใหทําการรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ง ๑๖
ดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
ในงานรังวัดเฉพาะรายของสํานักงานที่ดิน
รูป ๒  ๑ ตัวอยางเสารับสัญญาณของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงของกรมที่ดิน ๒๑
รูป ๒  ๒ เครื่องรับสัญญาณของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงของกรมที่ดิน ๒๒
รูป ๒  ๓ ศูนยควบคุมของระบบโครงขายฯ ของกรมที่ดิน ๒๒
รูป ๒  ๔ หลักการทํางานของระบบ FKP ๒๓
รูป ๒  ๕ หลักการทํางานของระบบ VRS ๒๔
รูป ๒  ๖ หลักการทํางานของระบบ MAC ๒๕
บทที่ ๑
ความเปนมา
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๔๙๗) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๙ (พ.ศ. ๒๕๔๔) ออกตาม
พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ กําหนดใหการรังวัดทําแผนที่เพื่อออกโฉนดที่ดิน
ของกรมที่ดิน กระทําได ๒ วิธี คือ การรังวัดดวยวิธีแผนที่ช้ันหนึ่ง และการรังวัดดวยวิธีแผนที่ชั้นสอง
แตดวยสภาพการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิประเทศ เชน การขยายตัวและการเติบโตของชุมชน การพัฒนา
ระบบสาธารณูปโภค อาทิ การกอสรางเสนทางคมนาคม ตลอดจนการใชประโยชนในที่ดินของประชาชน
ที่เพิ่มขึ้น ทําใหหมุดหลักฐานแผนที่ถูกทําลาย เคลื่อนยาย หรือสูญหาย ซึ่งสงผลใหการรังวัดดวยวิธีแผนที่
ชั้นหนึ่งกระทําไดไมเต็มประสิทธิภาพ สําหรับการรังวัดดวยวิธีแผนที่ช้ันสองนั้น ก็ใหความผิดพลาด
ทางตําแหนงที่สูง ไมสามารถนําคาพิกัดที่รังวัดไดมาแสดงผลในระวางแผนที่ไดโดยตรง จะตองนํามา
ลงระวางแผนที่ดวยการตอแปลงขางเคียง ทําใหเกิดความไมนาเชื่อถืออาจนําไปสูการเปนคดีขึ้นสูศาล
อยูบอยครั้ง อีกทั้งในการรังวัดที่ดินทุกครั้ง ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๖๙ ไดใหประชาชนผูมีที่ดิน
ขางเคียงกับที่ดินที่ไดทําการรังวัดจําเปนตองมาระวังแนวเขตขณะที่มีการรังวัด ทําใหประชาชนผูที่มิได
มีความประสงคจะรังวัดแปลงที่ดินของตนเองตองเสียเวลาและคาใชจายในการเดินทาง ยอมสงผล
เสียหายตอทางเศรษฐกิจอีกดวย
นอกจากนี้ รัฐบาลไดมีแนวคิดที่จะบูรณาการงานแผนที่ในหนวยงานของรัฐ ใหเปนไปใน
ทิศทางและมีมาตรฐานเดียวกัน นายกรัฐมนตรี (พลเอก สุรยุทธ จุลานนท) จึงลงนามในระเบีย บ
สํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยมาตรฐานระวางแผนที่และแผนที่รูปแปลงที่ดินในที่ดินของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๐
เมื่อวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๐ โดยสาระสําคัญของระเบียบฯ นี้ ไดกําหนดใหหนวยงานตางๆ ที่ดูแลที่ดิน
ของรัฐ ตองจัดทําแนวเขตที่ดินของรัฐที่รับผิดชอบใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด และดําเนินการ
เปนดิจิทัลในระบบภูมิสารสนเทศ รวมทั้งจัดสงขอมูลใหกรมที่ดินจัดเก็บในฐานขอมูลแผนที่รูปแปลง
ที่ดินในที่ดินของรัฐ
จากขอเท็ จจริงขางต น ทําให เห็ นไดว างานรั งวั ดทํ าแผนที่ของประเทศไทยจํ าเปนตอง
อาศัยเทคโนโลยีการรังวัดดวยดาวเทียมที่สามารถแกขอจํากัดขางตนได กลาวคือ ตองใหความถูกตองของ
คาพิกัดที่เปนมาตรฐานเดียวกัน ลดปญหาการสูญหายของหมุดหลักฐานที่รังวัด ซึ่งเทคโนโลยีระบบ
โครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) สามารถแกไขปญหาดังกลาวได
เปนอยางดี
ดังนั้น ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ กรมที่ดินจึงไดนําเทคโนโลยีระบบโครงขายการรังวัด
ดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) มาทดลองใชง าน โดยไดติด ตั้ง สถานีรับ สัญญาณ
ดาวเทียมอางอิง (Continuous Operating Reference Station หรือ CORS) จํานวน ๕ สถานี
ไดแก
๑๒

๑-2

๑. สถานีสํานักงานที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ สาขาบางพลี (BPLE)


๒. สถานีสํานักงานที่ดินจังหวัดชลบุรี สาขาพนัสนิคม (PNNK)
๓. สถานีสํานักงานที่ดินจังหวัดชลบุรี สาขาบางละมุง (BLMG)
๔. สถานีสํานักงานที่ดินจังหวัดชลบุรี สาขาสัตหีบ (STHP)
๕. สถานีสํานักงานที่ดินจังหวัดระยอง สาขาปลวกแดง (PLDG)
และในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ไดติดตั้งเพิ่มเติมอีก ๒ ครั้ง จํานวน ๖ สถานี ไดแก
๑. สถานีอาคารรังวัดและทําแผนที่ (PKKT)
๒. สถานีสํานักงานที่ดินจังหวัดสมุทรสาคร สาขากระทุมแบน (KTBN)
๓. สถานีสํานักงานที่ดินจังหวัดนครปฐม สาขาบางเลน (BLAN)
๔. สถานีสํานักงานที่ดินจังหวัดนครนายก สาขาองครักษ (OKRK)
๕. สถานีสํานักงานที่ดินจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (AYYA)
๖. สถานีสํานักงานที่ดินจังหวัดสระบุรี สาขาแกงคอย (KKOI)
ทําใหกรมที่ดินมีสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงในระยะแรก รวม ๑๑ สถานี ซึ่งใน
ภายหลังไดทดลองนําระบบการรังวัดโดยโครงขายงานรัง วัด ดว ยดาวเทีย มแบบจลน (RTK GNSS
Network) มาใชในการยกระดับการรังวัดออกโฉนดที่ดินของสํานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาปากเกร็ด
ใหกระทําโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งเปนสํานักงานที่ดินแรก เมื่อเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๔ และไดขยายการใช
งานระบบนี้เ พิ่มเติมอีก ๑๑ สํา นักงาน ในพื้น ที่ ๓ จัง หวัด ไดแก สํา นักงานที่ดิน จัง หวัด ปทุมธานี
สํานักงานที่ดินจังหวัดปทุมธานี สาขาคลองหลวง สํา นักงานที่ดิน จัง หวัด ปทุมธานี สาขาลํา ลูกกา
สํานักงานที่ดินจังหวัดปทุมธานี สาขาธัญบุรี สํานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สํานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี
สาขาบางบัวทอง สํานักงานที่ดินจังหวัดนนทบุรี สาขาบางใหญ สํานักงานที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ
สํานักงานที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ สาขาบางพลี สํานักงานที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ สาขาพระประแดง
และสํานักงานที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ สาขาพระสมุทรเจดีย
ตอมา ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ รัฐบาลไดจัดสรรงบประมาณแบบบูรณาการ ตามแผนงาน
รักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและแกปญหาที่ดินทํากิน โครงการจัดทําแผนที่เพื่อรองรับ
การบริหารจัดการบนแผนที่ มาตราสวน ๑ : ๔,๐๐๐ กิจกรรมยกระดับการรังวัดดวยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ง
โดยระบบดาวเทียม ใหกรมที่ดินรวมกับกรมแผนที่ทหาร ติดตั้งสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS)
เพื่อเปนโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) ของประเทศ ทั้งนี้ กรมที่ดิน
ไดติดตั้งแลวเสร็จตามแผนงานครบทั้ง ๕๑ สถานี เมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๐
ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ กรมที่ดินไดรับจัดสรรงบประมาณตามแผนยุทธศาสตร
อนุรักษฟนฟูและปองกันทรัพยากรธรรมชาติ โครงการจัดทําแผนที่เพื่อรองรับการบริหารจัดการบนแผนที่
มาตราสวน ๑ : ๔,๐๐๐ กิจกรรมยกระดับการรังวัดดวยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งโดยระบบดาวเทียม เพื่อการติดตั้ง
สถานีรับ สัญ ญาณดาวเทีย มอา งอิง (CORS) เพิ่มอีก ๓๐ สถานี ซึ่ง ติด ตั้ง แลว เสร็จ และไดสงมอบ
เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ ทําใหกรมที่ดินมีสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS) ที่ดําเนินการ
แลวเสร็จรวมทั้งสิ้น ๙๒ สถานี (รูป ๑  ๑)
๑๓

๑-3

รูป ๑  ๑ ตําแหนงสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS) ของกรมที่ดินที่ดําเนินการแลวเสร็จ


รวมทั้งสิ้น ๙๒ สถานี
๑๔
 ๑-4

ปจจุบัน กรมที่ดินไดลงนามในสัญญากับบริษัทเอกชน เพื่อติดตั้งสถานีรับสัญญาณดาวเทียม


อางอิง (CORS) เพิ่มอีก ๓๐ สถานี เมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๑ ทําใหคาดวาภายในสิ้นป พ.ศ. ๒๕๖๑
กรมที่ดินจะติดตั้งสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS) ทั้งสิ้นจํานวน ๑๒๒ สถานี กระจายครอบคลุม
ทั่วทั้งประเทศ สําหรับสถานการณดําเนินงานเพื่อบูรณาการโครงขายฯ รวมกับหนวยงานตางๆ นั้น
กรมโยธาธิการและผังเมือง ไดติดตั้งสถานี CORS เสร็จสิ้นแลว จํานวน ๑๕ สถานี สถาบันสารสนเทศ
ทรัพยากรน้ําและการเกษตร องคการมหาชน (สสนก.) ติดตั้งสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS)
แลวเสร็จ จํานวน ๖ สถานี สําหรับกรมแผนที่ทหารนั้น ขณะนี้อยูระหวางการสํารวจความเหมาะสม
ของพื้นที่ที่จะติดตั้งสถานี CORS ทั้ง ๘๐ สถานี (รูป ๑  ๒) โดยแบงเปน ติดตั้งในเขตพื้นที่ทหาร
จํานวน ๕๒ สถานี องคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน ๑๐ สถานี และสํานักงานที่ดิน จํานวน ๑๘ สถานี

รูป ๑  ๒ ตําแหนง ของสถานีรับสั ญญาณดาวเที ยมอ างอิ งที่ กรมแผนที่ทหารจะดําเนิ น การติดตั้ง


จํานวน ๘๐ สถานี
๑๕
 ๑-5

จากการที่ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ กรมที่ดินไดดําเนินการติดตั้งสถานีรับสัญญาณ


ดาวเทียมอางอิง (CORS) แลวเสร็จ จํานวน ๙๒ สถานี สงผลใหในเดือนสิงหาคม ๒๕๖๐ กรมที่ดิน
ไดประกาศกําหนดพื้นที่ทําการรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียม
แบบจลน (RTK GNSS Network) ในงานรังวัดเฉพาะรายของสํานักงานที่ดิน เพิ่มเติมอีก ๑๕ จังหวัด
ไดแก จังหวัดนครนายก พระนครศรีอยุธยา สมุทรสงคราม สมุทรสาคร นครราชสีมา ชัยภูมิ เลย
หนองบัวลําภู เพชรบูรณ อุบลราชธานี จันทบุรี สงขลา ยะลา ปตตานี และจังหวัดนราธิวาส (รูป ๑  ๓)
แตเนื่องจาก เทคโนโลยีการรังวัดโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS
Network) เปนเทคโนโลยีสมัยใหม ผูปฏิบัติงานตองมีความรูความเขาใจ และทักษะเกี่ยวกับการรังวัด
ตลอดจนโปรแกรมสําหรับใชในการปฏิบัติงาน ใหถูกตองเปนไปตามระเบียบที่กรมที่ดินกําหนด ประกอบ
กับชางรังวัดในสํานักงานที่ดินยังไมมีความรูในการใชเครื่องมือ กรมที่ดินโดยกองเทคโนโลยีทําแผนที่
จึงไดจัดสงเจาหนาที่ไปปฏิบัติหนาที่ใหความรู แนะนํา ชวยเหลือ และแกไขปญหาอุปสรรคใหกับชางรังวัด
ของสํานักงานที่ดินในพื้นที่ ๑๕ จังหวัดขางตน สงผลใหชางรังวัดสามารถปฏิบัติงานรังวัดโดยวิธีแผนที่
ชั้นหนึ่งดวยระบบโครงขายการรัง วัด ดว ยดาวเทีย มแบบจลน (RTK GNSS Network) ในงานรังวัด
เฉพาะรายของสํานักงานที่ดิน ไดอยางเรียบรอยและมีประสิทธิภาพ ซึ่งกรมที่ดินมีแผนที่จะขยายพื้นที่
ดําเนินการรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งดวยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS
Network) ในงานรังวัดเฉพาะรายของสํานักงานที่ดิน เพิ่มเติมอีก ๑๘ จังหวัด ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
รวมทั้งสิ้น ๓๖ จังหวัด
๑๖

๑-6

รูป ๑  ๓ พื้นที่ ๓๖ จังหวัด ที่กรมที่ดินประกาศใหทําการรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งดวยระบบโครงขาย


การรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) ในงานรังวัดเฉพาะรายของ
สํานักงานที่ดิน
บทที่ ๒
ทฤษฎีและหลักการทํางานของระบบโครงขายการรังวัด
ดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
 การรังวัดคาพิกัดดวยการรับสัญญาณดาวเทียมสามารถกระทําไดหลายวิธี แตที่นิยมใชงาน
กันอยางแพรหลาย ไดแก วิธีการรังวัดคาพิกัดดวยดาวเทียมแบบจลนทันที (Real Time Kinematic
: RTK) การรังวัดดวยวิธีนี้ มีขอดี คือ ใชเวลาในการรับสัญญาณที่สั้น และไดคาพิกัด ณ ขณะรังวัด แตก็มี
ขอจํากัด คือ ความถูกตองและความนาเชื่อถือของคาพิกัดที่รังวัดได จะลดลงเมื่อระยะระหวางสถานีฐาน
(Base Station) กับเครื่องรับสัญญาณที่จุดรังวัด (Rover) เพิ่มขึ้น รวมถึงหากหมุดควบคุมที่สถานีฐาน
ชํารุดหรือสูญหาย ก็จะทําใหการรังวัดดวยวิธี RTK ไมสามารถกระทําไดและมีความยุงยากเพิ่มขึ้น
ทั้งนี้ การรังวัดคาพิกัดโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) จึงได
ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อลดขอจํากัดดังกลาว
องคประกอบของระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
 ระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) ประกอบดวย ๓ สวน
ที่สําคัญ คือ
๑. สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (Continuous Operating Reference Station
: CORS) เปนสถานีรับสัญญาณดาวเทียมที่ติดตั้งถาวร ในตําแหนงที่มีความมั่นคง โดยสถานีเหลานี้
จะรับสัญญาณดาวเทียมตลอด ๒๔ ชั่วโมง และทําการสงสัญญาณดาวเทียมที่รับไดไปยังศูนยควบคุม
ผานทางระบบสื่อสาร เชน ทางโทรศัพท หรือระบบอินเทอรเน็ต ตัวอยางอุปกรณของสถานีรับสัญญาณ
ดาวเทียมอางอิง แสดงดังรูป ๒  ๑ และรูป ๒  ๒










รูป ๒  ๑ ตัวอยางเสารับสัญญาณของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงของกรมที่ดิน
๒๒
 ๒-2











รูป ๒  ๒ เครื่องรับสัญญาณของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงของกรมที่ดิน
 ๒. ศูนยควบคุม (Control Center) เปนชุดของเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย (Server) ทําหนาที่
ประมวลผลขอ มูล สัญ ญาณดาวเทีย มที่สง มาจากสถานีรับ สัญ ญาณดาวเทียมอางอิง หรือ CORS
เพื่อคํานวณคาปรับแกใหแกผูใชงานที่ทําการรังวัดคาพิกัดแบบจลน (Real Time Kinematic) กําหนด
และตรวจสอบสิ ทธิ การใช งาน สํ ารองข อมู ล ตลอดจนให บริ การดาวน โหลดข อมู ลสั ญญาณดาวเที ยม
สําหรับใชคํานวณคาพิกัด (Post Process) ซึ่งศูนยควบคุมของระบบโครงขายฯ ที่กรมที่ดินดูแล ตั้งอยูที่
ชั้น ๓ อาคารรังวัดและทําแผนที่ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี (รูป ๒  ๓) และจะติดตั้งศูนยควบคุมสํารอง อีก
๑ ศูนย ที่สํานักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร สาขาบางกอกนอย













รูป ๒  ๓ ศูนยควบคุมของระบบโครงขายฯ ของกรมที่ดิน
๒๓
 ๒-3

 ๓. การสื่อสาร (Communication) คือ ระบบสื่อสารที่ใชในการติดตอรับสงขอมูลระหวาง


สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS) กับศูนยควบคุม และระหวางศูน ยควบคุมกับ ผูใ ชง าน
โดยการสื่อสารที่ปกติจะเปนการรับสงขอมูลระหวางสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงกับศูนยควบคุม
ซึ่งมักจะใชเปนระบบอินเทอรเน็ตพื้นฐาน เชน ระบบ ADSL หรือ Leased Line เนื่องจากตองการ
การรับสงขอมูลที่มีเสถียรภาพสูง และจากการที่สถานี CORS จะตองทํางานตลอดเวลา ดังนั้น จึงตองมี
การสื่อสารสํารอง (Backup Link) เชน อินเทอรเน็ตของโทรศัพทเคลื่อนที่ไวใชงาน เพื่อทดแทนในกรณี
ที่ระบบสื่อสารหลักเกิดขัดของ ในสวนของการรับสงขอมูลระหวางศูนยควบคุมกับผูใชงานจะใชระบบ
อินเทอรเน็ตของโทรศัพทมือถือ เนื่องจากมีคาใชจายคอนขางต่ํา และไมจําเปนตองใชการสื่อสารที่มี
เสถียรภาพที่สูงมาก
หลักการของระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
 หลักการทํางานของระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
ในการรังวัดคาพิกัดที่มีการใชงานในปจจุบัน มีอยู ๓ ระบบ คือ
 ๑. หลักการของระบบ Area Correction Parameter (FlaechenKorrectur Parameters
: FKP) ดวยหลักการ FKP ขอมูลสัญญาณดาวเทียมที่สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง หรือ สถานี CORS
รับสัญญาณได จะถูกสงไปยังศูนยควบคุม ซึ่งศูนยควบคุมจะทําการคํานวณสรางแบบจําลองของคาแก
ตางๆ ซึ่งประกอบดวย แบบจําลองคาแกของนาฬิกาดาวเทียม แบบจําลองคาแกของชั้นบรรยากาศ
และแบบจําลองคาแกของวงโคจรดาวเทียม โดยแบบจําลองที่ศูนยควบคุมคํานวณไดจะเรียกรวมกันวา
“State Space Model : SSM)” ทั้งนี้ ศูนยควบคุมจะสงขอมูลแบบจําลองคาแก SSM ใหผูใชงาน
ในลักษณะที่เปนคาพารามิเตอรของระนาบแบบจําลองสําหรับแตละสถานี CORS (รูป ๒  ๔)












รูป ๒  ๔ หลักการทํางานของระบบ FKP
๒๔
 ๒-4

 ๒. หลักการของระบบ Virtual Reference Station (VRS) ขอมูลสัญญาณดาวเทียม


ที่ส ถานีรับ สัญ ญาณดาวเทีย มอา งอิง หรือ สถานี CORS รับ สัญ ญาณได จะสงไปยัง ศูน ยค วบคุม
เพื่อทําการคํานวณคาแกตางๆ ในลักษณะเดียวกับระบบ FKP เพียงแตในกรณีของระบบ VRS ผูใชงาน
ตองสงตําแหนงโดยประมาณของตนเอง (คาพิกัดในรูปแบบ NMEA) ใหศูนยควบคุม ซึ่งศูนยควบคุม
จะทําการใชขอมูลจากสถานี CORS ที่อยูโดยรอบผูใชงาน และคาแกที่คํานวณได สรางหรือสังเคราะห
ขอมูลขึ้นมา แลวสงกลับไปใหผูใชงาน ซึ่งขอมูลที่สรางขึ้นมานี้ เครื่องรับสัญญาณของผูใชงานจะมองเห็น
เสมือนวาเปนขอมูลของสถานีฐานหรือสถานีอางอิงในงานรังวัด RTK แบบเดิม ดังนั้น จึงเรียกระบบ
การทํางานของระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน แบบนี้วาเปนสถานีอา งอิง เสมือน
(Virtual Reference Station) ตามขอมูลที่ศูนยควบคุมสงใหผูใชงาน (รูป ๒  ๕)
ทั้งนี้ ในปจจุบันกรมที่ดินใชระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS
Network) ที่เปนแบบระบบ Virtual Reference Station (VRS)












รูป ๒  ๕ หลักการทํางานของระบบ VRS


๒๕
 ๒-5

 ๓. หลักการของระบบ MasterAuxiliary Concept (MAC) ในการทํางานระบบ MAC นั้น


เมื่อผูใชงานเริ่มการทํางาน เครื่องรับสัญญาณของผูใชงานจะทําการสงพิกัดโดยประมาณ ณ ตําแหนง
ที่จะรังวัดไปยังศูนยควบคุม ศูนยควบคุมจะเลือกสถานี CORS ที่อยูใกลผูใชงานมากที่สุด โดยจะกําหนดให
สถานี CORS นี้เปนสถานี Master พรอมทั้งเลือกสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิงที่อยูใกลเคียงอีก
อยางนอย ๒ สถานีใหเปน สถานี Auxiliary โดยศูนยควบคุมทําการสงขอมูลสัญญาณดาวเทียมและ
คาปรับแกของสถานี Master พรอมกับคาตางของคาปรับแกระหวางสถานี Master และสถานี Auxiliary
ไปใหผูใชงาน (รูป ๒  ๖)










รูป ๒  ๖ หลักการทํางานของระบบ MAC
บทที่ ๓
ขั้นตอนการปฏิบัติงานรังวัดและการนําเขาขอมูล
การรังวัดเฉพาะรายของสํานักงานที่ดิน เปนงานบริการงานรังวัดที่ดิน (Cadastral Surveying)
ที่เกี่ยวของกับการรังวัดปกหลักเขตที่ดิน การออกโฉนดที่ดิน การรังวัดแบงแยก รวมโฉนดที่ดิน การสอบ
เขตที่ดิน การชี้ตําแหนงแปลงที่ดิน ซึ่งไดกําหนดไวเปน ๒ ประเภท คือ งานรังวัดทําแผนที่โดยวิธีแผนที่
ชั้นหนึ่ง และงานรังวัดทําแผนที่โดยวิธีแผนที่ชั้นสอง
การรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ง เนนการใชเครื่องมือรังวัด เชน กลองวัดมุม เครื่องมือวัดระยะ
กลองสํารวจแบบประมวลผลรวม เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม หรือเครื่องมือรังวัดที่มีความละเอียดถูกตอง
ไมต่ํากวาเกณฑมาตรฐานที่กรมที่ดินกําหนด โดยคํานวณเปนคาพิกัดสืบเนื่องจากหมุดหลักฐานแผนที่
ของกรมที่ดิน และการคํานวณเนื้อที่จากคาพิกัดฉากของแตละหมุดหลักเขต สวนงานรังวัดโดยวิธีแผนที่
ชั้นสอง จะใชระวางแผนที่เปนหลัก โดยการวัดระยะเปนมุมฉาก หรือวัดระยะสกัดเปนรูปสามเหลี่ยม
จากหมุดหลักฐานแผนที่ หรือโดยวิธีจากรูปถายทางอากาศ และคํานวณเนื้อที่โดยวิธีคณิตศาสตร หรือ
โดยใชมาตราสวน
การปฏิบัติงานรังวัดเฉพาะรายของสํานักงานที่ดิน ชางรังวัดจะใชเครื่องมือรังวัด เชน กลอง
วัดมุม เครื่องมือวัดระยะ หรือใชกลองสํารวจแบบประมวลผลรวม แลวทําการรังวัดเพื่อคํานวณเนื้อที่จาก
การอางอิงคาพิกัดสมมุติหรือศูนยลอย (Assume Coordinate) ซึ่งไมไดทําการรังวัดสืบเนื่องจากหมุด
หลักฐานแผนที่ในการสนับสนุนการรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ง กองเทคโนโลยีทําแผนที่ จะดําเนินการ
สรางหมุดหลักฐานแผนที่ ใหมีความหนาแนนเพียงพอในระวางแผนที่หนึ่งๆ แตขอเท็จจริงที่ปรากฏ
เมื่อสรางหมุดหลักฐานแผนที่ไวแลว ยังไมไดนํามาใชงาน ตอมามีความเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ เปนผลให
หมุดหลักฐานแผนที่สูญหายไปเปนจํานวนมาก กรมที่ดินตองดําเนินการสรางเสนโครงงานฯ หรือทํา
การฝงหมุดหลักฐานแผนที่ใหใหม แตก็ยังไมเพียงพอสําหรับการใหบริการงานรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ง
ดังนั้น การนําระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) มาใชในการรังวัด
เฉพาะรายของกรมที่ดิน จึงเปนการเพิ่มศักยภาพของงานรังวัดดวยระบบพิกัดฉากที่คํานวณสืบเนื่องมาจาก
หมุดหลักฐานแผนที่จากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมอางอิง (CORS) ที่อยูใกลๆ ซึ่งทําการประมวลผล
จากการรับสัญญาณจากดาวเทียม และสื่อสารขอมูลกับสถานีควบคุมสวนกลางอยูตลอดเวลา ดังนั้น
เมื่อทําการรังวัดดวยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม (Rover) ณ ตําแหนงใดๆ จะทราบคาพิกัดฉากที่จุดนั้นๆ
ซึ่งใหคาความละเอียดถูกตองอยูในระดับเซนติเมตร ระบบโครงขายฯ จึงมีศักยภาพในการกําหนดตําแหนง
หมุดหลักฐานแผนที่ การตรวจสอบตําแหนงพิกัดของแปลงที่ดิน และขอบเขตการครอบครองที่ดิน
ไดอยางมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว ไมยุงยากซับซอน ใชเพียงเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมรับสัญญาณ
ณ จุดที่ตองการทราบคาพิกัด ก็สามารถปฏิบัติงานไดแลว
การปฏิบัติงานรัง วัด เฉพาะรายโดยระบบโครงขายฯ ชา งรัง วัด จะมีขั้นตอนที่เพิ่มขึ้น
จากขั้นตอนการปฏิบัติงานแบบเดิม คือ การใชเครื่องมือรังวัดดวยระบบดาวเทียม สวนวิธีการปฏิบัติงาน
๓๒
๓-2

ในการรังวัดรูปแปลงที่ดิน จะดําเนินการเชนเดียวกับการปฏิบัติงานรังวัดเฉพาะรายแบบเดิม ซึ่งการรังวัด


ดวยระบบโครงขายฯ ชางรังวัดสามารถดําเนินงานโดยการรังวัดสรางหมุดหลักฐานแผนที่กอน แลวทํา
การโยงยึดหลักเขตที่ดิน เพื่อใหไดคาพิกัดฉากในระบบพิกัด ยู ที เอ็ม ในการขึ้นรูปแปลงที่ดินและทํา
การคํานวณเนื้อที่ตอไป
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การรังวัดโดยระบบโครงขายฯ มีขั้นตอนในการปฏิบัติงาน ดังนี้
๑. กอนทําการรังวัดใหตรวจสอบเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม โดยรับสัญญาณที่หมุดดาวเทียม
Static ซึ่งทราบคาพิกัดฉาก (หมุดตรวจสอบที่อยูบริเวณสํานักงานที่ดิน) โดยคาความแตกตางตองอยู
ในเกณฑความคลาดเคลื่อนเชิงตําแหนง ± ๔ เซนติเมตร เพื่อตรวจสอบความคลาดเคลื่อนของงาน
รังวัดที่ไดจากเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม ซึ่งจะมีผลตอการรังวัดตอไป

๒. การรับสัญญาณดาวเทียมโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK
GNSS Network) ณ สถานีจร ใหใชเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมประกอบขากลอง ตั้งใหตรงศูนยกลาง
หมุดดาวเทียม RTK GNSS Network และใหตรวจสอบการรับสัญญาณดาวเทียมซ้ํา ๒ ครั้ง ซึ่งกอน
การรับสัญญาณดาวเทียมครั้งที่ ๒ ใหปดเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมแลวเปดใหม เพื่อใหเครื่องรับ
สัญญาณมี ส ภาพเริ่ ม ต น การทํา งานใหม โดยค า ความแตกต า งของค า พิ กั ด ฉากต อ งอยู ใ นเกณฑ
ความคลาดเคลื่อนเชิงตําแหนง ± ๔ เซนติเมตร
๓๓
๓-3

๓. การรังวัดโดยระบบโครงขายฯ เปนขั้นตอนการปฏิบัติงานรังวัดดวยเครื่องรับสัญญาณ
ดาวเทียม (Rover) โดยชางรังวัดตองตั้งเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมใหตรงกับตําแหนงของหมุดดาวเทียม
RTK GNSS Network ซึ่งเครื่องรับสัญญาณจะแสดงคาพิกัด ณ ตําแหนงที่เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม
วางไว ระยะเวลาที่ใชในการรับสัญญาณประมาณ ๓ นาที (๑๘๐ epochs) ชางรังวัดตองตรวจสอบวา
เครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียมทํางานไดอยางตอเนื่องและคงที่หรือไม ซึ่งหากเกิดปญหาในการรับ
สัญญาณดาวเทียมจะสงผลกระทบในการประมวลผลหาคาพิกัดฉากของตําแหนงที่ทําการรับสัญญาณ
ดาวเทียม โดยมีเงื่อนไขในการรังวัด ดังนี้
(๑) ใหใชวิธีการรังวัดเปนแบบสถานีโครงขาย
(๒) ใหใชคา PDOP ขณะทําการรังวัดไมเกิน ๕.๐
(๓) ใหใชคา RMS ไมเกิน ๓.๐ เซนติเมตร
(๔) ใหใชผลการรังวัดเปนแบบ Fixed
(๕) ใหรังวัดขอมูลทุก ๑ วินาที และขอมูลรังวัดไมนอยกวา ๑๘๐ ขอมูล
๓๔
๓-4

๔. การเก็บขอมูลคาพิกัดฉากของตําแหนงรูปแปลงที่ดิน ในการปฏิบัติง านรัง วัดโดย


ระบบโครงขายฯ ชางรังวัดจะทําการเก็บขอมูลการรังวัด โดยการรับสัญญาณดาวเทียมที่ตําแหนงหมุด
ดาวเทียม RTK GNSS Network เพื่อทําการรังวัดโยงยึดหลักเขตที่ดินตอไป ชางรังวัดตองบันทึกตําแหนง
ของหมุดไวในแบบพิมพรายการรังวัดหมุดหลักฐานแผนที่ (ร.ว. ๓๑ ง) ประกอบเรื่องรังวัดดวย
๓๕
๓-5

๕. เมื่อปฏิบัติงานรังวัดในภาคสนามเสร็จแลว ชางรังวัดจะทําการประมวลผลคาพิกัด
ตําแหนงที่ไดรับสัญญาณดาวเทียมจากการรังวัดโดยระบบโครงขายฯ เปนการนําขอมูลการรังวัดจาก
เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมมาประมวลผลเพื่อถายทอดขอมูลการรังวัดดวยโปรแกรม LandGNSS
(www.dolrtknetwork.com) ซึ่งจะทําการตรวจสอบขอมูล คาพิกัดฉาก ความถูกตองของการรับ
สัญญาณดาวเทียม และการคํานวณคาระยะตรวจสอบ พรอมความคลาดเคลื่อนเชิงตําแหนง เพื่อนํา
ขอมูลจากการรังวัดโดยระบบโครงขา ยฯ เปนขอมูลของระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม ซึ่งสามารถนําไป
ประมวลผลเพื่อคํานวณเนื้อที่และขึ้นรูปแปลงที่ดินดวยโปรแกรม DOLCAD จากการรังวัดโดยระบบ
โครงขายฯ เพื่อการจัดทําหลักฐานการรังวัดประกอบเรื่องที่รังวัดไดตอไป เชนเดียวกับงานรังวัดที่
ชางรังวัดเคยปฏิบัติงานรังวัดแบบเดิม

จะเห็นไดวา การปฏิบัติงานรังวัดโดยระบบโครงขายฯ นั้น เปนการรังวัดดวยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ง


มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นจากการรังวัดแบบเดิม คือ การใชเครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียม
เพื่อใหไดคาพิกัดฉากระบบ ยู ที เอ็ม หากเปนการรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งจากระบบเสนโครงงานหมุด
หลักฐานแผนที่ ชางรังวัดจะตองเปดหาหมุดหลักฐานแผนที่ เพื่อทําการรังวัดโยงยึดเก็บรายละเอียดแปลง
ที่ดิน หากเปรียบเทียบกับการรังวัดโดยระบบโครงขายฯ แลว การรังวัดโดยระบบโครงขายฯ จะมีความ
สะดวกในการปฏิบัติงานมากกวา เพราะขั้นตอนการปฏิบัติงานถัดไป มีวิธีปฏิบัติงานไมแตกตางจาก
การปฏิบัติงานแบบเดิม เพียงแตการรังวัดโดยระบบโครงขายฯ สามารถแสดงคาพิกัดฉากของหลักเขต
ทุกหมุดของแปลงที่ดินในระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม ซึ่งเปนแนวทาง ในการพัฒนาระบบงานรังวัดและทํา
แผนที่ของกรมที่ดินใหมีมาตรฐาน ตรวจสอบได และมีความนาเชื่อถือ ในการใหบริการประชาชน
๓๖
๓-6

การใชเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม i๘๐ และเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐


๑. เครื่องรับสัญญาณ (Receiver) รุน i๘๐

Satellite LED Correction LED


ไฟแสดงสถานะการรับสัญญาณดาวเทียม ไฟแสดงสถานะการรับคาปรับแก

Display
หนาจอแสดงสถานะตางๆ เชน
จํานวนดาวเทียมที่สามารถรับได
สถานะแบตเตอรี่

ปุมฟงกชั่น ปุมเปด/ปด และปุมตกลง


ใชสําหรับเลื่อนบรรทัด และแกไขคาตางๆ กดคาง สําหรับตองการปด/เปดเครื่อง
กด เพื่อยืนยันการตั้งคา
๓๗
๓-7

๒. เครื่องควบคุม (Controller) รุน LT ๕๐๐

Touch Screen
ปุม OK
จอแสดงผลแบบสัมผัส
ปุมตกลง

Reset Key ปุม Window ปุม Power


ปุมรีเซ็ท ปุมลัดเขา window ปุมเปด/ปด

๓. การเชื่อมตอ sim card ใน รุน LT ๕๐๐


* ถอดแบตเตอรรี่ออก แลวใส sim card ในชองที่อยูภายในเครื่องควบคุม *


๑. กดที่ปุม Window ๒. เลือก Settings ๓. เลือก Connections


๓๘
๓-8

๔. เลือก Wireless Manager ๕. เลือก Phone ใหแสดง On ๖. ใหรอจนกระทั่งสัญญาณ


โทรศัพทปรากฏขึ้น

๔. การเชื่อมตอ Internet ใน รุน LT ๕๐๐

๒ ๓

๑. เลือก Internet Explorer ๒. เลือกที่สัญลักษณรูปดาว ๓. ใหเลือก ๑ เว็บไซต


ที่ปรากฏ
๓๙
๓-9

๔. รอจนกลองขอความหาย
ไปเอง และสังเกตสัญลักษณ
ที่แถบดานบนสัญญาณโทรศัพท

กับดานขางใหขึ้น H หรือ E
เหมือนกัน

๕. การเริ่มตนทําการรังวัดดวยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม
* ผูใชงานควรทําการเปดเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม i๘๐ ใหรับสัญญาณดาวเทียม
กอนที่จะทําการเปดใชงาน โปรแกรม LandStar ๖ *
๕.๑ สราง Project งานรังวัด


๑. เลือกโปรแกรม LandStar ๖ ๒. กด add เพื่อสรางแฟมงานใหม ๓.  กําหนดชื่อ project


 เลือก Use template from
 เลือก Default ๔๗
 กดเครื่องหมายถูก
๓  ๑๐
๓-10

๕.๒ ตั้งคาเครื่องรับสัญญาณ
๕.๒.๑ การตั้งคาการเชื่อมตอระหวางเครื่องรับสัญญาณกับเครื่องควบคุม

๑ ๓

๑. เลือก Device ๒. เลือก Connection ๓. ตรวจสอบการตั้งคา


เพื่อตั้งคาระหวางเครื่องรับ Current Device: เลขเครื่องรับ
สัญญาณกับเครื่องควบคุม สัญญาณ
Manufacturer: CHC
Device Type: Smart GNSS
๕.๒.๒ การตั้งคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องรับสัญญาณ Connection: Bluetooth
Port: COM ๘
Antenna Type: CHC i ๘๐
Connection Type: Rover
ถาตั้งคาทุกอยางถูกแลวใหเลือก
๑ ที่เครือ่ งหมาย

Data Format : RTCM ๓.๒


Elevation : ๑๕
PDOP Limit : ๕
Fixed Mode : Standard
Mode
Antenna Parameters
๒ Type : CHCi๘๐
Measure To : Middle
(Slant)
๑. เลือก Manual Rover Config ๒. เลือก ตั้งคาตามดานบน แลว Height : ใสคาความสูงที่
กดเครื่องหมาย
๓  ๑๑
๓-11

๕.๒.๓ การตั้งคาตางๆ เกี่ยวกับการเชื่อมตอกับระบบ RTK GNSS Network

Mode : PDA Network (DCI)


Protocol : Ntrip Client
IP Addr : ๑๒๒.๑๕๕.๑๓๑.๓๔
Port : ใสตามพื้นที่สํานักงานที่ดิน
๒๑๐๑ ภาคกลาง
๑ ๒๑๐๓ ภาคเหนือ
๒๑๐๔ ภาคใต
๒๑๐๕ ภาคตะวันออก
๒๑๐๖ ภาคตะวันตก
๒๑๐๗ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑
๒๑๐๘ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒
Source : VRS_RTCM32
User Name : เลข ๑๓ หลัก
Password : รหัส ๔ ตัว ที่กรมที่ดิน
๒ กําหนดให

๑. เลือก Manual Rover Config ๒. เลือก ตั้งคาตามดานบน


แลวกด Login

๓. รอจนขึ้นคําวา Succeeded ๔. รอระบบสราง ตําแหนงเสมือนให


แลวกดเครื่องหมาย
๓  ๑๒
๓-12

๕.๓ การใชงานการรังวัดดวยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม

๒ ๓

๑. เลือก Survey ๒. เลือก Point Survey ๓. เลือก เปลี่ยนชื่อ


แลว กด Setting

๔ ๖

๔. เลือก Survey Option ๕. กด begin ๖. เวลาจะนับถอยหลัง เมื่อ


 Config Name : Control Point เสร็จแลวชื่อจะถูกเปลี่ยนไป
 Obs Count : ๑๘๐ ขึ้นไป เปน P๑๒ อัตโนมัติ
 Precision Limit
Horizontal (m) : ๐.๐๓๐
Vertical (m) : ๐.๐๖๐
 เลือก Store Fixed only
 Update rate : ๑ HZ
๓  ๑๓
๓-13

หมายเหตุ : กอนทําการรังวัด ใหตรวจสอบเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมโดยรับสัญญาณที่หมุดดาวเทียม


Static ซึ่งทราบคาพิกัดฉาก โดยคาความแตกตางตองอยูในเกณฑความคลาดเคลื่อนเชิงตําแหนง
± ๔ เซนติเมตร และในการรับสัญญาณที่หมุดดาวเทียม ใหตรวจสอบการรับสัญญาณดาวเทียมซ้ํา ๒ ครั้ง
กอนการรับสัญญาณดาวเทียมครั้งที่ ๒ ใหปดเครื่อง แลวเปดเครื่องใหม เพื่อใหเครื่องรับสัญญาณมี
สภาพเริ่มตนการทํางานใหม โดยคาความแตกตางของคาพิกัดฉากตองอยูในเกณฑความคลาดเคลื่อน
เชิงตําแหนง ± ๔ เซนติเมตร
๕.๔ การตรวจสอบขอมูลการรังวัด


๑ ๓

๑. เลือก Data ๒. เลือก Point Management ๓. เลือกจุดที่ตองการ


ตรวจสอบ

๕.๕ การเปรียบเทียบคาพิกัดทั้งสองครั้ง

หมุดตรวจสอบ หมุดดาวเทียมที่สรางใหม
ตรวจสอบคาดังนี้ ตรวจสอบคาดังนี้
๔ ๑. ตรวจสอบคาความตางของคาพิกัด ๑. คา PDOP < ๕
ที่รังวัดไดกับคาหมุดตรวจสอบไมเกิน ๒. จํานวนดาวเทียมที่ใชขณะรังวัด> ๕
๔ เซนติเมตร (Used Satellites Number)
๒. คา PDOP < ๕ ๓. Solution :Fixed
๓. จํานวนดาวเทียมที่ใชขณะรังวัด> ๕ ๔. Horizontal Error < ๐.๐๓
(Used Satellites Number)
๔. Solution :Fixed
๕. Horizontal Error < ๐.๐๓

๔. ตรวจสอบคาตางๆ
๓  ๑๔
๓-14

๖. การจัดการ file ขอมูลการรังวัดจากเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC รุน i๘๐


ขั้นตอนการจัดการ file ขอมูลการรังวัดจากเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC รุน i๘๐
File ข อ มู ล การรั ง วั ด ที่ ต อ งใช ใ นการ Upload บน website: dolrtknetwork.com คื อ file
นามสกุล .csv, .hcd, .hcl จาก controller และ file .html จากโปรแกรม Ls review มีขั้นตอน
การจัดการขอมูลดังนี้
๖.๑ การนําไฟล .csv ออกจากเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐



๑. เลือกโปรแกรม LandStar๖ ๒. เลือก Project ที่ตองการ ๓. เลือก เมนู Project

๔ ๕

๔. เลือก Proj. Management ๕. เลือก Custom Format


๓  ๑๕
๓-15

๖. กําหนดการนําขอมูลออก ๗. เมื่อสําเร็จจะขึ้นวา
 เลือกเครื่องหมายถูกหนา Survey Success to export
 File Name : ใสเหมือนชื่อ Project
 File Type : เลือก dol(*.csv)
 เลือก Storage Card
 กดเครือ่ งหมายถูกดานลางขวา

๖.๒ การนําไฟล .hcd และไฟล .hcl ออกจาก Controller

๑. กดปุม window ๒. เลือก File Explorer ๓. กดเครื่องหมายสามเหลี่ยม


ดานบน แลวเลือก My Device
๓ ๓-16
 ๑๖



๔. เลือก Program Files ๕. เลือก LandStar ๖ ๖. เลือก projects

๗. กดคางที่ project ที่ตองการ ๘. กดเครื่องหมายสามเหลี่ยม ๙. กดคางพื้นที่วาง


แลวกด Copy ดานบน แลวเลือก Storage Card แลวกด Paste
๓ ๓-17
 ๑๗

๑๐. สําเร็จแลวจะมี Project ที่


๑๐ ตองการมาอยูท ี่ Storage Card

๖.๓ การนําไฟลออกจากการดความจํา และเตรียมไฟล .html

๑ ๒ ๓

๑. นํา การด ความจํา ออกจาก ๒. นําการดความจําไปเสียบ ๓. เสียบ CardReader เขากับ


เครื่อง Controller โดยการกด เขากับ CardReader คอมพิวเตอร
การด ๑ ครั้ง แลวจึงจะสามารถ
ถอดการดออกได
๓๓-18
 ๑๘

คอมพิวเตอร์ 



๔. คัดลอกไฟลจากการดความจํา ใสในคอมพิวเตอร

๖.4 การสราง file html ดวยโปรแกรม LsReview

๑. กดที่โปรแกรม LSReview
๓  ๓-19
๑๙

๒. ในโปรแกรม LsReview คลิกเลือก File > Open

๓. เลือกไฟลนามสกุลที่เปน .hcd
๓ ๓-20
๒๐

๔. เปดไฟลงานขึ้นมา จะปรากฏดังรูป

๕. กด File > Save


๓๓-21
 ๒๑

๖. บันทึกไฟลดวยนามสกุล .html โดยตองตั้งชื่อใหเหมือนกับ Project และเลือกที่เก็บไฟลในคอมพิวเตอร


* เพื่อปองกันการสับสนควรบันทึกไฟลใน folder เดียวกันกับ file จาก controller

๗. เมื่อทําการบันทึกไฟลสําเร็จแลวจะไดไฟลทั้งหมด ๔ ไฟล ดังรูป


* ชื่อไฟลทั้ง ๔ ไฟล ตองเปนชื่อเหมือนกันทั้งหมด*
๓  ๒๒
๓-22

๖.5 การนําขอมูลการรังวัดเขาสูเว็บไซต

๑. เขาสูเว็บไซต : www.dolrtknetwork.com

๒. ใส Username และ Password แลวกด Login


๓  ๒๓
๓-23

๓. ขอชื่อหมุด หรือตรวจสอบชื่อหมุดโดยกดที่ รายละเอียด แถบสีสม

๔. เลือกหมุดที่มีสถานะวางมาใชงานจํานวน ๒ หมุด โดยทําการจดชื่อหมุดที่เลือกนั้นไว


*หากไมมีหมุด ใหเลือกที่รับหมุดเพิ่ม*
๓  ๒๔
๓-24

๕. นําเขาขอมูล โดยเลือกที่ Program LandGNSS (นําเขาขอมูล) แถบสีเขียว

๖. ทําการใสขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่รังวัด จากนั้นเลือก บันทึก & ดําเนินการขั้นตอไป


๓  ๒๕
๓-25

๗. เลือกยี่หอ เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม ที่ทําการรังวัด

๘. ใหทําการเลือกอัปโหลดไฟลขอมูล CSV, HCD และ HTMLจากนั้นเลือก Upload


ขอควรระวัง
๑. ตรวจสอบนามสกุลไฟลเปน .CSV , .HCD และ .HTML ตามลําดับ
๒. ชื่อไฟลของทั้ง ๓ ไฟลตองเหมือนกัน หากไมเหมือนกันใหแกชอื่ ไฟล (Rename) ใหตรงกัน
๓  ๒๖
๓-26

๙. เมื่ออัปโหลดเรียบรอยแลว จะปรากฏขอมูลดังภาพ
ขอสังเกต: หากผลการรังวัดเกินเกณฑที่ระเบียบกรมที่ดินกําหนด เชน RMS > ๐.๐๓ ,
Epoch < ๑๘๐ และPDOP > ๕ ระบบจะปฏิเสธการเลือกผลการรังวัดดังกลาว

๑๐

๑๐. ใหเลือกหมุดที่ทําการรับสัญญาณมาจุดละคู แลวเลือกคํานวณหาคาเฉลี่ย


หากคาเฉลี่ยผานจะแสดงผล จากนั้นทําการแกชื่อหมุดโดยเลือก Edit
๓  ๒๗
๓-27

๑๑

๑๑. ทําการแกไขชื่อหมุด (ตามที่ไดจดไว) จากนั้น เลือก ยืนยันแกไขชื่อหมุด

๑๒

๑๒. ทําการเลือกหมุดตรวจสอบ จากนัน้ กดคํานวณหาคาเฉลี่ย แลวเลือกที่ Edit เพื่อแกไข


ชื่อหมุดตรวจสอบ ทําการแกไขชือ่ หมุด (ตามที่ไดจดไว) จากนั้น เลือก ยืนยันแกไขชื่อหมุด
๓  ๒๘
๓-28

๑๓

๑๓. สําหรับหมุดตรวจสอบ เมื่อแกไขชื่อแลวจะตอง เลือก เครื่องหมาย  หนา


“ตองการเลือกเปนหมุดตรวจสอบ” จากนัน้ เลือก ยืนยันแกไขชือ่ หมุด

๑๔

๑๔. เมื่อโปรแกรมตรวจสอบคาพิกัดผาน จะปรากฏเครื่องหมาย – สีเขียวที่หมุด


ตรวจสอบ และจะปรากฏปุม บันทึกเขาระบบ จากนัน้ เลือก บันทึกเขาระบบ
๓  ๒๙
๓-29

๑๕

๑๕. ทําการตรวจสอบระยะระหวางหมุด โดย เลือก ชื่อหมุด จากหมุดที่ ๑ ไปหมุดที่ ๒


และใสระยะตรวจสอบที่รังวัดมาดวยกลอง แลวเลือก บันทึกจัดเก็บระยะ

๑๖

๑๖. จากนั้นทําการใสเลขคําขอและอัปโหลดไฟลรูปเชนสนาม
แลวเลือก Save & Upload
๓  ๓๐
๓-30

๑๗

๑๗. การนําเขาขอมูลที่ถูกตองแลว จะปรากฏปุม ยืนยันโปรเจกต


จากนัน้ ให เลือก ยืนยันโปรเจกต
*หากโปรเจกตไมผาน จะปรากฏเพียงปุมยกเลิก*

๑๘

๑๘. เมื่อยืนยันโปรเจกตแลว จะปรากฏเครื่องหมาย  สีเขียว


๓  ๓๑
๓-31

๑๙

๑๙. เมื่อขอมูลนําเขาระบบเรียบรอยแลว ผูใชสามารถเขาไปดูรายละเอียดได

๒๐

๒๐. แสดงรายงานคาพิกัด สําหรับพิมพ ร.ว. ๘๐ ก เพื่อประกอบเรื่อง


๓  ๓๒
๓-32

๒๑

๒๑. แสดงรายงานการตรวจสอบระยะ สําหรับพิมพ ร.ว. ๘๐ ข เพื่อประกอบเรื่อง

๒๒

๒๒. ทําการคนหาหมุดเพื่อนําไฟล XML ไปใชใน DOLCAD


๓  ๓๓
๓-33

๒๓

๒๓. เลือกหมุดที่ตองการและดาวนโหลดไฟล XML เพื่อไปใชงานในโปรแกรม DOLCAD ตอไป


๓  ๓๔
๓-34

การใชเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม i๘๐ และเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐


๑. เครื่องรับสัญญาณ (Receiver) รุน i๘๐

Satellite LED Correction LED


ไฟแสดงสถานะการรับสัญญาณดาวเทียม ไฟแสดงสถานะการรับคาปรับแก

Display
หนาจอแสดงสถานะตางๆ เชน
จํานวนดาวเทียมที่สามารถรับได
สถานะแบตเตอรี่

ปุมฟงกชั่น ปุมเปด/ปด และปุมตกลง


ใชสําหรับเลื่อนบรรทัด และแกไขคาตางๆ กดคาง สําหรับตองการปด/เปดเครื่อง
กด เพื่อยืนยันการตั้งคา
๓  ๓๕
๓-35

๒. เครื่องควบคุม (Controller) รุน HCE ๓๐๐

๓. การเชื่อมตอ sim card และการตั้งการการเปดใช Internet ใน รุน HCE ๓๐๐


* ถอดแบตเตอรรี่ออก แลวใส sim card ในชองที่อยูภายในเครื่องควบคุม *
๓๓-36
 ๓๖


๑. เลื่อนหนาจอจากแถบบน ๒. กดที่ปุม Control Centre ๓. กดเพื่อเปดใชงาน


ในทิศเลื่อนจากบนลงลาง Bluetooth และData
connection


๔. กดที่ปุม Settings ๕. กดที่ปุม More… ๖. กดที่ปุม Mobile networks


๓ ๓-37
๓๗

๗. กดที่ปุม Access Point Names ๘. กดที่ปุม เลือก New APN


Names


*
เครือขาย AIS Name : AIS APN : internet
เครือขาย True Name : True APN : internet
เครือขาย Dtac Name : Dtac APN : www.dtac.co.th

๙. กดปุม Name และ APN


เพื่อตั้งคาเครือขาย Internet *
๓๓-38
 ๓๘

๑๐ ๑๒

๑๑

๑๐. กดที่ปุม เลือก Save ๑๑. กดเลือกเครือขาย ๑๒. กดที่ปุม SIM


ของ Internet management

๑๔

๑๓

๑๓. กดที่ปุม Roaming ๑๔. ทดลองใชงาน Internet


๓  ๓๙
๓-39

๔. การเริ่มตนทําการรังวัดดวยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม มีขั้นตอนดังนี้
*ผูใชงานควรทําการเปดเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม i๘๐ ใหรับสัญญาณดาวเทียม
กอนที่จะทําการเปดใชงาน โปรแกรม LandStar ๗ *
๔.๑ สราง Project งานรังวัด

๑ ๒

๑. เลือกโปรแกรม LandStar ๗ ๒. กดที่แถบหลัก Project ๓. กด New เพื่อสรางแฟม


เลือกปุม Projects งานใหม

๔. ตั้งชื่อแฟมงานตามวันที่ ๕. กดเลือก Project Template 6. เลือก Template


รับสัญญาณ คือ ปเดือนวัน ตามพื้นที่ทํางาน และ กด OK
และลําดับที่ของงานในวันนัน้
เชน ๖๑๐๓๓๐๐๑
๓  ๔๐
๓-40

๘ ๙

๗. กดปุม OK ๘. กดที่แถบหลัก Config ๙. กดปุม Connect


เลือกปุม Connect

๑๒

๑๐
๑๑

๑๐. รอจนการเชื่อมตอเสร็จ ๑๑. กดที่แถบหลัก Config ๑๒. กดเลือก RTK NETWORK


สมบูรณ ๑๐๐% แลวกด OK เลือกปุม Work Mode และกดปุม Accept
๓  ๔๑
๓-41

๑๓ ๑๔ ๑๕

๑๓. กดที่ปุม Yes ๑๔. กรอก User Name (รหัส ๑๕. กดที่ปุม OK
บัตรประชาชน ๑๓ หลัก)
และPassword (๔ หลัก)
กด OK

๔.๒ การใชงานการรังวัดดวยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม


๑. รอสัญลักษณ Fix ๒. กดที่แถบหลัก Survey ๓. ตั้งชื่อหมุด ใสคาความสูง


เปนสีเขียว เลือกปุม PT Survey และเลือก Topographic PT
๓๓-42
 ๔๒

๔. เลือกที่ปุม ๕. ตั้งคา ๖. กดปุม เพื่อเริ่ม


Observation Time : ๑๘๐ รับสัญญาณ
Horizontal Precision :๐.๐๓๐
Vertical Precision :๐.๐๕๐
และ กด

๗. รอจนการรับสัญญาณครบ
๑๘๐ วินาที

๓  ๔๓
๓-43

๔.๓ การตรวจสอบคาพิกัด


๑ ๓

๑. กดที่แถบหลัก Project ๒. กดเลือกหมุดที่ตองการดู 3. กดที่ปุม เลือก Detail


เลือกปุม Points ขอมูล

๔. ตรวจสอบขอมูล
 คาพิกัด Local N, Local E
 คา Used Satellites Number
 คา Horizontal Error
 คา PDOP
๔  Elevation Mask
 Solution
 Epoch
๓  ๔๔
๓-44

๔.๔ การนําขอมูลออก

๑ ๓

๑. กดที่แถบหลัก Project ๒. กรอก ชื่อตามชื่อแฟมงาน ๓. เลือก File Type


เลือกปุม Export ในชอง File Name เปน dol


๔. เลือกที่เก็บขอมูล และ ๕. กดที่แถบหลัก Project ๖. เลือก HTML Report Export


กดปุม Export เลือกปุม Reports และ กด Export
๓๓-45
 ๔๕


๗ ๙

๗. เลือกที่เก็บขอมูล ใสชื่อ ๘. เลือก RAW File Export ๙. เลือกที่เก็บขอมูล ใสชื่อ


ตามชื่อแฟมงานในชอง File และกด Export ตามชื่อแฟมงานในชอง
Name และกดปุม OK File Name และกดปุม OK

๔.๕ การอัปโหลดขอมูล

๑. เขาสูเว็บไซต : www.dolrtknetwork.com

๒. ใส Username และ Password แลวกด Login


๓ ๓-46
๔๖

3. ขอชื่อหมุด หรือตรวจสอบชื่อหมุดโดยกดที่ รายละเอียด แถบสีสม

๔. เลือกหมุดที่มีสถานะวางมาใชงานจํานวน ๒ หมุด โดยทําการจดชื่อหมุดที่เลือกนัน้ ไว


*หากไมมีหมุด ใหเลือกที่รับหมุดเพิ่ม*
๓  ๔๗
๓-47

๕. นําเขาขอมูล โดยเลือกที่ Programe LandGNSS (นําเขาขอมูล) แถบสีเขียว

๖. ทําการใสขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่รังวัด จากนั้น เลือก บันทึก & ดําเนินการขั้นตอไป


๓๓-48
 ๔๘

๗. เลือก ยี่หอเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมที่ทําการรังวัด

๘. ใหทําการเลือกอัปโหลดไฟลขอมูล CSV, HCD และ HTMLจากนั้น เลือก Upload


ขอควรระวัง
๑. ตรวจสอบนามสกุลไฟลเปน .CSV , .HCD และ .HTML ตามลําดับ
๒. ชื่อไฟลของทั้ง ๓ ไฟลตองเหมือนกัน หากไมเหมือนกันใหแกชอื่ ไฟล (Rename) ใหตรงกัน
๓  ๔๙
๓-49

๙. เมื่ออัปโหลดเรียบรอยแลว จะปรากฏขอมูลดังภาพ
ขอสังเกต: หากผลการรังวัดเกินเกณฑที่ระเบียบกรมที่ดินกําหนด เชน RMS > ๐.๐๓ ,
Epoch < ๑๘๐ และPDOP > ๕ ระบบจะปฏิเสธการเลือกผลการรังวัดดังกลาว

๑๐

๑๐. ใหเลือกหมุดที่ทําการรับสัญญาณมาจุดละคูแลวเลือกคํานวณหาคาเฉลี่ย
หากคาเฉลี่ยผานจะแสดงผล จากนั้นทําการแกชื่อหมุดโดยเลือก Edit
๓ ๓-50
๕๐

๑๑

๑๑. ทําการแกไขชื่อหมุด (ตามที่ไดจดไว) จากนั้น เลือก ยืนยันแกไขชื่อหมุด

๑๒

๑๒. ทําการเลือกหมุดตรวจสอบ จากนัน้ กดคํานวณหาคาเฉลี่ย แลวเลือกที่ Edit เพื่อแกไข


ชื่อหมุดตรวจสอบทําการแกไขชือ่ หมุด (ตามที่ไดจดไว) จากนั้น เลือก ยืนยันแกไขชื่อหมุด
๓  ๓-51
๕๑

๑๓

๑๓. สําหรับหมุดตรวจสอบ เมื่อแกไขชื่อแลวจะตอง เลือก เครื่องหมาย  หนา


“ตองการเลือกเปนหมุดตรวจสอบ” จากนัน้ เลือก ยืนยันแกไขชือ่ หมุด

๑๔

๑๔. เมื่อโปรแกรมตรวจสอบคาพิกัดผานจะปรากฏเครื่องหมาย – สีเขียวที่หมุด


ตรวจสอบ และจะปรากฏปุม บันทึกเขาระบบ จากนัน้ เลือก บันทึกเขาระบบ
๓ ๓-52
 ๕๒

๑๕

๑๕. ทําการตรวจสอบระยะระหวางหมุด โดย เลือก ชื่อหมุด จากหมุดที่ ๑ ไปหมุดที่ ๒


และใสระยะตรวจสอบที่รังวัดมาดวยกลอง แลวเลือก บันทึกจัดเก็บระยะ

๑๖

๑๖. จากนั้นทําการใสเลขคําขอและอัปโหลดไฟลรูปเชนสนาม
แลวเลือก Save & Upload
๓  ๓-53
๕๓

๑๗

๑๗. การนําเขาขอมูลที่ถูกตองแลว จะปรากฏปุม ยืนยันโปรเจกต


จากนัน้ ให เลือก ยืนยันโปรเจกต
*หากโปรเจกตไมผาน จะปรากฏเพียงปุมยกเลิก*

๑๘

๑๘. เมื่อยืนยันโปรเจกตแลว จะปรากฏเครื่องหมาย  สีเขียว


๓  ๕๔
๓-54

๑๙

๑๙. เมื่อขอมูลนําเขาระบบเรียบรอยแลว ผูใชสามารถเขาไปดูรายละเอียดได

๒๐

๒๐. แสดงรายงานคาพิกัด สําหรับพิมพ ร.ว. ๘๐ ก เพื่อประกอบเรื่อง


๓  ๕๕
๓-55

๒๑

๒๑. แสดงรายงานการตรวจสอบระยะ สําหรับพิมพ ร.ว. ๘๐ ข เพื่อประกอบเรื่อง

๒๒

๒๒. ทําการคนหาหมุดเพื่อนําไฟล XML ไปใชใน DOLCAD


๓ ๓-56
๕๖

๒๓

๒๓. เลือกหมุดที่ตองการและดาวนโหลดไฟล XML เพื่อไปใชงานในโปรแกรม DOLCAD ตอไป


บทที่ ๔
ขั้นตอนการลงระวางดิจิทัล
เมื่อดําเนินการรังวัดโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS
Network) แลว จะตองดําเนินการลงรูปแปลงที่ดินในระวางแผนที่ดิจิทัล และนําขอมูลอันประกอบไปดวย
ขอมูลที่ดินและแผนที่รูปแปลงที่ดิน เขาสูฐานขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ที่มีความถูกตอง
เชิงตําแหนงในระดับเซนติเมตร เพื่อยกระดับใหเปนมาตรฐานสากล โดยมีขั้นตอนดําเนินการ ดังตอไปนี้
ขั้นตอนที่ ๑ : การนําเขาหมุดดาวเทียมลงในโปรแกรมคํานวณรังวัด (DOLCAD: Version ๑.๐.๕.๘)
๑. คลิก เมนู “สรางงานใหม ” โปรแกรมจะแสดงหนาตางขึ้นมา เพื่อใหสรางงานใหม
ดังภาพ

๔ ๕
๔๒
๔-2

๒. หลังจากกรอกรายละเอียด วันที่รับเรื่อง, ลําดับที่รับเรื่อง และรังวัดรับเลขที่ (ร.ว.๑๒)


แลว ในสวนของ “ระบบพิกัดฉาก” ใหเลือกรายละเอียดดังนี้
 ระบบพิกัดฉาก เลือกแบบ “UTM”
 รังวัดโดยวิธีแผนที่ เลือกวิธีแผนที่ “ชั้น ๑”
 พื้นหลักฐานแผนที่ เลือกพื้นหลักฐาน “Indian ๑๙๗๕”
 โซน เลือกโซนตามที่ตั้งจังหวัดของสํานักงานที่ดิน ที่ทําการขึ้นรูปแปลง
๓. กรอกรายละเอียดรังวัด, รายละเอียดคําขอ ตามคําขอของงานที่กําลังจะนําเขา
๔. ตรวจสอบความถูกตองของรายละเอียดขอมูลตาง ๆ อีกครั้ง จากนั้น คลิก “บันทึก”
๕. คลิก “ปด”
๖. เมื่อสรางงานใหมสําหรับการขึ้นรูปแปลงเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปเปนการนําเขา
หมุดดาวเทียมที่ไดจากการรังวัดดาวเทียมดวยระบบ VRS เขามาเก็บในฐานขอมูลของ DOLCAD ให
คลิก ที่เมนู “นําเขา/สงออกขอมูล”


๔๓
๔-3

๗. โปรแกรมจะแสดงหนาตาง การนําเขา/สงออกขอมูล จากนั้น คลิก “นําเขา–หมุด


ดาวเทียม VRS”

๘. จากนั้น โปรแกรมจะปรากฏหนาตาง เพื่อใหผูใชงานเลือกไฟลหมุดดาวเทียม VRS ที่


ตองการนําเขา ซึ่งอยูในรูปของไฟล xml ให คลิกเลือก ไฟลหมุดดาวเทียม VRS
๙. คลิก “Open”
๑๐. โปรแกรมจะแสดงหนาตางขอความ ใหเลือกระบบ Projection สําหรับการนําเขา
หมุดดาวเทียม VRS ดังภาพ ซึ่งในที่นี้ ใหเลือกระบบ Projection ตามการสรางงานของผูใชงานใน
ขอที่ ๒ (พื้นหลักฐานแผนที่)

๑๐

๑๑
๔๔
๔-4

๑๑. คลิก “Yes” เพื่อเลือกระบบ Projection Indian ๑๙๗๕


(เพื่อใหตรงตามการตั้งคาการสรางงานในสวนของพื้นหลักฐานแผนที่ ตามขอที่ ๒)
๑๒. เมื่ อ เลื อกระบบ Projection แล ว โปรแกรมจะปรากฏหน า ต า งข อ ความขึ้ น มา
เพื่อยืนยันวา ผูใชงานไดนําเขาไฟลหมุดดาวเทียมเขาสูฐานขอมูลของโปรแกรม DOLCAD เรียบรอยแลว
ดังภาพ จากนั้น คลิก “OK”

๑๒

เพิ่มเติม ในการนําเขาหมุดดาวเทียม VRS เขาสูฐานขอมูลโปรแกรม DOLCAD นั้น ผูใชงาน


สามารถนําเขาไดครั้งละ ๑ หมุด ถาหากผูใชงานตองการนําเขามากกวา ๑ หมุด หมุดดาวเทียม
หมุดตอไปใหผูใชงานเริ่มทําการนําเขาตามขอที่ ๗ จนถึงขอที่ ๑๒ จนครบทุกหมุด
๔๕
๔-5

๑๓. หลังจากผูใชงานทําการนําเขาหมุดดาวเทียม VRS เขาสูฐานขอมูลแลวให คลิก เมนู


“คํานวณ” เลือก “หมุดดาวเทียม ”

๑๓

๑๔. โปรแกรมจะขึ้นหนาตาง หมุดดาวเทียม เพื่อใหผูใชงานนําเขาหมุดดาวเทียมจาก


ฐานขอมูลของโปรแกรม

๑๔

๑๕

๑๕. คลิก “นําเขา” เพื่อคนหาขอมูลหมุดดาวเทียม VRS ที่ตองการนําเขาโปรแกรม


๔๖
๔-6

๑๖. หลังจากผูใชงาน คลิก “นําเขา” โปรแกรมจะปรากฏหนาตาง เพื่อใหผูใชงานคนหา


ขอมูลหมุดดาวเทียม VRS ที่ตองการนําเขาโปรแกรม ดังภาพ

๑๖

๑๗. กรอกชื่อหมุดดาวเทียม VRS เพื่อคนหา

๑๗ ๑๘

๑๙ ๒๐

๑๘. คลิก “คนหา”


๑๙. เมื่อคลิก “คนหา” แลว จะปรากฏรายละเอียดของหมุดดาวเทียม VRS ในสวนของ
ชองคนหา
๒๐. คลิก เพื่อนําไปใช
๔๗
๔-7

๒๑. จะเห็นวา ขอมูลหมุดดาวเทียม VRS ยายมายังชองการนําไปใช ดังภาพ

๒๑

๒๒. ทําตามขอที่ ๑๗ จนถึงขอที่ ๒๐ จนครบทุกหมุดที่ตองการนําเขาโปรแกรม DOLCAD


แลวคลิก “ตกลง”

๒๒
๔๘
๔-8

๒๓. เมื่อทําการ คนหา และเลือกหมุดดาวเทียม VRS ที่ตองการ จนครบทุกหมุดแลว


ขอมูลของหมุดดาวเทียม จะถูกแสดงดังในภาพ

๒๓

๒๔

๒๕

๒๔. คลิก “บันทึก”


๒๕. คลิก “ปด”
๔๙
๔-9

๒๖. โปรแกรม DOLCAD จะแสดงตําแหนงของหมุดดาวเทียม VRS ที่ทําการนําเขาจาก


ฐานขอมูล ดังแสดงตามภาพ ขั้นตอนถัดไปหลังจากขั้นตอนนี้ จะเปนการขึ้นรูปแปลงของผูใชงาน
ตามที่ไดไปรังวัดในสนาม

๒๖

๒๗. รูปแปลงที่ดินที่ไดจากการขึ้นรูปผานโปรแกรม DOLCAD

๒๘

๒๗

๒๘. เมื่อผูใชงานขึ้นรูปแปลงเสร็จสมบูรณแลว หลังจากนั้น คลิก “ลงระวางรูปแผนที่”


เพื่อทําการเขาระบบ SDM และทําตามกระบวนการในขั้นตอนตอไป
๔  ๑๐
๔-10

ขั้นตอนที่ ๒ : การนําเขารูปแปลงผานโปรแกรมบริหารงานรังวัดทําแผนที่
(Survey Data Management : SDM Version ๑.๐.๓.๓)
๑. ทําการ Login เขาระบบ

๒. เมื่อปรากฏหนา ตา งโปรแกรมบริห ารงานรัง วัด ทําแผนที่ SDM ใหคลิก เลือกเมนู


“นําเขา XML ”

หมายเหตุ ผูใชงาน นําเขา XML ในกรณีที่ไมได คลิก เลือกลงระวางแผนที่ผานโปรแกรม


คํานวณรังวัด DOLCAD
๔  ๑๑
๔-11

๓. โปรแกรมจะแสดงหนาตาง ใหผูใชงานเลือกไฟลรังวัดที่ตองการนําเขา ดังภาพ

๔. เลือกไฟล XML
๕. เมือ่ เลือกไฟลแลวให คลิก “Open”
๖. หลังจากนั้น จะปรากฏหนาจอ “คนหางานรังวัด” ซึ่งเปนการคนหางานรังวัดจากทะเบียน
ดังภาพ


๔  ๑๒
๔-12

เพิ่มเติม ในการคนหา โปรแกรมจะคนหาดวย“วันที่รับเรื่อง และ เอกสารสิทธิ” กอน ตามหมายเลข


และ จากนั้น จะปรากฏผลการคนหาตามหมายเลข แตในกรณีที่ไมมีผลการคนหา
ตามหมายเลข ผูใชงานสามารถคนหาไดโดยใชเงื่อนไขตามหมายเลข
สวนหมายเลข เปนสวนแสดงขอมูลการรังวัดที่ไดจากไฟล XML เพื่อจะไดเปรียบเทียบ
กับเรื่องรังวัดที่ทางฝายทะเบียนรับไว

๗. คลิก เลือกรายการรับเรื่องจากทะเบียน
๘. คลิก “เลือก”

เพิ่ มเติ ม หลั ง จากข อ ที่ ๘ ในกรณี ร ายละเอี ย ดงานคํ า นวณลํ า ดั บ รั บ เรื่ อ ง ไม ต รงกั บ ลํ า ดั บ
ทะเบียน โปรแกรมจะแสดงหนาตางเพื่อใหผูใชงานยืนยันการนําเขาขอมูล ดังภาพ

 ใหคลิก “Yes” เมื่อตองการ นําเขา ระบบจะเปลี่ยนลําดับงานคํานวณใหตรงกับงานทะเบียน


 ใหคลิก “No” เมื่อตองการ ยกเลิกการนําเขา
๔  ๑๓
๔-13

เพิ่มเติม หลังจากที่คลิกเลือกในขอที่ ๘ แลว ถาลําดับรับเรื่องมีการจดทะเบียนแลว จะไมสามารถ


นําเขาขอมูลได และโปรแกรมจะแสดงหนาตางเตือนขึ้นมา ดังภาพ

เพิ่มเติม

๙. โปรแกรมจะแสดงหนาตางขอความ “นําเขาขอมูลเรียบรอยแลว” คลิก OK

เพิ่มเติม ถาหากผูใชงานคลิกลงระวางรูปแผนที่ จากโปรแกรมคํานวณรังวัด (DOLCAD) เมื่อปรากฏ


หนาตางใหผูใชงาน Login หลังจาก Login เขาระบบโปรแกรมบริหารงานรังวัดทําแผนที่ (SDM) แลว
ในหนาจอโปรแกรม SDM จะปรากฏรูปแปลงที่ไดจากการขึ้นรูปผานโปรแกรมคํานวณรังวัด (DOLCAD)
โดยไมตองเลือกนําเขา XML (ขอที่ ๒ ถึง ขอที่ ๙)
๔  ๑๔
๔-14

๑๐. เมื่อนําเขาไฟล XML เรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปจะเปนการเรียกรูปแปลงมาครอบ


ลงระวาง

๑๔ ๑๑
๑๒

๑๓
๑๖

๑๗
๑๘
๑๙
๑๕

๑๑. คลิก เมนู “ลงระวาง”


๑๒. คลิก เมนู “ครอบรูป”
๑๓. จากนั้น รอโปรแกรมโหลดขอมูล เสร็จ แลว จะแสดงหนาตา งที่มี รูป แปลงรังวัด
และรูปแปลงระวาง ซึ่งในสวนของ รูปแปลงรังวัด จะปรากฏรูปแปลงที่ไดจากการรังวัด และเพื่อจะเรียก
รูปแปลงระวางเขามาผูใชงานตองทําการ คนหารูปแปลง นั้นกอน
๑๔. ให คลิก เมนู “คนหาขอมูลแผนที่”
๑๕. โปรแกรมจะแสดงหนาตาง “คนหาขอมูลแผนที่” ซึ่งระบบจะดึงแปลงจากรายละเอียด
การรังวัดมาแสดงใหอยูแลว ในกรณีการลงระวางแบบปกติทั่วไป
๑๖. ผูใชงานไมตองเลือก “คนหาแปลงขางเคียง” เพราะเปนการเรียกแปลงตัวเองมาลง
๑๗. ใหตรวจสอบรายการแปลงที่ดินที่ตองการเรียก วาถูกตองหรือไม
๔  ๑๕
๔-15

๑๘. จากนั้น คลิก “คนหา”


๑๙. จะปรากฏรูปแปลง ทั้งรูปแปลงรังวัด และรูปแปลงระวาง ดังภาพ

๑๙๒๐

รูปแปลงกอนลงระวาง รูปแปลงหลังลงระวาง

๒๐. จากนั้น คลิกที่เมนู “จับคูหมุด”


๒๑. ให คลิก ที่รูปแปลงรังวัด ๑ หมุด และรูปแปลงระวาง ๑ หมุด ในตําแหนงเดียวกัน
อยางนอยสามคูหมุด หรือมากกวา ๓ คูหมุด ใหครอบคลุมอยางนอย ๓ ดาน

*ตัวอยางแสดงการจับคูหมุด*

หมุดคูที่ ๓

หมุดคูที่ ๒

หมุดคูที่ ๑

รูปแปลงกอนลงระวาง รูปแปลงหลังลงระวาง
๔  ๑๖
๔-16

๒๒. ผูใชงานสามารถตรวจสอบความถูกตองในการจับคูหมุดได โดยตรวจสอบชื่อหมุด


จาก “รายการจับคูหมุดหลักเขต” และเมื่อรายการจับคูหมุดถูกตองแลวให คลิก “คํานวณ Affine”

เมนูคํานวณ Affine

รายการจับคูหมุดหลักเขต

๒๓. เมื่อ คลิก เลือกที่เมนูคํานวณ Affine แลว โปรแกรมจะเปลี่ยนหนาจอจากขอมูล


แปลงรังวัดและแปลงลงในระวาง เปนหนาจอรายการหมุดที่ตองการปรับปรุง ดังภาพ

๒๓
๒๓

จากภาพขางตนในสวน ซอน/แสดงรูป (๑) เปนสวนที่ใหผูใชงานเลือกที่จะแสดงชั้นขอมูล


ซึ่งจะปรากฏเปนรูปแปลงแผนที่ในสวนของรูปแผนที่ (๒) โดยผูใชงานสามารถสังเกตจากสีของรูปแปลง
ดังนี้
 เสนสีแดง คือ เสนผลลัพธจากการครอบรูป ที่ระบบจะนําไปเก็บ
 เสนสีดํา คือ เสนของรูปแปลงที่ไดจากระวางดิจิทัล
 เสนสีเขียว คือ เสนที่ไดจากการรังวัด ถาหากตองการใหเสนสีแดงอิงกับการรังวัดใหม
ผูใชงานตองเลือกในชอง “แปลงรังวัด” หรือเลือกบางหมุด
๔  ๑๗
๔-17

๒๔. ในกรณีที่ระบบคํานวณแลวเกิดการจับคูหมุดซ้ํา ผูใชงานจะไมสามารถทําการบันทึก


ลงระวางได ตองทําการเลือกคูใหใหม โดยเลือกจากรายการที่เปนเบอรหลักสีแดง แตถารังวัดมาแลว
เปนหมุดใหมใหเลือก “ไมจับคู”

๒๔

๒๕. เมื่อเลือกคูหมุดโดยไมมีการซ้ํา จนเกิดเบอรหลักสีแดงแลว ให คลิก “บันทึกลงระวาง”


๒๖. รอโปรแกรมทําการบันทึกขอมูล เสร็จแลวจะมีหนาตางแสดงขอความ “ปรับปรุงรูป
แผนที่เรียบรอยแลว” ปรากฏขึ้นมาให คลิก “OK”

๒๕

๒๖
๔  ๑๘
๔-18

๒๗. หลังจากบั นทึกลงระวางเรีย บรอยแล ว โปรแกรมจะแสดงภาพรู ปแปลงก อนลง


ระวาง และรูปแปลงหลังลงระวาง ซึ่งภาพรูปแปลงหลังลงระวางจะตองไมมีชองวาง หรือซอนทับกับ
แปลงขางเคียง ถาหากมีกรณีดังกลาว ผูใชงานจะตองทําการปรับปรุงรูปแปลงกอน

รูปแปลงกอนลงระวาง รูปแปลงหลังลงระวาง

เพิ่มเติม ถาหากไมสามารถลงระวางได รูปแปลงเกิดชองวาง หรือเกิดการซอนทับ ผูใชงานสามารถ


เรียกคืนรูปแปลงกลับมาเพื่อลงระวางใหมได โดย คลิก เลือกที่ “เรียกคืนรูปแปลงกอนการปรับปรุง”
๔  ๑๙
๔-19

ขั้นตอนที่ ๓ : การตรวจสอบรูปแปลงที่ดินหลังการลงระวางผานโปรแกรมปรับปรุงรูปแผนที่
(UDM : Version ๑.๐.๓.๔)
๑. หลังจากการลงระวางเรีย บรอยแลว และไมเ กิด ชองวาง หรือการซอนทับ กันกับ
แปลงขางเคียง ใหผูใชงานไปที่เมนูหลักในโปรแกรม SDM และคลิก เลือก “ระบบปรับปรุงรูปแผนที่”
ใหทําการ Log in เพื่อทําการตรวจสอบความเรียบรอยของรูปแปลงอีกครั้ง

๒. เมื่อเขาสูโปรแกรมปรับปรุงระวาง ใหผูใชงานเขาตรวจสอบรูปแปลงที่ดินหลังการลง
ระวางโดย คลิก เมนู “สอบถาม GIS”

๓. กรอกขอมูลรูปแปลงที่ตองการคนหาในสวน “คนหาขอมูล”
๔. เมื่อผูใชงานกรอกขอมูล สําหรับการคนหาครบถวนแลว ให คลิก “คนหา”
๔  ๒๐
๔-20

๕. หลังจาก คลิก “คนหา” โปรแกรมจะแสดงรูปแปลงที่ดินที่ผูใชงานคนหา (รูปแปลงสีชมพู)


ดังภาพ

๖ ๖

๖. ถาหากผูใชงานตองการทราบเลขที่ดิน ให คลิก เครื่องหมายหนา “แสดงเลขที่ดิน”


๗. หลังจาก คลิก เครื่องหมายหนา “แสดงเลขที่ดิน” แลว โปรแกรมจะแสดง ดังภาพ


๔  ๒๑
๔-21

๘. ถาหากผูใชงานตองการใหโปรแกรมแสดงระวางแผนที่ชั้น ๑ ให คลิก ที่แถบแนวตั้ง


ดานขวามือของโปรแกรม
๙. เมื่อ คลิก เลือกตามขอที่ ๘ แลว จะปรากฏ แถบชั้นขอมูลขึ้นมา

๑๐. คลิก เครื่องหมายหนาชั้นขอมูลที่ไมตองการใหแสดงออก เหลือเพียงชั้นขอมูลที่


ตองการใหแสดง ในที่น้ีตองการใหแสดงเพียงรูปแปลงที่ดินที่นําเขาดวยงานชั้น ๑ ดัง นั้น จึง คลิก
เครื่องหมาย ในสวนของ
 Index ๔๐๐๐ โซน ๔๗ (เพื่อแสดงเสนแบงของระวาง)
 แปลงทีด่ ิน โฉนดชั้น (เพื่อแสดงชั้นขอมูลของแปลงที่ดินในงานชั้น ๑)
๔  ๒๒
๔-22

๑๑. หลังจากที่ผูใชงานเลือกชั้นขอมูลที่ตองการแสดงแลว ในที่นี้ตองการใหแสดงเพียง


รูปแปลงในระวางแผนที่ของงานชั้น ๑ โปรแกรมจะแสดงออกมาในรูปของแปลงที่ดิน สีเขียว ดังภาพ

ระวางแผนที่ชั้น ๑

เพิ่มเติม ระวางใน เมนูสอบถาม GIS ที่ใชงานคนหารูปแปลงที่ดินทั่วไป เปนระวางที่แสดง


ชั้นขอมูลของ โฉนดที่ดิน, น.ส.๓ / น.ส.๓ ข, น.ส.๓ ก, โฉนดตราจอง, ตราจองที่ตราวา “ไดทํา
ประโยชนแลว”, ที่สาธารณประโยชน, หนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง (นสล.), ใบจอง(น.ส.๒) /
น.ส.๒ ข, ส.ค.๑, ที่วางเปลา, ปา, ที่มีการครอบครอง (ท.ค.), ทางสาธารณประโยชน (ทางบก),
ทางสาธารณประโยชน (ทางน้ํา), ที่วัด, ที่ราชพัสดุ, บอน้ํา / สระน้ํา, หนังสือแสดงการทําประโยชน
(กสน.๕) และอื่นๆ (ไมปรากฏเลขที่ในระวางแผนที่) เรียกวา “ระวางรูปแปลงแผนที่”
๔  ๒๓
๔-23

ระวางรูปแปลงแผนที่

เพิ่มเติม หลังจากการลงระวางในกรณีที่รูปแปลงเกิด ชองวาง หรือเกิดการซอนทับกันกับแปลง


ขางเคียงผูใชงานจําเปนตองทําการแกไขรูปแปลง ใหผูใชงานคลิกเลือกเมนู “ระบบปรับปรุงรูป
แผนที่” และเรีย กรูป แปลงเขา มาเพื่อ ทํา การแกไ ขแปลง โดยมีห ลัก การดําเนินการปรับปรุง
ระวาง ๕ ประการ ดังนี้ เพิ่มหมุด, ยายหมุด, ลบหมุด, เพิ่มหมุดในแปลง และลบหมุดในแปลง

เมื่อรูปแปลงมีความถูกตองเรียบรอยแลว หลังจากการบันทึกลงระวาง สามารถทําการพิมพ


ร.ว.๙ ค. เพื่อยืนยันการลงระวางตอไป
บทที่ ๕
ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไข
การใชงานระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network)
ในระยะเริ่มแรกมีผลกระทบตอการปฏิบัติงานอยูบาง เนื่องจากเปนการใชเทคโนโลยีสมัยใหม ซึ่งชางรังวัด
ยังไมคุนเคยกับการใชงาน ดังนั้น จึงจําเปนตองใชระยะเวลาในการฝกฝนการใชงาน รวมถึงการเรียนรู
เพิ่มเติมการใชงานดวยระบบการสื่อสารขอมูล และการใชงานดวยอุปกรณที่เกี่ยวของ เพื่อใหการปฏิบัติงาน
อยูในเกณฑมาตรฐานที่กําหนด ในภาพรวมผลการปฏิบัติงานอยูในเกณฑปกติเมื่อเปรียบเทียบกับผลงาน
รังวัดกอนดําเนินการตามแผนงานฯ การรังวัดโดยระบบโครงขายฯ ใหผลการคํานวณเนื้อที่ไมแตกตาง
จากการรังวัดแบบเดิม โดยใหคาพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม ทุกหมุดหลักเขตของแปลงที่ดิน ซึ่งสามารถขึ้นรูปแปลง
ในระวางแผนที่ระบบดิจิทัลได เพื่อเปนการยกระดับมาตรฐานงานรังวัดของกรมที่ดินใหมีคาความนาเชื่อถือ
และเปนการคุมครองสิทธิของประชาชน
การใชงานระบบโครงขายการรัง วัด ดว ยดาวเทีย มแบบจลน (RTK GNSS Network)
ในงานรังวัดเฉพาะรายของสํานักงานที่ดินทุกสาขาในพื้นที่ที่ประกาศทําการรังวัดดวยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ง
ถือวาเปนจุดเปลี่ยนที่สําคัญในงานรังวัดและทําแผนที่ของกรมที่ดิน ซึ่งจําเปนตองสรางความเขาใจ ใหกับ
ประชาชนผูมาติดตอขอรังวัด เพื่อใหเขาใจถึงการพัฒนาดานงานรังวัด และความถูกตองของรูปแผนที่
ซึ่งถือเปนการคุมครองสิทธิของประชาชน ขณะที่ชางรังวัดทุกคนตองตระหนักถึงความสําคัญของผลงาน
รังวัด การปรับปรุงวิธีการทํางาน เพื่อรองรับการใชงานไปพรอมกัน
การรังวัดและทําแผนที่โดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ง เคยดําเนินการในหลายพื้นที่ โดยไดมีการวาง
เสนโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่ (Traverse) ใหมีความหนาแนน ในพื้นที่ที่มีการใชที่ดินและมีการเปลี่ยนแปลง
สิทธิและนิติกรรมที่ดินคอนขางสูง เชน ในเขตเทศบาลเมือง เปนตน โดยการดําเนินการจําเปนตองสราง
หมุดหลักฐานแผนที่กระจายทั่วทั้งพื้นที่ใหมีความหนาแนน ซึ่งในสวนของสํานักงานที่ดินเมื่อมีงานรังวัด
ในพื้นที่ดังกลาว จะเปดสารบัญเสนโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อทําการรังวัดยึดโยงหลักเขตแปลงที่ดิน
แตการปฏิบัติงานพบปญหาอุปสรรคคอนขางมาก เนื่องจากหมุดหลักฐานแผนที่ที่สรางไว ถูกทําลาย
หรือสูญหาย ทั้งๆ ที่สรางขึ้นมาไมนานนัก บางหมุดยังดําเนินการคํานวณคาพิกัดอยูที่สวนกลาง ก็สูญหาย
ไปแลว ซึ่งเปนปญหาอุปสรรคที่สําคัญของการดําเนินงานรังวัดและทําแผนที่โดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ง
การใชงานโดยระบบโครงขายฯ เปนเทคนิคและวิธีการรังวัดโดยการรับ สัญ ญาณจาก
ดาวเทียมเพื่อใหไดคาพิกัดฉากของตําแหนงที่ทําการรังวัด สามารถดําเนินการ ณ พื้นที่ใดๆ ที่สามารถ
เชื่อมตอและสื่อสารขอมูลกับระบบโครงขายฯ เพื่อประมวลผลขอมูลและคํานวณคาพิกัดสืบเนื่องจาก
หมุดหลักฐานแผนที่ จะเห็นวาการรังวัดโดยระบบโครงขายฯ มีความเหมาะสมสําหรับการนํามาปรับ
ใชในงานรังวัดและทําแผนที่โดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งของกรมที่ดิน ซึ่งจากการดําเนินงานตามแผนงาน
เตรียมความพรอมและสนับสนุนการยกระดับการรังวัดดวยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ง โดยโครงขายการรังวัด
ดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK GNSS Network) ในการรังวัดเฉพาะรายของสํานักงานที่ดิน กรมที่ดิน
๕๒
๕-2

โดยกองเทคโนโลยีทําแผนที่ ไดจัดสงเจาหนาที่ไปปฏิบัติหนาที่ใหความรู แนะนํา ชวยเหลือ และแกไข


ปญหาอุปสรรคใหกับชางรังวัดของสํานักงานที่ดิน ดังนั้น จึงไดรวบรวมปญหาและอุปสรรคพรอมทั้ง
แนวทางแกไข เพื่อใหชางรังวัดสามารถใชเปนคูมือประกอบในการปฏิบัติงาน ดังนี้
๕.๑ ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไข เกี่ยวกับเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐
๕.๑.๑ โปรแกรมที่เกี่ยวของในการใชงานเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐
ในการจัดเก็บขอมูลการรังวัดจากเครื่องควบคุม (Controller) รุน LT ๕๐๐ ลงคอมพิวเตอร
จําเปนตองลงโปรแกรมเพิ่มเติม เนื่องจากเครื่องควบคุมรุนดังกลาวทํางานบนระบบ Windows Mobile
จึงจําเปนจะตองมีโปรแกรมในการเชื่อมตอและแปลงไฟลขอมูล ดังนี้ โปรแกรม Microsoft ActiveSync
(สําหรับ Windows XP), โปรแกรม Windows Mobile Device Center (สําหรับ Windows ๗) และ
โปรแกรม LSReview ซึ่งโปรแกรมทั้งหมดสามารถดาวนโหลดไดจากเว็บไซต http://www.dolrtknetwork.com/
๑) โปรแกรม Microsoft ActiveSync สําหรับ Windows XP
เปนโปรแกรมที่ชวยในการเชื่อมตอขอมูล จากเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ กับ
คอมพิวเตอร (สําหรับ Windows XP) ผานสาย USB Cables
๕๓
๕-3

๒) โปรแกรม Windows Mobile Device Center


เปนโปรแกรมที่ชวยในการเชื่อมตอขอมูล จากเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ กับ
คอมพิวเตอร (สําหรับ Windows ๗) ผานสาย USB Cables

๓) โปรแกรม LSReview
เปนโปรแกรมที่ชวยในการสรางไฟล .html จากไฟล .hcd เพื่อใชในการอัปโหลด
คาการรังวัดลงเว็บไซต http://www.dolrtknetwork.com/ เพื่อประกาศคาการรังวัด
๕๔
๕-4

5.1.2 ดานเครื่องมือรับสัญญาณ และเครื่องควบคุม รุน LT 500


๑) เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ ไมสามารถเปดใชงานได

สาเหตุ
๑. แบตเตอรี่ของเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ หมด
แนวทางแกไข
ตรวจสอบแบตเตอรี่ของเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ ถาแบตเตอรี่หมดใหนําไปชารจ
สาเหตุ
๒. Firmware ของเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ หมดอายุ
แนวทางแกไข
เกิดจากปญหา Firmware ของเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ หมดอายุ ใหติดตอ
บริษัท CHC Navtech Thailand เบอรโทร ๐๙๔๕๕๓๐๗๖๗, ๐๘๗๘๕๑๐๗๘๗ เพื่อทําการอัปเดต
Firmware ของเครื่องควบคุม
๕๕
๕-5

๒) เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ ไมสามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตได

สาเหตุ
๑. ซิมการดเงินหมด ซิมการดวันหมด หรือซิมการดหมดอายุ
แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานทําการตรวจสอบกับระบบเครือขายโทรศัพทท่ีใชงานอยู และทํา
การเติมเงิน
เครือขาย AIS กด *๑๒๑# โทรออก
เครือขาย TRUE กด #๑๒๓# โทรออก
เครือขาย DTAC กด *๑๐๑# โทรออก
สาเหตุ
๒. เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ ยังไมไดทําการเปดใชงานซิมการด
แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานตรวจสอบเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ วาทําการเปดใชงานซิมการดแลว
หรือไม ซึ่งถายังไมไดเปดใชงานซิมการด หนาจอเครื่องควบคุมฯ จะขึ้นเครื่องหมาย ดังรูป
๕๖
๕-6

การเปดใชงานซิมการด มีขั้นตอนดังนี้

เขาแอปพลิเคชัน Settings บนหนาวินโดว เลือก Connections


ของเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐

เลือก Wireless Manager ตั้งคา ดังนี้ WiFi เปน off


Bluetooth เปน on
Phone เปน on
๕๗
๕-7

จากนั้น เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ จะทําการคนหาสัญญาณมือถือ ดังรูป

สาเหตุ
๓. เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ ยังไมไดทําการเปดใชงานอินเทอรเน็ต
แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานตรวจสอบเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ วา ไดทําการเปดใชงาน
อินเทอรเน็ตแลวหรือยัง ซึ่งถาเครื่องควบคุมฯ ไมไดทําการเปดใชงานอินเทอรเน็ต จะขึ้นเครื่องหมาย ดังรูป

ไมไดเปดใชงานอินเทอรเน็ต

เปดใชงานอินเทอรเน็ตเรียบรอย
๕๘
๕-8

การเปดใชงานอินเทอรเน็ต เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ สามารถทําได ๒ วิธี ดังนี้


วิธีที่ ๑ : การเปดใชงานอินเทอรเน็ตผานแอปพลิเคชัน Internet Explorer

เขาแอปพลิเคชัน Internet Explorer เลือก เมนู Favorites


บนหน าวินโดว ของเครื่องควบคุ ม รุ น
LT ๕๐๐

เลือก เขาเว็บไซตใดเว็บไซตหนึ่ง เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐


จะทําการเชื่อมตออินเทอรเน็ต
๕๙
๕-9

วิธีที่ ๒ : การเปดใชงานอินเทอรเน็ตผานแอปพลิเคชัน MSN Weather

เขาแอปพลิเคชัน MSN Weather บนหนาวินโดว


ของเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐

เลือก Continue เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐


จะทําการเชื่อมตออินเทอรเน็ต
๕  ๑๐
๕-10

3) เครื่องควบคุม (Controller) ไมเชื่อมตอ Bluetooth กับ เครื่องรับสัญญาณ


ดาวเทียม (Receiver)

สาเหตุ
๑. การเปดเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ และเขาโปรแกรม Landstar ๖ กอน
เปดเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม i๘๐
๒. การนําเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ ไปเชื่อมตอกับเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม
CHC i๘๐ เครื่องอื่น นอกเหนือจากเครื่องเดิมที่ใชงาน
๓. การไมไดเปดเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ เปนเวลานาน
แนวทางแกไข
ทําตามขั้นตอนดังนี้

เลือก เมนู Device ในโปรแกรม Landstar ๖ เลือก เมนู Connection


๕  ๑๑
๕-11

ตั้งคา Manufacturer : CHC


Device Type : Smart GNSS
Connection : Bluetooth
Port : COM ๘
Antenna Type : CHC i๘๐
Connection Type : Rover

เลือก ที่แวนขยายหลังเมนู Connection  เลือก Search Device เพื่อคนหาเครื่องรับ


เพื่อคนหาเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ สัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ ที่ตองการเชื่อมตอ
ที่ตองการเชื่อมตอ  เลือก เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมที่ตองการ
เชื่อมตอ (ดูไดจากหมายเลข Serial Number
ใตเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐)
 เลือก

เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ จะทําการเชื่อมตอ


Bluetooth กับเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม
CHC i๘๐
๕  ๑๒
๕-12

เมื่อเชื่อมตอสําเร็จ จะปรากฏขอมูลดาวเทียม

สาเหตุ
๔. กรณีที่เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ ไมสามารถเชื่อมตอ Bluetooth กับเครื่องรับ
สัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ ได จะปรากฏดังรูป

แนวทางแกไข
กด ที่รูปแวนขยายเพื่อคนหาเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ ตรวจสอบ
อีกครั้งวา เลือกเชื่อมตอเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมถูกเครื่องหรือไม และ กด เครื่องหมายเพื่อทํา
การเชื่อมตอใหม
ถายังเชื่อมตอไมได ใหทําการปดเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ และรีสตารท
เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ หลังจากนั้น ทําการเปดเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ เพื่อคนหา
ดาวเทียมใหพบกอนเปดโปรแกรม Landstar ๖ บนเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐
๕  ๑๓
๕-13

4) เชื่อมตอเขาระบบ RTK GNSS Network ไมได

สาเหตุ
๑. เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ ไมไดเชื่อมตออินเทอรเน็ต หรืออินเทอรเน็ตหลุด
การเชื่อมตอ
แนวทางแกไข
สามารถแกปญหาไดตามหัวขอที่ ๕.๑.๒ ขอ ๒)
สาเหตุ
๒. ตั้งคาตางๆ ในเมนู Correction Mode ผิด
แนวทางแกไข
สามารถแกไขปญหาไดตามขั้นตอน ดังนี้

เลือก เมนู Device ในโปรแกรม Landstar ๖ เลือก เมนู Correction Mode


๕  ๑๔
๕-14

ตั้งคา Mode : PDA Network (DCI)


Protocol : Ntrip Client
IP Address : ๑๒๒.๑๕๕.๑๓๑.๓๔
IP Port : ตามพื้นที่ปฏิบัติงาน
Source : VRS_RTCM ๓๒
User Name : เลขบัตรประจําตัวประชาชน ๑๓ หลัก
Password : ตัวเลข ๔ หลัก
จากนัน้ เลือก Login

เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ จะทําการ


เชื่อมตอระบบ RTK GNSS Network
ใหรอจนกวาขอความ Logging In เปลี่ยน
เปน Succeeded เปนอันเชื่อมตอสําเร็จ

สาเหตุ
๓. ใส Username/Password ผิด
แนวทางแกไข
สามารถแกปญหาได ดังนี้

ตรวจสอบการกรอกขอมูลการ Log in
User Name ซึ่งจะถูกตั้งเปน เลขบัตรประจําตัว
ประชาชน ๑๓ หลัก ของผูปฏิบัติงาน
Password ซึ่ ง จะถู ก ตั้ ง เป น ตั ว เลข ๔ ตั ว
โดยผูดูแลระบบสงใหตามเบอรมือถือของผูปฏิบัติงาน

 ถายังเชื่อมตอไมได ใหติดตอผูดูแลระบบ เบอรโทร ๐๙๒๑๔๒๑๕๕๕ หรือ ๐๒๕๐๓๓๓๖๗


๕  ๑๕
๕-15

สาเหตุ
๔. Username/Password หมดอายุ เกิดจากผูใชงานบางหนวยงาน หรือบางองคกร
ถูกกําหนดสิทธิการใชงานตามเงื่อนไขของกรมที่ดินที่กําหนดไว ทําใหไมสามารถเชื่อมตอเขาสูระบบได
แนวทางแกไข
ใหตรวจสอบสิทธิของผูปฏิบัติงานวา ตรงกับเงื่อนไขของกรมที่ดิน ที่กําหนดไว
หรือไม หรือติดตอผูดูแลระบบ เบอรโทร ๐๙๒๑๔๒๑๕๕๕ หรือ ๐๒๕๐๓๓๓๖๗
สาเหตุ
๕. ใสคา IP Port ไมตรงตามพื้นที่ปฏิบัติงาน

แนวทางแกไข
ใหใสคา IP Port ใหตรงกับพื้นที่ปฏิบัติงาน สามารถตรวจสอบคา IP Port ได ดังรูป
๕  ๑๖
๕-16

สาเหตุ
๖. เกิดปญหาที่เซิรฟเวอรของสถานีควบคุมสวนกลาง (โอกาสเจอนอยมาก)
แนวทางแกไข
โดยปกติเซิรฟเวอรของระบบ RTK GNSS Network เปนเซิรฟเวอรที่มีเสถียรภาพสูง
แตบางกรณีตองมีการปรับปรุง หรืออัปเดต Firmware ของเซิรฟเวอรฯ ทําใหผูปฏิบัติงานไมสามารถใช
งานไดชั่วขณะ โดยสามารถสอบถามสถานะการทํางานของเซิรฟเวอรฯ ไดจากผูดูแลระบบ เบอรโทร
๐๙๒๑๔๒๑๕๕๕ หรือ ๐๒๕๐๓๓๓๖๗

๕) เชื่อมตอเขาระบบ RTK GNSS Network ได แต Solution ขึ้นสถานะเปน


Single หรือ Float

สาเหตุ
๑. เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมกําลังคํานวณคาพิกัดใหมีความถูกตองตามเกณฑ
แนวทางแกไข
ใหรอสักครู ถา Solution ยังไมขึ้นสถานะเปน Fix ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
สาเหตุ
๒. เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ อินเทอรเน็ตหลุดการเชื่อมตอ
แนวทางแกไข
สามารถแกปญหาไดตามหัวขอที่ ๕.๑.๒ ขอ ๒) ถา Solution ยังไมขึ้นสถานะเปน
Fix ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
๕  ๑๗
๕-17

สาเหตุ
๓. เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ ตั้งอยูในพื้นที่ไมเปดโลง มีสิ่งบดบังมาก
แนวทางแกไข
ในการเลือกตําแหนงรับสัญญาณดาวเทียม ควรเลือกตําแหนงที่เปดโลง หลีกเลี่ยง
ตําแหนงที่อยูใตตนไมใหญหรือตนไมที่มีใบหนาทึบ ตําแหนงที่อยูใตชายคา ตําแหนงที่อยูใกลตึกสูง
ตําแหนงที่อยูใกลเสาสงคลื่นวิทยุ หรือตําแหนงที่อยูใกลเสาไฟฟาแรงสูง ถา Solution ยังไมขึ้นสถานะ
เปน Fix ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
สาเหตุ
๔. รับสัญญาณดาวเทียมในชวงเวลาที่ชั้นบรรยากาศ ionosphere ไมดี
แนวทางแกไข

ชวงเวลาที่ชั้นบรรยากาศ ionosphere ไมดี คือชวงเวลาใกลเที่ยงวัน หรือชวงบาย


(ขึ้นอยูกับวัน เวลาและชั้นบรรยากาศของโลก) ซึ่งจะกระทบตอคาความถูกตองเชิงตําแหนงของคาพิกัด
ที่ทําการรังวัด โดยควรหลีกเลี่ยงการรังวัดในชวงเวลาดังกลาว ถาSolution ยังไมขึ้นสถานะเปน Fix
ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
สาเหตุ
๕. สถานี CORS ใกลเคียง อยูในสถานะ offline หรือการสงขอมูลไมเสถียร ซึ่งอาจ
เกิดจากระบบไฟฟาของสํานักงานที่ติดตั้งสถานี CORS ดับ หรือระบบอินเทอรเน็ตไมเสถียร ทําให
สถานี CORS ไมสามารถสงขอมูลดาวเทียมเขาระบบชั่วขณะ
แนวทางแกไข
ใหตรวจสอบสถานะของสถานี CORS ได จากผูดูแลระบบ เบอรโทร 0921421555
หรือ 025033367
๕  ๑๘
๕-18

6) ขณะรับสัญญาณดาวเทียมมีขอความเตือน “Low Precision” หรือ “Rover


moved while surveying!”

สาเหตุ
เนื่องจากในขณะทําการบันทึกขอมูลรังวัด Solution เปลี่ยนจากสถานะ Fix เปน
Single หรือ Float ทําใหคาพิกัดที่ไดมีความคลาดเคลื่อนเกินเกณฑที่กําหนด เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐
จะมีขอความเตือน “Low Precision” หรือ “Rover moved while surveying!”
แนวทางแกไข
สามารถแกปญหาไดตามขั้นตอน ดังนี้
๑. รอให Solution กลับมาอยูสถานะ Fix และทําการรังวัดตอ
เมื่อมีขอความเตือน “Low Precision” หรือ “Rover moved while surveying!”
แสดงขึ้น ผูปฏิบัติงานไมควรกด Continue เพื่อบันทึกขอมูลการรังวัดตอทันที โดยใหผูปฏิบัติงานรอ
สักครูและสังเกตสถานะของ Solution บริเวณมุมลางซายของหนาจอ ให Solution กลับมาอยูใน
สถานะ Fix จึงสามารถกด Continue เพื่อบันทึกขอมูลการรังวัดตอได ถารอเปนเวลานาน Solution
ไมกลับมาอยูในสถานะ Fix ใหปฏิบัติตามวิธีการถัดไป
๒. ทําการยกเลิกการบันทึกขอมูลรังวัด และเชื่อมตอระบบ RTK GNSS Network ใหม
เมื่อมีขอความเตือน “Low Precision” หรือ “Rover moved while surveying!”
แสดงขึ้น ใหผูปฏิบัติงาน กด Abort เพื่อยกเลิกการบันทึกขอมูลรังวัด และทําการเชื่อมตอระบบ RTK
GNSS Network ใหมอีกครั้ง จน Solution อยูในสถานะ Fix จึงสามารถ กดบันทึกขอมูลรังวัดได
ถา Solution ยังอยูในสถานะ Single หรือ Float ผูปฏิบัติงานสามารถแกปญหาไดตามหัวขอที่ ๕.๑.๒ ขอ ๕)
๕  ๑๙
๕-19

7) ขณะรับสัญญาณดาวเทียมมีขอความเตือน “Connection lost!”

สาเหตุ
เนื่องจากในขณะทําการบันทึกขอมูลรังวัด เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ ไมสามารถ
เชื่อมตอ Bluetooth กับเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ ได ซึ่งเกิดจากผูปฏิบัติงานนําเครื่อง
ควบคุมฯ เดินออกหางจากเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ เกินระยะการเชื่อมตอ Bluetooth
(ไมควรหางเกิน ๒๐ เมตร)
แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานยกเลิกการบัน ทึกขอมูลรังวัด และกลับไปเชื่อมตอ Bluetooth
ระหวางเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ และเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ ใหม ผูปฏิบัติงาน
สามารถแกปญหาไดตามหัวขอที่ ๕.๑.๒ ขอ ๓) และทําการเชื่อมตอเขาสูระบบ RTK GNSS Network
ใหมอีกครั้ง
๕  ๒๐
๕-20

๕.๑.๓ ดานการนําเขาขอมูลของเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐


๑) การสงออกขอมูลรังวัดเปนไฟล csv แลว ขอมูลบรรทัดแรกหาย หรือจํานวน
คอลัมนไมครบ
สาเหตุ
เกิดจากการตั้ง File Type ในเมนู Export ไมถูกตอง ทําใหการสงออกขอมูลรังวัด
จากเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ เปนไฟล csv มีไมครบ (ขอมูลบรรทัดแรกหาย) หรือจํานวนคอลัมน
ไมครบ
แนวทางแกไข
ใหทําการตั้งคา File Type ในเมนู Export ตามขั้นตอน ดังนี้

เลือก เมนู Project ในโปรแกรม Landstar ๖ เลือก เมนู Export

เลือก เมนู Custom Format ในเมนู File Type เลือก ลูกศรลง


และเลือก Custom (*.*)
๕  ๒๑
๕-21

ตั้งคาตางๆ ดังภาพ
 คลิก  หนา Has Title
 Spilter เลือก comma (,)
 เลือก ขอมูล Option ทั้งหมดไปดานขวา
 คลิก หนา Save to list
และเลือก

ทําการ Save Format โดยตั้งคา  ในเมนู File Type เลือก ลูกศรลงอีกครั้ง


Name : dol หรือ dol๑ (กรณีชื่อ Format ซ้ํา) จะพบ File Type ใหมที่สรางขึ้น
Suffix : csv  ทําการเลือก File Type ใหมที่สรางขึ้น
และ เลือก OK และสงออกขอมูลตามวิธีปกติตอไป
๕  ๒๒
๕-22

๒) การตั้งคาโปรเจกตผิดโซน หรือผิด Datum


การตั้งคาโปรเจกตผิดโซน หรือผิด Datum ทําใหผูปฏิบัติงานไมสามารถนําเขาขอมูล
ผานระบบได หรือทําใหขอมูลที่รังวัดไดมานั้น เปนขอมูลที่ผิด
สาเหตุ
มีการเปลีย่ นแปลง โซนหรือ Datum
แนวทางแกไข
ผูปฏิบัติงานไมจําเปนตองออกไปทําการรังวัดใหม เนื่องจากเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐
สามารถคํานวณคาพิกัดที่ทํา การรัง วัด มาได ใหเ ปน คา พิกัดในโซนใหม หรือ Datum ใหม ตามที่
ผูปฏิบัติงานตองการได โดยมีขั้นตอน ดังนี้

 เขาโปรแกรม Landstar ๖ และเปดโปรเจกต เลือก เมนู CRS Params


ที่ตองการทําการเปลี่ยนโซน
 เลือก เมนู Project ในโปรแกรม Landstar ๖

เลือก แถบหลังสุดของเมนู CRS Name เลือก โซน หรือ Datum ที่ถูกตอง


๕ ๕-23
 ๒๓

 คลิก ลูกศรขวา เพื่อเลื่อนหาเมนู Height Adjust และ


เลือก Geoid Models เปน EGM๙๖.ggf
 เลือก หลังจากนั้น เครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐
จะทําการแปลงคาพิกัด เปนคาพิกัดในโซนใหมที่ไดเลือกไว

* ขอสังเกต ในเมนู Projection *


โซน ๔๗ จะมีคา Central Meridian ๙๙:๐๐:๐๐.๐๐๐๐๐ E
โซน ๔๘ จะมีคา Central Meridian ๑๐๕:๐๐:๐๐.๐๐๐๐๐ E
๕  ๒๔
๕-24

๓) ทําการแปลงไฟล HCD เปนไฟล HTML ในโปรแกรม LSReview แลว ขึ้นขอความ


“windowns is checking for a solution the problem…”

สาเหตุ
เกิดจากการตั้งชื่อ Folder ที่เก็บไฟล HCD ไมตรงกับชื่อ Project ทําใหโปรแกรม
LSReview ไมสามารถแปลงไฟล HCD ใหเปนไฟล HTML ได
แนวทางแกไข
๑. ใหผูปฏิบัติงานตรวจสอบ Folder ที่เก็บไฟล CSV, HCD และ HCL โดยชื่อ
ของ Folder ที่เก็บไฟล และชื่อของไฟล CSV, HCD และ HCL จะตองมีชื่อเดียวกันทั้งหมด
๒. ถาพบชื่อไมตรงกัน ใหแกไขชื่อใหตรงกันทั้งหมดกอน (ชื่อที่ถูกตองจะตองตั้ง
ตามชื่อ Project ที่ทําการรังวัด) และทําการแปลงไฟล HCD เปนไฟล HTML ในโปรแกรม LSReview อีกครั้ง
๕  ๒๕
๕-25

4) ระบบแจง “ชื่อไฟล CSV HTML และ HCD ไมตรงกัน กรุณาตรวจสอบอีกครั้ง”

สาเหตุ
เนื่องจากในขั้นตอนการอัปโหลดคา CSV HTMLและ HCD เขาระบบ เพื่อประกาศ
คาพิกัดการรังวัด ชื่อไฟลทั้ง ๓ ไฟล ไมไดถูกตั้งชื่อใหเปนชื่อเดียวกัน
แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานตรวจสอบ Folder ที่เก็บไฟลขอมูล การรัง วัด โดยชื่อของไฟล
CSV, HCD, HCL และ HTML จะตองมีชื่อเดียวกันทั้งหมด ถาพบชื่อไมตรงกัน ใหทําการแกไขชื่อไฟล
ตางๆ ใหตรงกัน และทําการอัปโหลดคาใหมอีกครั้ง
๕  ๒๖
๕-26

๕) ระบบแจง “ขอมูลการรังวัดมีพารามิเตอรไมถูกตอง กรุณาตรวจสอบใหมอีกครั้ง”

สาเหตุ
เนื่องจากในขั้นตอนการอัปโหลดคา CSV HTML และ HCD เขาระบบ ระบบ
ทําการตรวจสอบคาพารามิเตอรของขอมูลที่ทําการรังวัดแลว พบคาพารามิเตอรไมตรงกับคาพารามิเตอร
ที่กรมที่ดินกําหนด ซึ่งเกิดจากการเลือก Datum ในขั้น ตอนการสราง Project ในเครื่องควบคุม
รุน LT ๕๐๐ ผิด จึงทําใหคาพิกัดที่รังวัดไดไมสัมพันธกับคาพิกัดที่กรมที่ดินใชงาน
แนวทางแกไข
ผูป ฏิบัติง านไมจํา เปน ตอ งออกไปทํา การรัง วัด ใหม เนื่อ งจากเครื่อ งควบคุม
รุน LT ๕๐๐ สามารถคํานวณคาพิกัดที่ทําการรังวัดมาไดใหเปนคาพิกัดใน Datum ใหมที่ถูกตองได
วิธีการเปลี่ยน Datum ใหดูหัวขอที่ ๕.๑.๓ ขอ ๒) (โดยผูปฏิบัติงานในโซน ๔๗ ใหเลือก Datum เปน
Indian Thailand ๑๙๗๕ N๔๗_๕๒ และ ผูปฏิบัติงานในโซน ๔๘ ใหเลือก Datum เปน Indian Thailand
๑๙๗๕ N๔๘_๕๒)
หลัง จากการเปลี่ย น Datum ของ Project ในเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐
ใหถูกตองแลว ใหผูปฏิบัติงานทําการ Export คาการรังวัด และทําการอัปโหลดขอมูลการรังวัดเขาระบบ
ใหมอีกครั้ง
๕  ๒๗
๕-27

๖) ระบบแจง “A PHP Error was encountered”

สาเหตุ
เนื่องจากในขั้นตอนการอัปโหลดคา CSV HTML และ HCD เขาระบบ ระบบตรวจสอบ
พบขอมูลไฟล CSV มีจํานวนคอลัมนขอมูลไมครบตามที่กําหนด ซึ่งเกิดจากการตั้ง File Type ในเมนู
Export ของเครื่องควบคุม รุน LT 500 ไมถูกตอง

แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานทําการตั้ง File Type ในเมนู Export ใหถูกตอง และเลือกคอลัมน
ในการสงขอมูลใหครบ วิธีการแกไขใหดูหัวขอที่ ๕.๑.๓ ขอ ๑)
หลังจากแกไขแลว ใหผูปฏิบัติงานทําการ Export คาการรังวัด และทําการอัปโหลด
ขอมูลการรังวัดเขาระบบใหมอีกครั้ง
๕  ๒๘
๕-28

๗) คาพิกัดหมุดตรวจสอบที่ไดจากการรับสัญญาณ กับคาที่ประกาศใชงาน มีความ


แตกตางเกินเกณฑที่ระเบียบกําหนด

เนื่องจากในขั้นตอนการอัปโหลดคาเพื่อประกาศคาการรังวัด ระบบตรวจสอบพบคาพิกัด
ของหมุดตรวจสอบที่ประกาศคาในระบบ กับคาพิกัดที่ผูปฏิบัติงานรังวัดมา มีความแตกตางเกินเกณฑที่
ระเบียบกําหนด จึงทําใหระบบเตือนวา ไมผานการตรวจสอบ และไมสามารถอัปโหลดคาในขั้นตอนอื่น
ตอได ซึ่งมีสาเหตุไดหลายกรณี ดังนี้
สาเหตุ
๑. ผูปฏิบัติงานใสชื่อหมุดตรวจสอบผิด ทําใหระบบนําคาพิกัดหมุดตรวจสอบที่
ผูปฏิบัติงานรังวัดมา ไปเปรียบเทียบกับคาพิกัดหมุดตรวจสอบที่ผูปฏิบัติงานใสชื่อผิด ทําใหมีความแตกตาง
เกินเกณฑที่ระเบียบกําหนด
แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานตรวจสอบชื่อหมุดตรวจสอบที่ผูปฏิบัติงานทําการรังวัดมาใหตรงกัน
และทําการแกไขชื่อหมุดตรวจสอบใหถูกตอง พรอม กด “ยืนยันการแกไขชื่อหมุด” ถายังไมได ใหแกไข
ตามวิธีการถัดไป
๕  ๒๙
๕-29

สาเหตุ
๒. ในการรังวัดผูปฏิบัติงานตั้ง Optical plummet ของฐานเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม
CHC i๘๐ ไมตรงตําแหนงหมุดตรวจสอบ ทําใหคาพิกัดที่รังวัดไดไมใชตําแหนงของหมุดตรวจสอบ
แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานตรวจสอบการตั้ง Optical plummet ของฐานเครื่องรับสัญญาณ
ดาวเทียม CHC i๘๐ ใหเสนกากบาทของ Plummet ตรงตําแหนงศูนยกลางของหมุดตรวจสอบทุกครั้ง
ในการตั้งขาเครื่องรับสัญญาณ และในขณะรับสัญญาณ และใหผูปฏิบัติงานรับคาหมุดตรวจสอบใหม
อีกครั้งในโปรเจกตที่รังวัดเดิม และทําการอัปโหลดคาเขาระบบใหมอีกครั้ง ถายังไมได ใหแกไขตามวิธีการ
ถัดไป
สาเหตุ
๓. คาพิกัดหมุดตรวจสอบที่ผูปฏิบัติงานทําการรังวัดมา มีความคลาดเคลื่อนเกิน
เกณฑที่กรมที่ดินกําหนด ซึ่งอาจเกิดจากผูปฏิบัติงานทําการรับสัญญาณดาวเทียมในชวงเวลาที่ชั้น
บรรยากาศมีความแปรปรวนสูง หรือรับสัญญาณดาวเทียมในชวงที่ระบบขัดของ หรือจากสาเหตุอื่นๆ
แนวทางแกไข
กอนทําการปฏิบัติงานรังวัดทุกครั้ง ผูปฏิบัติงานตองทําการรับสัญญาณดาวเทียม
ณ ตําแหนงหมุดตรวจสอบทุกครั้ง และตรวจสอบคาพิกัดของหมุดตรวจสอบที่รังวัดไดกับคาพิกัดที่
ประกาศในระบบวา มีความคลาดเคลื่อนเกินเกณฑที่ระเบียบกําหนดหรือไม ถาเกินเกณฑที่กําหนด
ไมแนะนําใหผูปฏิบัติงานออกทําการรังวัด เพราะจะทําใหคาพิกัดที่ไดเกิดความคลาดเคลื่อน ทั้งนี้
ใหติดตอผูดูแลระบบ เบอรโทร ๐๙๒๑๔๒๑๕๕๕ หรือ ๐๒๕๐๓๓๓๖๗ เพื่อทําการหาสาเหตุและ
ทําการแกไขใหผูปฏิบัติงานตอไป
๕  ๓๐
๕-30

๘) ระบบแจง “The file you are attempting to upload is larger than


permitted size.”

สาเหตุ
เนื่องจากในขั้นตอนการอัปโหลดรูปเชนสนาม (ร.ว. ๓๑ ง) ผูปฏิบัติงานอัปโหลด
รูปที่มีขนาดใหญเกินไปเขาสูระบบ
แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานทําการแกไขไฟลรูปเชนสนาม (ร.ว. ๓๑ ง) โดยลดขนาดไฟลใหมี
ขนาดไมเกิน ๒ เมกะไบต หรือทําการสแกนรูปเชนสนาม (ร.ว. ๓๑ ง) ใหม และตั้งคาความละเอียด
ในการสแกนใหไมเกิน ๓๐๐ dpi (ชื่อไฟลรูปเชนสนามควรตั้งเปนชื่อเดียวกับชื่อโปรเจกต และไมควร
ตั้งชื่อเปนภาษาไทย เพราะจะทําใหเกิดปญหาในการแสดงรูปในเว็บไซต) และทําการอัปโหลดรูปเชน
สนามใหมอีกครั้ง
๙) ระบบแจง “รายงาน ร.ว. ๘๐ ข ไมผานการตรวจสอบ กรุณาตรวจเช็คขอมูล”

เนื่องจากในขั้นตอนการใสระยะหมุดคูที่วัดไดจากกลอง ระบบทําการตรวจสอบระยะ
หมุดคูที่ไดจากกลอง และระยะหมุดคูที่ไดจากการคํานวณแปลงคาจากคาพิกัดแลว มีระยะแตกตาง
เกินเกณฑที่ระเบียบของกรมที่ดินกําหนด ทําให “แบบตรวจสอบรายงานการตรวจสอบความถูกตอง
ของระยะทาง (ร.ว. ๘๐ ข)” ไมผา นการตรวจสอบ และระบบไมย อมให กด “ยืน ยัน โปรเจกต”
เพื่อประกาศคา ซึ่งมีสาเหตุไดหลายกรณี ดังนี้
๕  ๓๑
๕-31

สาเหตุ
๑. ผูปฏิบัติงาน เลือกหมุดคูในเมนู “บันทึกระยะตรวจสอบ” ผิดหมุด
แนวทางแกไข

 ผูปฏิบัติงาน ควรตรวจสอบใหแนใจวาทําการเลือกหมุดคูที่ตรวจสอบระยะถูกตอง
กอนการใสระยะตรวจสอบ โดย
ชอง “จากหมุด” ใหผูปฏิบัติงาน เลือกหมุด ที่ทํา การตั้ง กลอง Total Station
เพื่อวัดระยะ
ชอง “ไปหมุด” ใหผูปฏิบัติงาน เลือกหมุดที่ทําการตั้งปริซึม
ชอง “ระยะตรวจสอบ” ใหผูปฏิบัติงาน ใสระยะหมุดคูที่วัดไดจากเครื่องวัดระยะ
ของกลองฯ
ถายังอัปโหลดไมได ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
สาเหตุ
๒. เครื่องวัดระยะของกลอง Total Station มีความคลาดเคลื่อน
แนวทางแกไข
ผูปฏิบัติงาน ควรตรวจสอบใหแนใจวา เครื่องวัดระยะของกลอง Total Station
มีการตั้งคาตางๆ ที่ถูกตอง และทําการสอบเทียบกลอง (Calibrate) เปนประจําทุกป เพื่อใหกลอง Total
Station มีการวัดมุม และวัดระยะที่ถูกตอง ถายังอัปโหลดไมได ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
สาเหตุ
๓. คาพิกัดที่ไดจากการรับสัญญาณดาวเทียมมีความคลาดเคลื่อนเกินเกณฑ
แนวทางแกไข
ระบบ RTK GNSS Network เปนระบบการหาคาพิกัดที่ใหความคลาดเคลื่อนของแตละ
จุดไมเกิน ๔ เซนติเมตร ในบางกรณีที่การหาคาพิกัด ๒ จุด มีแนวโนมวา ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น
จะมีทิศทางพุงออกจากกัน หรือพุงเขาหากัน ทําใหระยะหมุดคูที่คํานวณไดจากการแปลงคาพิกัด และระยะ
หมุดคูจากการวัดดวยเครื่องวัดระยะของกลอง Total Station มีคาแตกตางกันเกินเกณฑที่กรมที่ดิน
กําหนด (การตรวจสอบระยะขางตน เปนมาตรการควบคุมคุณภาพของคาพิกัดที่รังวัดไดจากระบบ RTK
GNSS Network ตามที่ระเบียบกําหนด) ซึ่งเมื่อผูปฏิบัติงานทําตามคําแนะนําแลว ยังอัปโหลดไมได
แนะนําใหผูปฏิบัติงานไปทําการรังวัดคาพิกัดของหมุดคูดังกลาวใหมอีกครั้ง ในชวงวันและเวลาอื่น
๕  ๓๒
๕-32

๕.๒ ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไข เกี่ยวกับเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐


๕.๒.๑ ดานเครื่องมือรับสัญญาณ และเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐
๑) เครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ ไมสามารถเปดใชงานได

สาเหตุ
๑. แบตเตอรี่ของเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ หมด
แนวทางแกไข
ตรวจสอบแบตเตอรี่ของเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ ถาแบตเตอรี่หมดใหนําไปชารจ
สาเหตุ
๒. Firmware ของเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ หมดอายุ
แนวทางแกไข
เกิดจากปญหา Firmware ของเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ หมดอายุ ใหติดตอ
บริษัท CHC Navtech Thailand เบอรโทร ๐๙๔๕๕๓๐๗๖๗, ๐๘๗๘๕๑๐๗๘๗ เพื่อทําการอัปเดต
Firmware ของเครื่องควบคุม
๒) เครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ เชื่อมตออินเทอรเน็ตไมได
๕  ๓๓
๕-33

สาเหตุ
๑. ใสซิมการดไมถูกตอง
แนวทางแกไข
ตรวจสอบซิมการดวาใสถูกตองหรือไม และเปดใชงานอินเทอรเน็ตหรือยัง

สาเหตุ
๒. ซิมการดเงินหมด ซิมการดวันหมด หรือซิมการดหมดอายุ
แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานทําการตรวจสอบกับระบบเครือขายโทรศัพทที่ใชงานอยู และทํา
การเติมเงิน
เครือขาย AIS กด *๑๒๑# โทรออก
เครือขาย TRUE กด #๑๒๓# โทรออก
เครือขาย DTAC กด *๑๐๑# โทรออก
 สาเหตุ
๓. ตั้งคา APN ไมถูกตอง
แนวทางแกไข
ใหทําการตรวจสอบการตั้งคา APN ดังนี้
๕  ๓๔
๕-34

เลือก Settings เลือก More…

เลือก Mobile Networks เลือก Access Point Names

เลือก New APN พิมพชื่อ Name และ APN


๕  ๓๕
๕-35

พิมพ Name และ APN ตามชื่อคายโทรศัพท


AIS DTAC TRUE
Name : ais Name : dtac Name : true
APN : internet APN : www.dtac.co.th APN : internet

เลือก Save เมื่อมีรายการ APN ปรากฏแลว


ใหสังเกตสัญลักษณอนิ เทอรเน็ต
เชน H/H+ วาปรากฏที่คลื่นรับ
สัญญาณหรือไม

หากไมปรากฏสัญลักษณอินเทอรเน็ต ใหทําขั้นตอน Roaming ตอไป


สาเหตุ
4. ไมไดเปดใชงาน Roaming
แนวทางแกไข
ใหทําการตรวจสอบการเปดใชงาน Roaming ดังนี้

เลือก Settings เลือก SIM management


๕  ๓๖
๕-36

เลือก SIM INFORMATION เลือก Roaming


จาก Off เปน On

เลือก Data roaming เลือก สัญลักษณ ◻

เลือก OK เพื่อทําการเปด ใหสังเกตแถบดานบน จะพบวา


Data roaming มีสัญลักษณสัญญาณโทรศัพท
สามารถเริ่มใชงานได
๕  ๓๗
๕-37

๓) เครื่องควบคุม (Controller) ไมเชื่อมตอ Bluetooth กับ เครื่องรับสัญญาณ


ดาวเทียม (Receiver)

สาเหตุ
๑. การเปดเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ และเขาโปรแกรม Landstar กอนเปด
เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐
๒. การนําเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ ไปเชื่อมตอกับเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม
CHC i๘๐ เครื่องอื่น นอกเหนือจากเครื่องเดิมที่ใชงาน
๓. การไมไดเปดเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ เปนเวลานาน
แนวทางแกไข
สามารถแกปญหาไดตามขั้นตอน ดังนี้

เขาโปรแกรม Landstar แลว เลือก เมนู Config เลือก เมนู Connect


๕-38
๕  ๓๘

ตั้งคา Manufacturer : CHC เลือก เครื่องรับสัญญาณที่ตองการเชื่อมตอ


Device Type : i๘๐ โดยคลิกที่ เพื่อคนหาเครื่องรับสัญญาณ
Connection Type : Bluetooth ดาวเทียม CHC i๘๐ ที่ตองการ
Antenna Type : CHC i๘๐

เลื อ ก รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มที่ ต อ งการเชื่ อ มต อ เลือก Connect


(โดยชื่ อ ของเครื่ อ งรับ สั ญญาณที่ป รากฏ คือ เลข
Serial Number (S/N) ของเครื่องรับสัญญาณนั้น
ดูไดจากหมายเลขใตเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม
CHC i๘๐)
๕-39
๕  ๓๙

เลือก Yes เครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ เลือก OK


จะทําการเชื่อมตอ Bluetooth กับเครื่องรับ
สัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐

เมื่อเชื่อมตอสําเร็จ จะปรากฏขอมูลดาวเทียม
๕  ๔๐
๕-40

สาเหตุ
๔. กรณีที่เครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ ไมสามารถเชื่อมตอ Bluetooth กับ
เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ ได จะปรากฏดังรูป

แนวทางแกไข
กด ที่รูป เพื่อคนหาเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ ตรวจสอบอีกครั้งวา
เลือกเชื่อมตอเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมถูกเครื่องหรือไม และ กด Connect เพื่อทําการเชื่อมตอใหม
อีกครั้ง
ถายังเชื่อมตอไมได ใหทําการปดเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ และรีสตารท
เครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ หลังจากนั้น ใหทําการเปดเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ เพื่อคนหา
ดาวเทียมใหพบกอนเปดโปรแกรม Landstar บนเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐

4) เชื่อมตอเขาระบบ RTK GNSS Network ไมได


๕  ๔๑
๕-41

สาเหตุ
๑. เครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ ไมไดเชื่อมตออินเทอรเน็ต หรืออินเทอรเน็ต
หลุดการเชื่อมตอ
แนวทางแกไข
สามารถแกปญหาไดตามหัวขอที่ ๕.๒.๑ ขอ ๒)
สาเหตุ
๒. ตั้งคาตางๆ ในเมนู Correction Mode ไมถูกตอง
แนวทางแกไข
สามารถแกปญหาไดตามขั้นตอน ดังนี้

เลือก เมนู Config ในโปรแกรม Landstar เลือก เมนู Work Mode

เลือก RTK NETWORK เลือก Edit


๕  ๔๒
๕-42

แกไขรายละเอียดตางๆ ดังนี้
RTK : เลือก Yes
Work Mode : เลือก Auto Rover
Datalink : PDA Network
Protocol : Ntrip
Domain/IP : ๑๒๒.๑๕๕.๑๓๑.๓๔
Port : ตามพื้นที่ปฏิบัติงาน
Source Table : VRS_RTCM๓๒
User Name : ชื่อบัญชีสําหรับลงชื่อเพื่อเขาใชงาน
Password : รหัสผานสําหรับบัญชีเพื่อเขาใชงาน
Save Password : บันทึกรหัสผานการเขาใชงาน
Auto Login : ลงชื่อเขาใชงานอัตโนมัติในครั้งถัดไป
Use VRS : จะใชงานระบบ VRS หรือไม
Elevation Mask : ๑๕
PDOP Limit : ๕
RTK FREQ : ๑ HZ
Safe Mode : Normal Mode
Ionosphere Model : Normal
BaseChanged Tip : การแจงเตือนหาก base
มีการเปลี่ยนแปลง
หลังจากนั้น เลือก Save

เลือก RTK NETWORK เลือก OK


และ เลือก Accept
๕  ๔๓
๕-43

สังเกต สัญลักษณสัญญาณแถบดานบน
หลั ง จากนั้ น ให ร อเวลารั บ ค า ปรั บ แก
จนกวาจะขึ้น Fix solution แลวจึงเริ่ม
ทํางานได

สาเหตุ
๓. ใส Username/Password ผิด
แนวทางแกไข
ใหตรวจสอบการใสขอมูลการ Log in ดังนี้
User Name กําหนดใหเปน เลขบัตรประจําตัวประชาชน ๑๓ หลัก ของผูปฏิบัติงาน
Password กําหนดใหเปน ตัวเลข ๔ ตัว โดยผูดูแลระบบจะจัดสงใหตามเบอรมือถือ
ของผูปฏิบัติงานที่ไดแจงไว

ถายังเชื่อมตอไมได ใหติด ตอผูดูแลระบบ เบอรโ ทร ๐๙๒๑๔๒๑๕๕๕ หรือ


๐๒๕๐๓๓๓๖๗
๕  ๔๔
๕-44

สาเหตุ
๔. Username/Password หมดอายุ เกิดจากผูใชงานบางหนวยงาน หรือบางองคกร
ถูกกําหนดสิทธิการใชงาน ตามเงื่อนไขของกรมที่ดินที่กําหนดไว ทําใหไมสามารถเชื่อมตอเขาสูระบบได
แนวทางแกไข
ใหตรวจสอบสิทธิของผูปฏิบัติงานวา ตรงกับเงื่อนไขของกรมที่ดินที่กําหนดไวหรือไม
หรือติดตอผูดูแลระบบ เบอรโทร ๐๙๒๑๔๒๑๕๕๕ หรือ ๐๒๕๐๓๓๓๖๗
สาเหตุ
5. ใสคา IP Port ไมตรงตามพื้นที่ปฏิบัติงาน

แนวทางแกไข
ใหใสคา IP Port ใหตรงกับพื้นที่ปฏิบัติงาน โดยสามารถตรวจสอบคา IP Port ได ดังรูป
๕  ๔๕
๕-45

สาเหตุ
๖. เกิดปญหาที่เซิรฟเวอรของสถานีควบคุมสวนกลาง (โอกาสเจอนอยมาก)
แนวทางแกไข
โดยปกติเซิรฟเวอรของระบบ RTK GNSS Network เปนเซิรฟเวอรที่มีเสถียรภาพสูง
แตบางกรณีตองมีการปรับปรุง หรืออัปเดต Firmware ของเซิรฟเวอรฯ ทําใหผูปฏิบัติงานไมสามารถ
ใชงานไดช่ัวขณะ โดยสามารถสอบถามสถานะการทํางานของเซิรฟเวอรฯ ไดจากผูดูแลระบบ เบอรโทร
๐๙๒๑๔๒๑๕๕๕ หรือ ๐๒๕๐๓๓๓๖๗

๕) เชื่อมตอเขาระบบ RTK GNSS Network ได แต Solution ขึ้นสถานะเปน


Single หรือ Float

สาเหตุ
๑. เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมกําลังคํานวณคาพิกัดใหมีความถูกตองตามเกณฑ
แนวทางแกไข
ใหรอสักครู ถา Solution ยังไมขึ้นสถานะเปน Fix ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
สาเหตุ
๒. เครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ อินเทอรเน็ตหลุดการเชื่อมตอ
แนวทางแกไข
สามารถแกปญหาไดตามหัวขอที่ ๕.๒.๑ ขอ ๒) ถา Solution ยังไมขึ้นสถานะเปน
Fix ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
๕  ๔๖
๕-46

สาเหตุ
๓. เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม CHC i๘๐ ตั้งอยูในพื้นที่ไมเปดโลง มีสิ่งบดบังมาก
แนวทางแกไข
ในการเลือกตําแหนงรับสัญญาณดาวเทียม ควรเลือกตําแหนงที่เปดโลง หลีกเลี่ยง
ตําแหนงที่อยูใตตนไมใหญหรือตนไมที่มีใบหนาทึบ ตําแหนงที่อยูใตชายคา ตําแหนงที่อยูใกลตึกสูง
ตําแหนงที่อยูใกลเสาสงคลื่นวิทยุ หรือตําแหนงที่อยูใกลเสาไฟฟาแรงสูง ถา Solution ยังไมขึ้นสถานะ
เปน Fix ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
สาเหตุ
๔. รับสัญญาณดาวเทียมในชวงเวลาที่ชั้นบรรยากาศ ionosphere ไมดี

แนวทางแกไข
ชวงเวลาที่ชั้นบรรยากาศ ionosphere ไมดี คือชวงเวลาใกลเที่ยงวัน หรือชวงบาย
(ขึ้นอยูกับวัน เวลาและชั้นบรรยากาศของโลก) ซึ่งจะกระทบตอคาความถูกตองเชิงตําแหนงของคาพิกัด
ที่ทําการรังวัด โดยควรหลีกเลี่ยงการรังวัดในชวงเวลาดังกลาว ถา Solution ยังไมขึ้นสถานะเปน Fix
ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
สาเหตุ
๕. สถานี CORS ใกลเคียง อยูในสถานะ offline หรือการสงขอมูลไมเสถียร ซึ่งอาจ
เกิดจากระบบไฟฟาของสํานักงานที่ติดตั้งสถานี CORS ดับ หรือระบบอินเทอรเน็ตไมเสถียร ทําใหสถานี
CORS ไมสามารถสงขอมูลดาวเทียมเขาระบบชั่วขณะ
แนวทางแกไข
ใหตรวจสอบสถานะของสถานี CORS ได จากผูดูแลระบบ เบอรโทร ๐๙๒๑๔๒๑๕๕๕
หรือ ๐๒๕๐๓๓๓๖๗
๕  ๔๗
๕-47

๖) สามารถเชื่อมตอรับสัญญาณไดแลว แตขณะรับสัญญาณดาวเทียมมีขอความ
เตือนใน Controller วา “Precision Cannot Meet Demand !”

สาเหตุ
เนื่องจากในขณะทําการบันทึกขอมูลรังวัดนั้น คาความคลาดเคลื่อนทางราบหรือ
ทางดิ่งอาจเกินเกณฑที่กําหนดไว ถึงแมสถานะ Solution จะยังคงเปน Fix อยู หรือบางครั้งก็อาจเปลี่ยน
สถานะ Solution จาก Fix เปน Single หรือ Float มีผลใหคาพิกัดที่ได มีความคลาดเคลื่อนเกินเกณฑ
ที่กําหนดไวเ ชน เดีย วกัน เครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ จะมีขอความเตือน “Precision Cannot
Meet Demand !”
แนวทางแกไข
สามารถแกปญหาไดตามขั้นตอน ดังนี้
๑. รอใหคาความคลาดเคลื่อนกลับมาอยูในเกณฑและทําการรังวัดตอ
เมื่อมีขอความเตือน “Precision Cannot Meet Demand !” แสดงขึ้น ผูปฏิบัติงาน
ไมควร กด Go on เพื่อบัน ทึกขอมูล การรัง วัด ตอทัน ที แตใ หผูป ฏิบัติง านรอสักครูและสัง เกตคา
ความคลาดเคลื่อนทางราบหรือทางดิ่ง บริเวณมุมลางซายของหนาจอ ใหคาความคลาดเคลื่อนทางราบ
หรือทางดิ่งอยูในเกณฑที่กําหนด จากนั้น กด GO on เพื่อบันทึกขอมูลการรังวัดตอได
๒. รอให Solution กลับมาอยูในสถานะ Fix และทําการรังวัดตอ
เมื่อมีขอความเตือน “Precision Cannot Meet Demand !” แสดงขึ้น ผูปฏิบัติงาน
ไมควร กด Go on เพื่อบันทึกขอมูลการรังวัดตอทันที แตใหผูปฏิบัติงานรอสักครูและสังเกตสถานะของ
Solution บริเวณมุมลางซายของหนาจอ ให Solution กลับมาอยูในสถานะ Fix จึงสามารถ กด Go on
เพื่อบันทึกขอมูลการรังวัดตอได ถารอเปนเวลานาน Solution ไมกลับมาอยูในสถานะ Fix ใหปฏิบัติ
ตามวิธีการถัดไป
๕  ๔๘
๕-48

๓. ทําการยกเลิกการบันทึกขอมูลรังวัด และเชื่อมตอระบบ RTK GNSS Network ใหม


เมื่อมีขอความเตือน “Precision Cannot Meet Demand !” แสดงขึ้น ใหผูปฏิบัติงาน
กด Abort เพื่อยกเลิกการบันทึกขอมูลรังวัด และทําการเชื่อมตอระบบ RTK GNSS Network ใหมอีกครั้ง
จน Solution อยูในสถานะ Fix จึงสามารถ กด บันทึกขอมูลรังวัดได ถา Solution ยังอยูในสถานะ
Single หรือ Float ผูปฏิบัติงานสามารถแกปญหาไดตามหัวขอที่ ๕.๒.๑ ขอ ๕)

๕.๒.๒ ดานการนําเขาขอมูลของเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐


๑) การสงออกขอมูลรังวัดเปนไฟล csv แลวขอมูลบรรทัดแรกหาย หรือจํานวน
คอลัมนไมครบ
สาเหตุ
เกิดจากการตั้ง File Type ในเมนู Export ไมถูกตอง ทําใหการสงออกขอมูลรังวัด
จากเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ เปนไฟล csv มีไมครบ (ขอมูลบรรทัดแรกหาย) หรือจํานวนคอลัมน
ไมครบ
แนวทางแกไข
ใหทําการตั้งคา File Type ในเมนู Export ตามขั้นตอน ดังนี้

เลือก เมนู Project ในโปรแกรม Landstar เลือก เมนู Export


๕  ๔๙
๕-49

ในเมนู File Type เลือก ลูกศรลง คลิก  หนา Use Header และ เลือก ลูกศร
และ เลือก Customize เพื่อใหรายละเอียดฝง Options ไปอยูฝง Selected

เลือก OK เปลี่ยนชื่อเปน dol หรือ


ตามตองการ แลว เลือก OK

จากนัน้ ที่ File Name ใหใสชื่อเปน dol


ตามที่ไดตั้งชื่อไว แลว เลือก Export
๕  ๕๐
๕-50

๒) การตั้งคาโปรเจกตผิดโซน หรือผิด Datum


การตั้งคาโปรเจกตผิดโซน หรือผิด Datum ทําใหผูปฏิบัติงานไมสามารถนําเขาขอมูล
ผานระบบได หรือทําใหขอมูลที่รังวัดไดมานั้น เปนขอมูลที่ผิด
สาเหตุ
มีการเปลีย่ นแปลง โซน หรือ Datum
แนวทางแกไข
ผู ป ฏิ บั ติ ง านไม จํา เป น ต อ งออกไปทํา การรั ง วั ด ใหม เนื่ อ งจากเครื่ อ งควบคุ ม
รุน HCE ๓๐๐ สามารถคํานวณคาพิกัดที่ทําการรังวัดมาได ใหเปนคาพิกัดในโซนใหม หรือ Datum ใหม
ตามที่ผูปฏิบัติงานตองการได โดยมีขั้นตอน ดังนี้

 เขาโปรแกรม Landstar และเปดโปรเจกต เลือก เมนู CRS


ที่ตองการทําการเปลี่ยนโซน
 เลือก เมนู Project ในโปรแกรม Landstar

เลือก หลังเมนู Name เลือก โซน หรือ Datum ที่ถูกตอง


๕ ๕-51
 ๕๑

* ขอสังเกต ในเมนู Projection *


โซน ๔๗ จะมีคา Central Meridian ๙๙:๐๐:๐๐.๐๐๐๐๐๐๐ E
โซน ๔๘ จะมีคา Central Meridian ๑๐๕:๐๐:๐๐.๐๐๐๐๐๐๐ E

เลื่อนแถบที่อยูดานลาง Name เครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ จะทําการแปลง


เพื่อเลือก เมนู Height Fitting คาพิกัด เปนคาพิกัดในโซนใหมที่เลือกไว
และ เลือก Geoids เปน EGM๙๖.ggf
และ เลือก Accept
๕  ๕๒
๕-52

๓) ระบบแจง “ชื่อไฟล CSV HTML และ RAW ไมตรงกัน กรุณาตรวจสอบอีกครั้ง”

สาเหตุ
เนื่องจากในขั้นตอนการอัปโหลดคา CSV HTML และ RAW เขาระบบ เพื่อประกาศ
คาการรังวัด ชื่อไฟลทั้ง ๓ ไฟล ไมไดถูกตั้งชื่อใหเปนชื่อเดียวกัน

แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานตรวจสอบ Folder ที่เก็บไฟลขอมูล การรัง วัด โดยชื่อของไฟล
CSV, HTML และ RAW จะตองมีชื่อเดียวกันทั้งหมด ถาพบชื่อไมตรงกัน ใหทําการแกไขชื่อไฟลตางๆ
ใหตรงกัน และทําการอัปโหลดคาใหมอีกครั้ง
๕  ๕๓
๕-53

๔) ระบบแจง “ขอมูลการรังวัดมีพารามิเตอรไมถูกตอง กรุณาตรวจสอบใหมอีกครั้ง”


สาเหตุ
เนื่องจากในขั้นตอนการอัปโหลดคา CSV HTML และ RAW เขาระบบ ระบบ
ทําการตรวจสอบคาพารามิเตอรของขอมูลที่ทําการรังวัด แลวพบคาพารามิเตอรไมตรงกับคาพารามิเตอร
ที่กรมที่ดินกําหนด ซึ่งเกิดจากการเลือก Datum ในขั้นตอนการสราง Project ในเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ ผิด
จึงทําใหคาพิกัดที่รังวัดไดไมสัมพันธกับคาพิกัดที่กรมที่ดินใชงาน
แนวทางแกไข
ผูปฏิบัติงานไมจําเปนตองออกไปทําการรังวัดใหม เนื่องจากเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐
สามารถคํานวณคาพิกัดที่ทําการรังวัดมาไดใหเปนคาพิกัดใน Datum ใหมที่ถูกตองได วิธีการเปลี่ยน
Datum ใหดูหัวขอที่ ๕.๒.๒ ขอ ๒) (โดยผูปฏิบัติงานในโซน ๔๗ ใหเลือก Datum เปน Indian Thailand
๑๙๗๕ N๔๗_๕๒ และ ผูปฏิบัติงานในโซน ๔๘ ใหเลือก Datum เปน Indian Thailand ๑๙๗๕
N๔๘_๕๒)
หลังจากการเปลี่ยน Datum ของ Project ในเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ ใหถูกตองแลว
ใหผูปฏิบัติงานทําการ Export คาการรังวัด และทําการอัปโหลดขอมูลการรังวัดเขาระบบใหมอีกครั้ง

๕) ระบบแจง “A PHP Error was encountered”

สาเหตุ
เนื่องจากในขั้นตอนการอัปโหลดคา CSV HTMLและ RAW เขาระบบ ระบบตรวจสอบ
พบขอมูลไฟล CSV มีจํานวนคอลัมนขอมูลไมครบตามที่กําหนด ซึ่งเกิดจากการตั้ง File Type ในเมนู
Export ของเครื่องควบคุม รุน HCE ๓๐๐ ไมถูกตอง
๕๕-54
 ๕๔

แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานทําการตั้ง File Type ในเมนู Export ใหถูกตอง และเลือกคอลัมน
ในการสงขอมูลใหครบ วิธีการแกไขสามารถดูไดตามหัวขอที่ 5.2.2 ขอ 1)
หลังจากแกไขแลว ใหผูปฏิบัติงานทําการ Export คาการรังวัด และทําการอัปโหลด
ขอมูลการรังวัดเขาระบบใหมอีกครั้ง

๖) คาพิกัด หมุด ตรวจสอบที่รังวัด ได กับคา ที่ประกาศใชงาน มีค วามแตกตา ง


เกินเกณฑที่ระเบียบกําหนด

เนื่องจากในขั้นตอนการอัปโหลดคาเพื่อประกาศคาการรังวัด ระบบตรวจสอบพบ
คาพิกัดของหมุดตรวจสอบที่ประกาศคาในระบบ กับคาพิกัดที่ผูปฏิบัติงานรังวัดมา มีความแตกตาง
เกินเกณฑที่ระเบียบกําหนด จึงทําใหระบบเตือนวาไมผานการตรวจสอบ และไมสามารถอัปโหลดคา
ในขั้นตอนอื่นตอได ซึ่งมีสาเหตุไดหลายกรณี ดังนี้
๕  ๕๕
๕-55

สาเหตุ
๑. ผูปฏิบัติงานใสชื่อหมุดตรวจสอบผิด ทําใหระบบนําคาพิกัดหมุดตรวจสอบ
ที่ผูปฏิบัติงานรังวัดมา ไปเปรียบเทียบกับคาพิกัดหมุดตรวจสอบที่ผูปฏิบัติงานใสช่ือผิด ทําใหมีความแตกตาง
เกินเกณฑที่ระเบียบกําหนด

แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานตรวจสอบชื่อหมุดตรวจสอบที่ผูปฏิบัติงานทําการรังวัดมาใหตรงกัน
และทําการแกไขชื่อหมุดตรวจสอบใหถูกตอง พรอม กด “ยืนยันการแกไขชื่อหมุด” ถายังไมได ใหแกไข
ตามวิธีการถัดไป
สาเหตุ
๒. ในการรังวัด ผูปฏิบัติงานตั้ง Optical plummet ของฐานเครื่องรับสัญญาณ
ดาวเทียม CHC i๘๐ ไมตรงตําแหนงหมุดตรวจสอบ ทําใหคาพิกัดที่รังวัดไดไมใชตําแหนงของหมุดตรวจสอบ
แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานตรวจสอบการตั้ง Optical plummet ของฐานเครื่องรับสัญญาณ
ดาวเทียม CHC i๘๐ ใหเสนกากบาทของ Plummet ตรงตําแหนงศูนยกลางของหมุดตรวจสอบทุกครั้ง
ในการตั้งขาเครื่องรับสัญญาณ และในขณะรับสัญญาณ และใหผูปฏิบัติงานรับคาหมุดตรวจสอบใหม
อีกครั้งในโปรเจกตที่รังวัดเดิม และทําการอัปโหลดคาเขาระบบใหมอีกครั้ง ถายังไมได ใหแกไขตาม
วิธีการถัดไป
๕  ๕๖
๕-56

สาเหตุ
๓. คาพิกัดหมุดตรวจสอบที่ผูปฏิบัติงานทําการรังวัดมา มีความคลาดเคลื่อนเกินเกณฑ
ที่กรมที่ดินกําหนด ซึ่งอาจเกิดจากผูปฏิบัติงานทําการรับสัญญาณดาวเทียมในชวงเวลาที่ชั้นบรรยากาศ
มีความแปรปรวนสูง หรือรับสัญญาณดาวเทียมในชวงที่ระบบขัดของ หรือจากสาเหตุอื่นๆ
แนวทางแกไข
กอนทําการรังวัดทุกครั้ง ผูปฏิบัติงานตองทําการรับสัญญาณดาวเทียม ณ ตําแหนง
หมุดตรวจสอบทุกครั้ง และตรวจสอบคาพิกัดของหมุดตรวจสอบที่รังวัดไดกับคาพิกัดที่ประกาศในระบบวา
มีความคลาดเคลื่อนเกินเกณฑที่ระเบียบกําหนดหรือไม ถาเกินเกณฑที่กําหนด ไมแนะนําใหผูปฏิบัติงาน
ออกทําการรังวัด เพราะจะทําใหคาพิกัดที่ไดเกิดความคลาดเคลื่อน ทั้งนี้ ใหติดตอผูดูแลระบบ เบอรโทร
๐๙๒๑๔๒๑๕๕๕ หรือ ๐๒๕๐๓๓๓๖๗ เพื่อทําการหาสาเหตุและทําการแกไขใหผูปฏิบัติงานตอไป

๗) ระบบแจง “The file you are attempting to upload is larger than


permitted size.”

สาเหตุ
เนื่องจากในขั้นตอนการอัปโหลดรูปเชนสนาม (ร.ว. ๓๑ ง) ผูปฏิบัติงานอัปโหลดรูป
ที่มีขนาดใหญเกินไปเขาสูระบบ
แนวทางแกไข
ใหผูปฏิบัติงานทําการแกไขไฟลรูปเชนสนาม (ร.ว. ๓๑ ง) โดยลดขนาดไฟลใหมี
ขนาดไมเกิน ๒ เมกะไบต หรือทําการสแกนรูปเชนสนาม (ร.ว. ๓๑ ง) ใหม และตั้งคาความละเอียด
ในการสแกนใหไมเกิน ๓๐๐ dpi (ชื่อไฟลรูปเชนสนามควรตั้งเปนชื่อเดียวกับชื่อโปรเจกต และไมควร
ตั้งชื่อเปนภาษาไทย เพราะจะทําใหเกิดปญหาในการแสดงรูปในเว็บไซต) และทําการอัปโหลดรูปเชนสนาม
ใหมอีกครั้ง
๕  ๕๗
๕-57

๘) ระบบแจง “รายงาน ร.ว. ๘๐ ข ไมผานการตรวจสอบ กรุณาตรวจเช็คขอมูล”

เนื่องจากในขั้นตอนการใสระยะหมุดคูที่วัดไดจากกลอง ระบบทําการตรวจสอบ
ระยะหมุดคูที่ไดจากกลอง และระยะหมุดคูที่ไดจากการคํานวณแปลงคาจากคาพิกัดแลว มีระยะแตกตาง
เกินเกณฑที่ระเบียบของกรมที่ดินกําหนด ทําให “แบบตรวจสอบรายงานการตรวจสอบความถูกตอง
ของระยะทาง (ร.ว. ๘๐ ข)” ไมผานการตรวจสอบ และระบบไมยอมให กด “ยืนยันโปรเจกต” เพื่อประกาศคา
ซึ่งมีสาเหตุไดหลายกรณี ดังนี้
สาเหตุ
๑. ผูปฏิบัติงานเลือกหมุดคูในเมนู “บันทึกระยะตรวจสอบ” ผิดหมุด

แนวทางแกไข
ผูปฏิบัติงาน ควรตรวจสอบใหแนใจวาทําการเลือกหมุดคูที่ตรวจสอบระยะถูกตอง
กอนการใสระยะตรวจสอบ โดย
ชอง “จากหมุด” ใหผูปฏิบัติงาน เลือกหมุดที่ทาํ การตั้งกลอง Total Station
เพื่อวัดระยะ
๕  ๕๘
๕-58

ชอง “ไปหมุด” ใหผูปฏิบัติงาน เลือกหมุดที่ทําการตั้งปริซึม


ชอง “ระยะตรวจสอบ” ใหผูปฏิบัติงาน ใสระยะหมุดคูที่วัดไดจากเครื่องวัดระยะ
ของกลองฯ
ถายังอัปโหลดไมได ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
สาเหตุ
๒. เครื่องวัดระยะของกลอง Total Station มีความคลาดเคลื่อน
แนวทางแกไข
ผูปฏิบัติงาน ควรตรวจสอบใหแนใจวา เครื่องวัดระยะของกลอง Total Station
มีการตั้งคาตางๆ ที่ถูกตอง และทําการสอบเทียบกลอง (Calibrate) เปนประจําทุกป เพื่อใหกลอง
Total Station มีการวัดมุม และวัดระยะที่ถูกตอง ถายังอัปโหลดไมได ใหแกไขตามวิธีการถัดไป
สาเหตุ
๓. คาพิกัดที่ไดจากการรับสัญญาณดาวเทียม มีความคลาดเคลื่อนเกินเกณฑ
แนวทางแกไข
ระบบ RTK GNSS Network เปน ระบบการหาคา พิกัด ที่ใหความคลาดเคลื่อน
ของแตละจุดไมเกิน ๔ เซนติเมตร ในบางกรณีที่การหาคาพิกัด ๒ จุด มีแนวโนมวา ความคลาดเคลื่อน
ที่เกิดขึ้นจะมีทิศทางพุงออกจากกัน หรือพุงเขาหากัน ทําใหระยะหมุดคูที่คํานวณไดจากการแปลงคาพิกัด
และระยะหมุดคูจากการวัดดวยเครื่องวัดระยะของกลอง Total Station มีคาแตกตางกันเกินเกณฑ
ที่กรมที่ดินกําหนด (การตรวจสอบระยะขางตน เปนมาตรการควบคุมคุณภาพของคาพิกัดที่รังวัดได
จากระบบ RTK GNSS Network ตามที่ระเบียบกําหนด) ซึ่งเมื่อผูปฏิบัติงานทําตามคําแนะนําแลว ยังอัปโหลด
ไมได แนะนําใหผูปฏิบัติงานไปทําการรังวัดคาพิกัดของหมุดคูดังกลาวใหมอีกครั้ง ในชวงวันและเวลาอื่น

๙) ในการอัปโหลดขอมูลการรังวัดเขาระบบแลว ตําแหนงในแผนที่ที่แสดงไมตรง
กับตําแหนงจริง
๕  ๕๙
๕-59

สาเหตุ
เนื่องจากเครื่องควบคุม (Controller) ถูกตั้งคาภาษาของเครื่องเปนภาษาไทย
แนวทางแกไข
ใหทําการเปลี่ยนภาษาของเครื่องควบคุม (Controller) รุน HCE ๓๐๐ เปนภาษาอังกฤษ
แลว Export ขอมูลที่ไดจากการรังวัดใหมและทําการอัปโหลดเขาสูระบบใหมอีกครั้ง ตามขั้นตอนดังนี้

เลือก Settings เลือก Language & input

เลือก ภาษา เลือก ภาษาเปน English


(United Kingdom)
๕  ๖๐
๕-60

เมื่อเปลี่ยนภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษแลว
ให Export ขอ มูล ที่ไ ดจ ากการรังวัดใหม
และทําการอัปโหลดเขาสูระบบใหมอีกครั้ง

 ทั้งนี้ ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไข ของเครื่องควบคุม รุน LT ๕๐๐ และ รุน HCE ๓๐๐
กองเทคโนโลยีทําแผนที่ ไดรวบรวมขึ้นจากประสบการณในการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นจริง และหากผูปฏิบัติงาน
รังวัด ปฏิบัติตามขั้นตอนแนวทางแกไขแลว ยังไมส ามารถแกไขได ใหติด ตอผูดูแลระบบ เบอรโทร
๐๙๒๑๔๒๑๕๕๕ หรือ ๐๒๕๐๓๓๓๖๗
ภาคผนวก
ระเบียบที่เกี่ยวของ

 ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการติดตอหรือการแจงผูมีสิทธิในที่ดินขางเคียงใหมาลงชื่อรับรอง
แนวเขตหรือคัดคานการรังวัด พ.ศ. ๒๕๒๑
 ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการแจงเจาของที่ดินขางเคียงกรณีรังวัดแบงแยกที่ดินที่มีการรังวัด
ใหมแลว พ.ศ. ๒๕๒๗
 ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดและทําแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดินโดยวิธีแผนที่
ชั้นหนึ่งในระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม พ.ศ. ๒๕๔๒
 ระเบียบกรมที่ดิน วาดวยการรังวัดโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน (RTK
Network) ในงานรังวัดเฉพาะราย พ.ศ. ๒๕๕๘
-๒-
-๓-
-๔-
-๕-
-๖-
-๗-
-๘-
-๙-
- ๑๐ -
ระเบียบกรมที่ดิน
ว่าด้วยการรังวัดโดยระบบโครงข่ายการรังวัด
ด้วยดาวเทียมแบบจลน์ (RTK Network) ในงานรังวัดเฉพาะราย
พ.ศ. ๒๕๕๘
________________
โดยที่เห็นเป็นการสมควรกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เกี่ยวกับการรังวัดโดยระบบโครงข่าย
การรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ (RTK Network) ในงานรังวัดเฉพาะราย เพื่อให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน
ที่ได้มีการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการรังวัดและทาแผนที่ ด้วยการหาค่าพิกัด ฉากโดยระบบดาวเทียม
Global Navigation Satellite System (GNSS) และเป็น การยกระดับ มาตรฐานการรัง วัด เฉพาะราย
ให้มีความละเอียดแม่นยาถูกต้องสูง สามารถตอบสนองการให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕
ประกอบกับ ข้อ ๒ (๑) (๔) ข้อ ๑๐ (๑) และข้อ ๒๒ (๑) แห่งกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมที่ดิน
กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ อธิบดีกรมที่ดิน จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการรังวัดโดยระบบโครงข่ายการรังวัด
ด้วยดาวเทียมแบบจลน์ (RTK Network) ในงานรังวัดเฉพาะราย พ.ศ. ๒๕๕๘”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ข้อ ๓ บรรดาระเบียบ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใดซึ่งขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้
ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ ๔ ในระเบียบนี้
“ระบบโครงข่ า ยการรั ง วั ด ด้ ว ยดาวเที ย มแบบจลน์ (Real Time Kinematics
Network, RTK Network)” หมายถึง การรับสัญญาณดาวเทียมแบบจลน์ได้ค่าพิกัดฉากทันที ณ เวลาทาการ
รังวัด (Real Time Kinematics, RTK) ในบริ เ วณพื้ น ที่ ร ะบบโครงข่ า ยการรั ง วั ด ด้ ว ยดาวเที ย ม
แบบจล น์ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย สถานี ค วบคุ ม (Control Station) สถานี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มอ้ า งอิ ง
(Reference Station) และระบบสื่อสาร (Communication System)

/สถานีควบคุม...
-๒-
“สถานีควบคุม (Control Station)” หมายถึง สถานีซึ่งประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
แม่ข่ายทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลดาวเทียม จัดเก็บข้อมูล และสารองข้อมูล (Data Storage) ของระบบโครงข่าย
การรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์
“สถานีรับสัญญาณดาวเทียมอ้างอิง (Reference Station)” หมายถึง สถานี
รับสัญญาณดาวเทียม ซึง่ เป็นตาแหน่งทีม่ ีค่าพิกัดฉากของหมุดหลักฐานแผนที่ถูกติดตั้งอย่างถาวร เพื่อส่งข้อมูล
ดาวเทียม ณ ต าแหน่ งที่ ติดตั้ งไปยั งสถานี ควบคุ มตลอดเวลา โดยจะบั นทึ กข้อมูลทุกๆ ๑ วิ นาที ท าการ
รับสัญญาณดาวเทียมโดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ตลอด ๒๔ ชั่วโมง
“ระบบสื่ อสาร (Communication System)” หมายถึง ระบบที่ใช้ ในการติดต่อสื่ อสาร
รับส่งข้อมูลดาวเทียมภายในระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์
“การรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ (Real Time Kinematics, RTK)” หมายถึง
การรั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มแบบจลน์ ได้ค่ าพิ กัด ฉากทั นที ณ เวลาท าการรั งวัดจากระบบโครงข่ ายการรั งวั ด
ด้วยดาวเทียมแบบจลน์
“สถานีจ ร (Rover Station)” หมายถึง หมุด หลัก ฐานแผนที ่ห รือ ต าแหน่ง
ที่ต้องการทราบค่าพิกัด โดยการคานวณอ้างอิงค่าพิกัดฉากมาจากสถานีฐาน ในการรับสัญญาณดาวเทียมแบบจลน์
“หมุดดาวเทียม Static” หมายถึง หมุดดาวเทียมที่ได้ค่าพิกัดฉากจากการรับสัญญาณ
ดาวเทียมโดยวิธีการรังวัดแบบสถิต (Static) ซึ่งหมายความรวมถึง หมุดหลักฐานแผนที่ดาวเทียมกรมที่ดิน
เฉลิมพระเกียรติ และหมุดหลักฐานแผนที่ดาวเทียมชนิดมั่นคงถาวร
“หมุดดาวเทียม RTK Network” หมายถึง หมุดดาวเทียม RTK ที่ได้ค่าพิกัดฉาก
จากการรับสัญญาณดาวเทียมโดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์
“หมุดกลาง” หมายถึง หมุดหลักฐานแผนที่ที่มีจุดศูนย์กลางอยู่บนแนวเส้ นตรง
ระหว่างหมุดหลักฐานแผนที่คู่ใดคู่หนึ่ง
“หมุดลอย” หมายถึง หมุดหลักฐานแผนทีท่ ี่ปักไว้ โดยไม่ได้ทาการรังวัดบรรจบหมุด
“หลักเขตบนเส้น (Online)” หมายถึง หลักเขตที่ปักบนแนวเส้น ตรงระหว่าง
หลักเขตที่ดิน
“PDOP (Position Dilution of Precision)” หมายถึง ค่าที่ใช้ในการบ่งชี้ความถูกต้อง
ของตาแหน่งของจุดที่ทาการรับสัญญาณดาวเทียมที่คานวณได้ ณ เวลาใดๆ

/ RMS...
-๓–
“RMS (Root Mean Square)” หมายถึง ค่ารากที่สองของความแปรปรวนของข้อมูล
การรับสัญญาณดาวเทียม
“Fixed” หมายถึง สถานะของการรับ สัญ ญาณดาวเทีย ม ซึ่ง จานวนลูก คลื่น
ได้ถูกคานวณแล้ว และได้ผลลัพธ์เป็นจานวนลูกคลื่นเต็มลูกคลื่น ขณะทาการรับสัญญาณดาวเทียม ณ เวลาใดๆ
ข้อ ๕ ค าอธิ บ าย และภาคผนวก ซึ่ ง ก าหนดไว้ ท้ า ยระเบี ย บ ให้ ถื อ ว่ า เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง
ของวิธีปฏิบัติตามระเบียบนี้
ข้อ ๖ ให้ผู้อานวยการกองเทคโนโลยีทาแผนที่ และผู้อานวยการสานักมาตรฐานและส่งเสริม-
การรังวัด รักษาการตามระเบียบนี้
หมวด ๑
การดาเนินการ
________________

ข้อ ๗ ให้กองเทคโนโลยีทาแผนที่ จัดสร้างระวางแผนที่ และจัดทาประกาศกาหนดพื้นที่


เพื่อทาการรังวัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งโดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ ตามที่อธิบดีกาหนด
หมวด ๒
การรับสัญญาณดาวเทียมแบบจลน์ (RTK Network)
________________

ข้อ ๘ ให้ทาการรัง วัด โดยการรับ สัญ ญาณดาวเทีย มที ่ ห มุด ดาวเทีย ม RTK Network
เพื่อใช้ ในการโยงยึ ดหลักเขตที่ดิน หรื อใช้ เป็ นหมุดออก และหมุดเข้าบรรจบเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่
เพื่ อเก็บ รายละเอีย ดแปลงที่ ดิน และไม่ใ ห้ ท าการรัง วัด โดยการรับ สัญ ญาณดาวเทีย มที่ หลั กเขตที่ ดิ น
ยกเว้นกรณีตรวจสอบค่าพิกัดฉากของหลักเขตที่ดิน
ข้อ ๙ ก่อนทาการรังวัดให้ตรวจสอบเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมโดยรับสัญญาณที่หมุดดาวเทียม
Static ซึ ่ง ทราบค่า พิก ัด ฉาก โดยค่า ความแตกต่า งต้อ งอยู ่ใ นเกณฑ์ค วามคลาดเคลื ่อ นเชิง ต าแหน่ง
± ๔ เซนติเมตร
การรั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มโดยระบบโครงข่ า ยการรั ง วั ด ด้ ว ยดาวเที ย มแบบจลน์
ณ สถานี จ ร ให้ ใ ช้ เ ครื่ อ งรั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มประกอบขากล้ อ ง ตั้ ง ให้ ต รงศู น ย์ ก ลางหมุ ด ดาวเที ย ม
RTK Network และให้ตรวจสอบการรับสัญญาณดาวเทียมซ้า ๒ ครั้ง ก่อนการรับสัญญาณดาวเทียมครั้งที่ ๒
ให้ปิดเครื่อง แล้วเปิดเครื่องใหม่ เพื่อให้เครื่องรับสัญญาณมีสภาพเริ่มต้นการทางานใหม่ โดยค่าความแตกต่าง
ของค่าพิกัดฉากต้องอยู่ในเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเชิงตาแหน่ง ± ๔ เซนติเมตร และให้ใช้ค่าเฉลี่ย
/วิธีปฏิบัติ...
-๔–
วิธีปฏิบัติงานรังวัดเฉพาะรายโดยระบบโครงข่ายการรังวัด ด้วยดาวเทียมแบบจลน์
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในภาคผนวก ก.
ข้อ ๑๐ การรับ สัญญาณดาวเทียมโดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้ว ยดาวเทียมแบบจลน์
เพื่อสร้างหมุดดาวเทียม RTK Network สาหรับใช้เป็นหมุดออก และหมุดเข้าบรรจบ เพื่อการวางเส้นโครงงาน
หมุด หลัก ฐานแผนที ่เ ก็บ รายละเอีย ดแปลงที ่ด ิน หรือ เพื ่อ การรัง วัด โยงยึด หลัก เขตที ่ด ิน ให้ส ร้า งหมุด
ไม่น้อยกว่า ๒ หมุด โดยแต่ละหมุดมีระยะห่างกันไม่น้อยกว่า ๑๐๐ เมตร และให้ดาเนินการดังนี้
๑๐.๑ กรณีที ่ไ ม่ส ามารถด าเนิน การได้ต ามข้อ ๑๐ ให้ห ัว หน้า ฝ่า ยรัง วัด
เป็ น ผู้ พิจ ารณาอนุ ญาต แต่ต้องมีร ะยะไม่น้ อยกว่า ๕๐ เมตร โดยให้ มีเหตุผ ลความจาเป็นประกอบ
เป็ น หลักฐานรวมอยู่ในหลักฐานการรังวัด
๑๐.๒ ให้ทาการวัดระยะระหว่างคู่หมุดตามข้อ ๑๐ แล้วนามาตรวจสอบกับระยะ
ที่ไ ด้จ ากการค านวณค่า พิก ัด ฉากจากการรับ สัญ ญาณดาวเทีย มแบบจลน์ โดยค่า ความคลาดเคลื ่อ น
ต้องไม่เกินเกณฑ์ ๑ : ๓,๐๐๐
๑๐.๓ ในกรณีห มุดดาวเทียม RTK Network เดิม ตามข้อ ๑๐ คลาดเคลื่ อน
สูญหาย หรือถูกทาลาย ให้สร้างใหม่ หรือซ่อมหมุดดาวเทียม RTK Network ทดแทน และให้ตรวจสอบค่าพิกัดฉาก
หมุดดาวเทียม RTK Network ที่เหลืออยู่ โดยให้รายงานไว้ในรายงานการรังวัด (ร.ว. ๓ ก) และรวบรวม
แจ้งให้กองเทคโนโลยีทาแผนที่ดาเนินการปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
๑๐.๔ การสร้า งหมุด ดาวเทีย ม RTK Network ตามข้อ ๑๐ ให้คานึง ถึง
สภาพภูมิป ระเทศเป็น สาคัญ โดยให้อนุโลมใช้แบบหมุดหลักฐานแผนที่ชนิดหมุดคอนกรีต หมุดทองเหลือง
หรือหมุดเหล็ก ตามแบบของกรมที่ดิน
๑๐.๕ การก าหนดชื ่อ หมุด ดาวเทีย ม RTK Network ให้ใ ช้ร หัส "V","W"
และ "X" ตามด้ ว ยรหั ส จั ง หวั ด และตามด้ ว ยเลขอารบิ ค อี ก ๕ หลั ก แทนชื่ อ หมุ ด เช่ น จั ง หวั ด ชลบุ รี
"V0800001" เป็นต้น ตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการรังวัดหมุดหลักฐานแผนที่โดยระบบดาวเทียม พ.ศ. ๒๕๕๓
หมวด ๓
การรังวัดเพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดิน
________________

ข้อ ๑๑ ในกรณีจาเป็นต้อ งวางเส้น โครงงานหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บ รายละเอีย ด


ให้ทาการรังวัดออก และเข้าบรรจบหมุดดาวเทียม RTK Network ตามข้อ ๑๐ ความยาวของเส้นโครงงาน
หมุดหลักฐานแผนที่ เพื่อเก็บรายละเอียดมีระยะทางไม่เกิน ๒ กิโลเมตร จานวนหมุดไม่เกิน ๒๐ หมุด
/ข้อ ๑๒...
-๕-
ข้ อ ๑๒ การวางเส้ น โครงงานหมุ ด หลั ก ฐานแผนที่ เ พื่ อ เก็ บ รายละเอี ย ด การควบคุ ม
เส้ น โครงงานหมุ ด หลั ก ฐานแผนที่ เ พื่ อ เก็ บ รายละเอี ยด การรั ง วั ด ปั ก หมุ ด กลาง การรั ง วั ด ปั ก หมุ ด ลอย
การรั งวัดโยงยึ ดหลั กเขตที่ ดิน และการรั งวั ดปักหลั กเขตบนเส้ น (Online) ให้ ปฏิบั ติ ตามระเบี ยบกรมที่ ดิ น
ว่าด้วยการรังวัดและทาแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดิน โดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งในระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม
พ.ศ. ๒๕๔๒ หรือที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม
กรณี ที่ มี ก ารรั ง วั ด ปั ก หมุ ด ลอยไม่ ค วรเกิ น ระยะคู่ ห มุ ด ดาวเที ย ม RTK Network
ตามข้อ ๑๐ เว้นแต่ในกรณีจาเป็นต้องมีระยะห่างจากหมุดหลักฐานแผนที่ ไม่เกิน ๒๐๐ เมตร และห่างจากหมุดกลาง
หรือหมุดลอย ไม่เกิน ๑๐๐ เมตร
ข้อ ๑๓ การดาเนิน งานของส านัก งานช่า งรัง วัด เอกชนในพื้น ที่ข องส านัก งานที่ด ิน
ซึ่งทาการรังวัดโดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบนี้
ข้อ ๑๔ การรัง วัด แบ่ง แยกที่ดิน ที่ถูก เขตชลประทานหรื อ ทางหลวง หรือ การรัง วัด
แบ่ง ได้มาโดยการครอบครองตามคาสั่งศาล ให้อนุโลมถือปฏิบัติตามคาสั่งกรมที่ดิน ที่ ๒/๒๕๐๓ ลงวันที่
๒๐ กัน ยายน พ.ศ. ๒๕๐๓ หรือ ที่จ ะมีแ ก้ไ ขเพิ่ม เติม โดยไม่ต้อ งทาการรัง วัด โดยระบบโครงข่า ย
การรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์
หมวด ๔
เกณฑ์ความคลาดเคลื่อน
________________

ข้อ ๑๕ เมื่อทาการรังวัดจากหมุดดาวเทียม (RTK Network) หรือหมุดหลักฐานแผนที่


จากเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียด หรือเพื่อการโยงยึดหลักเขตที่ดิน ให้วัดระยะตรวจสอบ
รอบแปลงที่ ดิ นทุ กหลั กเขต เพื่ อน ามาตรวจสอบโดยเที ยบค่ าความคลาดเคลื่ อนของระยะรอบแปลงที่ วั ดได้
กั บ ค่ า ความคลาดเคลื่ อ นตามเกณฑ์ ค วามคลาดเคลื่ อ นของระยะรอบแปลง แนบท้ า ยระเบี ยบกรมที่ ดิ น
ว่าด้วยการรังวัดและทาแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดิน โดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่งในระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม
พ.ศ. ๒๕๔๒ หรือที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม
เกณฑ์ความคลาดเคลื่ อนเชิงตาแหน่ง ของหมุดดาวเทียมจากการรั งวัด โดยระบบ
โครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์ ให้เป็นไปตามภาคผนวก ข.
ข้อ ๑๖ การค านวณค่ าพิ กั ด ฉากของเส้ นโครงงานหมุ ดหลั กฐานแผนที่ เพื่ อ รั งวั ด โยงยึ ด
เก็บรายละเอียดแปลงที่ดิน ให้ใช้โปรแกรมการคานวณงานรังวัดที่กรมที่ดินรับรอง และเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน
ให้เป็นไปตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการรังวัดและทาแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดิน โดยวิธีแผนที่
ชั้นหนึ่งในระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม พ.ศ. ๒๕๔๒ หรือที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม
/ข้อ ๑๗...
-๖–
ข้อ ๑๗ ในการตรวจสอบค่าพิกัดฉากของหลักเขตที่ดิน ให้พิจารณาดังนี้
๑๗.๑ กรณี ที่ ตาแหน่ ง ของหลั ก เขตที่ ดิ น เดิ ม มี ค่ า คลาดเคลื่ อ นทางพิ กั ด ฉาก
อยู่ในเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเชิงตาแหน่ง ที่กาหนดตามภาคผนวก ข ให้ถื อว่าค่าพิกัดฉากของหลักเขตที่ดิน
ถูกต้อง และให้ใช้ ค่าพิกัดฉากเดิมดาเนินการต่อไป
๑๗.๒ กรณีตาแหน่งของหลักเขตที่ดินเดิมมีค่าคลาดเคลื่อนทางพิกัดฉากเกินกว่า
เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเชิงตาแหน่ ง ที่กาหนดตามภาคผนวก ข ให้ ตรวจสอบจนได้ข้อยุติว่าข้อเท็จจริง
เป็นอย่างไร หากค่าพิกัดฉากเดิมผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้ยกเลิก และใช้ค่าพิกัดฉากที่ได้จากการรังวัดโยงยึด
และคานวณใหม่
หมวด ๕
การแจ้งและการสอบถามเจ้าของที่ดินข้างเคียง
________________

ข้อ ๑๘ การรังวัดสอบเขต แบ่งแยก และรวมโฉนดที่ดิน กรณีหลักฐานการรังวั ดเดิม


ทาการรัง วัดโดยวิธีแผนที่ชั้นหนึ่ ง หรือโดยวิธีแผนที่ชั้น สอง และไม่ไ ด้ทาการรังวัด ตามระเบีย บนี้ม าก่อ น
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งหนังสือแจ้งเรื่องการระวังชี้แนวเขต และลงชื่อรับรองเขตที่ดิน (ท.ด. ๓๘) ให้เจ้าของที่ดิน
แปลงข้างเคียงรอบแปลงทราบ เพื่อให้ไประวังชี้แนวเขตในวันทาการรังวัด เมื่อทาการรังวัดเสร็จแล้ว หากผลการรังวัด
ได้รูปแผนที่และเนื้อที่เท่าเดิม หรือแตกต่างจากเดิม เจ้าของที่ดินแปลงข้างเคียงต้องรับรองเขตครบทุกด้าน
ถ้าเจ้าของที่ดินแปลงข้างเคียงรับรองเขตไม่ครบ ให้ดาเนินการตามกฎกระทรวง
ฉบับที่ ๓๑ (พ.ศ. ๒๕๒๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
และระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้ว ยการติดต่อ หรือการแจ้งผู้มีสิทธิในที่ดิน ข้างเคียงให้มาลงชื่อ รับ รองแนวเขต
หรือคัดค้านการรังวัด พ.ศ. ๒๕๒๑
ข้อ ๑๙ กรณีหลักฐานการรังวัดเดิมทาการรังวัดตามระเบียบนี้ไว้แล้ว ให้ดาเนินการดังนี้
๑๙.๑ การรังวัดสอบเขตหรื อแบ่งแยกโฉนดที่ดินให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งหนังสือ
แจ้งเรื่องการระวังชี้แนวเขต และลงชื่อรับรองเขตที่ดิน (ท.ด. ๓๘) ให้เจ้าของที่ดินแปลงข้างเคียงรอบแปลงทราบ
ถ้าผลการรังวัดได้รูปแผนที่และเนื้ อที่เท่าเดิม ในวันทาการรังวัดเจ้าของที่ดินแปลงข้างเคียงด้านที่เกี่ยวข้อง
ในการปักหลักเขตที่ดินไม่ได้มาระวังชี้แนวเขต โดยจะได้รับหนังสือแจ้งจากพนักงานเจ้าหน้าที่หรือไม่ก็ตาม
หรือมาแต่ไม่ยอมลงชื่อรับรองแนวเขต โดยไม่คัดค้านการรังวัด ให้มีหนังสือแจ้งเรื่องการปักหลักเขตที่ดิน
(ท.ด. ๓๘ ค) ให้เจ้าของที่ดินแปลงข้างเคียงนั้นทราบ

/๑๙.๒ การรังวัด...
-๗-
๑๙.๒ การรังวัดรวมโฉนดที่ดิน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งหนังสือแจ้งเรื่องการระวัง
ชี้แนวเขต และลงชื่อรับรองเขตที่ดิน (ท.ด. ๓๘) ให้เจ้าของที่ดินแปลงข้างเคียงรอบแปลงทราบ เมื่อทาการรังวัด
รวมโฉนดที่ดินเสร็จแล้ว ในรายงานการรังวัด (ร.ว. ๓ ก) ให้รายงานว่า ใช้รูปแผนที่ และเนื้อที่ในการรังวัด
ครั้งนี้ดาเนินการให้ผู้ขอต่อไป โดยเจ้าของที่ดินแปลงข้างเคียงต้องรับรองเขตครบ ถ้าเจ้าของที่ดินแปลงข้างเคียง
รับรองเขตไม่ครบ ให้ดาเนินการตามข้อ ๑๘ วรรคสอง
๑๙.๓ การแจ้งเจ้าของที่ดินข้างเคียง กรณีการรังวัดแบ่งแยกโฉนดที่ดินที่มีการรังวัด
ใหม่แล้ว กรณีหลั กฐานการรังวัดเดิมทาการรังวัดตามระเบียบนี้ ให้ มีหนังสือแจ้งเฉพาะเจ้ าของที่ดิน ข้างเคียง
แปลงที่จะมีการปักหลักเขตแบ่งแยกใหม่ โดยถือปฏิบัติตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการแจ้งเจ้าของที่ดินข้างเคียง
กรณีรังวัดแบ่งแยกที่ดินที่มีการรังวัดใหม่แล้ว พ.ศ. ๒๕๒๗ หรือที่จะมีแก้ไขเพิ่มเติม
หมวด ๖
การจัดทาหลักฐานการรังวัด
________________

ข้ อ ๒๐ ให้ จั ด ท ารายการรั ง วั ด (เชนสนาม) ติ ด หลั ง ต้ น ร่ า งแผนที่ แบบรายการรั ง วั ด


หมุดดาวเทียม RTK Network (ร.ว. ๓๑ ง) แบบรายงานการตรวจสอบความถูกต้องการรังวัดโดยระบบโครงข่าย
การรังวัดด้วยดาวเทียม (ร.ว. ๘๐ ก) และแบบรายงานการตรวจสอบความถูกต้องของระยะทางที่รังวัดโดยระบบ
โครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียม (ร.ว. ๘๐ ข) แบบรายการรังวัดมุมระยะของเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่
(ร.ว. ๓๑ ค) แบบรายการรังวัดเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียด/โยงยึดหลักเขตที่ดิน
ระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม (ร.ว. ๓๑ ซ) แบบคานวณพิกัดฉาก (ร.ว. ๒๕ ง) แบบคานวณเนื้อที่ (ร.ว. ๒๕ จ)
และต้นร่างแผนที่ ให้เป็นไปตามภาคผนวก ค. ท้ายระเบียบนี้
หมวด ๗
การลงรูปแผนที่ในระวางแผนที่
________________

ข้ อ ๒๑ เมื่ อ ส านั ก งานที่ ดิ น ได้ รั บ ระวางแผนที่ ใ หม่ ม าใช้ ใ นราชการแล้ ว ให้ ห มายเหตุ
ในระวางแผนที่เดิม ด้วยอักษรสีแดงเหนือขอบระวางด้านซ้ายมือไว้ว่า “ห้ามใช้ลงที่หมายรูปแผนที่ของแปลงที่ดิน”
ในระวางนั บ ตั้งแต่วัน ที่ส านั กงานที่ดิน ได้รั บระวางใหม่มาใช้ในราชการแล้ ว พร้อมทั้งให้ หัว หน้าฝ่ ายรังวัด
ลงชื่ อ ก ากั บ และเมื่ อ ได้ น ารู ป แผนที่ ล งระวางแผนที่ ใ หม่ แล้ ว ให้ ห มายเหตุ ด้ ว ยอั ก ษรสี แ ดงในรู ป แผนที่
ระวางแผนที่เดิมว่า “ร.ว.ม. ดูระวางใหม่” หากลงที่หมายครบทุกแปลง จึงหมายเหตุยกเลิกในระวางแผนที่เดิม
เว้น แต่การดาเนิ น การตามข้อ ๑๔ ให้ น ารูปแผนที่ ลงระวางแผนที่เดิ ม โดยไม่ต้องนารูปแผนที่ลงที่หมาย
ในระวางแผนทีท่ ี่สร้างขึ้นใหม่
/ข้อ ๒๒...
-๙-
ภาคผนวก ก.
วิธีปฏิบัติงานรังวัดเฉพาะรายโดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์
การปฏิ บั ติ ง านรั ง วั ด เฉพาะรายโดยระบบโครงข่ า ยการรั ง วั ด ด้ ว ยดาวเที ย มแบบจลน์
(RTK Network) ให้ดาเนินการดังนี้
๑. สร้างชื่อโครงการ (Project) ในเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมใหม่ทุกครั้ง ต่อ ๑ เรื่องรังวัด
และให้มีชื่อโครงการ (Project) ตามวันที่ที่ได้ทาการรังวัด ตามด้วยเลขอารบิค ๒ หลัก แสดงลาดับเรื่องที่รังวัด
ในเครื่องรับสัญญาณแต่ละเครื่อง เช่น ทาการรังวัด ในวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๕๗ เรื่องที่ ๑ ของวัน
ให้สร้างชื่อโครงการ (Project) 57120301 เป็นต้น
๒. รังวัดด้วยระบบโครงข่ายฯ โดยมีเงื่อนไขในการรังวัด ดังนี้
(๑) ให้ใช้วิธีการรังวัดเป็นแบบสถานีโครงข่าย
(๒) ให้ใช้ค่า PDOP ขณะทาการรังวัดไม่เกิน ๕.๐
(๓) ให้ใช้ค่า RMS ไม่เกิน ๓.๐ เซนติเมตร
(๔) ให้ใช้ผลการรังวัดเป็นแบบ Fixed
(๕) ให้รังวัดข้อมูลทุก ๑ วินาที และข้อมูลรังวัด ไม่น้อยกว่า ๑๘๐ ข้อมูล
๓. จัดทารายการรังวัดหมุดดาวเทียม RTK Network (ร.ว. ๓๑ ง) และหมุดหลักฐานแผนที่
จากเส้ น โครงงานหมุ ด หลั ก ฐานแผนที่ เ พื่ อ เก็ บ รายละเอี ย ด โดยไม่ต ้อ งลงที ่ห มายในระวางแผนที่
แต่ให้นาลงที่หมายในระวางแผนที่ดิจิทัลไว้เป็นการตรวจสอบ
๔. จัด ทารายงานผลการรังวัด ตามแบบรายงานการตรวจสอบความถูกต้องการรัง วัด
ด้วยระบบโครงข่ายฯ (ร.ว. ๘๐ ก)
๕. จัดทารายงานผลการรังวัด ตามแบบรายงานการตรวจสอบความถูกต้องของระยะทาง
ที่รังวัดด้วยระบบโครงข่ายฯ (ร.ว. ๘๐ ข)
๖. จัดทาหลักฐานการรังวัด เช่น รายการรังวัด(เชนสนาม) ติดหลังต้นร่างแผนที่ แบบรายการ
รังวั ดหมุดดาวเทียม RTK Network (ร.ว. ๓๑ ง) แบบรายงานการตรวจสอบความถูก ต้อ งการรัง วัด
ด้ว ยระบบโครงข่า ยการรัง วัด ด้ว ยดาวเทีย ม (ร.ว. ๘๐ ก) และแบบการตรวจสอบความถูก ต้อ ง
ของระยะทางที่รัง วัด โดยระบบโครงข่า ยการรัง วัด ด้วยดาวเทียม (ร.ว. ๘๐ ข) แบบรายการรังวัดมุม-ระยะ
ของเส้ น โครงงานหมุ ดหลั กฐานแผนที่ (ร.ว. ๓๑ ค) แบบรายการรั งวั ดเส้ น โครงงานหมุ ดหลั กฐานแผนที่
เพื่อเก็บรายละเอียด/โยงยึดหลักเขตที่ดินระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม (ร.ว. ๓๑ ซ) แบบคานวณพิกัดฉาก (ร.ว. ๒๕ ง)
แบบคานวณเนื้อที่ (ร.ว. ๒๕ จ) และต้นร่างแผนที่
- ๑๐ –

ภาคผนวก ข.
เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเชิงตาแหน่งจากการรังวัดเฉพาะราย
โดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียมแบบจลน์

ลาดับที่ รายการ เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนเชิงตาแหน่ง


๑. การตรวจสอบเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม
± ๔ เซนติเมตร
โดยรับสัญญาณที่หมุดดาวเทียม Static ซึ่งทราบค่าพิกัดฉาก
๒. การตรวจสอบการรับสัญญาณดาวเทียม
± ๔ เซนติเมตร
โดยให้ทาการรับสัญญาณดาวเทียม ซ้า ๒ ครั้ง
๓. การตรวจสอบค่าพิกัดฉากเดิม และค่าพิกัดฉากใหม่ 𝐷𝐷∗๑๐๐
ของหลักเขตที่ดิน ± [๔ เซนติเมตร + ( )]
๕๐๐๐
D = ผลรวมของระยะระหว่าง
หมุดหลักฐานแผนที่ กับระยะโยงยึด
หน่วยเป็นเมตร
- ๑๑ -
ภาคผนวก ค.
แบบพิมพ์ และตัวอย่างรายการรังวัด

๑. แบบรายการรังวัดหมุดดาวเทียม RTK Network (ร.ว. ๓๑ ง)


๒. แบบรายงานการตรวจสอบความถูกต้องการรังวัดโดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียม (ร.ว. ๘๐ ก)
๓. แบบรายงานการตรวจสอบความถูกต้องของระยะทาง ที่รังวัดโดยระบบโครงข่ายการรังวัดด้วยดาวเทียม
(ร.ว. ๘๐ ข)
๔. แบบรายการรังวัด มุม-ระยะ ของเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่ (ร.ว. ๓๑ ค)
๕. แบบรายการรังวัดเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียด / โยงยึดหลักเขตที่ดิน
ระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม (ร.ว. ๓๑ ซ)
๖. แบบคานวณพิกัดฉาก (ร.ว. ๒๕ ง)
๗. แบบคานวณเนื้อที่ (ร.ว. ๒๕ จ)
- ๑๒ -

(ร.ว. ๓๑ ง)
- ๑๓ -
- ๑๔ -
- ๑๕ -

- ๑๕ -
- ๑๖ -

- ๑๖ -
- ๑๗ -
- ๑๘ -

พิมพ์เมื่อวันที่ เวลา น.
- ๑๙ -

ตัวอย่างรายการรังวัด(เชนสนาม) ติดด้านหลังต้นร่างแผนที่
- ๒๐ -

ตัวอย่าง แบบรายการรังวัดหมุดดาวเทียม RTK Network (ร.ว. ๓๑ ง)

ร.ว. ๓๑ ง
- ๒๑ -

ตัวอย่าง แบบรายงานการรังวัดตรวจสอบความถูกต้องของการรังวัดด้วยระบบโครงข่ายงานรังวั ด
ด้วยดาวเทียม (ร.ว.๘๐ ก)
- ๒๒ -
ตัวอย่าง แบบรายงานการตรวจสอบความถูกต้องของระยะทางที่รังวัดด้วยระบบโครงข่ายงานรังวัด
ด้วยดาวเทียม (ร.ว.๘๐ ข)
- ๒๓ -

ตัวอย่าง แบบรายการรังวัดเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียด/โยงยึดหลักเขตที่ดิน
ระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม (ร.ว. ๓๑ ซ)

ระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม (ร.ว. ๓๑ ซ)


ตัวอย่าง แบบรายการรังวัดเส้นโครงงานหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียด/โยงยึดหลักเขตที่ดิน
- ๒๔ -
ตัวอย่างแบบคานวณพิกัดฉาก (ร.ว. ๒๕ ง.)
- ๒๕ -
ตัวอย่างแบบคานวณพิกัดฉาก (ร.ว. ๒๕ ง.)
- ๒๖ -
ตัวอย่าง แบบคานวณพิกัดฉาก (ร.ว. ๒๕ ง.)
- ๒๗ -
ตัวอย่าง แบบคานวณเนื้อที่ (ร.ว. ๒๕ จ.)
- ๒๘ -
ตัวอย่าง แบบคานวณเนื้อที่ (ร.ว. ๒๕ จ.)
- ๒๙ -
ตัวอย่าง แบบคานวณเนื้อที่ (ร.ว. ๒๕ จ.)
- ๓๐ -

ตัวอย่าง แบบคานวณเนื้อที่ (ร.ว. ๒๕ จ.)


- ๓๑ -

ตัวอย่างต้นร่างแผนที่
คณะผูจัดทํา
องคความรู : คูมือ การรังวัดเฉพาะรายโดยระบบโครงขายการรังวัดดวยดาวเทียมแบบจลน
(RTK GNSS Network)
ที่ปรึกษา : ๑. นายประทีป กีรติเรขา อธิบดีกรมที่ดิน
๒. นายชัยชาญ สิทธิวิรัชธรรม ผูบริหารดานการจัดการความรู
ของกรมที่ดิน (CKO)
๓. นายวราพงษ เกียรตินิยมรุง ผูตรวจราชการกรม รักษาการในตําแหนง
ที่ปรึกษาดานวิศวกรรมสํารวจ
๔. นายเอกสิทธิ์ ชนะสิทธิ์ ผูอํานวยการกองเทคโนโลยีทําแผนที่
๕. นางสุพินดา นาคบัว ผูอํานวยการกองฝกอบรม
๖. นายชัยศรี ศุภกีรติโรจน นักวิชาการแผนที่ภาพถายชํานาญการพิเศษ
รักษาการในตําแหนงผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน
การทําแผนที่ภาพถาย
คณะทํางาน : กองเทคโนโลยีทําแผนที่
๑. นายวิเชียร โกวิทพงศขจร ผูอํานวยการสวนพัฒนาการรังวัดหมุด
หลักฐานแผนที่โดยระบบดาวเทียม
๒. นายสุรชัย จุฑานุกาล วิศวกรรังวัดชํานาญการพิเศษ
๓. นางดลพร กัลยาณมณีกร นักวิชาการแผนที่ภาพถายชํานาญการพิเศษ
๔. นายศิริพงษ โรจนะประเสริฐกิจ วิศวกรรังวัดชํานาญการพิเศษ
๕. นายภีระ ยมวัน วิศวกรรังวัดชํานาญการพิเศษ
๖. นายตอศักดิ์ ตั้งชัยรัตน วิศวกรรังวัดชํานาญการ
๗. นายจักรพรรดิ์ ชนะณรงค นักวิชาการแผนที่ภาพถายปฏิบัติการ
๘. นายศตวรรษ มุกดาหาร วิศวกรรังวัดปฏิบัติการ
๙. นางสาวอรุณวรรณ ปงแกว เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน
๑๐. นางสาวเจนจิรา ยารักษ เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน
: กองฝกอบรม
๑. นายวินัย ผจญศิลป หัวหนากลุมงานสงเสริมและพัฒนาการเรียนรู
๒. นางสาวกันยารัตน กรวิทยโยธิน นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ
๓. นายพรพเนตร โมะเมน นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ
๔. นายกฤต จิโนวัฒน นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

You might also like