You are on page 1of 10

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

THAI INDUSTRIAL STANDARD


มอก. 285 เลม 50 2549

วิธที ดสอบสี วารนชิ และวัสดุทเี่ กีย่ วของ


เลม 50 ความติดแนนโดยวิธดี งึ
STANDARD TEST METHODS FOR PAINTS, VARNISHES
AND RELATED MATERIALS
PART 50 ADHESION–PULL–OFF TEST

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 87.040 ISBN 974-1508-32-8
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
วิธที ดสอบสี วารนชิ และวัสดุทเี่ กีย่ วของ
เลม 50 ความติดแนนโดยวิธดี งึ

มอก. 285 เลม 50 2549

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 0 2202 3300

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทัว่ ไป เลม 123 ตอนที่ 68ง


วันที่ 20 กรกฎาคม พุทธศักราช 2549
คณะกรรมการวิชาการคณะที่ 114
มาตรฐานวิธที ดสอบสี
ประธานกรรมการ
ศ.กฤษณา ชุตมิ า สมาคมวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
นางสาวนันทนา จิรธรรมนุกลู คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
กรรมการ
นาวาเอกประเสริฐ ดารารัตน กรมวิทยาศาสตรทหารเรือ
นายประสาร เฟอ งอารมย กรมโยธาธิการและผังเมือง
นายสุชาติ ตรีสตั ยพันธ
นางสาวเรณู ตามไท กรมวิทยาศาสตรบริการ
นายคมสัน ตันยืนยงค
นายปรีมนต เสถียรกาล กรมทางหลวง
น.ส.ทัศนีย สุวรรณมงคล
น.ส.รงุ ทิพย ชัยวัฒนานนท สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย
นางกรรณิการ สถาปตานนท
นางวันทนา สะสมทรัพย
รศ.อรอุษา สรวารี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
นางวรวดี เชียงทอง สมาคมวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
นายปฏิกร ณ สงขลา สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ
นายสมชัย ธรรมมารัตน สมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
นายปญญา จงแจม บริษทั สี ไอ ซี ไอ (ประเทศไทย) จำกัด
นางรัตนจนา เจริญพิทยา
นางเสาวณีย อัศวพงษอนันต บริษทั นิปปอนเพนต (ประเทศไทย) จำกัด
นายอภิชาติ ภาชนะทิพย
นางสาววิไล เต็มศุภศิริ บริษทั โจตันไทย จำกัด
นายปยวัฒน รัตนสุภา
กรรมการและเลขานุการ
นางเสาวนีย เสวนามิตร สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
นางอรการ เจียรัมพร

(2)
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม วิธที ดสอบสี วารนชิ และวัสดุทเี่ กีย่ วของ เลม 50 ความติดแนนโดยวิธดี งึ เปนเลม
หนึง่ ในชุดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม วิธที ดสอบสี วารนชิ และวัสดุทเี่ กีย่ วของ
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้ กำหนดขึน้ โดยอาศัยเอกสารตอไปนีเ้ ปนแนวทาง
AS/NZS 1580.408.5 : 1994 Paints and related materials - Methods of Test Method
408.5:Adhesion-Pull-off test
ASTM D 4541-02 Standard Test Method for Pull - Off Strength of Coatings Using
Portable Adhesion Testers
มอก.1151–2536 กระดาษทราย

คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมไดพจิ ารณามาตรฐานนีแ้ ลว เห็นสมควรเสนอรัฐมนตรีประกาศตาม


มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511

(3)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 3479 ( พ.ศ. 2549 )
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
พ.ศ. 2511
เรือ่ ง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
วิธที ดสอบสี วารนชิ และวัสดุทเี่ กีย่ วของ
เลม 50 ความติดแนนโดยวิธดี งึ

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511


รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม วิธที ดสอบสี วารนชิ
และวัสดุทเี่ กีย่ วของ เลม 50 ความติดแนนโดยวิธดี งึ มาตรฐานเลขที่ มอก.285 เลม 50–2549 ไว ดังมีรายการละเอียด
ตอทายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2549


สุรยิ ะ จึงรงุ เรืองกิจ
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม

(5)
มอก. 285 เลม 50–2549

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
วิธที ดสอบสี วารนชิ และวัสดุทเี่ กีย่ วของ
เลม 50 ความติดแนนโดยวิธดี งึ
1. ขอบขาย
1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีก้ ำหนด วิธที ดสอบความติดแนนของผิวเคลือบโดยวิธดี งึ ดวยการหาแรงดึง
ทีต่ งั้ ฉากกับพืน้ ผิวทดสอบทีม่ ากทีส่ ดุ โดยผิวเคลือบยังตานอยไู ดกอ นทีจ่ ะหลุดออก หรือทดสอบวาผิวเคลือบ
ยังคงติดแนนหรือไม เมือ่ ดึงดวยแรงดึงตามทีก่ ำหนด

2. หลักการทดสอบ
2.1 การทดสอบนีใ้ หปฏิบตั โิ ดยการติดตัวยึดใหตงั้ ฉากกับพืน้ ผิวเคลือบดวยกาว หลังจากกาวแหงแลว ใหตดิ เครือ่ ง
ทดสอบกับตัวยึดในแนวเดียวกันกับแรงดึงซึง่ ตัง้ ฉากกับพืน้ ผิวทดสอบ คอย ๆ เพิม่ แรงดึงจนผิวเคลือบหลุด
หรือจนถึงคาที่กำหนดไว ขอบกพรองจะเกิดขึ้นตามระนาบที่เปนจุดออนที่สุดภายในระบบที่ประกอบดวย
ตัวยึด กาว ผิวเคลือบ และแผนทดสอบ ลักษณะของขอบกพรองเกิดจากการหลุดตรงชั้นกาว การหลุด
ระหวางชัน้ สี หรือการหลุดตรงพืน้ ผิวแผนทดสอบ

3. เครือ่ งมือ
3.1 เครือ่ งทดสอบการติดแนน
เปนเครือ่ งทดสอบทีใ่ ชทวั่ ไป ตองสอบเทียบไดทคี่ า 0 และคาอืน่ ตามตองการ และตองมีความแมนตามเกณฑ
กำหนดของเครือ่ งมือ ประกอบดวย
3.1.1 ตัวยึด มีพื้นผิวดานหนึ่งเรียบที่สามารถติดกับผิวเคลือบที่ตองการทดสอบและอีกดานหนึ่งติดกับ
เครือ่ งทดสอบ
3.1.2 ชุดดึง (detaching assembly) ประกอบดวยตัวจับอยูตรงกลางซึ่งมีตัวล็อคเพื่อจับตัวยึดไมใหขยับจาก
ผิวเคลือบที่ตองการทดสอบ และตองติดตั้งใหตรงเพื่อใหแรงดึงตั้งฉากกับพื้นผิว การดึงตัวยึดตอง
สม่ำเสมอและตอเนือ่ งเพือ่ ใหแรงดึงเกิดในแนวตรงโดยปราศจากแรงบิด
3.1.3 นาฬิกาจับเวลา เปนอุปกรณทตี่ อ งใชรว มกับหนาปดหรือสเกลแสดงคาแรงดึง เพือ่ ควบคุมอัตราความเคน
ใหนอ ยกวา 1 เมกะพาสคัลตอวินาที และใหไดรบั ความเคนสูงสุดภายในเวลา 100 วินาที
3.1.4 หนาปดหรือสเกลแสดงคาแรงดึง
หมายเหตุ 1. ใหใชเครื่องทดสอบที่มีชวงแรงดึงเหมาะสมกับผิวเคลือบที่ตองการทดสอบ
2. ตัวอยางเครือ่ งทดสอบการติดแนน ดังรูปที่ 1 และรูปที่ 2

–1–
มอก. 285 เลม 50–2549

3.2 กาว เปนกาวทีป่ ราศจากตัวทำละลายทีม่ คี า ความติดแนนระหวางกาวกับฟลม สีและตัวยึดสูงกวาฟลม สีกบั พืน้ ผิว


และหลังการทดสอบตองไมหลุดทีช่ นั้ กาว ตามปกติจะเปนกาวอีพอกซีแบบแยก 2 สวน (two-pack epoxy)
ซึง่ ไมมผี ลตอสมบัตสิ ี ใชสำหรับติดตัวยึดกับผิวเคลือบ
3.3 ทีต่ ดั วงกลม มีเสนผานศูนยกลางใหญกวาเสนผานศูนยกลางตัวยึดเล็กนอย สามารถตัดไดรอบจนทะลุผวิ เคลือบ
ถึงพืน้ ผิวทดสอบ
3.4 กระดาษทรายเนือ้ ละเอียด สำหรับขัดผิวเคลือบเพือ่ ชวยใหตวั ยึดติดแนนกับผิวเคลือบไดดขี นึ้
หมายเหตุ โดยทั่ ว ไปใช ก ระดาษทรายซิ ลิ ค อนคาร ไ บด หมายเลขขนาดเม็ ด สารขั ด ถู เ บอร 400 ตาม
มอก.1151-2536
3.5 ตัวทำละลาย เปนตัวทำละลายทีเ่ หมาะสมสำหรับทำความสะอาดพืน้ ผิวของตัวยึด
3.6 อุปกรณวดั อุณหภูมพิ นื้ ผิวทีท่ ราบความแมนแลว ในกรณีทที่ ดสอบภาคสนาม
3.7 ทีจ่ บั ตัวยึด (magnetic or mechanical clamp) ใชในกรณีทจี่ ำเปนสำหรับประคองตัวยึดไมใหเคลือ่ นทีข่ ณะทีก่ าว
กำลังแหงตัว

รูปที่ 1 เครือ่ งทดสอบการติดแนน


(ขอ 3.1)

–2–
มอก. 285 เลม 50–2549

รูปที่ 2 เครือ่ งทดสอบการติดแนน


(ขอ 3.1)

–3–
มอก. 285 เลม 50–2549

4. ภาวะทดสอบ
ุ หภูมิ (27 ± 2) องศาเซลเซียส และความชืน้ สัมพัทธ รอยละ (65 ± 5) ในกรณีการทดสอบ
4.1 ใหทดสอบทีอ่ ณ
ภาคสนาม ใหบนั ทึกอุณหภูมพิ นื้ ผิวชิน้ ทดสอบไวดว ย
หมายเหตุ อุณหภูมิที่ต่ำหรือสูงเกินไปอาจมีผลตอคาที่อานไดจากเครื่องมือและมีผลตอการเปลี่ยนสภาพของ
ผิวเคลือบ

5. การเตรียมพืน้ ผิวทดสอบ
5.1 ทำความสะอาดพืน้ ผิวทดสอบใหปราศจากสิง่ แปลกปลอม ถาจำเปนอาจขจัดไขมันดวยสารขจัดไขมันทีไ่ มทำลาย
ผิวเคลือบ
หมายเหตุ บริเวณพื้นผิวที่จะทดสอบตองแบนราบและกวางพอที่จะวางเครื่องทดสอบไดและไมควรนูนจนเห็น
ไดชดั ในระหวางการดึง ถาพืน้ ผิวไมแบนราบเครือ่ งทดสอบควรตัง้ ใหตรงเพือ่ ใหแรงดึงตัง้ ฉากกับตัวยึด

6. วิธที ดสอบ
6.1 เลือกเครือ่ งทดสอบทีส่ อบเทียบแรงภายในชวงของคาทีค่ าดไวแลว
6.2 ขัดพืน้ ผิวของตัวยึด และพืน้ ผิวของผิวเคลือบตรงทีจ่ ะติดตัวยึด โดยใชกระดาษทรายเนือ้ ละเอียด แลวขจัดฝนุ ผง
ดวยผานิม่ ทีไ่ มเปนขน
6.3 ติดตัวยึดกับชิน้ ทดสอบ โดยใชกาวตามคำแนะนำของผทู ำกาว และระวังไมใหมฟี องอากาศ ขจัดกาวสวนเกิน
แลวทิง้ ชิน้ ทดสอบไวจนกาวแหงสนิท
หมายเหตุ การขยับเขยือ้ นโดยเฉพาะการบิดจะเปนสาเหตุใหกาวไมเรียบ และทำใหเกิดความเคนทีแ่ ตกตางกันมาก
เมื่อเพิ่มแรงดึงตรงบริเวณที่ทดสอบ
6.4 ใชทตี่ ดั วงกลมตัดผิวเคลือบรอบ ๆ ตัวยึด โดยไมกดรอยตอระหวางตัวยึดและพืน้ ผิวทดสอบ
6.5 คอยๆ ตอชุดดึงของเครื่องทดสอบเขากับตัวยึด โดยระวังไมใหตัวยึดกระเทือนหรือกระดกเพื่อไมใหเกิด
ผลกระทบกับตัวอยาง สำหรับพื้นผิวที่ไมราบควรใชมือชวยจับชุดดึงเพื่อไมใหน้ำหนักของชุดดึงนี้มีผลตอ
แรงดึงระหวางทดสอบ
6.6 ตัง้ เครือ่ งทดสอบใหตรงตามคำแนะนำของผทู ำ และปรับเครือ่ งมือใหไดคา 0 ในกรณีตอ งใชตวั หนุนชวยยึด
อุปกรณสำหรับตัง้ ใหตรง ใหรายงานดวย
หมายเหตุ การตั้งใหตรงเปนสิ่งจำเปนอยางยิ่ง
6.7 คอย ๆ เพิม่ แรงดึงบนตัวยึดดวยอัตรานอยกวา 1 เมกะพาสคัลตอวินาที จนหลุดหรือจนถึงคาทีก่ ำหนดภายใน
เวลาประมาณ 100 วินาที หรือนอยกวา

–4–
มอก. 285 เลม 50–2549

6.8 บันทึกคาความเคน (x) เมื่อหลุดหรือบันทึกคาความเคนที่กำหนดเปนเมกะพาสคัล โดยมีเลขนัยสำคัญ


เปน 2 ถาวัสดุหลุดออกใหหาวาขอบกพรองเกิดขึน้ ภายในผิวเคลือบหรือระหวางชัน้ ผิวเคลือบกับแผนทดสอบ
หรือระหวางชัน้ กาวกับผิวเคลือบหรือขอบกพรองใดๆ ดังกลาวรวมกัน ถาขอบกพรองเกิดขึน้ ระหวางชัน้ กาว
กับผิวเคลือบใหบันทึกคาความติดแนน > x เมกะพาสคัล ในกรณีที่คานี้นอยกวาคาต่ำสุดที่กำหนดไว
ใหทดสอบซ้ำ โดยใชกาวทีม่ คี า ความติดแนนมากกวา
หมายเหตุ คาความเคนทีอ่ า นได (x) จากเครือ่ งทดสอบเกีย่ วของกับแรงทีใ่ ชดงึ (f) และพืน้ ทีห่ นาตัดของตัวยึด
(A) การแบงขีดของเครื่องมือตั้งอยูบนพื้นฐานของคา A ที่คงที่ การเปลี่ยนแปลงขนาดของตัวยึด
หรือที่ตัดวงกลมจะทำใหเกิดความผิดพลาดของคาความเคนได
6.9 ใหปฏิบตั ซิ ้ำตัง้ แตขอ 6.2 ถึง ขอ 6.7 อีก 2 ครัง้

7. การรายงานผล
7.1 ในรายงานผลการทดสอบ อยางนอยตองแสดงขอความดังตอไปนี้
(1) เอกสารอางอิงฉบับนี้
(2) ชนิดและลักษณะชี้บงของผิวเคลือบหรือระบบการเคลือบ รายละเอียดของแผนทดสอบและวิธีการ
เตรียมผิวแผนทดสอบ
(3) รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องทดสอบที่ใช และตำแหนงของพื้นผิวทดสอบขณะทดสอบ เชน แนวนอน
หรือไม
(4) ชนิดของกาวทีใ่ ช ระยะเวลาการแหง และอุณหภูมิ
(5) อุณหภูมขิ องพืน้ ผิวทดสอบ ถาทดสอบในภาคสนาม
(6) แรงดึงทีท่ ำใหเกิดขอบกพรอง หรือแรงดึงสูงสุดทีใ่ ชสำหรับการทดสอบทัง้ 3 ครัง้
(7) ตำแหนงของขอบกพรอง
(8) ใชตวั หนุนหรือไม

–5–

You might also like