You are on page 1of 13

5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

Storage admin THAI

DIRECTOR HARDWARE

February 12, 2018 | AdminThai | Leave a comment


่ ต่างๆของ Brocade Director
รุน
– Gen6 (port speed 32Gbps) มีรน
ุ่ X6-8 (8 port blades) และ X6-4 (4 port blades)
– Gen5 (port speed 16Gbps) มีรน ุ่ DCX 8510-8 (8 port blades) และ 8510-4 (4 port blades)

สว่ นประกอบของ Brocade Director ได้แก่


– CP (Control Processor) blade เป็ นสว่ นทําหน ้าทีประมวลผล ซงส ึ ว่ นนีจะมี port USB สําหรับ update firmware, Console port,
Ethernet port สําหรับการ management
CP มีสองรุน ่ ได ้แก่ CPX8 สําหรับ Gen6 Director และ CP8 สําหรับ Gen5 Director
– CR (Core Routing) blade เป็ นสว่ นสําหรับการเชอมต่
ื อระหว่าง port blade และเชอมต่ื อกับ director ตัวอืน โดยใช ้ port ICL
CR มี 4 รุน
่ CR32-8, CR32-4 สําหรับ G6 director และ CR16-8, CR16-4 สําหรับ G5 Director
– Port blades เป็ นสว่ นเชอมกั
ื บ device
– Extension blades สําหรับหน ้าทีเสริมอืนเชน่ FCIP, IPEXT, etc.

่ ของ Port blade


ตารางรุน

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 1/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

matrix ระหว่าง Port blade และ Director ทีใชได


้ ้

Switch Hardware

February 11, 2018 | AdminThai | Leave a comment


ASICs
ความหมายของ ASIC คือ Application Specific Integrated Circuit ซงก็ึ คอื ชุดแผงวงจรรวมสําหรับการทํางานหน ้าทีอย่างใดอย่าง
หนึง
Brocade switch จะมี ASIC สอง model ได ้แก่ Condor3 (max 16 Gbps) และรุน ่ สูงกว่าคือ Condor4 (max 32 Gbps) โดยหน ้าที
ของ ASIC คือการ route FC frame ภายใน switch, เชอมต่ ื อระหว่างพอร์ทเข ้าและพอร์ทออก (front-end และ back-end) และทํา
หน ้าทีจัดการ flow control ด ้วยการใช ้ buffer credit

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 2/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

่ ของ Brocade Switch


รุน
– ตระกูล G6 Fibre Channel ได ้แก่ G620 ที port speed 32G (ใช ้ Condor4)
– ตระกูล G5 Fiber Channel ได ้แก่ 6505, 6510, 6520 ที port speed 16G (ใช ้ Condor3)
– ตระกูล Extension Switch หรือ FCIP ได ้แก่รน
ุ่ 7840 คือประโยชน์ของรุน ่ นีคือการรองรับการวิงของ FC บน IP network เพือให ้ระยะ

ทางการเชอมต่ อเพิมขึน
– ตระกูล AMP (Analytic Monitoring Platform) เป็ น hardware appliance สําหรับชว่ ย monitoring/analytic FC ให ้ง่ายขึน
ละเอียดขึน และในรูปแบบ proactive โดยการใชงานคื ้ ื
อเชอมต่ อเข ้ากับ 1 FC port ของ switch แต่ละตัว

Transceiver
– หรือก็คอ ื
ื ตัวอุปกรณ์เชอมต่ อเข ้ากับสาย FC, Copper เพือทําหน ้าทีรับสง่ ข ้อมูลและแปลงสญ
ั ญาณ ทีมักถูกเรียกว่า GBIC หรือ SFP
– โดยปกติ SFP แต่ละรุน ่ จะรองรับความเร็วสามระดับเชน ่ 32Gbps SFP+ จะรองรับ 32,16,8 Gbps ยกเว ้นรุน
่ รุน ่ 10Gbps SFP+ และ
128Gbps QSFP
– SFP แต่ละรุน ื
่ จะระบุวา่ รองรับการเชอมต่ อเข ้ากับสายเฉพาะรุน ่ และแยกประเภทเป็ น Short wave (850nm) และ Long wave
(1310nm)
– สาย FC แบ่งเป็ นสองรุน ่ Multi-mode (62.5 หรือ 50 micron) ทีใชกั้ บ SPF แบบ Shortwave และ Single-mode (9 micron) ทีใช ้
กับ SFP แบบ Longwave

่ SFP และสาย FC ทีใชคู้ ก


ตารางสรุปรุน ่ น

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 3/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

ทําความรู ้จักกับ FIBRE CHANNEL #4

January 12, 2018 | AdminThai | Leave a comment


Port Type
จากโพสต์กอ ่ นหน ้าทีกล่าวถึง port type ของ SAN ทีผ่านกระบวนการ initial และ negotiate หลังการเชอมต่
ื อกับอุปกรณ์หรือ switch
อืนแล ้ว (ในเชงิ function ไม่มคี วามแตกต่างในแง่ physical) แบ่งตามประเภทอุปกรณ์ทเช ื
ี อมต่
อได ้ดังนี
– Port ของ Device ทีมาเชอมต่ื อเข ้ากับ SAN จะมี type เป็ น N_Port หรือ NL_Port
– Port ของ Switch จะมี type เป็ น U_Port, FL_Port, G_Port, F_Port และ E_Port

ในสว่ นของ Port ของ Switch เองจะมีกระบวนการ initial เป็ น port type ต่างๆดังนี
– Port type เริมต ้นของ Switch คือ U_Port รอเสย ี บอุปกรณ์
– หากอุปกรณ์ทนํ ื
ี ามาเชอมต่อเป็ น loop จะ assign port type เป็ น FL_Port
– หากไม่ใช ่ loop จะ assign port type เป็ น G_Port เพือรอเปลียน type อีกครัง
– หากเชอมต่
ื อกับ Switch จะเป็ น Port type E_Port แต่หากเป็ น device จะเป็ น Port type F_Port

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 4/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

Port State
หลักจากที port ได ้ถูกเชอมต่
ื อและได ้ทําการ negotiate แล ้วนันแต่ละ port จะมี state ดังนี
1. Active State (AC) เป็ น state port ทีพร ้อมสําหรับการรับสง่ ข ้อมูลกับอุปกรณ์ทมาเช
ี ื
อมต่ อ
2. Link Reset State (LR) เป็ น state เริมต ้นของ port ในขณะทีทําการ initialization
3. Offline State (OLS) เป็ น state ของ port ขณะกําลังจะทําการ initialization หรือกําลังจะ offline
4. Link Failure State (LF) เป็ น state ของ port ที link มีปัญหาหรือเชอมต่
ื อกับ device ไม่ได ้

FC Services
ในระบบ SAN จะมี service ทีทําหน ้าทีบริหารจัดการในเรืองต่างๆได ้แก่
– Fabric Login Service เป็ น service จัดการเรืองกระบวนการ join FC node เข ้ามายัง fabric
– Fabric Controller เป็ น service ทีดูแลเรืองการจัดการภายใน fabric และการแลกเปลียน traffic ระหว่าง switch
– Name server เป็ นตัวจัดการ directory ของ N_Port ทังหมดภายใน fabric เปรียบเสมือนสมุดโทรศพ ั ท์ แต่ไม่ใชต
่ วั จัดการเรือง
routing ข ้อมูลระหว่าง device

Reference:
h p://www.brocade.com/en/education.html (h p://www.brocade.com/en/education.html)

ทําความรู ้จักกับ FIBRE CHANNEL #3

January 10, 2018January 12, 2018 | AdminThai | Leave a comment


FC Topologies

1. Point-to-Point เป็ นการเชอมต่


ื อกันตรงๆระหว่าง server และ device แบบ 1 ต่อ 1 (เอา 2 N_Port มาต่อกัน) ข ้อดีคอ
ื ง่ายต่อการติด
ตังและได ้ระยะทางทีไกลกว่าการเชอมต่อ SCSI สวนข ้อเสยคือเรืองการ scale
ื ่ ี

2. Arbitrated Loop เป็ นการเชอมต่


ื อแบบ loop วงกลม (Port ฝั ง device คือ AL_PA, Port ฝั ง switch คือ FL_port) ข ้อดีคอ ื การ
รองรับ device ได ้มากขึนสูงสุดถึง 126 สว่ นข ้อเสย
ี คือการแชร์ data link เดียวกันและสง่ ข ้อมูลได ้ทีละรอบเป็ นวงกลมในทิศทางเดียว

3. Switched Fabric เป็ นการเชอมต่


ื ้
อทีใชโดยทั
วไปในปั จจุบน
ั เนืองจากความยืดหยุน ื อและการ manage ทังยังมี
่ ในการเชอมต่
performance ดีทสุ
ี ด

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 5/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

FC Addressing

FC node หมายถึง Switch, Storage, HBAs โดยทีแต่ละ node จะมีหมายเลขประจําตัวทีเรียกว่า Node World Wild Name
(Node WWN) มีลก ั ษณะ 64-bit
โดยแต่ละ Port ของ FC node ก็จะมีหมายเลขประจําตัวเชน
่ กันทีเรียกว่า Port World Wild Name (Port WWN) และมีลก
ั ษณะ
64-bit เชน
่ เดียวกัน

ใน 64-bit ของ Node WWN จะแบ่งเป็ น 3 สว่ น


– 2 bytes แรกจะเป็ นตัวเลข fix คือ 10:00 โดยเป็ นตัวเลข standard ของ FC
– 3 bytes ถัดมาจะถูกระบุจากทาง IEEE สําหรับแต่ละยีห ้อ vendor (ของ brocade ถูก assign จากทาง IEEE ให ้เป็ น 00:05:1e)
– 3 bytes หลังสุดคือตัวเลขที Vendor แต่ละเจ ้าจะระบุเองเพือให ้แยกอุปกรณ์แต่ละตัวออกจากกันได ้โดยอาจจะหมายถึง serial
number ของอุปกรณ์แต่ละตัว
*Switch brocade ตัวเลขจะเป็ น format 10:00:00:05:1e:XX:XX:XX (แต่ละยีห ้อไม่เหมือนกัน)

ใน 64-bit ของ Port WWN จะถูกแบ่งเป็ น 3 สว่ นเชน


่ เดียวกัน
– 2 Bytes แรกเซตโดย vendor เอง โดยปกติแล ้วจะระบุหมายเลข port บนอุปกรณ์
– 3 Bytes ถัดมา assign มาจากทาง IEEE
– 3 Bytes สุดท ้ายเซตโดย vendor เอง
*Port WWN ของ Brocade ใช ้ format 2p:pp:00:05:1e:xx:xx:xx (แต่ละยีห ้อไม่เหมือนกัน)

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 6/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

NPIV (N_Port ID Virtualization)

– ทีมาของ NPIV เนืองจากความต ้องการให ้ storage เชอมต่


ื อ เข ้า Hypervisor server และ assign ไปยังแต่ละ virtual machine ได ้

จึงเป็ นทีมาของการใชงาน wwn แบบ virtualize
– HBA card ใบเดียวสามารถนํ ามาสร ้าง Port WWN ได ้ถึง 255
– เมือใชงานร่
้ วมกับ SAN Switches ที support NPIV เข ้าเชอมต่
ื อกับแต่ละ VM ทีใชงานร่
้ วมกับระบบได ้ใน fabric ทังเรืองของ
zoning, storage lun masking เหมือน physical server จริงๆ

ี สดง WWPN บน Server แต่ละ OS


วิธแ

Linux

AIX : lscfg -vl fcsX

Windows 2008 : ใช ้ application storage explorer (สามารถดูได ้ผ่าน application ของทัง emulex, qlogic เชน
่ กัน)

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 7/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

Windows 2012: เปิ ด powershell ด ้วย privilege administrator run command get-initiatorport

Reference:
h p://www.storagefreak.net/2014/10/fibre-channel-addressing (h p://www.storagefreak.net/2014/10/fibre-channel-
addressing)
h ps://www.ibm.com/support/knowledgecenter/en/STXN8P/com.ibm.storage.ssic.help.doc/f2c_loclinux_192wga.html
(h ps://www.ibm.com/support/knowledgecenter/en/STXN8P/com.ibm.storage.ssic.help.doc/f2c_loclinux_192wga.html)
h ps://library.netapp.com/ecmdocs/ECMP1204463/html/GUID-31D927B1-01C7-4551-B0F7-E63DBF7D52C7.html
(h ps://library.netapp.com/ecmdocs/ECMP1204463/html/GUID-31D927B1-01C7-4551-B0F7-E63DBF7D52C7.html)
h p://www.brocade.com/en/education.html (h p://www.brocade.com/en/education.html)

ทําความรู ้จักกับ FIBRE CHANNEL #2

January 9, 2018January 12, 2018 | AdminThai | Leave a comment


FC Layers

หากพิจารณาถึง Fibre Channel ทีมี 5 layers เมือเปรียบเทียบกับ OSI และ Network Protocol Layers จะพบว่าทัง 5 layers ของ
Fibre Channel ทํางานบน Hardware base processing

ในขณะที Ethernet Adapter มีแค่ 2 layers คือ physical และ data link เท่านันทีทํางานอยูบ
่ นพืนฐาน hardware โดย layer ทีสูงขึน
คือ Network และ Transport จะถูกประมวลผลโดย CPU ของเครือง server

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 8/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

ทัวไปแล ้วสายสญ ั ญาณทีถูกใชงานในการเช


้ ื
อมต่อคือ Fiber optic มี 2 ชนิดคือ Single mode และ Multi mode
– Single mode โดยปกติแล ้วจะแพงกว่าสาย Multi-mode เนืองจากขนาดของ core ตัวแท่งแก ้วมีขนาดเล็กกว่ามาก
– ตัวกําเนิดสญั ญาณ Single mode ใช ้ laser สว่ น Multi-mode ใช ้ LED ซงตรงนีึ ี ว่ นทําให ้ต ้นทุนระบบสง่ แบบ Multi-mode ตํา
ก็มส
กว่า
– Bandwidth ของรูปแบบ Single mode สูงกว่ามาก เนืองจากลําแสงถูกสง่ ไปตรงๆไม่สะท ้อนไปมาใน core แท่งแก ้วเหมือนแบบ
Multi-mode ดังนันลําแสงจึงใชเวลาในการเดิ
้ นทางเร็วกว่า
– ระยะทางการใชงานแบบ ้ Single mode ไกลกว่า เพราะลําแสงยิงตรงๆไม่ถก ู ลดทอนพลังงานในแท่งแก ้วและคลืนความถีแสงทีใชเป็ ้ น
long wave ทีเดินทางได ้ไกลกว่า
– ฝั งสง่ และฝั งรับสญ ั ญาณจะต ้องเป็ น Type เดียวกัน

สว่ นชนิดของหัวต่อของสาย (Connector) ทีพบโดยทัวไปมีสองชนิดคือ SC และ LC ทีปกติแล ้ว SC เชอมต่


ื อกับอุปกรณ์ฝัง Network
และ LC ถูกใชในอุ
้ ปกรณ์ฝัง SAN

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 9/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

ตัว Transceiver ทําหน ้าที convert สญั ญาณไปมาในรูปแบบแสงและสญ ั ญาณไฟฟ้ าคือ GBIC และ SFP โดยปั จจุบน
ั แล ้ว SAN
Switch ทีใชกั้ นทัวไปจะใช ้ SFP เนืองจากมีขนาดทีเล็กกว่า GBIC (SPF คืออุปกรณ์รน
ุ่ ใหม่มาแทนที GBIC)

ในแต่ละ layer ของ Fibre Channel Protocol ทําหน ้าทีดังนี


1. FC-0 เกียวข ้องกับสายสญั ญาณ ตัวรับสญ ั ญาณและการรับสง่ สญ ั ญาณ
2. FC-1 เกียวข ้องกับการเข ้ารหัสและถอดรหัสข ้อมูลทีถูกรับสง่ และสถานะของพอร์ตรับสง่ (Link Control)
3. FC-2 เกียวข ้องกับการความคุมการรับสง่ Frame ข ้อมูลตามลําดับ, data flow control, Buffer credit
4. FC-3 ไม่ได ้ถูก implement ในการใชงานจริ
้ ง มีเพือความสมบูรณ์ของ protocol ทางทฤษฏี
5. FC-4 เป็ น layer ที map แต่ละ Protocol ทีมีอยูเ่ ดิมให ้สามารถใชงานได
้ ้ผ่าน Fibre Channel โดยหากเป็ นหากเป็ น SCSI protocol
มาใชกั้ บ Fibre Channel จะถูกเรียกว่า FCP (FCP=SCSI over Fibre Channel)

Reference:
h p://www.cables-solutions.com/gbic-and-sfp-module-when-to-choose-what.html (h p://www.cables-
solutions.com/gbic-and-sfp-module-when-to-choose-what.html)
h ps://www.rfvenue.com/blog/2016/03/16/multi-mode-vs-single-mode
(h ps://www.rfvenue.com/blog/2016/03/16/multi-mode-vs-single-mode)
h p://www.brocade.com/en/education.html (h p://www.brocade.com/en/education.html)

ทําความรู ้จักกับ FIBRE CHANNEL #1

January 5, 2018January 12, 2018 | AdminThai | Leave a comment

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 10/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

ในยุคแรกๆนันการเชอมต่ อระหว่าง server กับ external storage เป็ นการต่อเข ้าหากันตรงๆ โดยใช ้ interface และสายแบบ SCSI ข ้อดี
ของการต่อตรงๆแบบนี (Serial) คือ performance และ reliability แต่เนืองจาก topology รูปแบบ shared bus ก็มข ี คือทุกๆ
ี ้อเสย
device จะแชร์การใชงานเส
้ ้
นทางการรั บสง่ ข ้อมูลเดียวกันและหากมีบาง device ทีมีปัญหาก็จะมีผลกระทบกับการรับสง่ ข ้อมูลของ
device อืนทีใชงานบน
้ shared bus เดียวกัน และการเชอมต่ื ั สญ
อก็ต ้องมีตวั ดูดซบ ั ญาณทีฝั งปลายเพือไม่ให ้สญ
ั ญาณตีกลับอีกด ้วย

ต่อมาจึงได ้มีการพัฒนา Fibre Channel ให ้เป็ นการรวมเอาข ้อดีของทังแบบการเชอมต่


ื อตรงแบบเดิมทีเด่นเรือง performance ที
เหมาะกับการรับสง่ ข ้อมูลแบบ data block และการเชอมต่
ื อแบบ Network มีเด่นเรืองความ Flexible ในการเชอมต่
ื อ โดยใช ้ Fibre
channel protocol ในการรับสง่ ข ้อมูล

ข้อดีของ Fibre Channel Protocol ได้แก่


– เป็ น Standard
– Performance สูง ปั จจุบน
ั ความเร็วได ้ถึง 16Gbit/sec
– Latency ตํา
– สามารถใชกั้ บระยะทางไกลได ้
– ความถูกต ้องของข ้อมูล
– รองรับการเชอมต่
ื อแบบขยายได ้ (เหมือน Network) โดยตามทฤษฏีสามารถเชอมต่
ื อได ้ถึง 16ล ้านอุปกรณ์ในหนึง Fabric


การเชอมต่ อ SAN
นิยามจากสมาคม Storage Network Industry สําหรับคําว่า SAN โดยสรุปคือ การเชอมต่ ื อทีระหว่าง computer systems และ SAN
switch, อุปกรณ์ Storage เชน
่ disk, tape, etc.. โดยทีฝั ง server จะมีต ้องมีการติดตังการ์ดเฉพาะทีเรียกว่า HBAs หรือทีเรียกกันทัวไป
ว่าการ์ด Fibre (หลายๆคนยังเรียก SAN Switch หรือ Disk Storage ว่า SAN ทังทีจริงแล ้วคําว่า SAN เป็ นรูปแบบการเชอมต่ ื อไม่ใช ่
ื ยกอุปกรณ์แต่อย่างใด)
ชอเรี
https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 11/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

ประเภทของ Port การเชอมต่ ื อในระบบ SAN


โดยทีไปแล ้วจะพบได ้สามประเภท
N_Port (Node Port) คือ port ของ device ทีมาต่อกับ SAN Switch ได ้แก่ server, tape, disk
F_Port (Fabric Port) คือ port ของ SAN switch ทีถูกเชอมต่
ื อกับ device
E_Port (Expansion Port) คือ port ของ SAN Switch ทีเชอมต่
ื อกับ SAN Switch ตัวอืน

Switch คุยกันกับ Switch ตัวอืนๆ ผ่าน protocol ทีเรียกว่า Inter Link Services (ILS)

Concept การเชอมต่ ื อ SAN


– เพือเป็ นการจัดระเรียบหมวดหมู่ การเชอมต่
ื อของ SAN เรียกว่า Fabric ซงใน
ึ 1 Fabric หมายถึงจะต ้องมี SAN Switch ตังแต่ 1 ตัว
ขึนไป
– ภายใน Fabric นันได ้มีการออกแบบการ route ของ data packet โดยการใช ้ 24 bit address ซงจะระบุ
ึ ถงึ Domain ID (เลขประจํา
ตัวของแต่ละ SAN Switch), Area ID (เลขประจําตัวของแต่ละ Port บน SAN Switch) และ Node ID (N_Port address)
– ในแต่ละ Fabric นัน SAN Switch แต่ละตัวจะต ้องมี Domain ID ไม่ซากั
ํ น โดย SAN Switch หนึงตัวทีอยูใ่ น Fabric ทําหน ้าทีเป็ น
Principal Switch เป็ นตัวหลักและควบคุมเรืองต่างๆใน Fabric หนึงในหน ้าทีคือเป็ นตัวตรวจเชค
็ ว่า SAN Switch ทีจะเข ้ามาเพิมใน
Fabric เดียวกันจะต ้องมี unique Domain ID (ไม่ซากั
ํ น)

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 12/14
5/24/2020 Storage admin THAI – Page 3

Reference:
h p://108like.com/computer/Network_Topologies.html (h p://108like.com/computer/Network_Topologies.html)
h p://www.brocade.com/en/education.html (h p://www.brocade.com/en/education.html)

ความเป็ นมา

January 4, 2018January 4, 2018 | AdminThai | Leave a comment


ดีลการขาย brocade ให ้กับ Brodcom ในชว่ งสนปี ี านมา ได ้ทําให ้เกิดการเปลียนแปลงขึนหลายอย่างทีสง่ ผลกระทบกับ Storage
ิ ทผ่
admin เชน การ training แบบ Instructor-Led Training (คอร์สเรียนแบบมีคนยืนสอนหน ้าห ้อง) จะยกให ้บริษัท Extreme

Networks ดูแล, ยกเลิก certificate ของ SAN ทังหมด, ฯลฯ

ทีสําคัญทีสุด training แบบ web based ทังหมดถูกปล่อยให ้เข ้าเรียนฟรีแบบไม่มค


ี า่ ใชจ่้ ายใดๆ (จากทีแต่เดิมมีคา่ ใชจ่้ ายหลักแสน
บาทต่อ course) นีถือเป็ นโอกาสทองของ Storage admin ทีต ้องการศก ึ ษาหาความรู ้เกียวกับระบบ Storage Area Network รวมทัง

การคอนฟิ กใชงานอุ ปกรณ์ SAN Switch จากยีห ้อ Brocade เนืองจากใน DataCenter สว่ นใหญ่เลือกใชงาน ้ SAN Switch จาก
Brocade หรือจากยีห ้อที OEM Brocade Switch ด ้วยกันแทบทังสน ิ

ถึงแม ้ว่า Trend ในการใชงาน


้ Disk Storage จะเคลือนไปสู่ Cloud หรือเทคโนโลยีอนเชื ่ Hyper-converged แต่ในขณะทีหน่วยงาน

ใหญ่ๆยังคงเลือกใชงาน้ traditional SAN infrastructure แบบเดิมทีมี component แบบ Server+SAN switch +Storage สําหรับ
Critical, intensive IO applications เนืองจากต ้องการระบบทีเน ้น Performance สูง, security, reliability, etc.

เพราะฉะนันสําหรับบุคลากร Storage Admin แล ้วยังจําเป็ นจะต ้องเรียนรู ้และพัฒนาทักษะเพือให ้สามารถดูแลระบบทียังคงใชงาน



traditional SAN infrastructure ไปอีกอย่างน ้อยเป็ นสบ
ิ ปี ขนไป
ึ จนกว่าเทคโนโลยีการใชงาน้ Disk storage แบบใหม่ๆจะถูกพัฒนา
ให ้ทัดเทียมหรือเหนือกว่าระบบเดิมได ้

POWERED BY WORDPRESS.COM.

REPORT THIS AD

https://storageadminthai.wordpress.com/page/3/ 13/14

You might also like