You are on page 1of 58

บทที่ 3

การปรับตัวและสุขภาพจิต

Nonglakshana waiprom

การปรับตัว

ความหมายของการปรับตัว

- การท าให้เหมาะสม ท าให้เข้ากันได้

- กระบวนการที่บุคคลสามารถเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวัน จัดการแก้ไข ต่อสู้ และปรับปรุง ตนเอง เพื่อให้อยู่ในสถานการณ์นน


ั้ ๆ ได้อย่างมี

คุณภาพชีวต
ิ ทีด
่ ี

มาลม์ และจาไมสัน

การปรับตัวว่า หมายถึง วิธก


ี ารที่คนเราประพฤติเพื่อให้ เป็นไปตามความต้องการของตัวเองในสภาพแวดล้อมซึ่ง บางครั้งส่งเสริมบางครั้งขัดขวาง และบางครั้ง
สร้างความ ทุกข์ทรมานแก่เรา
สกินเนอร์ ธอร์นไดค์ ฮัล และมิลเลอร์

• บุคคลจะปรับตัวได้ดีหรือไม่ขึ้นอยูก
่ ับการเรียนรู้ของ บุคคลโดยมีสภาพแวดล้อมและการเสริมแรงเป็น ตัวก าหนด บุคคลจะเรียนรู้วา่ พฤติกรรมใดท าแล้ว
ได้ผลดี (ได้รบ
ั รางวัล) บุคคลจะท าพฤติกรรมนั้นซ้ า อีกจนเกิดเป็นบุคลิกภาพและการปรับตัวของคน ๆ นั้น

สรุปการปรับตัว

• การทีบ
่ ุคคลสามารถสร้างหรือขัดเกลาพฤติกรรมให้เข้า กับแบบแผนของสังคมหรือสิง่ แวดล้อมทีเ่ ปลี่ยนแปลง ให้ สามารถบรรลุจุดมุ่งหมายทีต
่ ้องการ ท
าให้มีชีวิตที่เป็นสุข ทั้งกายและใจ ไม่เกิดผลเสียต่อตาเองและผู้อื่น

• ดังนั้น การเป็นคนที่มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี เปรียบได้ดับการท าตัวเหมือนกิ่งก่าซึ่งปรับตัวให้เข้ากับ สิ่งแวดล้อมได้อย่างรวดเร็ว

ความส าคัญของการปรับตัว

1. ช่วยบรรเทาความรู้สก
ึ คับข้องใจ ความขัดแย้ง ความกดดันและความเครียด

2. การรู้จักปรับตัวที่มีประสิทธิภาพจะช่วยลดปัญหา สุขภาพจิต
3. ช่วยให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

4. ท าให้มีบุคลิกภาพที่ดี

สภาวะทีก
่ ่อให้เกิดการปรับตัว

1. สภาวะทางกายภาพ

การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม (Adaptation) ได้

คือ สภาพการณ์ทเี่ กิดจากสิ่งเร้าภายนอกเป็นตัวผลักดันให้บุคคล ต้องปรับตัว

2. สภาวะทางจิตวิทยา

เป็นการปรับตัวด้านจิตใจ (Adjustment)

คือ สภาพการณ์ทเี่ กิดจากสิ่งเร้าภายในตัวบุคคลที่ผลักดันให้บุคคล ต้องปรับตัว

ความคับข้องใจ (Frustration)

• สภาพอารมณ์หรือความรู้สก
ึ ที่ไม่พึงพอใจ ท าให้ไม่บรรลุ เป้าหมายทีต
่ ั้งไว้ เพราะบุคคลต้องพบกับอุปสรรค

• อุปสรรคอาจเกี่ยวข้องกับบุคคลโดยตรงหรือทางอ้อมก็ได้

• ท าให้บุคคลเกิดความหงุดหงิด กลุ่มใจ ไม่สบายใจและ กระวนกระวายใจ

• ความคับข้องใจจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยที่มา ผลักดันบุคคล
สาเหตุทท
ี่ าให้เกิดความคับข้องใจ

1. ตัวบุคคล

- ความบกพร่องทางกาย ทางสติปัญญา

- 2. สิ่งแวดล้อม

- ทางกายภาพและทางสังคม

ผลดีและผลเสียของความคับข้องใจ

• ผลดี

ท าให้บุคคลไม่ท้อแท้ต่อความผิดหวัง พยายามเอาชนะ อุปสรรคต่างๆ

• ผลเสีย

ท าให้บุคคลเกิดอาการทางกายและทางจิตใจแปรปรวนไป

ความขัดแย้งในใจ (Conflict)

• สภาวการณ์ที่ท าให้บุคคลเกิดความล าบากใจ อึดอัด หนักใจที่ตอ


้ งตัดสินใจเลือกสิง่ ใดสิ่งหนึ่งซึ่งอาจจะชอบ มากเท่า ๆ กัน

• แต่ถ้าบุคคลใดตัดสินใจไม่ได้ว่าจะเลือกอย่างไหนดีกว่ากัน แสดงว่าเขาเกิดสภาวะความขัดแย้งใจขึน
้ แล้ว
เลวิน (Lewin) แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ

1. ความขัดแย้งแบบรักทั้งคู่

(Approach-Approach Conflict)

เป็นสิ่งทีเ่ กิดขึ้นเพราะบุคคลตัดสินใจไม่ได้ว่า จะเลือกสิ่งไหนดีกว่ากัน เพราะมีชอบสิง่ เร้าทั้งสอง

อย่างนั้นพอๆ กัน

“รักพี่เสียดายน้อง

วันนี้อยากทานทั้งบะหมี่น้ าและข้าวมันไก่

แต่รต
ู้ ัวเองว่าสามารถทานได้เพียงอย่างเดียวเพราะเงินมีจ ากัด

2. ความขัดแย้งแบบเกลียดทัง้ คู่

(Avoidance-Avoidance Conflict)

่ ุด เพราะไม่ต้องการทั้งสองอย่าง แต่ต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง “หนีเสือปะจระเข้”


ความขัดแย้งที่ก่อให้เกิดความไม่สบายใจให้กับ บุคคลได้มากทีส
อาจารย์ให้นก
ั ศึกษาเลือกว่า

จะท าวิจย
ั หรือสอบปากเปล่า

3. ความขัดแย้งแบบทั้งรักทัง้ เกลียด

(Approach-Avoidance Conflict)

เมื่อบุคคลเลือกสิ่งหนึ่งที่ชอบและได้สิ่งที่ไม่ชอบตามมาด้วย “เกลียดตัวกินไข่ เกลียดปลาไหลกินน้ าแกง” เช่น อยากเลี้ยงปลา สวยงามในตู้สวย ๆ แต่ก็ไม่อยาก


มีภาระในการท าความสะอาดตู้ปลา ,

อยากรับประทานพิซซ่าแต่กลัวอ้วน เป็นต้น

อยากเลี้ยงปลาแต่ก็ไม่อยากล้างตู้ปลา

4. ความขัดแย้งแบบทั้งชอบและไม่ชอบหลายอย่างปนกัน

(Multiple Approach-Avoidance Conflict)


• บุคคลต้องตัดสินใจเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่จะมีลักษณะซับซ้อนกว่าแบบที่สาม

“ท างานราชการ มีเกียรติและมั่นคงแต่รายได้ไม่สูงนัก

แต่เอกชนรายได้สูง แต่ต้องไปอยู่ตา่ งจังหวัด”

ความกดดัน (Pressure)

• สภาพการณ์ทบ
ี่ ังคับให้บุคคลจ าเป็นต้องกระท าสิ่งหนึ่งสิ่งใด ภายในเวลาจ ากัด

• มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและการปรับตัวของบุคคล
นักศึกษาได้รับการคัดเลือกให้เข้าศึกษาต่อตามโควตานักกีฬา เมื่อ
เข้ามาศึกษาแล้วต้องตั้งใจเรียนให้ส าเร็จการศึกษาด้วย ใน ขณะเดียวกันต้องเป็นนักกีฬาที่ท าชื่อเสียงให้กบ
ั วิทยาลัยด้วย นักศึกษาจึงถูกกดดันทั้งจาก
สถานศึกษาและจากครอบครัวด้วย

สาเหตุของความกดดัน

1. ตัวบุคคล ตั้งความมุ่งหมาย และอุดมคติไว้สูง

2. สภาพการณ์ บุคคลต้องเผชิญกับสภาพการณ์ ต่างๆ ที่บังคับ หรือบีบคัน


้ ให้บุคคลท า

2.1 การแข่งขัน

2.2 สภาพครอบครัว

ความเครียด (Stress)

• สภาวะการตอบสนองของบุคคลทั้งทางกายและจิตใจต่อสภาพที่เกิดขึน

• ยังไม่สามารถจัดการกับปัญหาเหล่านั้นได้

• ท าให้เกิดความตึงของร่างกายและจิตใจจนเกิดความเครียด

• ความเครียดนั้นเกิดขึ้นได้กบ
ั ทุกเพศ ทุกวัย ทุกสังคม โดยเฉพาสังคมใน เมืองใหญ่ๆ

องค์ประกอบของความเครียด

แบ่งเป็น 2 องค์ประกอบ
1. ด้านร่างกาย (Physiological Stress) เช่น เหงื่อแตก ปวดหัว วิงเวียน นอนมากไป หายใจติดขัด มือเท้าเย็น นอนไม่หลับ ปวดหลัง อาเจียน รับประทาน
ไม่ได้

2. ด้านจิตใจ (Psychological Stress) แบ่งออกเป็น

ด้านพฤติกรรม เช่น ปาก-มือสั่น เสียงสั่น พูดเร็ว เดินตัวเกร็ง

ด้านความคิด เช่น คิดอะไรไม่ออก ไม่มีสมาธิ หงุดหงิดง่าย

ด้านอารมณ์ เช่น กลัว วิตกกังวล เศร้า โกรธ คับข้องใจ กัด ฟัน กัดเล็บ ดึงผม ไม่สนใจการแต่งกาย เปลี่ยนพฤติกรรมทางสังคมทันใด

สาเหตุทท
ี่ าให้เกิดความเครียด

สามารถแบ่งเป็น 3 ด้าน

สภาพที่เผชิญอยู่ เช่น เศรษฐกิจสังคมอาชีพ ครอบครัว การเรียน ความรัก ฯลฯ

สภาพด้านร่างกาย เช่น พักผ่อนไม่พอ กินอาหารไม่ เหมาะสม เจ็บป่วย

สภาพทางจิตใจ เช่น มองโลกในแง่รา้ ย ความไม่ สมหวัง ฯลฯ

ระดับของความเครียด

1. ความเครียดระดับต่ า (Mild stress) มีความเครียดเกิดขึ้นน้อยและหมด ไปในระยะเวลาอันสั้นเพียงนาที หรือภายในชั่วโมงเท่านัน


้ มักเกี่ยวข้องกับ สาเหตุเพียง
เล็กน้อย ได้แก่ เหตุการณ์ในชีวิตประจ าวัน
2. ความเครียดระดับกลาง (Moderate stress) มีระยะเวลานานเป็น ชัว
่ โมงหรือหลายชั่วโมง จนกระทั่งนานเป็นวันก็ได้ เช่น การเจ็บป่วยที่ไม่ รุนแรง กินมาก
นอนมาก มีความขัดแย้งกับเพื่อนร่วมงาน

3. ความเครียดระดับสูง (Severe stress) ความเครียดระดับนี้จะอยูน


่ าน เป็นสัปดาห์หรืออาจเป็นเดือนเป็นปีก็ได้ เช่น การตายของผู้เป็นที่รก
ั การ เจ็บป่วยที่รุนแรง
การสูญเสียอวัยวะของร่างกาย กินไม่ได้ นอนไม่หลับ

เทคนิคการจัดการความเครียด

1. การควบคุมลมหายใจลึก (Deep Breathing) 2. การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ (PMR)

3. การใช้จิตนาการ (Imagery)

4. การยืดกล้ามเนื้อ (Stretching)

5. การท าสมาธิ Meditation/ ใช้ดนตรีบ าบัด

6. ตั้งเป้าหมายใหม่ๆ ในชีวต

7. คิดเชิงบวกและการมองโลกในด้านดี

8. อย่าแก้ปัญหาด้วยแอลกอฮอลล์

9. พักผ่อนให้พอเพียงและเหมาะสม

10. หาเพือ
่ นแท้และปรึกษาผูเ้ ชี่ยวชาญ/ยอมรับตัวเอง
เมื่อมีความเครียดหรือมีปัญหาในชีวต
ิ มนุษย์จะเลือกวิธก
ี ารต่างๆ เพื่อ

น ามาใช้ในการปรับตัวแตกต่างกัน ออกไป ตามลักษณะบุคลิกภาพของตน วิธก


ี ารที่จะน ามาใช้ในการปรับตัว เรียกว่า

กลวิธานในการป้องกันตนเอง

การปรับตัวของมนุษย์

แบ่งออกเป็น 2 ระดับ

1. การปรับตัวแบบรู้ตว
ั เป็นการปรับตัวโดยบุคคลพยายามแก้ปญ
ั หาที่สร้าง ความไม่สบายใจต่าง ๆ เพื่อให้มีชีวิตอยู่ได้ด้วย ความสุข การแก้ปญ
ั หานัน

บุคคลอาจจะท าโดย

2. การปรับตัวแบบไม่รต
ู้ ัว
• เกิดขึ้นเองโดยที่บุคคลไม่รู้ตว
ั ว่าตนเองก าลังลดความทุกข์ใจ

• การหาทางออกอย่างหนึ่งของบุคคลเมื่อเกิดความคับข้องใจ ความ ขัดแย้งใจ ความเครียด เมื่อเผชิญปัญหาแล้วแก้ปญ


ั หานัน
้ ไม่ได้

• จึงหาทางออกด้วยวิธท
ี ี่เรียกว่า กลไกทางจิตหรือกลวิธีปอ
้ งกัน ทางจิตหรือกลวิธานป้องกันตนเอง (Defense Mechanism)

• กลไกนี้บุคคลจะใช้เพื่อรักษาหรือคุ้มครอง “หน้า” หรือ “ศักดิ์ศรี” ของตนเองไว้ เพื่อไม่ให้ตนเองเกิดความทุกข์ สถานการณ์ที่มีปัญหา

กลวิธานในการป้องกันตนเอง

1. แบบต่อสู้หรือเผชิญสถานการณ์

1. การก้าวร้าว (Aggression) แสดงอาการต่อสู้ท าลายสิ่งที่มา ขัดขวางความต้องการ มี 2 ลักษณะ

ความก้าวร้าวทางตรง เป็นการแสดงพฤติกรรมทางกาย วาจา โต้ตอบโดยตรงต่อสิ่งที่ท าให้คบ


ั ข้องใจ เตะ ต่อย ทุบ ตี ด่าว่า ความก้าวร้าวทางอ้อม
เป็นการแสดงพฤติกรรมทางทางอ้อม

เพราะไม่สามารถแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวโดยตรง นิ่ง ขีด

เขียนก าแพง

2. แบบหลีกเลี่ยงหรือหนีสถานการณ์

• การปฏิเสธไม่ยอมรับความจริง (Denial of Reality)

• การถอยหนี (Withdrawal)
• การเก็บกด (Repression)

• การถดถอย (Regression)

• การแยกตัวออกจากสังคม (Isolation)

• การฝันกลางวันหรือเพ้อฝัน (Day Dream)

3. แบบประนีประนอมสถานการณ์

• ปฏิกิริยากลบเกลื่อน (Reaction Formation)

• การแสดงความพิการทางกาย (Conversion)

• การกล่าวโทษบุคคลอื่นหรือสิ่งอื่น (Projection)

• การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง (Rationalization)

เหตุผลทีน
่ ามาใช้มักเป็นค่านิยมที่สังคมยอมรับ แบ่งออกเป็น 2 แบบ

– แบบองุ่นเปรี้ยว (Sour Grape)

– แบบมะนาวหวาน (Sweet Lemon)


• การส านึกบาป (Undoing)

• การลงโทษตนเอง (Introjection)

• การชอบอ้างว่าตนฉลาดรอบรู้ (Intellectualization

• การเลียนแบบ (Identification)

• การชดเชย (Substitution)

เป็นกลไกที่จะเอาชนะข้อบกพร่องของตนเอง ทั้งด้านร่างกาย บุคลิกภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจ และทางสติปัญญา ด้วยวิธีการสร้าง ความเด่น

การทดแทน (Compensation)

• เป็นกลไกการแสวงหาสิ่งอื่นมาทดแทนสิ่งที่ตนชอบแต่ไม่ สามารถเป็นเจ้าของสิ่งนั้นได้

• เป็นการเปลี่ยนเป้าหมายไปจากเดิม

• โดยปกติสิ่งทีบ
่ ุคคลหามาทดแทนจะเป็นสิ่งทีบ
่ ุคคลนั้น ชอบ และมักจะมีลักษณะคล้ายกัน

• เช่น สมศักดิ์อยากแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง แต่ท าไม่ ส าเร็จจึงขอแต่งงานกับน้องสาวของหญิงคนนีแ


้ ทน

การทดเทิด (Sublimation)

• เปลี่ยนความปรารถนาทีต
่ นชอบแต่สังคมไม่ยอมรับมา เป็นความปรารถนาทีต
่ นชอบและสังคมยอมรับ
• โดยยังอยู่บนพืน
้ ฐานเดิม

• เช่น มีพลังแรงขับทางเพศแต่แสดงออกในทางสังคม ยอมรับโดยการเป็นนักเขียนและศิลปิน มีความ ก้าวร้าวชอบท าลายกลายมาเป็นนักกีฬา นักมวย


นักยิงปืน

ข้อดี-ข้อเสีย ของการใช้กลวิธานป้องกันตนเอง

ข้อดี

– ผ่อนคลายสภาวะความทุกข์

– รู้สึกว่าตนเองยังมีศักดิ์ศรีและมีคุณค่า

– เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพในทางสร้างสรรค์

ข้อเสีย

– ถ้าใช้บ่อยจะท าให้กลายเป็นคนมีปัญหาบุคลิกภาพ โรคประสาท โรคจิต

– ส่งผลเสียต่อบุคลิกภาพ

– ส่งผลต่อการท างานร่วมกับคนอื่น

สุขภาพจิต

( Mental Health)
สุขภาพจิตดีเปรียบได้กับต้นไม้

คนที่สข
ุ ภาพจิตดีจัดเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่าแก่สังคม

วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2535 (1992)

"วันสุขภาพจิตโลก"

ข่าวความขัดแย้งทางการเมือง"

"น้ ามันแพ้ง...แพง" "ของขึน


้ ราคา" "ข่าวแผ่นดินไหว น้ าท่วม"

"ข่าวอาชญากรรม การลักขโมยของแปลก ๆ"

"การรับน้องใหม่อย่างทารุณ" "เหตุการณ์ภาคใต้ทย
ี่ ังไม่สงบ" “ข่าวฆ่าตัวตาย.......มีให้เห็นทุกวัน ”

ความหมายของสุขภาพจิต

• องค์การอนามัยโลก (WHO)

ความสามารถทางจิตใจของบุคคลที่จะปรับตัวให้มีความสุขเข้ากับ สังคมและสิ่งแวดล้อมได้ด้วยดี มีสัมพันธภาพที่ดีงามกับบุคคลอื่นและ ความสามารถที่อยู่ได้


หรือท าสิ่งทีส
่ ร้างสรรค์ได้ในสภาพสังคมและ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่เปลี่ยนแปลง สามารถด าเนินชีวต
ิ ด้วยความ สมดุลความสุขสบายใจ รวมทั้งสามารถ
ตอบสนองความต้องการของ ตนเองในสังคมที่ก าลังเปลี่ยนแปลงโดยไม่มีความขัดแย้งภายในจิตใจ ไม่ เฉพาะผู้ที่ปราศจากอาการของโรคจิตหรือโรคประสาท
เท่านั้น
นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว

• สุขภาพจิต หมายถึง สภาพชีวิตที่เป็นสุข ผูท


้ ี่มีสุขภาพจิตดีเป็น ผูท
้ ี่มีร่างกายและจิตใจเป็นสุขปราศจากโรคจิต, โรคประสาท สามารถปรับตัวได้อย่าง
เหมาะสมในสังคม โดยไม่มข
ี ้อขัดแย้ง ภายในจิตใจมีความมั่นคงทางใจ มีสมรรถภาพในการท างาน สามารถอยู่ร่วมกับผู้อน
ื่ ด้วย ความพอใจมีความสัมพันธ์กับ
ผู้อื่น ได้อย่างมีความสุข มีบค
ุ ลิกภาพที่เอือ
้ อ านวยให้เกิดการแสดง พฤติกรรมที่พึงปรารถนาสามารถท าประโยชน์ให้แก่ทั้งตนเองและ สังคมได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

ศ.ดร.ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์

• สุขภาพจิต หมายถึง ให้ความหมายไว้ว่า สุขภาพจิต หมายถึง ความสามารถในการปรับตัว ตลอดจนการยอมรับ ความเป็นจริงและความสามารถในการ


มองเห็นถึงความสัมพันธ์ ทีถ
่ ก
ู ต้องระหว่างตนเองและสิ่งแวดล้อม หรือกล่าวอีกอย่าง หนึ่งว่าเป็นความสมบูรณ์ทางจิตใจของมนุษย์ที่ช่วยให้มก
ี าร ด ารงชีวต
ิ อยู่
อย่างมีความสุขปราศจากโรคจิตหรือโรคประสาท มีความสามารถท าประโยชน์ให้กบ
ั ตนเองและสังคมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

ลักษณะของผู้ที่มีสข
ุ ภาพจิตไมดี
1. มีความผิดปกตดานพฤติกรรม เช่น ทะเลาะวิวาท เล่นการพนัน ติดยา

2. มีความผิดปกติดา้ นประสาท เช่น หงุดหงิดง่าย ฉุนเฉียว ขี้อิจฉา พูดเพ้อเจ้อ

3. มีความผิดปกตด้านลักษณะนิสัย เช่น กินยากอยู่ยาก กัดเล็บ มีปัญหากับผู้อื่น

4. พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมกับวัย เช่น กิริยา การพูด การแต่งกายไม่สมวัย

5. มีบุคลิกภาพที่บกพร่อง เช่น เก็บตัว ไม่ชอบคบหาสมาคมกับใคร เบื่อผู้คน

6. มีความผิดปกตด้านร่างกาย เช่น เจ็บป่วยบ่อย โรคกระเพาะ ปวดศีรษะข้างเดียว

7. มีอาการทางประสาทและทางโรคจิต

ลักษณะของผู้ที่มีสข
ุ ภาพจิตดี

1. สามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมและวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุข

2. รู้จักตอบสนองความต้องการที่จ าเป็นต่อชีวต
ิ และมีความห่วงใยผู้อื่น ตามสมควร
3. ไม่มองโลกในแง่ร้าย-ดีเกิน ไปจนท าให้ขาดความระวังภัย

4. มีความใฝ่รู้ แสวงหา ส ารวจทดลอง แต่ไม่มากจนตนเองได้รับอันตราย

5. สามารถท าร่วมงานกับผูอ
้ ื่นได้ รู้จักประนีประนอม

6. กล้าปกป้องสิทธิของตน และเคารพสิทธิของผู้อื่น ไม่กา้ วร้าวลบหลู่ผู้อน


ื่

7. พอใจในเพศของตน ปฏิบต
ั ิทางเพศอันเหมาะสมแก่ตนและคูข
่ องตน

จ าแนกความผิดปกติของบุคลิกภาพ

• 1. ระบบ ICD (International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems) ของ WHO

• แบ่งความผิดปกติทั้งด้านกายภาพและจิตใจ

• ปัจจุบันจัดพิมพ์ครั้งที่ 10 แล้ว (ค.ศ. 1992) ระบบนี้นิยมใช้กันอย่าง แ พ ร่ ห ล า ย ใ น ว ง ก า ร จิ ต เ ว ช ( http://www.thcc.or.th/ICD-


10TM/index.html)

• 2. ระบบ DSM (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders) สมาคมจิตเวชศาสตร์สหรัฐอเมริกาได้ก าหนดระบบ

• จ าแนกประเภทความผิดปกติทางจิตเท่านัน

การจ าแนกความผิดปกติดว
้ ยระบบ DSM-IV

1. จิตสรีระแปรปรวน(Psychophysiologic Disorders)
2. บุคลิกภาพผิดปกติ (Personality Disorders) 3.โรคประสาท (Neurotic Disorders) 4.โรคจิต (Psychosis)

1. จิตสรีระแปรปรวน

(Psychophysiologic Disorders)

• เป็นภาวะที่มีความผิดปกติของร่างกายหรือโรค ทางกายเกิดขึ้นโดยมีสาเหตุมาจากปัจจัยทาง จิตใจในการกระตุน


้ ให้เกิดโรคมีความผิดปกติ รุนแรงขึน
้ และ
ความผิดปกตินั้นจะต้องมีพยาธิ สภาพทางกาย(Organic Pathology) ปรากฏ ชัดเจน

• อาจท าให้เกิดความไม่สบายใจในรูปแบบต่าง ๆ จนอยูใ


่ นสภาวะสภาพจิตเสื่อม

2. บุคลิกภาพผิดปกติ

(Personality Disorder)

• ประชากรจ านวน 10-30% มีบุคลิกภาพผิดปกติ ซึ่งความผิดปกติ

• มีจะสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมค่อนข้าง สูง ทั้งด้านขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง

แบ่งเป็น 3 กุล่ม รวม 10 ประเภท

ตามลักษณะพฤติกรรม ดังนี้

• 1. กลุ่ม A : ความประหลาดหรือพฤติกรรมแปลกพิกล
(Odd or Eccentric Behavior)

1.1 บุคลิกภาพแบบหวาดระแวง

(Paranoid)

• มีความสงสัยแคลงใจอยู่เรื่อยๆ

• ไม่ไว้วางใจและอิจฉาคนอื่น

• มีความรู้สก
ึ ไวต่อการรับรู้มากเกินไปจนท าลายการ สร้างสัมพันธภาพ

• ไม่ค่อยแสดงออกทางอารมณ์

• หลีกเลี่ยงการคบหาสมาคมอย่างสนิทสนม

1.2 บุคลิกภาพแบบแยกตัวคล้ายจิตเภท

(Schizotypal)

• มีความคิด การรับรู้ การพูด การแสดงออกทีแ


่ ปลก ประหลาดแต่ไม่มากพอที่จะวินิจฉัยว่าเป็นจิตเภท

• อาจเชื่อในอ านาจวิเศษ โชคลางของขลัง

• แยกตัวเด็ดขาดจากสังคม
• มีแนวโน้มที่จะยึดตนเองเป็นศูนย์กลางอย่างมาก

• ไม่ยอมรับความคิดเห็นบุคคลอื่น

1.3 บุคลิกภาพแบบแยกตัว

(Schizoid)

• มีลักษณะเย็นชาไร้อารมณ์ ไม่ยินดียินร้าย

• มักแยกตัวออกจากสังคม

• ไม่สามารถสร้างสัมพันธภาพที่ใกล้ชิดกับคนอืน

• ไม่มีอารมณ์ขัน

• แยกไม่ออกระหว่างความหวังดีกับการวิพากษ์วิจารณ์

2. กลุ่ม B : ความเจ้าอารมณ์ เพ้อฝัน

(Dramatics/Emotional)

2.1 บุคลิกภาพแบบก้ ากึ่ง (Borderline)


• ไม่มีความมั่นคงในหลายๆ ส่วน เช่น อารมณ์ (mood) อาจฉุนเฉียวง่าย ชอบอาละวาด การแสดงพฤติกรรม และสัมพันธภาพระหว่างบุคคลค่อนข้างลังเล
จนเป็นนิสัย ไม่มีหลักการในชีวิตที่แน่นอนและมีพฤติกรรมทางเพศ เบี่ยงเบน

2.2 บุคลิกภาพแบบแสดงออกเกินจ าเป็น

(Histrionic)

• เป็นการแสดงออกที่มากเกินไป (overly Dramatic)

• การแสดงออกเหมือนเล่นละคร เพราะมีสีหน้าและท่าทางมากเกินไป

• มักต้องการให้ตนเองเป็นจุดสนใจของผู้อน
ื่

• ชอบท าเรือ
่ งเล็กให้เป็นเรื่องใหญ่

• ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง

• ตามใจตนเองมากเกินไป

• อารมณ์อ่อนไหว ไม่มีวุฒิภาวะ ถูกชักจูงง่าย

• มีแนวโน้มพึ่งพาคนอื่น ขาดทักษะในการสร้างสัมพันธภาพ

2.3 บุคลิกภาพแบบต่อต้านสังคม

(Antisocial)
• ไม่ค านึงถึงสิทธิและกฎเกณฑ์ทางสังคมหรือ ขนบธรรมเนียมประเพณีโดยไม่รู้สึกผิด

• มักจะเกิดช่วงก่อนวัยรุน
่ หงุดหงิด ก้าวร้าว

• ไม่ค่อยมีคุณธรรม ไม่รับผิดชอบ และอดทน ที่จะท างานที่ใดที่หนึ่งนานๆ ไม่ได้

2.4 บุคลิกภาพแบบรักและหลง

(Narcissistic)

• รู้สึกว่าอยากโอ้อวดความส าคัญของตน

• ฝันเฟื่องกับความส าเร็จของตน

• ต้องการให้คนอื่นเอาใจเหมือนเด็ก

• ชอบถูกห้อมล้อม ไม่ค่อยสนใจผู้อื่น

• ไม่ค่อยเอื้ออาทรผู้อื่น มักจะหยิ่งยโส

• ถือตัวและขี้อิจฉา

3. กลุ่ม C: ความวิตกกังวลหรือพฤติกรรมทีเ่ กี่ยวกับ

ความกลัว (Anxiety/Fearful)
3.1 บุคลิกภาพแบบหลีกเลี่ยงสังคม (Avoidance)

• มีความรู้สก
ึ ว่าตนถูกกีดขวางจากสังคมหรือผูอ
้ ื่น

• ไม่ยอมรับตนเอง

• ต้องการมีเพื่อนสนิทแต่ไม่สามารถท าได้ เนื่องจากกลัวการ ปฏิเสธเพราะขาดความมั่นใจในตนเอง

3.2 บุคลิกภาพแบบพึ่งพาผู้อน
ื่

(Dependent)

• มีตัวตนในความคิดในทางทีไ
่ ม่ดี

• ขาดความมั่นใจ

• ยอมตามผู้อื่นเพื่อที่จะหลีกเลี่ยงความบาดหมาง

• ต้องการพึ่งพาผู้อื่นตลอดเวลา

• ไม่กล้าตัดสินใจ กลัวถูกทอดทิ้ง

3.3 บุคลิกภาพแบบย้ าคิดย้ าท า

(Obsessive-Compulsive)
• มักถูกครอบง าเกินไปจากกฎเกณฑ์ต้องการความสมบูรณ์แบบ

• เจ้าระเบียบ ไม่ค่อยมีความนุม
่ นวลอ่อนโยน

• มักท าตามต าราโดยไม่ค านึงถึงสภาพความเป็นจริง

• แข็งกระด้าง ไม่ยืดหยุ่นและท างานโดยไม่หยุด

• หมกมุ่นกับรายละเอียด

• จ ากัดการแสดงออกตามสภาพอารมณ์ไม่ว่าจะเป็นความรัก

• ความอบอุน
่ หรือความรู้สก
ึ ผูอ
้ ื่น

ความวิปริตทางเพศและความเบี่ยงเบนทางเพศ

(Sexual Disorder and Sexual Deviation)

1. พฤติกรรมทางเพศที่ไม่สอดคล้องกับเพศของตน

1.1 กะเทย (Hermaphrodite) มี 2 ลักษณะ

1. "กะเทยแท้" บุคคลที่มีอวัยวะทั้งผูห
้ ญิงและผู้ชายอยู่ใน คนๆ เดียวกันหรือมีอวัยวะเพศแบบก่ ากึ่งบอกไม่ได้แน่ ว่าเป็นผู้หญิงหรือชาย มีทั้งอัณฑะและรังไข่อย่าง
ละครึ่ง

2. “กะเทยเทียม” บุคคลที่มอ
ี วัยวะเพศแบบครึ่งหญิงครึ่ง ชาย หรือบางอวัยวะเป็นหญิงบางอวัยวะเป็นชาย
ตัวอย่างกระเทยแท

(เป็ นคนไข้เดก

ทเจอต้ังแต่แรกเกด

ทพส

ูจน์โครโมโซมแล้ว

เป็ นชาย (XY)

ข้น

ตอนพฒ

นาการของตวอ่อนในครรภ์ จะมีพฒ
นาการของ

อวย

วะส่วนน้

คลา

ยกน

ท้ง

2 เพศ ก่อน แต่พอตว

อ่อนโต ข้น

อวย

วะดง

กล่าว จึงจะเปลี่ยนรูปร่างไปเด่นชัดตามเพศของ

ตวเอ
http://www.2jfk.com/hermaphrodite.htm
ทวโลกเพียง 200 ราย

ทหารชาวอิตาลีชื่อ ดาเนียล เบิรก


์ แฮมเมอร

http://www.schau-thai.de/?p=1001

2. ลักเพศ (Transvestism)
• สาวประเภทสอง แต่งตัวหรือแสดงท่าทางเป็นเพศตรงข้ามตนเอง

• บางคนมีพฤติกรรมรักร่วมเพศ

• เช่น ชายทีแ
่ ต่งตัวเป็นหญิงหรือหญิงแต่งตัวเป็นชาย มีกิจกรรมทางเพศกับเพศ ตรงกันข้ามได้ตามปกติ แต่จะต้องอาศัยเครื่องแต่งกายของเพศตรงข้าม
กระตุ้น อารมณ์เพศ

• ปัจจุบันคนทั่วไปนิยมเรียก กะเทยแท้กับลักเพศรวมกันว่า "กะเทย"

• กะเทยทีเ่ ป็นลักเพศโดยทั่วไปต้องการเป็นเพศหญิง ทั้งทางด้าน กาย วาจา และ ใจ ต้องการให้คนในสังคมปฏิบต


ั ก
ิ ับตนเองดังเช่นผู้หญิงคนหนึ่งหรือชาย
คนหนึ่ง

• กะเทยโดยส่วนมากจะรักและชอบเพศเดียวกัน

3. รักร่วมเพศ (Homosexuality or Lesbian)

• การแสดงความรักทางเพศระหว่างเพศเดียวกัน

• รักเพศเดียวกันถือเป็นรสนิยมทางเพศ

• ปัจจุบัน “ความหลากหลายทางเพศ” พบในเพศชายมากกว่า เพศหญิงประมาณ 3 ต่อ 1

• ส าหรับเพศหญิงมีชื่อเฉพาะว่า Lesbian

• สาเหตุอาจเกิดจากการอบรมเลี้ยงดู
4. ปฏิเสธเพศ (Transsexualism)

• ภาวะของคนที่ไม่ยอมรับเพศที่แท้จริงโดยก าเนิดของตน มีความ ปรารถนาที่จะผ่าตัดเปลี่ยนเพศของตนเอง

• สาเหตุอาจเกิดจากความผิดปกติทางฮอร์โมนหรือโครโมโซม

• การอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัว

• ประสบการณ์ในวัยเด็กที่ประสบกับความไม่ประทับใจเกีย
่ วกับเพศ ของตนอย่างรุนแรง

• กะเทยทีผ
่ ่าตัดแปลงเพศแล้ว เรียกว่า Transsexual
นายยลลดา เกริกกอง สวนยศ : นก-ยลลดา

นายกสมาคมสตรีขามเพศแห่งประเทศ

http://www.pilok4u.com/read.php?tid-1577.html

2. ความผิดปกติในการเลือกคู่เพื่อท ากิจกรรมทางเพศ

2.1 การแสวงหาความสุขทางเพศกับเด็ก (Pedophillia)

– เป็นเพศเดียวกันหรือเพศตรงข้ามกันก็ได้

– การสัมผัสร่างกาย มักจะเป็นเพศชายที่ไม่มีความสุขกับหญิงสาว เนื่องจากมีปมด้อยมีสติปัญญาทึบ


– สูงอายุ มีอาชีพคลุกคลีใกล้ชิดกับเด็ก

2.2 การหาความสุขทางเพศกับคนแก่ (Gerontophilia)

• เป็นความผิดปกติที่คนอายุนอ
้ ยมีความสนใจทางเพศกับคนแก่

• สาเหตุอาจเกิดความรู้สึกผูกพันทางอารมณ์ที่ฝังใจกับพ่อแม่หรือ ปู่ย่าตายาย ผู้สูงอายุ

2.3 การหาความสุขทางเพศกับศพ (Necrophilia)

• เป็นพฤติกรรมที่มีความพึงพอใจในการร่วมเพศกับศพ

• ถือว่าเป็นความผิดปกติทางด้านจิตใจ

• มักจะท าการช าเราศพ


2.4 ความพอใจทางเพศกับการสมสู่กบ
ั สัตว์ (Zoophilia or Bestiality)

• พบในผู้ที่มีความผิดปกติทางด้านจิตใจและปัญญาอ่อน

2.5 การหาความสุขทางเพศกับวัตถุ (Fetishism)

• ชอบสะสมสิ่งของเครื่องใช้ของเพศตรงกันข้ามไว้เป็นตัวแทนของ ที่คนที่รักเพื่อน ามากระตุ้นอารมณ์ทางเพศ

2.6 การชอบอวดอวัยวะเพศหรือเปลือย (Exhibition or Nudism)

• ภาวะของคนที่ได้รับความตืน
่ เต้นพอใจทางเพศจากการได้เปิด อวัยวะของคนในทีส
่ าธารณะ ส่วนใหญ่พบในผู้ชาย

2.7 การมีความพอใจทางเพศจากการท าให้คู่นอนเจ็บปวด (Sadism)

• การกัด หยิก ตบตี บางครั้งอาจแสดงออกทางค าพูด

• พบในชายประมาณ 5 % ในหญิง 2 %

• รายที่รุนแรงอาจฆ่าและหัน
่ ชิ่นส่วนต่างๆ ของร่างกาย “Lust Murder”

• เชื่อว่า พฤติกรรมนี้มาจากความกลัวถูกผู้หญิงทิ้งและไม่ยอมรับตน

• “ ไอ้โรคจิต” เพราะมีจิตใจผิดปกติมาก

2.8 การมีความพอใจทางเพศจากการถูกคู่นอนเจ็บปวดท าให้เจ็บปวด

(Masochism)
• พบได้บ่อยกว่าซาดิสก์

• การถูกจับมัด การใช้ไฟฟ้าจี้

2.9 ถ้ ามอง (Scopophilia & Voyeurism)

• Scopophilia พอใจทางเพศจากการแอบดูอวัยวะเพศของผู้อื่นหรือดูการ มีเพศสัมพันธ์ของคนอืน


• Voyeurism แอบดูคนอื่นเปลือยเท่านัน

2.10 เบียดเสียดถูไถ (Frottage)

• ภาวะของคนที่ได้รับความรู้สึกทางเพศโดยการถูไถเพศตรงข้าม ซึ่งมี เสื้อผ้าปกปิดอยู่ มักพบในชายมากกว่าหญิง

2.11 Incest การมีความสัมพันธ์กับบุคคลใกล้ชิดทางสายเลือด

2.12 Kleptomania ต้องการจะขโมยโดยยับยั้งชัง่ ใจไม่ได้

โรคประสาท(Neurotic)

• บุคคลที่เผชิญปัญหาแล้วใช้กลไกป้องกันตัวมา แก้ปญ
ั หาจนเป็นนิสัยแต่ก็ยังกังวลใจอยู่

• ส่งผลให้ระบบประสาทไม่ปกติ ท าให้ จิต ใจ แปรปรวนชนิดอ่อน


• ขาดความสามารถที่จะแก้ปญ
ั หา จนในที่สุดเกิด อาการประสาทขึ้น

อาการที่ส าคัญ

• มีความวิตกกังวลใจและความกลัวเป็นพื้นฐาน

• เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน เป็นความคิดที่ไม่สมเหตุสมผลและไม่ สามารถควบคุมตนเองได้

• ส่งผลต่อระบบประสาทและการท างานของร่างกาย ใจสัน


่ เวียนศีรษะ แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก ขาดสมาธิ นอนไม่ หลับ เป็นลมหน้ามืด สมองตื้อ

• ยังอยู่ในโลกแห่งความจริง

• หยั่งรู้สภาพจิตใจของตนเอง(รู้ว่าตนป่วย)

การจ าแนกของ DSM-IV ไม่ใช้ค าว่า โรคประสาท แต่จะเรียกชื่อโรคตามอาการ

1. โรคความหวาดวิตก (Anxiety Disorders)

• มีความวิตกกังวลเป็นอาการส าคัญ ถ้าสะสมไว้มาก ๆ จะมีอาการได้หลายลักษณะ

– โรคกังวลไปทัว
่ (Generalized Anxiety Disorders)

– โรคย้ าคิดย้ าท า (Obsessive-Compulsive : OCD)

– โรควิตกกังวลอย่างรุนแรง Panic Disorder


– โรคกลัว (Phobic Disorder)

โรคกลัว (Phobic Disorder)

• 1. Agoraphobia กลัวสถานการณ์ได้หลายๆแบบ คือ กลัวที่โล่งๆกว้างๆ กลัวทีแ


่ คบๆ กลัวที่ๆมีคนมากๆ กลัวที่สูง กลัวที่ๆไม่คุ้นเคยหรือสถานทีๆ่ ไกลจาก
บ้าน

• 2. Social phobia กลัวการถูกจ้องมองหรือตกเป็นเป้าสายตาคน กลัว สถานการณ์ทต


ี่ นอาจถูกวิพากษ์วิจารณ์หรือถูกต าหนิ เช่น ขึ้นเวที เซ็นชื่อ ต่อหน้า
คนอื่น กินข้าวร่วมโต๊ะกับคนแปลกหน้า

• 3. Blood-injury phobia กลัวเมื่อเห็นเลือดหรือเห็นบาดแผล บางครั้ง แค่นก


ึ ถึงก็เกิดอาการกลัวแล้ว

• 4. Space phobia เป็นโรคกลัวอีกชนิดหนึ่งซึ่งเพิ่งเริ่มรู้จักกันไม่นาน จะมีปัญหาว่าทรงตัวไม่อยู่หรือรู้สก


ึ เหมือนจะล้มถ้าต้องยืนหรือเดินใน บริเวณที่ไม่มี
อะไรให้เกาะ จะรูส
้ ึกปกติถ้ามีอะไรอยู่ใกล้ๆ

10 อันดับโรคเกี่ยวกับความกลัว

โรคกลัวความมืด

โรคกลัวทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับความตาย
โรคกลัวงู

โรคกลัวการบิน

โรคกลัวการพูดในที่สาธารณะ

โรคแมงมุม

โรคกลัวความสูง

โรคทีแ
่ คบ

โรคกลัวน้ า

โรคกลัวการถูกฝังทั้งเป็น

อ้างอิงจาก : http://www.toptenthailand.com/

2. โรคโซมาโตฟอร์ม (Somatoform Disorders)

มีอาการผิดปกติของร่างกาย เช่น ปวดตามร่างกาย ร่างกายท างานไม่ปกติ มี อาการวิตกกังวลที่มีอาการทางกายร่วมด้วยและท าให้คิดว่าเป็นโรคทางกาย

• โซมาไทเซชัน(Somatization Disorder) รู้จักกันในชื่อ Hysteria

– อาการเกิดขึ้นเรื้องรัง ไม่หายสนิท พูดถึงอาการของตนเองอย่างใส่อารมณ์ มี สีสันมากเกินจริง เป็นแบบขึ้นๆ ลงๆ

– ส่วนใหญ่มักเป็นหญิง อาจเริ่มตั้งแต่สาว อายุไม่เกิน 30 ปี


– รู้สึกว่าตนเองป่วยมาเกือบตลอดชีวิต อาการจะมากขึ้นถ้ามีความเครียด

– อาการทีแ
่ สดงออก เช่น ปวดหลัง ปวดขา เจ็บหน้าอก มึนงง มีปัญหาเกี่ยวกับ ประจ าเดือน สูญเสียความจ า หูหนวก ตาบอด พูดไม่มีเสียง เป็น
อัมพาต

• คอนเวอร์ชัน(Conversion Disorder)

–ปรากฏอาการทางด้านประสาทรับความรู้สึกซึ่งสาเหตุไม่ เกี่ยวข้องกับทางร่างกาย

–มีความผิดปกติในการเคลื่อนไหว-ประสาทสัมผัส เช่น มือ-เท้า ชา ความผิดปกติในการได้ยิน การมองภาพไม่ชัด

• ไฮโปคอนเดรีย (Hypocondriasis) โรคอุปทาน

– หมกมุ่นกลัวว่าตนเองจะเป็นโรคร้ายแรงเนื่องจากรู้สึกว่าอวัยวะใน ร่างกายตนเองท างานบกพร่องหรือผิดปกติไปจากเดิม

– มีอาการซึมเศร้า และวิตกกังวลร่วมด้วย

– เปลี่ยนแพทย์รักษาบ่อยๆ

คิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติ

• Body dysmorphic disorder

– มีอาการหมกมุ่นกับความคิดว่าตนมีส่วนใดส่วนหนึ่งของ ร่างกายน่าเกลียด ไม่ปกติเหมือนที่ควรจะเป็น ใบหน้า จมูก คาง


– มักไปหาแพทย์ศัลยกรรมตกแต่งเพื่อให้ผ่าตัดเสริมสวย

– โรคนี้อาจพบได้ในผูป
้ ่วย Anorexia nervosa กังวลว่า ตนเองอ้วนเกินไปทั้งๆ ที่ผอมมาก

3. Dissociative Disorders

• เป็นความแปรปรวนทีเ่ กิดขึน
้ อย่างฉับพลัน เป็นระยะการเปลี่ยนแปลงเพียงชัว
่ คราวของ จิตส านึก ความจ า ความรู้สึก การเคลื่อนไหว รวมทั้งเอกลักษณ์
ของตนเอง

อาการที่พบ

• สูญเสียความจ า (Dissociative Amnesia)

• เป็นการลืมไปโดยไม่ทราบสาเหตุความผิดปกติทางร่างกาย อาจ เกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ์รุนแรงทีต


่ นไม่สามารถทนได้ หรือการได้รับ ความ
กระทบกระเทือนทางอารมณ์อย่างรุนแรง ท าให้ผู้ปว
่ ยมักลืม เหตุการณ์ช่วงเวลาใดช่วงหนึ่งของชีวิตไปอย่างสิ้นเชิง

• หนีความเป็นตัวของตัวเองและสถานการณ์ (Dissociative fugue States)

• ผู้ป่วยจะมีอาการทีเ่ ด่นชัด คือ การเดินทางไปที่อื่นและท าตัวเป็นคน ใหม่ ไม่สามารถจ าเรือ


่ งราวเดิมในอดีตได้ มักพบในผูท
้ ี่ดื่มสุราอย่าง หนัก
และมีความขัดแย้งทางเพศ

เดินละเมอเวลานอนหลับ

(Somnam-bulism or Sleepwalking)
การเขียนสิ่งที่ไม่มีความหมาย

(Automatic Writing)

• เขียนในสิ่งที่ไม่สามารถตีความได้และไม่สมเหตุสมผล บางคนพูดไม่ได้ ดูเหมือนไม่อยู่ในโลกความจริง

โรคจิต (Psychosis)

บุคคลที่เจ็บป่วยทางจิตอย่างรุนแรง ไม่สามารถเผชิญกับความจริงได้

ท าตัวเหินห่างจากสังคม

แยกตัวเองไปอยู่ในโลกแห่งความฝัน จัดเป็นพฤติกรรมอปกติชนิดรุนแรงที่สด
ุ เรียกว่า “วิกลจริตหรือคนบ้า “

• ไม่สามารถเผชิญกับความจริงได้, ท าตัวเหินห่างจากสังคม

• แยกตัวเองไปอยู่ในโลกแห่งความฝัน ไม่รู้ตว
ั ว่าป่วย

• ไม่สามารถดูแลและรับผิดชอบชีวิตของตนเองได้

• พฤติกรรมแปลกประหลาดทัง้ ท่าทางและค าพูด

• ความคิดสับสน การสื่อสารไม่ต่อเนื่อง อารมณ์สับสน

• ประสาทหลอน(Hallucinations) เช่น หูแว่ว


• หลงผิด (Delusions)

• เฉยเมย เพ้อฝัน เชื่อเรื่องแปลกๆ บางราย คลุม


้ คลั่ง เอะอะ

• เหมือนคนครึ่งหลับครึ่งตื่น

สาเหตุทท
ี่ าให้คนเป็นโรคจิต

แบ่งเป็น 2 กรณี

1. สาเหตุทางกาย

– เกิดจากสมองพิการหรือสมองได้รับความกระทบกระเทือน เพราะโรคต่าง ๆ เช่น มะเร็ง เนื้องอก หรือเพราะได้รับ อุบต


ั ิเหตุ นอกจากนัน
้ สารพิษต่าง ๆ เช่น เหล้า
ยา สิ่งเสพ ติด หรือสารพิษอืน
่ ๆ ยังเป็นปัจจัยท าให้คนมีพฤติกรรม ท่าทางผิดไปจากปกติได้ เช่น พูดไม่รู้เรือ
่ ง ประสาทหลอน หลงผิด

– ผลการวิจัยพบว่า โรคจิตบางชนิดมีสาเหตุจากพันธุกรรม

2. สาเหตุทางใจ

• บางคนประสบปัญหาการด าเนินชีวต
ิ ในแต่ละวันด้านต่าง ๆ

• ไม่มีความสุข ความพอใจ รูส


้ ึกขาดความรัก ความอบอุ่น

• มีปัญหาในการสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอืน
่ ๆ

• แยกตัวออกไปอยู่ในโลกของตนเอง มีปญ
ั หาทางอารมณ์
พบว่า

ใน 100 คน พบคนเป็นโรคจิต 3-4 คน โรคจิตที่พบบ่อยทีส


่ ุดคือ “โรคจิตเภท” คน 100 คน พบ 1 คน

อาการโรคจิต แบ่งเป็น 2 กลุม


่ คือ

1. โรคจิตเภท (Schizophrenia)

– เป็นโรคจิตชนิดที่พบบ่อยทีส
่ ด
ุ พบว่าเริ่มมีอาการช่วงอายุก่อน 45 ปี

– เริ่มมีอาการในช่วงวัยรุ่นเป็นแล้วมักไม่หายขาด มีอาการก าเริบเป็นช่วงๆ

– มักจะมีอาการแตกแยกด้านความคิดและบุคลิกภาพ

– มีอารมณ์ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์

– สูญเสียบุคลิกภาพของตนเอง พฤติกรรมเหมือนเด็ก สร้างภาษาค าพูดใหม่ๆ

– อาการประสาทหลอน (Hallucinations)

– อาการหลงผิดแบบประหลาด (Bizarre Delusions)

ใส่เสื้อหนังในวันที่มีอากาศร้อน สะสมขยะ

DSM-IV
แบ่งโรคจิตเภท ตามลักษณะอาการได้ 3 กลุ่ม

1. แบบหวาดระแวง

(Paranoid Type)

• มีความหมกมุ่นอยูก
่ ับอาการหลงผิดหรือหูแว่วในเรือ
่ งการฆ่า

• เข้าใจว่ามีคนวางแผนฆ่าตามสถานที่ตา่ งๆ

• บางครั้งเกิดควบคู่กบ
ั การหลงผิด

• พบบ่อยทีส
่ ุด

• ผู้ป่วยมักเริ่มเป็นขณะอายุ เช่น คิดว่าตนเป็นเทวดาหรือเป็นเทพเจ้า บุคคลส าคัญทีม


่ ีชื่อเสียงที่ทก
ุ คนรู้จก

2. แบบการพูดขาดช่วง

(Disorganized Type)

• เป็นความผิดปกติด้านค าพูด ไม่สม่ าเสมอ ท าให้ สื่อความหมายไม่ชัดเจน พูดค าซ้ าๆ เดิมท มี อาการเฉยเมยไม่เหมาะสม ส่วนมากพบว่ามีการ หัวเราะ
คิกคักโดยไม่มีเหตุผล ท าสีหน้าท่าทาง แปลกๆ

3. แบบท่าทางนิ่งคล้ายหุน

(Catatonic Schizophrenia)
• มีความผิดปกติด้านการเคลือ
่ นไหว

• น้อยไป มากไป

• นั่งในท่าเดียวเป็นวันหรือสัปดาห์ เรียกว่า “Waxy Flexbility”

• แขนขาอยู่ในท่าไม่ปกติ เช่น เหยียดขาค้างกางออก ต่อจากนั้นจะเปลี่ยนท่าทีเป็นตืน


่ เต้น

2. โรคอารมณ์แปรปรวน

(Mood Disorders หรือ Affective disorders)

• กลุ่มของโรคทางจิตเวชที่มีความผิดปกติของอารมณ์เป็น อาการส าคัญ

• เป็นอาการที่พบมากกว่าจิตเภท

• มีความผิดปกติของอารมณ์เป็นอาการส าคัญโดยเฉพาะ

• มีอารมณ์ซึมเศร้า แบบอารมณ์ 2 ขั้วที่ตรงกันข้าม

โรคอารมณ์แปรปรวน
1. โรคคลุ้มคลั่ง (Manic episode)

• มีอาการหลงผิด (delusion)

• มีอาการประสาทหลอน (hallucination)

อาการของโรค

• มีอารมณ์ครื้นเครงร่วมกับความรู้สก
ึ ว่ามีพลังงานมาก

• ไม่อยากพักผ่อน มีกิจกรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น

• พูดมากและบางครั้งพูดเร็วจนไม่สามารถขัดจังหวะได้

• ความคิดโลดแล่น ควบคุมตัวเองไม่ได้

• ใช้จ่ายเงินมากผิดปกติ เชื่อมั่นในตัวเองมากเกินปกติ

• ไม่มีสมาธิ คิดฟุ้งซ่าน

• คิดโครงการมากมายใหญ่โต เพราะรู้สก
ึ ว่าตัวเองเก่ง

2. โรคซึมเศร้า

(Depressive episode หรือ Major Depressive Disorder)


• มีอารมณ์เศร้าอย่างเดียว ไม่มีรู้สึกสนุกสนาน/ขาดความสนใจใน สิ่งที่เคยสนใจ

• รู้สึกว่าพลังลดลง เหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดสมาธิ รูส


้ ึกตัวเองไร้ค่า

• ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรู้สก
ึ ผิด

• มองโลกในแง่ร้าย นอนไม่หลับ ตื่นเร็วผิดปกติ

• เบื่ออาหาร หมดอารมณ์ทางเพศ น้ าหนักลด เบื่อโลก เบือ


่ ชีวิต มี ความคิดท าร้ายตนเอง หรือฆ่าตัวตาย

3. โรคไบโพล่าร์

(Bipolar Depression)

• โรคอารมณ์ 2 ขั้ว

• เป็นโรคที่มีอาการซ้ าซ้อนของโรคโรคคลุ้มคลั่ง(Mania) สลับกับ โรคซึมเศร้า(Depressive)

• เอะอะโวยวาย มีอารมณ์ครืน
้ เครง ฉุนเฉียวผิดปกติ คลั่งวุ่นวาย ซึ่งเป็นอาการตรงข้ามกับซึมเศร้า

• ในสหรัฐอเมริการมีผู้ปว
่ ยด้วยโรคนี้ประมาณ 2 ล้านคน
การบ าบัดรักษา

• โรคจิต โรคประสาทเพราะกรรมเวรหรือเป็นเรื่องของไสยศาสตร์

• การรักษาจึงต้องไล่ผีออกไป โดยใช้เวทมนต์คาถาทางไสยศาสตร์

• ศตวรรษที่ 18 วิทยาศาสตร์และการแพทย์เจริญขึ้น

• การบ าบัดรักษาในยุคแรก ๆ ใช้วก


ี ักขัง ล่ามโซ่ เฆี่ยนตี ใส่เกราะ เหล็ก จับเหวีย
่ ง หรือใช้น้ าแข็งราด ฯลฯ

• ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาวิธบ
ี าบัดรักษาผู้เจ็บป่วยทางจิตหลายวิธี

วิธีการบ าบัดรักษา แบ่งได้ 3 ประการ

1. การบ าบัดทางชีวภาพ (Somatic Therapies)

• การใช้ยา (Drug Therapy) เช่น ยากล่อมประสาท ยาลดความเศร้า ยานอนหลับ เช่น Librium, Valiam, Thorazine , Clozapine ซึ่งใช้รักษาโรคจิตเภท
เพราะจะช่วยลดความกระวนกระวายและหลงผิดและท าให้อาการดีขึนในเวลาอนส้น

การช๊อตด้วยไฟฟ้ า/อินซูลิน ซ็อค (Electroconvulsive Therapy) กรณีที่ คนไข้มีอาการคล้ัมคลั่งหรือเศร้าซึมมาก ๆ แต่ใช้ในกรณีจ าเป็ นเท่าน้ัน ใช้ไฟฟ้ า

ประมาณ 70-130 Volt ผ่านเข้าไปในสมอง ซึ่งเชื่อว่าเมื่อฟื้ นขึน ขนึ้

มาจะมีอาการดี
การผ่าตัด (Psychosurgery) สาเหตุของความผิดปกติเกิดจากสมองหรือ

การท างานของสรีระ ต้องระมัดระวังผลข้างเคียงที่อาจเกดขนตามมา

2. การท าจิตบ าบัดทางจิตวิทยา (Psychotherapy)

• เป็นวิธีรักษาโดยใช้เทคนิคทางจิตวิทยาให้คนไข้ ได้สนทนากับจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยาด้วย บรรยากาศที่ไว้วางใจกัน คนไข้สามารถเปิดเผย ความรู้สึก


ต่าง ๆ ออกมาจนสามารถเข้าใจและ หยั่งรูต
้ นเองได้

• การเชือ
่ มโยงเสรี,

• การตีความฝัน,

• การวิเคราะห์ปมขัดแย้ง,
• Client-Centered Therapy,

• การสะกดจิต (Hypnosis)

3. การบ าบัดทางสังคมหรือพฤติกรรม

(Behavior Therapy)

• เป็นการบ าบัดรักษาที่แตกต่างไปจากพฤติกรรมบ าบัด

• วิธีนี้จะไม่สนใจความรู้สึกหรืออารมณ์ที่อยู่ภายในตัวคนไข้

• สนใจพฤติกรรมทีส
่ ังเกตได้ จะเปลี่ยนพฤติกรรมทีเ่ ป็นปัญหา

• ใช้หลักการเรียนรูแ
้ ละการวางเงื่อนไขแบบต่าง ๆ

• เทคนิคของพฤติกรรมบ าบัดที่นิยมใช้กัน

– กลุ่มบ าบัด (Group therapy)

– ครอบครัวบ าบัด (Family therapy)

– สันทนาการบ าบัด อาชีวบ าบัด

บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับด้านสุขภาพจิต
• จิตแพทย์/นักจิตวิเคราะห์

• นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยาการให้ค าปรึกษา

• นักสังคมสงเคราะห์/พยาบาลทางจิตเวช

• นักอาชีวบ าบัด/กิจกรรมบ าบัด

• นักอรรถบ าบัด/นักศิลปกรรมบ าบัด

• นักนันทนาการบ าบัด/นักกายภาพบ าบัด

หน่วยงานบริการด้านสุขภาพจิต

ล าดับที่ หน่วยงาน ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554

1. สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา 8,896 9,210 9,124 9,531 10,398

2. สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ 2,795 2,823 3,088 2,884 3,284

3. สถาบันราชานุกูล 4,279 7,702 7,329 7,506 5,797

4. ร.พ.ศรีธัญญา 17,942 16,177 15,304 15,822 15,951

5. ร.พ.ยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ 2,119 2,323 3,367 3,214 2,271


6. ร.พ.จิตเวชสระแก้วราชนครินทร์ 1,504 1,245 1,254 2,301 2,451

7. ร.พ.จิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ 4,505 4,314 5,254 4,415 4,504

8. ร.พ.จิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ 4,251 4,010 4,764 5,586 5,224

9. ร.พ.จิตเวชเลยราชนครินทร์ 1,086 1,531 1,670 1,844 1,784

10. ร.พ.พระศรีมหาโพธิ์ 7,464 6,811 7,268 7,570 6,521

11. ร.พ.จิตเวชนครพนมราชนครินทร์ 2,094 1,980 2,329 2,367 2,317

12. ร.พ.จิตเวชนครสวรรค์ราชนครินทร์ 1,622 1,614 1,431 1,473 1,403

13. ร.พ.สวนปรุง 13,694 13,162 13,058 12,599 12,248

14. สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ 3,448 3,381 3,081 3,302 3,997

15. ร.พ.สวนสราญรมย์ 8,190 7,520 7,432 7,722 7,838

16. ร.พ.จิตเวชสงขลาราชนครินทร์ 3,775 3,973 3,497 3,204 3,400

รวม 87,664 87,776 89,250 91,340 89,388


2. การบริการทางโทรศัพท์ (The Hot Line)

1. สายด่วนสุขภาพจิต 1667,1323

2. เว็บไซต์ http://www.dmh.go.th/1667/

3. สถาบันธัญญารักษ์

4. สถานสงเคราะห์คนไข้โรคจิตทุเลาหญิงบ้านกึ่งวิถี

5. สถานสงเคราะห์คนไข้โรคจิตทุเลาชายบ้านกึ่งวิถี

You might also like