You are on page 1of 55

คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 8

บทที่ 3. มารูจักกับหนาจอการเขียนงาน
หนาจอการเขียนงาน

แถบเมนูบารสวนบน ทูบารเครื่องมือ

เสนCrosshair

ปุมไอคอนเครื่องมือ
Model พื้นที่เขียนงาน

แกน UCS
แถบจัดกระดาษ

แถบเมนูบารสวนลาง

คอรออรดิเนทแสดงคาพิกัด Command ปอนคําสั่ง

แถบ Master เมนูเครื่องมือดานขางสามารถยายได


เปนแถบเมนูที่ใชบอยและเหมาะสําหรับผูที่เริ่มหัดเขียน
ใหม ที่ยังจําคําสั่งที่ใช keyboard ยังไมคลอง

แถบ Master เมนูเครื่องมือดานขาง


คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 9

แถบ Master เมนูเครื่องสวนบน


ตรวจงาน
ปุมเปดFileงาน เลียนแบบ แกไข ปดทั้งโปรเเกรม
พิมพงาน

บันทึกงาน ตัด-กอปป-วาง Zoom in-out

แถบ Master Layer

Layer Layer กําหนดความหนาเสน


Layer กําหนดสี Layer กําหนด
ลักษณะ เสน
แถบ Master เมนูบารสวนลาง
ปด-เปด การเคลื่อน ปด-เปด โพลา กด F10
เคอรเซอรกด F3
เปลี่ยนสลับ Model
กับLayout

ปด-เปดความหนาเสน
ปด-เปดจุดกริด
คอรออรดิเนท
กด F7 ปด-เปดออฟเจกทสแนป กด F9

**หมายตุ**
ผูเขียนไดชี้ใหเห็นวาเมนูเหลานี้ที่ใหบอยที่สุดในการเขียนแบบเพียงจําเมนูหลัก ๆ
เหลานี้ไดก็สามารถทําไดสบาย
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 10

บทที่ 4. การตั้ง Options

4.1 การตั้ง Crosshair Size


ไปทีเมนู Tools > Options…> Display > Crosshair
Size ใหเปน 100 และ Reference Edit fading
intensityใหเปน 100 > แลว กด Apply เพื่อยอมรับ
เลื่อน Crosshair
เลื่อน Crosshair

4. 2 การตั้งสีหนาจอ
ไปทีเมนู Tools > Options …> Display >ใหกดปุม
Colors…> แลวเลือกตรงชอง Color: แลวเลือกสี
ตามที่ตองการ > Apply & Close เพื่อยอมรับ
กดปุม Colors…

กดปุมเลือกสี

กดปุม Apply & Close


คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 11

4.3 การตั้ง Open and Save


กดปุม Save as: - File Save ไปทีเมนู Tools > Options …> Open and
Save
> ไปที่ Save as: >แลวกดเลือก AutoCAD
2000/LT2000 Drawing(*.dwg)
- File Safety save ไปทีเมนู Tools > Options …> Open
กดปุมเปลี่ยนเวลา Save
and Save > ไปที่ Automatic Saveแลว แกตัวเลขที่ชอง
Minutes between Save ใหเปน 10 นาที หรือเร็วนั้น
กดปุม OK ตามที่ทานตองการ เพื่อให Save งานเขียนแบบโดย
Automatic แลวกด OK

4.4 การตั้ง Units


ไปทีเมนู Tools > Options…> User Preferences >
ไปที่ Insertion scale > แลวกดเลือกตรงชอง
กดปุม Source content
- Source content Units: ใหเปน Meters
กดปุม Target drawing - Target drawing Units: ใหเปน Meters
แลว กด Apply เพื่อยอมรับ

กดปุม OK

** หมายเหตุ **
การตั้งคา File Save ควรจะตั้งคา เวอรชั่น Drawing(*.dwg) ที่ต่ําไวกอน เพื่อเวลา File
Save เครื่องคอมอื่นๆ ที่ เวอรชั่น Drawing(*.dwg) ที่ต่ํากวา จะเปดได
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 12

4.5 การตั้ง Object Snap


ไปทีเมนู Tools > กดDrafting Settings…> จะขึ้นDrafting Settings
> Object Snap > แลวกดเลือก เครื่องหมายถูก ตรงชอง
- Endpoint คือ จุดจบ
- Midpoint คือ จุดกึ่งกลาง
- Center คือ จุดกึ่งกลาง ของวงกลม
- Intersection คือ จุดตัด
- Extension คือ จุดตอ
- Perpendicular คือ จุดตั้งฉาก
แลวกด OK

บทที่ 5. การลง Font และ Plot Style

5.1 การลง Font


- ใส CD โปรแกรม AutoCAD 2007แลวเปด Folder Font > Copy Font ทั้งหมด
แลวไปที่หนาจอ Windows Xp > My Computer > เปด My Computer C: >
Program Files >AutoCAD 2007 > เปด Folder Font >
แลว Paste ลงไป
5.2 การลง Plot Style
- ใส CD โปรแกรม AutoCAD 2007แลวเปด Folder Plot Style> Copy Plot Style ทั้งหมด
แลวไปที่หนาจอ Windows Xp > Start > Setting > Control Panel >แลวคลิ้ก
Autodesk Plot Style Manager > แลว Paste ลงไป ในการลง Plot Style
จะตองตรงกับเบอรปากกา กับที่ตั้งในการเขียนชิ้นงาน (ดูในบทตั้งสีเบอรปากกา )
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 13

บทที่ 6. การตั้ง Plot Style และ การตั้งเบอรปากกา


6.1 การตั้ง Plot Style

ไปที่เมนู File > Plot Style Manager

เลือก Plot Style Manager

จะขึ้นหนาตางมาแลวเลือกAdd-A-Plot Style
Table Wizard

เลือก Add-A-Plot Style Table Wizard

จะขึ้นหนาตางมาแลวเลือกAdd-A-Plot
Style Table > Next > Next > Next

กด Next >

จะขึ้นหนาตาง A-Plot Style Table – File


name มาแลว > ใสชื่อ > แลวกด Next

ตั้งใสชื่อ

กด Next > Next


คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 14
6.2 การตั้งเบอรปากกา
จะขึ้นหนาตางมาแลวเลือก Plot Style
Table Editor… เพื่อตั้งเบอรปากกา
เลือก Plot Style Table Editor…

2.เลือกเปนสีดําทั้งหมด 1 ถึง 255


1. เลือกทั้งหมด 1 ถึง 255

จะขึ้นหนาตางมาแลว ทําตามภาพประกอบ
การตั้งสีและเบอรปากกา ใหเปนไปตามการ
ใชงานทั่วไป กอน มีวิธีดั้งนี้
เลือกสีที่ 1 กอน ที่ Form View Plot
style : แลวมาที่ Line weight
3.กดเลือกเบอรปากกา

แลว เลือก 0.100 ที่เราเลือก คือเบอร


ปากกา ความหนาเสน 0.100 เหมือน
เราเขียนแบบดวยปาก หรือจะ
กด Save & Close
ใชเบอรปากกาของผูเขียนใหเปดดูที่
Plot Style ในแผน CD (ดูใน
บทที่ 5.) เมื่อตั้งเสร็จแลว อยา
ลืมกด Save & Close
กด Finish เปนอันเสร็จการตั้งการตั้ง Plot
Style และ การตั้งเบอรปากกา
กด Finish
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 15

บทที่ 7. การตั้ง Text Style และ การตั้ง Dimension Style


7.1 การตั้ง Text Style
1.เลือก Format

ไปที่เมนู Format > Text Style

2.เลือก Text Style

5.เลือก New
4.เลือกขนาด Text

จะขึ้นหนาตางมาแลวเลือกAdd-A-Plot Style
Table Wizard

3.เลือก Font Name :

จะขึ้นหนาตางมาแลวเลือกAdd-A-Plot
Style Table > Next > Next > Next
จะขึ้นหนาตาง A-Plot Style Table – File
6.กด Ok
name มาแลว > ใสชื่อ > แลวกด Next
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 16

กด Close ก็จะไดText Style 1.

กด Close

7.2 การตั้ง Dimension Style

1.เลือก Format

ไปที่เมนู Format > Dimension Style

2.เลือก Dimension Style…

3.เลือก New

จะขึ้นหนาตางมาแลวเลือก New
เพื่อตั้งคาการใชงานใหม
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 17

จะขึ้นหนาตางมาแลวตั้งชื่อDimension Style
แลวเลือก Continue

4.ตั้งชื่อDimension Style

5.เลือก Continue

6.เลือก Lines 7.เลือกเลือกสี เสน Dimension Lines

ไปที่เมนู Lines > เพื่อเปลี่ยน สีเสน


Dimension Lines ควรเลือกสี ใหเขากับ
เบอรปากที่ตั้ง Plot style
8.ดูการเปลี่ยนแปลง

7.เลือกสี เสน Dimension Lines

9.เลือก Symbols and Arrows


10.เลือกหัวลูกศร

ไปที่เมนู Symbols and Arrows > เพื่อ


เปลี่ยน หัวลูกศรควรเลือกสี ใหเขากับ
เบอรปาก

12. ดูการเปลี่ยนแปลง

11..เลือกขนาดหัวลูกศร
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 18
15.เลือก Text color
13.เลือก Text 14.เลือก Text Style

การตั้ง Text Dimension ควรจะ สัมพันธกับ scale


ที่เราจะเขียน เชน ถาเขียน1:100
Text height=0.2เปนตน

16.เลือก
Text height 17. ดูการเปลี่ยนแปลง

19.เลือกจุดทศนิยม2
ตําแหนง 18. เลือก Primary Units

21. ดูการเปลี่ยนแปลง

17.เลือก OK
20. เลือกจุดทศนิยมบอกองศา

22.จะขึ้นชื่อที่ตั้งไว

การตั้ง Dimension Style อาจจะตั้งครั้งเดี่ยว


แลวคอยแกไขในชิ้นงานที่เขียน
จริงก็ได

23. ดูการเปลี่ยนแปลง

24.เลือก แนวบอกตัวเลข
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 19

บทที่ 8. การตั้ง Layer

8.1 การตั้ง Layer

1. กด Layer Properties Manger

2. กด New Layer
การตั้ง Layer ควรจะ ตรงกับสีเบอรปากกา
ที่เราจะเขียน เชน ถาเราเขียน เสา ใหเลือก
Layer เสา สีน้ําเงิน 0.5 และ เวลาเราเขียน
Layer Text ก็ใหอยูใน Layer นั้น เพื่อเวลาเรา
ลบ หรือแกไขจะไดงาย
3. ตั้งชื่อ Layer

4. ตั้งสี Layer

5. กด OK
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 20

บทที่ 9. ปุมเครื่องมือแถบ Master เมนูดานขาง


9.1 ตารางแสดงการใช ปุมแถบเครื่องมือ และ Key ลัด
ปุมเครื่องมือ แสดง Key ลัด
Line เสน L กดEnter
Construction Line เสนยาวตอเนื่อง
Poly Line เสนที่กําหนดความหนา PL กดEnter
Polygon เสนที่กําหนดเหลี่ยม POL กดEnter
Rectangle สรางสี่เหลี่ยม REC กดEnter
Arc เสนโคง ARC กดEnter
Circle เสนวงกลม
Revision Cloud
Sp line เสนลวดตอเนื่อง SPL กดEnter
Ellipse วงรีแบบ3จุด EL กดEnter
Ellipse Arc วงรีแบบ2จุด
Insert Block เรียกใชงาน Block I กดEnter
Make Block สรางงาน Block B กดEnter
Point จุด PO กดEnter
Hatch ทําพื้นที่ลวดลาย H กดEnter
Gradient ปรับสีที่ทําการ Hatch
Region รวมชิ้นงาน
Table สรางตาราง TB กดEnter
Multi line textเขียนตัวหนังสือ MT กดEnter
Bring to Front เลือกวัตถุที่ซอนอยูหนา
Send to Front เลือกวัตถุที่ซอนอยูหลัง
Bring Above Objects เลือกวัตถุอยูหนา
Send Under Objects เลือกวัตถุอยูหลัง
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 21

9.2 ตารางแสดงการใช ปุมแถบเครื่องมือ และ Key ลัด


ปุมเครื่องมือ แสดง Key ลัด
Erase ลบ E กดEnter
Copy ทําสําเนา CP กดEnter
Mirror กลับขาง MI กดEnter
Offset ระยะหางออกไป
Array เพิ่มกลุมแบงกลุม AR กดEnter
Move ยายวัตถุ M กดEnter
Rotate หมุนวัตถุ RO กดEnter
Scale ยอยขยายวัตถุ SC กดEnter
Stretch ยืดวัตถุ
Trim ตัดเสนวัตถุ
Extend ยืดเสนวัตถุ EX กดEnter
Break at Point ตัดหนึ่งจุดตอ
Break ตัดสองจุดตอ BR กดEnter
Join เชื่อตอเสน J กดEnter
Chamfer ตัดมุมเสนตรง
Fillet ตัดมุมเสนโคง
Explode ระเบิดวัตถุที่เปนBlock
Distance วัดระยะ
Area หาพื้นที่
Region/mass Properties หาปริมาท
List รายการของวัตถุ LI กดEnter
Locate Point ดูคาพิกัดของวัตถุ
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 22

บทที่ 10. การใช Mouse รวมกับ Keyboard


10.1 การใช Mouse
3.ปุมกลางลูกลอ

1.คลิ้กขวา 2.คลิ้กซาย

1.คลิ้กขวา
การคลิ้ก Mouse มีอยู2ลักษณะ
ลักษณะที่1. การคลิ้ก 1 ครั้ง เพื่อเลือกวัตถุ (ถาคลิ้กแลวเราไมเลือก ใหกด Esc
ที่ keyboardเพื่อออก จากคําสั่ง )
ลักษณะที่ 2. การดะเบิ้ลคลิ้ก เลือกวัตถุแลว ดะเบิ้ลคลิ้ก จะเปนการแกไขวัตถุ
จะมี กลองไดอะบล็อกขึ้นใหทําการแกไข (ถาดะเบิ้ลคลิ้ก แลวเราไม
เลือก ใหกด Esc ที่ keyboard เพื่อออก จากคําสั่ง )

2.คลิ้กซาย
การคลิ้ก ซายเปนการยอมรับคําสั่ง จะทํางานควบคูกับ คลิ้กขวา คือ คลิ้กขวา เลือก
วัตถุ ซายยอมรับวัตถุ
3.ปุมลูกกลิ้งกลาง
เปนการใชงาน ในโหมด Zoom
กลิ้งขึ้น จะเปนการ Zoom in และการ กลิ้งลง จะเปนการ Zoom out
ดะเบิ้ลคลิ้ก เปนการ Zoom Extents (คือพื้นที่หนาจอทั้งหมด)
10.2 การใช keyboard
กดที่ Enter หรือ Space Bar เปนการทวนคําสั่งเดิม
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 23

บทที่ 11.การตั้งคาหนากระดาษ คายืดขยายใน Scale


11.1 การตั้งคาหนากระดาษ
กอนอื่นเราตองรูขนาดของกระดาษ Paper Sizeและ Printable area
ทั้งนี้ก็ตองดูขนาดกระดาษของเครื่องพิมพแตละยี่หอดวย

กระดาษ ขนาดกระดาษ(Paper Size ) พื้นที่เขียน(Printable area)


ISO-A0 841.00x1189.00 mm. 826.00x1149.00 mm.
ISO-A1 594.00x841.00 mm. 579.00x801.00 mm.
ISO-A2 420.00x594.00 mm 405.00x554.00 mm.
ISO-A3 297.00x420.00 mm. 282.00x380.00 mm.
ISO-A4 210.00x297.00 mm. 195.00x257.00 mm.

11.2 คายืด ขยายใน Scale


ในการเขียนใน Scale Auto Cad พื้นที่หนาจอ คาที่ตั้งมา จะเขียน 1:1 อยูแลว
คือ 1:100 หรือ 1:1000 แลวแตเราจะตั้ง กรอบการดาษ วาจะเปนขนาด A อะไร
การขยายในงานที่เราเขียน เชน
ขยาย 1.4 เทา = 1:75
ขยาย 4 เทา = 1:20
ขยาย 5 เทา = 1:25
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 24

บทที่ 12.เริ่มตนการเขียนแบบดวยปุมเครื่องมือ
12.1 Line การเขียนเสน Key ลัด กด L กดEnter

1.กดปุมสรางเขียนเสน
2.เลือกจุดที่ 2 เพื่อเขียน
เสนตอ

2.เลือกจุดที่1
4.หรือใสคาเปน เชน 5.00 กดEnterเสนก็
เปนจุดเริ่มตนที่ 1
จะยาวเทากับ 5หนวย ถาหนวยเปนเมตร
เทากับ 5.00 เมตร

12.2 Construction Line การเขียนเสนยาวตอเนื่อง

1.กดปุมสรางเขียนเสน

2.เลือกจุดที่1 3.เลือกจุดที่2
เปนจุดเริ่มตนที่ 1 เปนจุดหมุนเพื่อเลือกตอไป
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 25

12.3 Poly Line เสนที่กําหนดความหนา Key ลัด กด PL กดEnter

3.เลือกจุดที่1
1.กดปุมสรางสี่เหลี่ยม

2.เลือกจุดที่1
2.เลือกจุดที่1

12.4 Polygon เสนที่กําหนดเหลี่ยม Key ลัด กด POL กดEnter

1.กดปุมสรางเหลี่ยมหลายเหลี่ยม

3. กําหนดจุด กดEnter
4.แลวกําหนดแนวหมุน กดEnter

2.ใสคาจํานวนเหลี่ยมเชน :5 กด Enter
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 26

12.5 Circle การเขียน เสนวงกลม

1.กดปุมสรางรูปวงกลม

2.เลือกจุดที่1
3.ใสคาเปนเสนผาน
ศูนยกลาง เชน 5.00 กด
Enter

12.6 Revision Cloud

4.คลิ้กขวาตามจุดที่
1.กดปุมสรางรูปกอนเมฆ
ตองการใหมาบรรจบกัน

3.เลือกจุดที่1

2.กด r Enterใสคาความ
โคงของเสน เชน 8.00 กด
Enter
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 27

12.7 Rectangle การสรางสี่เหลี่ยม Key ลัด กด REC กดEnter

1.กดปุมสรางสี่เหลี่ยม

2.เลือกจุดที่1

3.ใสคา กวางxยาว เชน 1.00,1.00


กดEnter

12.8 Arc เสนโคง Key ลัด กด ARC กดEnter

3.เลือกจุดที่2
1.กดปุมสรางเสนโคง
4.เลือกจุดที่3
กด Esc ออก
จากคําสั่ง

2.เลือกจุดที่1
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 28

12.9 Sp line เสนลวดตอเนื่อง Key ลัด กด SPL กดEnter

1.กดปุมสรางเสนลวด
ตอเนื่อง 3. เลือกจุดตอไปที่
ตองการ

2.เลือกจุดที่1
4.เมื่อจบใหกด Enter > Enter > Enter
ถาจะใหเสนมาบรรจบกัน
ใหกด C >Enter

12.10 Ellipse การเขียนวงรี แบบ3จุด Key ลัด กด EL กดEnter

1.กดปุมสรางวงรี3จุด
2.เลือกจุดที่1

4.เลือกจุดที่3 เพื่อ
ความยาวของวงรี

3.เลือกจุดที่ 2 เพื่อ
ความกวางของวงรี
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 29

12.11 Ellipse Arcการเขียนวงรีแบบ 2จุด


(ลักษณะการทํางานเหมือนกับแบบ3จุด)

1.กดปุมสรางวงรี2จุด
2.เลือกจุดที่1
4.เลือกจุดที่3 เพื่อ
ความยาวของวงรี

3.เลือกจุดที่ 2 เพื่อ
ความกวางของวงรี

12.12 Insert Block เรียกใชงาน Block Key ลัด กด i กดEnter

Insert Block เรียกใชงาน Block ที่เราทําไวเปน Block ในรูปแบบตางๆ

1.Browse File Block

ดูBlock ที่เราเลือก

2.กด Ok
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 30

3.กําหนดจุดวาง
แลวกด คลิ้กขวา

12.13 Make Block การสรางงาน Block Key ลัด กด B กดEnter


การสรางงาน Block เชน รถ โตะ เกาอี้ สัญลักษณหองน้ํา เปนตน เมื่อเราสรางงานที่เรา
จะMake Block ใหกด ที่ Make block ก็จะขึ้น Block Definition ขึ้นมา

1.ตั้งชื่อBlock

2.กดSelect objects
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 31

3.เลือกคุมทั้งหมด แลวกด Enter จะขึ้น


Block Definition แลวกด OK

12.14 Point การเขียนจุด Key ลัด กด PO กดEnter


วิธีตั้ง Point การเขียนจุด กอนการใชงาน

1.เลือกFormat

2.เลือก Point Style…


คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 32
2.กดเลือก Point Mark

3.เลือกขนาดPoint Mark

4.กด OK

12.15 Hatch การทําพื้นที่ลวดลาย Key ลัด กด H กดEnter


การตั้งคาทําพื้นที่ลวดลาย Hatch
1.กดเลือกลายHatch 7.เลือกพื้นที่Hatch 2.เลือกลายHatch

6.เลือกชนิดHatchในพื้นที่

4.กําหนดคาScale

3.เลือกลายHatch
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 33

เมื่อทําในขั้นตอนที่ 7 จะกลับมาหนาจอ Cad ที่เราสราง สี่เหลี่ยมไว

8.คลิ้กตรงพื้นที่ ใน
กรอบสี่เหลี่ยม

เมื่อ คลิ้กตรงพื้นที่ ในกรอบสี่เหลี่ยม ก็จะขึ้น หนาตางเดิมมาใหกด OK ยอมรับ

9.คลิ้กตรง OK
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 34

เมื่อกด OK เสร็จแลว การ Hatch จะเกิดพื้นที่ Hatch

พื้นที่ Hatch สามารถ


ปรับขนาดได ไปแกที่
Scaleโดย ดะเบิ้ล
คลิ้กที่พื้นที่ Hatch
เลย

12.16 Gradient การปรับสีที่ทําการ Hatch


การปรับสี Gradient ที่ทําการ Hatch ในกรณีที่การ Hatch เปนสี Solid
1.กด Gradient 2.เลือกสี 4.เลือกลักษณะพื้นที่

3.เลือก
ลักษณะการ
ไรสี

5. คลิ้กตรง OK
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 35

12.17 Region การรวมชิ้นงาน

3.เลือกวัตถุที่ 2 แลวกด Enter

2.เลือกวัตถุที่ 1

1. Region การรวมชิ้นงาน

12.18 Table สรางตาราง Key ลัด กด TB กดEnter


1. เลือก Style Text และขนาด

2. เลือกจํานวนแถว

3. เลือกจํานวนแถว

เลือก OK ยอมรับ
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 36

12.19 Multi line textเขียนตัวหนังสือ Key ลัด กด MT กดEnter

3.กําหนดจุดที่ 2.
2.เลือกกําหนดจุดที่ 1

1.กดปุมสราง Multi line text

4.เลือก Style Text ความสูง


6.กดOK ยอมรับ

5.เขียนขอความลงไป
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 37

12.20 Bring to Front เลือกวัตถุที่ซอนอยูหนา


Send to Front เลือกวัตถุที่ซอนอยูหลัง
Bring Above Objects เลือกวัตถุอยูหนา
Send Under Objects เลือกวัตถุอยูหลัง

ในหมวดนี้ เปนการเลือกวัตถุ ใหแสดงอยูขางหนา หรืออยูขางหลัง


ถาชิ้นงานที่ซอนทับกัน หรือ เหลือมกัน จะใหแสดงลําดับการเหลือมกัน
มีวิธีทําดังนี้
เชนถาเลือกวัตถุ ที่จะแสดงขางหนากอน เลือกใหวัตถุอยูขางหนา
ใหเลือกที่ วัตถุชิ้นงานกอน แลวไปคลิ้กที่ เพื่อใหชิ้นงานอยู
ขางหนา ใหดูและดูการเปลี่ยนแปลง

1.เลือกวัตถุชิ้นงาน

2.เลือก Bring to Front แลวกด


Esc เพื่อออกจากคําสั่ง
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 38

12.21 Erase ลบ Key ลัด กด E กดEnter

2. เลือกปุม Eras

1.เลือกวัตถุชิ้นงานที่จะลบ

12.22 Copy ทําสําเนา Key ลัด กด CP กดEnter

1.เลือกปุม Copy

3.เลือกวางวัตถุ
ชิ้นงานที่ทําการ
Copy

2.เลือกวัตถุชิ้นงานที่จะ Copy
แลวกด Enter แลวเลือกวัตถุ
ชิ้นงานที่จะ Copyอีกครั้ง
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 39

12.23 Mirror กลับขาง Key ลัด กด MI กดEnter

1.เลือกปุม Mirror

3.เลือกจุดหมุนกลับ

2.เลือกวัตถุที่จะ Mirror
แลว กด Enter

4.คลิ้กขวาขางไวแลวลอง
ลาก Mouse ขึ้น ลง ซาย
ขวา ดูการเปลี่ยนแปลง แลว
กด Enter เพื่อการยอมรับ
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 40

12.24 Offset ระยะหางออกไป

1.กดปุม Offset
3.เลือกวัตถุที่จะใหOffset
ถาเลื่อน Mouse ออกนอก
สามเหลี่ยมก็จะ Offset ออก
ในทางกลับกันถาเลื่อน
Mouse เขาในสามเหลี่ยมก็
จะOffset เขา

2.ใสคาระยะหางเชน 20.00
แลวกดEnter

12.25 Array เพิ่มกลุมแบงกลุม Key ลัด กด AR กดEnter

2.กดปุม Array

1.เลือกวัตถุที่จะArray
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 41

4.เลือกแถวแกนตั้ง
3.เลือกแถวแกนนอน
ถาไมไดเลือกวัตถุกอน
ใหกด Select objects

5.เลือกระยะหาง
ของแถวแกนตั้ง

7.ดูการ
6. เลือกระยะหางของ
เปลี่ยนแปลง
แถวแกนนอน

8.เลือกOKเพื่อยอมรับ

ก็จะไดรูปสามเหลี่ยม
- แกนตั้ง จํานวน 4แถว
ระยะหางแตละแถวเทากับ
20.00 เมตร

- แกนนอน จํานวน 4แถว


ระยะหางแตละแถวเทากับ
20.00 เมตร
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 42

12.26 Move ยายวัตถุ Key ลัด กด M กดEnter

2.กดปุม Move

1.เลือกวัตถุ

4.เลือกวางที่จะยายแลว
คลิ้ก ขวา แลว Esc เพื่อ
ออกจากคําสั่ง
3.เลือกจับจุดวัตถุที่
ยาย แลวกด Enter

12.27 Rotate หมุนวัตถุ Key ลัด กด RO กดEnter

1.กดปุม Rotate 2.เลือกวัตถุ แลวกด Enter

3.เลือกจับจุดวัตถุที่หมุน
แลวแลวคลิ้ก ขวา

หรือใสคา องศาลงไป
แลวกด Enter
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 43

12.28 Scale ยอยขยายวัตถุ Key ลัด กด SC กดEnter

1.เลือกปุมScale

2.เลือกคลุมสวนที่จะขยายหรือ
ยอย ออกไป แลวกด Enter

3.เลือกจับจุดที่จะทํา
การ Scale
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 44

4.เลือกจับจุดสวนที่จะยืด
ออกไป แลวลาก Mouse
ออกไปแลวกด Enter

4.หรือสําคาScale เชน
5.00 จะขยายออกไป 5
เทา แลวกด Enter

12.29 Stretch ยืดวัตถุ

1.เลือกปุม
Stretch
2.เลือกคลุมสวนที่จะยืด
ออกไป แลวกด Enter
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 45

3.เลือกจับจุดสวนที่จะยืด
ออกไป แลวลาก Mouse
ออกไป

3.หรือใสคายืด
ออกไป เชน 10.00
แลวกด Enter

12.30 Trim ตัดเสนวัตถุ

2.เลื
2.เลื
อกเส
อกเส
นทีนใทีห่1ตัด
3.เลือกเสนตัดออก
กดกดEnter
Enter

1.กดปุมTrim
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 46

12.31 Extend ยืดเสนวัตถุ Key ลัด กด EX กดEnter

2.เลือกเสนที่1
3.เลือกเสนที่2
กด Enter

1.กดปุมExtend

12.32 Break at Point ตัดหนึ่งจุดตอ

3.เลือกเสนที่2
2.เลือกเสนที่1

1.กดปุมBreak
at Point
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 47

12.33 Break ตัดสองจุดตอ Key ลัด กด R กดEnter

3.เลือกเสนที่2
2.เลือกเสนที่1

1.กดปุม
Break

12.34 Join เชื่อตอเสน Key ลัด กด J กดEnter

1.กดปุมJoin

3.เลือกเสนที่2

2.เลือกเสนที่1
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 48

12.35 Chamfer ตัดมุมเสนตรง

1.กดปุม 2.ใสคาความการตัดของมุม
Chamfer > กดD Enter > ใสของมุมที่
ตัด 10.00 Enter >

3.เลือกเสนที่ 1

4.เลือกเสนที่ 2
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 49

12.36 Fillet ตัดมุมเสนโคง

1.กดปุม
2.ใสคาความโคงของมุม
Fillet
>R Enter > ใสคาความโคง
10.00 Enter >

3.เลือกเสนที่ 1

4.เลือกเสนที่ 2
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 50

12.37 Explode ระเบิดวัตถุที่เปนBlock

2. เลือกคลุมวัตถุที่จะ
ระเบิดใหเปนเสน แลว
กด Enter
1. กดปุม Explode

12.38 Distance วัดระยะ

2.เลือกจุดที่ 1.
3.เลือกจุดที่ 2.

1. กดปุม Distance
4.จะขึ้นคาพิกัด
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 51

12.39 Area หาพื้นที่

3. คลิ้กตรงกลางชิ้นงาน ถา
มีหลายชิ้นใหคลิ้กไปเลื่อย
แลวกด Enter

2. เลือกชนิดหาพื้นที่
เชน กด O Enter หา
1. กดปุม Area
พื้นที่ชิ้นเดียว กด A
Enter เปนการหาพื้นที่
หลายชิ้น

12.40 Region/mass Properties หาปริมาท


1. Region/mass Properties หาปริมาท รูปของ กลอง 3 มิติ
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 52

12.41 List รายการของวัตถุ Key ลัด กด LI กดEnter


เปนการเรียกดู รายการของวัตถุชิ้นนั้น
เลือกวัตถุ แลวเลือกปุม List

12.42 Locate Point ดูคาพิกัดของวัตถุ

2.เลือกจุดที่ตองการหาคา
พิกัด
1.กดปุม Locate Point
3.จะขึ้นคาพิกัด
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 53

บทที่ 13.การ Plot งานใน Model


13.1 การตั้งคา Plot

1.กดปุม Plot

2.เลือกเครื่องพิมพ

4.เลือกคา Plot
3.เลือกขาน style ที่ตั้งไว
กระดาษ

5.ใสคา Scale
6.กด Window<
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 54

8.เลือกจุดที่ 2.

7.เลือกจุดที่ 1.

9.กดPreview..ดูความถูกตอง
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 55

เมื่อเลือก Preview.. ใหคลิ้ก ขวา

10.เลือก Plot

เมื่อ Plot ออกมาแลว ควรตรวจ ความถูกตอง


คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 56

13.2 การสราง Title Blockใน Layout


เปนการสราง Title Block ไวใชงาน มีวิธีการทําตอไปนี้
1.เปดโปรแกรมขึ้นมา 1.ไปที่Tools

2.เลือก Options..

3.เอาเครื่องหมาย
ถูกออก

4.กด Apply

5.กด Ok
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 57

2.กลับมาที่โปรแกรม

2.ไปกดที่ Plot..

1.กดที่ Layout

3.จะขึ้น Page Setup-Layout1 ขึ้นมา 1.เลือกเบอรปากกา

2.เลือกกระดาษในเครื่องพิมพ

3.เลือกขนาดกระดาษ

4.เลือกแกนกระดาษ

5.กด Ok
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 58

4. ในขั้นตอนนี้ก็จะขึ้นพื้นที่ของกระดาษขนาด A1 ของเครื่องพิมพที่เราใชอยู

พื้นที่ของกระดาษขนาด A1 เสนปะแสดงขอบเขต
ของกระดาษ

5. สราง Layer ใหมขึ้นมา


1. กดสราง Layer ใหม

2. สรางชื่อ Layer ใหม

3. กด Apply

4. กด Ok
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 59

6. การสรางจุด Point เพื่อสราง Frame

กําหนดจุด Point ตาแนวเสนปะ


1.เลือก Pointแลวใหคาพิกัด ลบเสนออก
ของพื้นที่เขียนของกระดาษA1

2.ใหพิมพ 0,0 แลวกดEnter


3. เลือก Point ใหพิมพ 0,584 แลวกด Enter
4. เลือก Point ใหพิมพ 814,584 แลวกด Enter
5. เลือก Point ใหพิมพ 841,0 แลวกด Enter

6.แลวทําการซอนจุด Point Mark

1.กดเลือก Point Mark

2.กด OK
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 60

7. การสราง Frame
1.เลือกLayerที่Frame
4.เลือก
Offset
เทากับ20

2.สรางกรอบ 3.เลือกกรอบ
สี่เหลี่ยมที่เสนปะ 5.เลือกความหนาเสน
เทากับ0.80

6.แลวลบกรอบนี้ออก

แลวทําการสรางBlock Title
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 61

8.การสราง Viewport

1.เปดเลือกที่ Layer Viewport

2.เปดเครื่องมือ Viewport มาใชงาน

3.เลือก Polygonal Viewport

4.แลวลากเสน Polygonal
Viewport ตามจุดพื้นที่เขียน
ในกระดาษA1
คูมือเขียนแบบAutoCAD หนา 62

ใหลงกดที่Modeดูการเปลี่ยนแปลง

เมื่อเราจะพิมพงานก็กดPlot พิมพไดเลย เพราะกระดาษที่เราตั้งไว Scale เปน 1:1 อยูแลว


เพียงแตวา ใน Viewport ใหเปน Scale เทาใด

You might also like