You are on page 1of 52

หน่ วยเรียนที่ 3

ประเภทของอุตสาหกรรมอาหาร

สถาบันอาหาร ได้แบ่งอุตสาหกรรมอาหารของไทยออกเป็ น 12 สาขา ได้แก่ อุตสาหกรรม


ข้าวและผลิตภัณฑ์แปรรู ป อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมแปรรู ปสัตว์น้ าํ
อุตสาหกรรมชากาแฟและโกโก้ อุตสาหกรรมผักผลไม้และผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมนม อุตสาหกรรม
เครื่ องเทศและเครื่ องปรุ งรส อุตสาหกรรมนํ้าตาลและขนมหวานจากนํ้าตาล อุตสาหกรรมนํ้ามันและ
ไขมัน อุตสาหกรรมเครื่ องดื่ม อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร

3.1 อุตสาหกรรมข้ าวและผลิตภัณฑ์ แปรรู ป


ข้าวเป็ นพืชเศรษฐกิจที่มีความสําคัญต่อประเทศไทยมาโดยตลอด เนื่องจากเป็ นอาหารหลักของ
คนไทย และยังเป็ นอาชีพหลักของเกษตรกรในหลายพื้นที่ พื้นที่ถือครองทางการเกษตรกว่า 50 % เป็ น
พื้นที่เพาะปลูกข้าว ผลผลิตข้าวกว่า 55 % ใช้บริ โภคในประเทศ ส่ วนที่เหลือประมาณ 45 % ส่ งออกไป
ยังตลาดต่างประเทศทัว่ โลกทั้งในลักษณะข้าวสารและผลิตภัณฑ์แปรรู ปจากข้าว นํารายได้เข้าสู่ ประเทศ
กว่า 210,338 ล้านบาท
อุตสาหกรรมข้าวของไทยนับได้วา่ เป็ นอุตสาหกรรมที่มีผเู ้ กี่ยวข้องเป็ นจํานวนมาก ในระดับ
การแปรรู ปเป็ นข้าวสารหรื อผูป้ ระกอบการโรงสี ขา้ วมีจาํ นวน 6,696 โรงสี และอุตสาหกรรมการแปรรู ป
ข้าวเป็ นผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจําแนกเป็ นโรงงานผลิตภัณฑ์ประเภทอบ จํานวน 231 โรงงาน ผลิตภัณฑ์
ประเภทเส้น จํานวน 422 โรงงาน แป้ งสตาร์ชและผลิตภัณฑ์จากสตาร์ช จํานวน 57 โรงงาน โดยส่ วน
ใหญ่ 97 % เป็ นผูป้ ระกอบการขนาดเล็กที่มีเงินลงทุนเฉลี่ยรายละ 15.91 ล้านบาท ในอุตสาหกรรมข้าว
และผลิตภัณฑ์แปรรู ปมีการจ้างงานไม่ต่าํ กว่า 95,000 คน หรื อ 15 % นับว่าเป็ นอุตสาหกรรมที่มีการใช้
แรงงานมากเป็ นอันดับ 2 รองจากอุตสาหกรรมแปรรู ปสัตว์น้ าํ

ภาพที่ 3.1 โครงสร้างอุตสาหกรรมข้าวและผลิตภัณฑ์แปรรู ปของไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
59

3.1.1 ผลิตภัณฑ์ หลักจากข้ าว


1) ข้ าวสาร
ประเทศไทยเป็ นผูผ้ ลิตข้าวอันดับ 6 ของโลก ในปี 2550/51 มีปริ มาณผลผลิตข้าว 19.4 ล้านตัน
ข้าวสาร คิดเป็ น 4.41 % ของผลผลิตข้าวโลก ประเทศผูผ้ ลิตรายใหญ่ของโลกที่สาํ คัญ ได้แก่ จีน ( 30.72
%) อินเดีย (22.17 %) อินโดนีเซีย (8.24 %) บังคลาเทศ และเวียดนาม ( 6.73 และ 5.34 %) แต่ส่วนใหญ่
ประเทศผูผ้ ลิตรายสําคัญจะผลิตเพื่อเป็ นการบริ โภคในประเทศ พันธุ์ขา้ วของไทยที่มีบทบาทสําคัญมาก
ที่สุด คือ ข้าวหอมมะลิ เนื่องจากเป็ นข้าวที่เมื่อหุงหรื อนึ่งสุ กแล้ว เมล็ดข้าวสุ กจะอ่อนนิ่มมากกว่าข้าวเจ้า
ทัว่ ไป แต่ร่วนน้อยกว่าและมีกลิ่นหอม ซึ่ งเป็ นเอกลักษณ์อนั โดดเด่นของข้าวหอมมะลิไทย
ทิศทางการส่ งออกข้าวในช่วง 5 ปี ที่ผา่ นมาจะเป็ นการขยายตัวในเชิงมูลค่า มากกว่าเชิงปริ มาณ
มีอตั ราการเติบโตเฉลี่ยปี 2547-2551 ที่ 19.62 % ในขณะที่การขยายตัวในเชิงปริ มาณอยูท่ ี่ 0.26 % ซึ่ง
เป็ นผลมาจากการส่ งออกข้าวคุณภาพสู งมากขึ้น ที่สาํ คัญคือ ข้าวหอมมะลิไทย ในปี 2551 มีการขยายตัว
ในเชิงมูลค่า 25.64 % ในขณะที่ปริ มาณความต้องการบริ โภคข้าวคุณภาพตํ่า-ปานกลางอย่างเช่นข้าวนึ่ง
ในหลายประเทศก็ปรับตัวเพิม่ ขึ้นเช่นกัน อย่างไรก็ตามปั จจัยกําหนดการขยายตัวของการส่ งออกข้าว
ไทย นอกจากปริ มาณผลผลิต ความต้องการของผูบ้ ริ โภค ยังขึ้นกับสภาวะการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งที่
ในปัจจุบนั ใช้กลยุทธ์ดา้ นราคาเป็ นสําคัญในการขยายตลาด จนบางครั้งไทยต้องสู ญเสี ยส่ วนแบ่งตลาด
ให้กบั ประเทศคู่แข่งอย่างเวียดนามและอินเดีย ดังนั้นการขยายตลาดของไทยจึงมุ่งเน้นสิ นค้าคุณภาพสู ง
ได้มาตรฐานสากล ซึ่ งเป็ นจุดเด่นสําคัญของไทยที่ได้รับการยอมรับจากทัว่ โลก
ตลาดส่ งออกข้าวที่สาํ คัญของไทย จําแนกตามประเภทของข้าวส่ งออกที่สาํ คัญ คือ ข้ าวหอม
มะลิไทย ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา สหภาพยุโรป ฮ่องกง ไอวอรี่ โคส ซี นีกลั และจีน ข้ าวนึ่ง มีตลาดส่ งออก
หลัก ได้แก่ ไนจีเรี ย เบนิน แอฟริ กาใต้ เยเมนและรัสเซีย และข้ าวขาว ตลาดส่ งออกสําคัญ ได้แก่
ฟิ ลิปปิ นส์ มาเลเซี ย และอิรัก ซึ่ งการขยายตัวของการส่ งออกข้าวของไทยในทุกชนิดเป็ นผลมาจากการ
สร้างคุณภาพมาตรฐานด้านการผลิตและส่ งออกที่เป็ นที่ยอมรับของตลาดโลก ที่นบั ว่าเป็ นจุดเด่นสําคัญ
ของไทย
2) ผลิตภัณฑ์ ข้ าวแปรรู ป
ปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์ขา้ วแปรู ปของไทยในระดับอุตสาหกรรมได้มีการพัฒนาความหลากหลาย
ของชนิดผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองตอบต่อความต้องการของตลาดมากขึ้น ที่สาํ คัญ ได้แก่
2.1) แป้งข้ าว (Rice flour ) นับได้วา่ เป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีศกั ยภาพสู ง เนื่องจากปั จจุบนั การผลิต
ขนมปั ง เบเกอรี่ และขนมขบเคี้ยวต่างๆ ของไทย ส่ วนใหญ่จะเป็ นการผลิตโดยใช้แป้ งข้าวสาลี ที่ตอ้ ง
นําเข้าจากต่างประเทศในมูลค่าค่อนข้างสู ง การพัฒนาแป้ งข้าวของไทยจึงมีความสําคัญนอกจากผลิตเพื่อ
การส่ งออกแล้วนั้นยังเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ สามารถใช้ทดแทนแป้ งข้าวสาลีได้เป็ นอย่างดี
2.2) ผลิตภัณฑ์ เส้ น ผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเส้นของไทยมีการผลิตเป็ นอุตสาหกรรมมาเป็ น
เวลานานโดยเริ่ มจาก อุตสาหกรรมครัวเรื อนที่ทาํ การผลิตเพื่อบริ โภคภายในประเทศ ต่อมาได้พฒั นา
60

เป็ นอุตสาหกรรม เพื่อการส่ งออกไปยังตลาดต่างประเทศมากขึ้น ซึ่ งเกิดจากการขยายกําลังการผลิต และ


การพัฒนานวัตกรรมการผลิตของผูป้ ระกอบการไทยอย่างต่อเนื่อง ประเภทของผลิตภัณฑ์อาหารเส้นจะ
มีท้ งั เส้นสด เส้นแห้ง และเส้นกึ่งสําเร็ จรู ป โดยเส้นสดส่ วนใหญ่จะเป็ นการผลิตเพื่อบริ โภคใน
ประเทศ ส่ วนเส้นแห้ง และเส้นกึ่งสําเร็ จรู ปนอกจากผลิตเพื่อบริ โภคในประเทศ ยังเป็ นอุตสาหกรรม
การส่ งออกที่มีความสําคัญและมีการเติบโตมาโดยตลอด
2.3) สตาร์ ชข้ าว (Strach) เป็ นแป้ งที่ผา่ นการแยกส่ วนของโปรตีนออกจนมีความบริ สุทธิ์ ของ
แป้ งสู งมาก จากแป้ งบริ สุทธิ์ สามารถนํามาผลิตเป็ นแป้ งดัดแปร (Modified starch) ที่มีคุณสมบัติการ
ไหลที่ดี ปั จจุบนั เป็ นอุตสาหกรรมที่สาํ คัญในกลุ่มผูผ้ ลิตแป้ งข้าว เนื่องจากเป็ นสิ นค้ามูลค่าเพิ่มสู งโดย
มุ่งเน้นกลุ่มตลาดเพื่อการส่ งออก
2.4) อาหารประเภทพองกรอบ (Expanded product) ที่สาํ คัญ ได้แก่ ขนมปังกรอบ ประเภท
อาราเร่ (Arare) วัตถุดิบการผลิตจะมาจากข้าวเหนียว และเซมเบ่ (Senbei) ผลิตมาจากข้าวเจ้าที่มีอมิโลส
ตํ่า การผลิตส่ วนใหญ่จะเป็ นการผลิตเพื่อการส่ งออก ส่ วนการผลิตเพื่อบริ โภคในประเทศมีเพียง 2 %
เท่านั้น ส่ วนผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น ขนมพองกรอบจากกระบวนการ Extrusion , Puffing และ ขนมพอง
กรอบ จากการอบหรื อทอด เช่น ข้าวตอก ข้าวตัง ขนมนางเล็ด เป็ นต้น
2.5) ข้ าวกึง่ สํ าเร็จรู ป (Quick cooking rice or instant rice) ผลิตภัณฑ์ขา้ วกึ่งสําเร็ จรู ปมีหลาย
รู ปแบบ เช่น Cup rice , Sanding rice และSimmering rice , Saute rice , Boil in bag ในปั จจุบนั กําลัง
กลายเป็ นผลิตภัณฑ์ทางเลือกหนึ่งของผูบ้ ริ โภคยุคใหม่ที่ตอ้ งการความสะดวกสบายมากยิง่ ขึ้น โดย
พบว่ามีการขยายตัวทั้งในตลาดในประเทศและตลาดส่ งออก
2.6) ข้ าวบรรจุในบรรจุภัณฑ์ ต่างๆ ได้แก่ ข้าวกระป๋ อง (Canned Rice) เป็ นผลิตภัณฑ์อาหารที่
สามารถ เก็บรักษาได้นานเช่นเดียวกับอาหารกระป๋ องโดยทัว่ ไป ปั จจุบนั การผลิตเพื่อการส่ งออกยังมีไม่
มาก เนื่องจากต้นทุนการผลิตสู ง และยังไม่เป็ นที่รู้จกั ของชาวต่างประเทศมากนัก จะมีบางประเทศที่มี
ศักยภาพในการส่ งออกประเภทข้าวบรรจุใน Retort pouch ซึ่งจะนิยมในญี่ปุ่น สําหรับตลาดในประเทศ
ยังไม่เป็ นที่นิยม
2.7) ข้ าวเสริมโภชนาการหรือข้ าวอนามัย (Enriched rice) เป็ นข้าวที่มีการเสริ มวิตามินหรื อ
แร่ ธาตุลงไปในข้าว เช่น การผสมข้าวเสริ มโภชนาการกับข้าวขาว (Premix kernel) การผสมกับผงของ
สารอาหาร การเติมสารอาหารในธัญพืชพร้อมบริ โภค การสเปรย์ เป็ นต้น นับได้วา่ เป็ นผลิตภัณฑ์ที่สร้าง
คุณค่าสู ง ซึ่ งผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมข้าวโดยเฉพาะผูผ้ ลิต รายใหญ่ต่างก็เข้ามาทําตลาดมากขึ้น
2.8) ข้ าวกล้องงอกกาบา (Gaba Rice) ข้าวกล้องงอกกาบา เป็ นการนําข้าวกล้องมาผ่าน
กระบวนการงอก ทําให้ช่วยเพิม่ ปริ มาณสารกาบาในข้าวกล้อง สารกาบาจะช่วยบํารุ งเซลล์ประสาท
ดังนั้น ในต่างประเทศได้นาํ สารกาบามาใช้ในวงการแพทย์ เพื่อการรักษาโรคเกี่ยวกับระบบประสาท
ต่างๆ ในปั จจุบนั ผูป้ ระกอบการไทยกําลังให้ความสําคัญเพื่อนําไปสู่ การแปรรู ปทั้งในอุตสาหกรรมข้าว
แปรรู ปและในอุตสาหกรรมอาหารสําเร็ จรู ปในกลุ่มอื่นๆ เพื่อนําไปสู่ การส่ งออกต่อไป
61

2.9) อืน่ ๆ อาหารเช้า (Breakfast cereal) เช่น โจ๊กกึ่งสําเร็ จรู ป อาหารเด็กอ่อน (Baby Food)
ผลิตภัณฑ์หมักดอง เช่น การผลิตลูกแป้ ง ที่ใช้ในการผลิตเครื่ องดื่มต่างๆ ข้าวแดง (Anka) เป็ นสี ผสม
อาหาร เช่นใช้ในเหล้าแดง ผสมในผักดอง ผลิตภัณฑ์เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ผลิตภัณฑ์จากรําข้าว และ
นํ้ามันรําข้าว เป็ นต้น
นับตั้งแต่ปี 2545 เป็ นต้นมาการส่ งออกผลิตภัณฑ์ขา้ วแปรรู ปของไทยนับว่าเป็ นสิ นค้าดาวรุ่ งที่มี
การ ขยายตัวสู งและต่อเนื่องทุกปี โดยผลิตภัณฑ์ส่งออกหลักได้แก่ เส้นก๋ วยเตี๋ยว-เส้นหมี่พร้อมปรุ งหรื อ
สําเร็ จรู ป ขนมปังกรอบ แป้ งข้าวเหนียว อาหารประเภทพองฟูอื่นๆ แป้ งข้าวเจ้า ข้าวปรุ งแต่งสําเร็ จรู ป
และสตาร์ชจากข้าวเหนียว ผลิตภัณฑ์ที่มีการเติบโตสู ง ได้แก่ ข้าวปรุ งแต่งสําเร็ จรู ปมีการส่ งออก
ขยายตัวสู งสุ ดในปี 2551 ที่ 215 % สตาร์ชจากข้าวเหนียว เติบโต 92 % และเส้นก๋ วยเตี๋ยว-เส้นหมี่พร้อม
ปรุ งหรื อสําเร็ จรู ป เติบโต 82 % ส่ วนผลิตภัณฑ์ที่มีอตั ราเติบโตตํ่า ได้แก่ ขนมปั งกรอบมีการเติบโตเพียง
1.6 %
สําหรับตลาดส่ งออกผลิตภัณฑ์ขา้ วแปรรู ปที่สาํ คัญของไทย จําแนกตามประเภทของผลิตภัณฑ์
คือ เส้ นก๋วยเตี๋ยว-เส้ นหมี่พร้ อมปรุ งหรือสํ าเร็จรู ป ตลาดหลักได้แก่ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริ กา ลาว
ฮ่องกง และออสเตรเลีย, ขนมปังกรอบ มีตลาดส่ งออกหลัก ได้แก่ ญี่ปุ่น สหรับอเมริ กา พม่า สหภาพ
ยุโรป และออสเตรเลีย แป้งข้ าวเจ้ า-แป้งเหนียว ตลาดส่ งออกสําคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น มาเลเซี ย และฮ่องกง
ข้ าวปรุ งแต่ งสํ าเร็จรู ป ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา ออสเตรเลีย สหภาพยุโรป และแอฟริ กาใต้
แนวโน้มในการส่ งออกข้าวและผลิตภัณฑ์แปรรู ปของไทยยังคงขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องปั จจัยที่
ส่ งผลโดยตรงคือ พฤติกรรมผูบ้ ริ โภคในตลาดโลกมีแนวโน้มในการบริ โภคข้าวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะข้าว
คุณภาพดี รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ขา้ วแปรรู ปที่มีความหลากหลายมากยิง่ ขึ้นตอบสนองต่อความต้องการ
ของ ผูบ้ ริ โภคในหลายระดับของตลาด ส่ วนจุดแข็งของไทยที่เป็ นปั จจัยในการสร้างให้เกิดความต้องการ
บริ โภคเพิ่มขึ้น และเป็ นจุดที่ได้เปรี ยบประเทศผูผ้ ลิตและส่ งออกรายอื่นๆ ที่สาํ คัญ คือการสร้าง
ภาพลักษณ์ในด้านคุณภาพมาตรฐาน ระบบ Food Safety ที่เป็ นที่ยอมรับของตลาดทัว่ โลก ประกอบกับ
กับโอกาสจากปั จจัยที่ส่งผลภายนอกได้แก่ การขยายตัวของตลาดใหม่ การขยายความร่ วมมือทาง
เศรษฐกิจในระดับภูมิภาค และการพัฒนานวัตกรรมการสร้างมูลค่าเพิ่ม ซึ่ งเกิดจากการพัฒนาและเรี ยนรู ้
จากภาคผูป้ ระกอบการไทยมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีภาครัฐบาลเป็ นกลไกสําคัญในการผลักดันให้
อุตสาหกรรมขยายตัว ได้มีการจัดทําเป็ นยุทธศาสตร์ขา้ วปี 2550-2554 ในด้านการผลิต การแปรรู ป และ
การตลาดอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มีทิศทางการดําเนินงานที่ชดั เจน โดยมีหน่วยงานที่มีภารกิจในการ
ผลักดันและส่ งเสริ มอุตสาหกรรมข้าวและผลิตภัณฑ์แปรรู ปอยูห่ ลายหน่วยงาน เช่น มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ สถาบันวิจยั ข้าวกรมการข้าวสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิ ชย์และ
กระทรวงอุตสาหกรรม เป็ นต้น
62

3.1.2 ปัญหาอุปสรรคทีส่ ํ าคัญ


อุตสาหกรรมข้าวและผลิตภัณฑ์แปรรู ปของไทยยังมีปัญหาอุปสรรคหรื อข้อจํากัดที่ผเู ้ กี่ยวข้อง
ในทุกภาคส่ วน จะต้องร่ วมมือกันเพื่อลดอุปสรรคที่เกิดขึ้น ที่สาํ คัญได้แก่
1) ด้ านการผลิต
- ต้นทุนการผลิตสู ง
- ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ มีความผันผวนไม่แน่นอน
- แรงงานภาคเกษตรลดน้อยลง
- ขาดการบริ หารจัดการโซ่อุปทาน
- ไม่มีการกําหนดเขตเกษตรกรรมเพื่อการผลิตข้าว
2) ด้ านการแปรรู ป
- การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อทดแทนการใช้แรงงานมีนอ้ ย เนื่องจากต้องลงทุนสู ง
- การวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ขา้ วแปรรู ปส่ วนใหญ่จะมาจากบริ ษทั แม่ที่อยูต่ ่างประเทศ ทําให้
ต้องมีการนําเข้าเครื่ องจักร และเทคโนโลยีเกือบทั้งหมด
3) ด้ านการตลาด
- การแข่งขันด้านราคาของคู่แข่ง
- การกีดกันทางการค้า ด้าน NTB, TB , การกําหนดโควต้าการนําเข้า
- การลอกเลียนแบบสิ นค้าไทยจากประทศคู่แข่ง

ภาพที่ 3.2 ชนิดผลิตภัณฑ์ขา้ วแปรรู ปส่ งออกของไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
63

ภาพที่ 3.3 ชนิดข้าวส่ งออกของไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ภาพที่ 3.4 ตลาดส่ งออกข้าวหอมมะลิของไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ภาพที่ 3.5 ตลาดส่ งออกก๋ วยเตี๋ยว-เส้นหมี่พร้อมปรุ งของไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
64

ภาพที่ 3.6 ตลาดส่ งออกแป้ งข้าวของไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.2 อุตสาหกรรมเนือ้ สั ตว์ และผลิตภัณฑ์


อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ของไทยหากไม่นบั รวมระดับฟาร์ มมีผปู ้ ระกอบการ 635 ราย โดยเป็ นผู้
แปรรู ปขนาดเล็กประมาณ 86 % ซึ่ งผูผ้ ลิตกลุ่มนี้จะมีการเข้าออกธุ รกิจตามความต้องการของตลาด
เพราะเป็ นการแปรรู ปสิ นค้าอย่างง่ายเพื่อจําหน่ายในท้องถิ่น ผูผ้ ลิตที่มีบทบาทต่อเศรษฐกิจจะเป็ นผูผ้ ลิต
ขนาดใหญ่และขนาดกลางที่มีเพียงประมาณ 14 % ผูผ้ ลิตขนาดใหญ่มกั มีการผลิตที่ครบวงจรตั้งแต่ตน้
นํ้าเริ่ มตั้งแต่การนําเข้าพ่อแม่พนั ธุ์ การพัฒนาสายพันธุ์ โรงเพาะฟัก การทําฟาร์ม ผลิตอาหารสัตว์และ
อุปกรณ์ โรงเชือดและชําแหละ โรงงานแปรรู ป และส่ งออก

ภาพที่ 3.7 โครงสร้างอุตสาหกรรมแปรรู ปเนื้อสัตว์ไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
65

3.2.1 ผลิตภัณฑ์ หลักของอุตสาหกรรมแปรรู ปเนือ้ สั ตว์


1) ผลิตภัณฑ์ ไก่เนือ้
ในปี 2551 ประมาณการสัดส่ วนปริ มาณผลิตไก่เนื้อจําหน่ายในประเทศ 80 % ส่ งออก 20 %
อุตสาหกรรมแปรรู ปไก่ โดยเฉลี่ยคนไทยยังบริ โภคไก่ในปริ มาณน้อย และไก่ถือเป็ นเนื้อสัตว์ราคาถูก
บริ ษทั ขนาดใหญ่มีการแนะนําเมนูไก่สาํ เร็ จรู ปหลายรายการเข้าสู่ ตลาดและมีการโฆษณาอย่างต่อเนื่อง
รวมทั้งการขยายร้านค้าปลีกเพื่อเพิ่มช่องทางกระจายสิ นค้า
สถานการณ์ส่งออกไก่แปรรู ปและแช่แข็ง ปี 2551 ปริ มาณส่ งออก 383,360.17 เมตริ กตัน มูลค่า
51,623.72 ล้านบาท ตลาดหลัก ได้แก่ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น
ผลิตภัณฑ์ ส่งออกทีส่ ํ าคัญ – ผลิตภัณฑ์ตดั แต่งลักษณะต่างๆ นึ่ง ย่าง ทอด ชุบแป้ ง ชุบขนมปั ง
ไก่เทอริ ยากิ อาหารสําเร็ จรู ป
2) ผลิตภัณฑ์ สุกร
การเลี้ยงสุ กรเป็ นอาชีพเสรี จึงมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มและลดจํานวนอย่างรวดเร็ วตามวัฏจักร
ตลาด โดยแบ่งเป็ นผูเ้ ลี้ยงแบบอิสระและผูเ้ ลี้ยงแบบมีสัญญาผูกพัน ผูเ้ ลี้ยงมากกว่า 70 % เป็ นฟาร์มขนาด
ใหญ่ครบวงจร 20-25 % เป็ นฟาร์มขนาดกลางและเล็ก ผูเ้ ลี้ยงรายย่อยมีเพียง 5 % และมีแนวโน้มลดลง
เนื่องจากไม่สามารถแบกรับต้นทุนอาหารสัตว์ที่เพิม่ สู งขึ้นได้ ขณะที่รายใหญ่ขยายการผลิตเพิม่ ขึ้น
ผลผลิตเนื้อสุ กร 25 % เป็ นของบริ ษทั ชําแหละและแปรรู ป ผลิตภัณฑ์สุกรที่นิยมบริ โภคในประเทศส่ วน
ใหญ่เป็ น เนื้อสุ กรชําแหละ ไส้กรอก แฮม ลูกชิ้น และ ผลิตภัณฑ์พ้นื เมือง เช่น กุนเชียง หมูแผ่น หมูยอ
แหนม หมูหยอง
ตลาดหลัก ได้แก่ ญี่ปุ่น ฮ่องกง ลาว พม่า
ผลิตภัณฑ์ ส่งออกทีส่ ํ าคัญ – Kushikutsu, Yaki, Buta Shoga, Kakuni, ซี่ โครงย่าง หมู
ทอดทงคัตซึ ขนมจีบ ติ่มซํา ไส้กรอก แฮม กุนเชียง หมูแผ่น หมูทุบ หมูหยอง
โรงงานชําแหละมาตรฐานส่ งออก เช่น CP , Pork King, BSM , Fresh Meat, Kanjana , VP ,
Thai QP
3) ไข่ และผลิตภัณฑ์์
ประเทศไทยผลิตไข่ไก่ได้มากที่สุด เนื่องจากเป็ นที่นิยมบริ โภค ในช่วง 5 ปี (2547-2551) การ
ผลิตไข่ไก่ขยายตัวในอัตราเฉลี่ย 8.90 % ต่อปี เนื่องจากการเลี้ยงไก่ไข่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ ว ทั้ง
วิธีการเลี้ยงและขนาดฟาร์ ม หลังภาวะการระบาดของโรคไข้หวัดนก (Avian Influenza) ในปี 2547 ได้มี
การปรับเปลี่ยนการเลี้ยงจากโรงเรื อนระบบเปิ ดเป็ นโรงเรื อนระบบปิ ดที่ควบคุมอุณหภูมิโดยระบบ
ระเหยไอนํ้าเย็น (Evaporative Cooling System หรื อ EVAP) เพื่อให้ได้มาตรฐานฟาร์มตามที่กรมปศุ
สัตว์กาํ หนด ปั จจุบนั ผูเ้ ลี้ยงไก่ไข่แบ่งเป็ น 3 กลุ่ม ได้แก่ ผูเ้ ลี้ยงรายย่อยอิสระ ส่ วนใหญ่เป็ นสมาชิก
สหกรณ์ผเู ้ ลี้ยงไก่ไข่ซ่ ึ งมีรวมกันประมาณ 300 ราย ผูเ้ ลี้ยงไก่ไข่คอนแทร็ กฟาร์ มมิ่ง กลุ่มนี้แนวโน้มเพิ่ม
66

จํานวนขึ้น เพราะบริ ษทั ใหญ่ขยายคอนแทร็ กฟาร์ มมิ่ง และกลุ่มผูเ้ ลี้ยงรายใหญ่อิสระ ผูเ้ ลี้ยงรายย่อยมัก
โดนพ่อค้าคนกลางเอารัดเอาเปรี ยบกดราคารับซื้ อ
ไข่นิยมนํามาแปรรู ปเป็ นอาหารคาวและหวานที่ใช้บริ โภคในชีวติ ประจําวันของคนไทย แต่
ผลิตภัณฑ์ไข่แปรรู ปในระดับอุตสาหกรรมยังมีไม่มาก ส่ วนใหญ่เป็ นสิ นค้าวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรม
อาหารอีกทอดหนึ่ง เช่น อุตสาหกรรมเบเกอรี่ อุตสาหกรรมกุง้ และไก่แปรรู ป โรงแรม ภัตตาคาร
ตลาดหลักในการส่ งออกไข่สดและแปรรู ป ได้แก่ ฮ่องกง ญี่ปุ่น อังโกลา สหรัฐอเมริ กา
จอร์แดน
ผลิตภัณฑ์ ส่งออกทีส่ ํ าคัญ – ไข่แช่แข็ง ไข่ผง ไข่เหลว ไข่สด ไข่เหลวพร้อมดื่ม

3.2.2 สภาวะการผลิต
ภาวการณ์ผลิตของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ไทยที่ผา่ นมายังมีการใช้กาํ ลังการผลิตไม่เต็มที่ (ดัง
ภาพที่ 3.8) ส่ วนหนึ่งมาจากผูป้ ระกอบการขนาดใหญ่มีการขยายโรงงานและเริ่ มดําเนินการผลิตทําให้มี
กําลังการผลิตเหลือ และการเปลี่ยนแปลงของตลาดผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ การชะลอตัวลงตามภาวะ
เศรษฐกิจของประเทศที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤติการเงินในสหรัฐอเมริ กา ทําให้มีคนว่างงานเพิ่มขึ้น
รายได้ลดลง กําลังซื้ อลดลง ประกอบกับภาวะชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่คา้ อาทิ ญี่ปุ่น สหภาพ
ยุโรป ทําให้ความต้องการนําเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แปรรู ปของไทยลดลง

ภาพที่ 3.8 อัตราการใช้กาํ ลังการผลิตของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ (%)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
67

3.2.3 ปัญหาอุปสรรคทางการค้ า
- โรงฆ่าและชําแหละ รวมทั้งโรงงานแปรรู ป เพื่อการส่ งออกต้องได้รับการรับรองจาก
หน่วยงานรัฐของประเทศผูน้ าํ เข้า ทําให้มีจาํ นวนจํากัดและต้องรอการมาตรวจรับรองในแต่ละรอบการ
พิจารณา ถือเป็ นการจํากัดผูส้ ่ งออก
- การพบระบาดของไข้หวัดนกในประเทศทําให้ไทยถูกระงับการนําเข้าจากประเทศผูน้ าํ เข้า
สิ นค้าไก่สด แช่แข็ง
- โรคปากเปื่ อยเท้าเปื่ อยในสุ กรทําให้ไทยไม่สามารถส่ งออกเนื้อสุ กรชําแหละสด แช่แข็งได้
- โรงฆ่าสัตว์ (สุ กร โค กระบือ) ที่ได้มาตรฐานและทันสมัยมีจาํ นวนน้อย
- ต้นทุนการผลิตสู ง โดยเฉพาะวัตถุดิบอาหารสัตว์ พ่อแม่พนั ธุ์ที่ตอ้ งพึ่งพาการนําเข้า ทําให้
แข่งขันไม่ได้ในตลาดต่างประเทศสําหรับสิ นค้าขั้นปฐม
- มีการลักลอบนําเข้า/ส่ งออกโคกระบือตามชายแดน ทําให้กระทบต่อตลาดการค้า รวมทั้งไม่
สามารถควบคุมโรคระบาดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

ตารางที่ 3.1 สถิติอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ที่สาํ คัญของไทยปี 2551

ไก่เนือ้ ไก่ไข่ สุ กร โคเนือ้


จํานวนสัตว์มีชีวติ (ล้านตัว) 923.52 37.05 11.7 1.27
ปริ มาณผลิตเนื้อ(ตัน) 9,362 ล้านฟอง 1200 184000
ปริ มาณบริ โภคในประเทศ(%) 80 96 98 100
ปริ มาณบริ โภค/คน/ปี (ก.ก.) 14.7 165 ฟอง
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
68

ตารางที่ 3.2 การส่ งออกและนําเข้าผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ปี 2551

นําเข้ า ส่ งออก
สิ นค้ า ตัน ล้านบาท ตัน ล้านบาท
เนื้อไก่แช่แข็งและแปรรู ป 570.08 82.62 383,360.17 51,623.72
เนื้อสุ กรแช่แข็งและแปรรู ป 142.00 35.43 9,988.15 1,955.77
เนื้อโค กระบือแช่แข็งและแปรรู ป 1,943.82 418.45 84.46 13.56
เครื่ องในสัตว์ เนื้อสัตว์อื่นๆ 17,373.73 492.85 6,987.81 709.73
แช่แข็งและแปรรู ป
ไข่สดและแปรรู ป - 108.19 - 1,154.26
ไส้กรอกและผลิตภัณฑ์แปรรู ปไม่ 385.14 96.54 47,849.43 8,124.62
ระบุชนิดเนื้อสัตว์
รวมทั้งหมด 21,024.62 1,234.08 858,583.64 63,581.66

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ภาพที่ 3.9 ตลาดส่ งออกผลิตภัณฑ์ไก่เนื้อที่สาํ คัญของไทยปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
69

ภาพที่ 3.10 ตลาดส่ งออกผลิตภัณฑ์สุกรที่สาํ คัญของไทยปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.3 อุตสาหกรรมแปรรู ปสั ตว์ นํา้


การแปรรู ปสัตว์น้ าํ ของไทยในระดับอุตสาหกรรมส่ วนใหญ่จะเป็ นวัตถุดิบจากทะเลหรื อสัตว์
นํ้าเพาะเลี้ยงจําพวกกุง้ ปลา สัตว์น้ าํ จืดที่จบั ได้จากแหล่งนํ้าธรรมชาติในประเทศ ส่ วนใหญ่นิยมแปรรู ป
บริ โภคในครัวเรื อนหรื อแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ พ้นื เมือง เช่น ปลาร้า ปลาส้ม สัตว์น้ าํ เศรษฐกิจที่สร้าง
รายได้จากการส่ งออกให้ประเทศในระดับสู งได้แก่ กุง้ ในอดีตสายพันธุ์หลักคือ กุง้ กุลาดํา แต่ปัจจุบนั
เปลี่ยนเป็ นกุง้ ขาว โรงงานอุตสาหกรรมแปรรู ปสัตว์น้ าํ ส่ วนใหญ่จะกระจุกตัวใกล้แหล่งเลี้ยงกุง้ และ
สะพานปลา เช่น สมุทรสาคร สมุทรปราการ สงขลา สุ ราษฎร์ ธานี ฯ มูลค่าส่ งออกสิ นค้าแปรรู ปจากสัตว์
นํ้าส่ วนใหญ่จะมาจากผูป้ ระกอบการขนาดใหญ่ที่มีการส่ งออกเกือบ 100 % ผูป้ ระกอบการขนาดเล็ก
ส่ วนใหญ่จะเป็ นการแปรรู ปเพื่อจําหน่ายในประเทศและส่ งต่อเข้าโรงงานขนาดใหญ่อีกทอดหนึ่ง

ภาพที่ 3.11 โครงสร้างอุตสาหกรรมประมงไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
70

3.3.1 ผลิตภัณฑ์ หลักของอุตสาหกรรมแปรรู ปสั ตว์ นํา้


1) ผลิตภัณฑ์ ก้ งุ
ผลผลิตกุง้ ในประเทศไทยประมาณ 85-90 % ใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตสิ นค้ากุง้ เพื่อการส่ งออก
ที่เหลือใช้บริ โภคภายในประเทศ การส่ งออกผลิตภัณฑ์กงุ้ ส่ วนใหญ่อยูใ่ นรู ปกุง้ แช่แข็ง คิดเป็ น 51.12 %
ของมูลค่าการส่ งออกทั้งหมด รองลงมาได้แก่ กุง้ ปรุ งแต่ง และกุง้ แห้ง ตามลําดับ ตลาดที่สาํ คัญได้แก่
สหรัฐอเมริ กา และญี่ปุ่น
ผลิตภัณฑ์ ส่งออกทีส่ ํ าคัญ กุง้ สดแช่เย็นจนแข็ง กุง้ ชุบแป้ ง กุง้ ชุบเกล็ดขนมปั ง กุง้ คอกเทล กุง้
ชุบแป้ งทอดแช่แข็ง กุง้ แห้ง
2) ผลิตภัณฑ์ ทูน่า
อุตสาหกรรมทูน่าของไทยเป็ นอุตสาหกรรมที่พ่ งึ พาวัตถุดิบในการนําเข้าในระดับสู ง ตรงข้าม
กับอุตสาหกรรมกุง้ อย่างไรก็ตามผูป้ ระกอบการขนาดใหญ่ได้มีการขยายการลงทุนด้านเรื อประมงจับ
ปลาเองมากขึ้น เพื่อลดความเสี่ ยงด้านวัตถุดิบ การผลิตทูน่ากระป๋ องจะมีปัญหาด้านต้นทุนการผลิตที่
ปรับตัวสู งขึ้น เนื่องจากการขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิต (ปลาสคิปแจ็กทูน่า) จากสภาวะอากาศที่
เปลี่ยนแปลงของโลกทําให้จาํ นวนปลาชนิดนี้ลดลงจึงหายากมากขึ้น และอีกประการคือราคานํ้ามันที่
สู งขึ้นส่ งผลต่อต้นทุนการจับปลาสคิปแจ็กทูน่า ราคาวัตถุดิบจึงปรับสู งขึ้นกว่า
ปริ มาณการส่ งออกทูน่ากระป๋ องของไทยคิดเป็ นสัดส่ วนประมาณ 96 % ของการค้าทั้งหมด
โดยมีสหรัฐอเมริ กาและสหภาพยุโรปเป็ นตลาดสําคัญ ส่ วนที่เหลืออีก 4 % ใช้บริ โภคภายในประเทศ
นับว่าเป็ นสัดส่ วนที่ค่อนข้างคงที่ อย่างไรก็ตามการบริ โภคภายในประเทศก็มีแนวโน้นเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ
ตามความนิยมและการดําเนินชีวติ ของคนสมัยใหม่ที่ตอ้ งการความสะดวกสบายและความรวดเร็ ว แม้วา่
ตลาดหลักอย่างสหรัฐอเมริ กาจะประสบปั ญหาทางเศรษฐกิจแต่ไทยก็มีตลาดใหม่ๆ มารองรับ เช่น
ประเทศในตะวันออกกลาง และแถบแอฟริ กา
ผลิตภัณฑ์ ส่งออกทีส่ ํ าคัญ ทูน่ากระป๋ องในนํ้ามันถัว่ เหลือง ทูน่ากระป๋ องในนํ้าเกลือ และทูน่า
แปรรู ปอื่นๆ
3.3.2 สภาวะการผลิต
หากพิจารณาอัตราการใช้กาํ ลังการผลิตของอุตสาหกรรมประมงไทยช่วงปี 2549-2551 จะใช้
กําลังการผลิตไม่เต็มที่ อยูใ่ นระดับตํ่า ส่ วนหนึ่งมาจากการขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิตทูน่ากระป๋ อง
แนวโน้มอุตสาหกรรมประมงคาดว่ายอดการส่ งออกจะลดลง เนื่องจากวิกฤติเศรษฐกิจที่ลุกลาม
ไปทัว่ โลก ทําให้ความต้องการสิ นค้าของตลาดสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป ที่เป็ นตลาดหลักลดลง ทั้งนี้
สิ นค้าประมงที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดอยูใ่ นกลุ่มกุง้ แช่แข็ง แต่ในทางกลับกันจะทําให้สินค้าใน
กลุ่มปลาทูน่ากระป๋ องขายดีมากขึ้น เพราะมีราคาถูกกว่า โดยในช่วงเศรษฐกิจไม่ดีจะทําให้ผบู ้ ริ โภคทัว่
โลกหันมาบริ โภคปลาทูน่ากระป๋ องมากขึ้น ขณะที่สินค้าตัวอื่นๆจะลดลง
71

ผูส้ ่ งออกไทยต้องมองหาตลาดใหม่ เช่น ตลาดตะวันออกกลาง โดยเฉพาะที่ดูไบ ตลาดลาติน


อเมริ กา เพราะประเทศเหล่านี้มีรายได้เพิ่มขึ้น ส่ วนตลาดเดิมอย่างสหรัฐฯ สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น อาจ
ต้องยอมขายไม่ได้กาํ ไร เพื่อรักษาลูกค้าเดิมไว้ ไม่ให้คู่แข่งเข้ามาแย่งตลาด เมื่อเศรษฐกิจเข้าสู่ ขาขึ้นจะ
ทําให้สินค้าไทยยังครองตลาดอยู่

ภาพที่ 3.12 อัตราการใช้กาํ ลังการผลิตของอุตสาหกรรมประมง (%) ทีม่ า: สถาบัน


อาหาร (2551)

3.3.3 ปัญหาอุปสรรคทางการค้ า
1) การส่ งออกกุง้ แช่แข็งไปสหรัฐฯ ไม่ได้รับความเป็ นธรรมจากการคํานวณอัตราการเรี ยกเก็บ
ภาษีอากรและการวางพันธบัตรคํ้าประกันหรื อซี -บอนด์ตามกฎการตอบโต้การทุ่มตลาด (AntiDumping
: AD) ทําให้ตอ้ งจ่ายภาษีนาํ เข้ากุง้ ในสัดส่ วนที่สูงขึ้นเมื่อเทียบกับคู่แข่งขัน
2) ปั ญหาราคากุง้ ตกตํ่า เนื่องจากค่าเงินบาทแข็งตัว และต้นทุนนํ้ามันแพง ส่ งผลให้การส่ งออก
กุง้ ไปยังตลาดสหรัฐอเมริ กามีปริ มาณลดลง กระทบไปถึงราคากุง้ ขาวภายในประเทศตกตํ่าไปด้วย
3) การผลิตทูน่ากระป๋ องเกิดปั ญหาวัตถุดิบขาดแคลน จากภาวะโลกร้อนทําให้ปริ มาณทูน่า
ลดลง ขณะที่ความต้องการบริ โภคทูน่าของโลกเพิ่มขึ้น
4) ต้นทุนการผลิตสู ง เนื่องจากการปรับขึ้นค่าจ้างแรงงานจากทางภาครัฐบาล ราคานํ้ามันใน
ตลาดโลกที่สูงขึ้น ราคากระป๋ องที่ปรับตัวสู งขึ้นประมาณ 30% และราคาวัตถุดิบที่สูงขึ้นเช่นกัน
5) การส่ งออกทูน่ากระป๋ องไปยังสหภาพยุโรปต้องเสี ยภาษีนาํ เข้าอัตราสู งถึง 24% ขณะที่คู่แข่ง
อาทิ สเปน เอกวาดอร์ โซมาเลีย และอดีตประเทศอาณานิคมของอียอู ีกหลายประเทศไม่ตอ้ งเสี ยภาษี
นําเข้า ทําให้ไทยเสี ยเปรี ยบมาก
6) ปั ญหาขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากแรงงานเลือกที่จะทํางานในอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ไม่ใช่
อาหาร
72

3.3.4 สถิติการค้ าทีส่ ํ าคัญ

ตารางที่ 3.3 การส่ งออกผลิตภัณฑ์ประมงที่สาํ คัญ ปี 2551


การส่ งออก
สิ นค้ า ตัน ล้านบาท
ปลาทูน่ากระป๋ อง 483,894.57 61,036.71
กุง้ ขาวแช่เย็นจนแข็ง 163,994.12 35,885.24
กุง้ ขาวไม่บรรจุภาชนะที่อากาศผ่านเข้าออกไม่ได้ 127,051.74 33,217.66
หมึกกล้วยแช่เย็นจนแข็ง 46,545.38 6,938.53
เนื้อปลาแบบอื่นๆ แช่เย็นจนแข็ง 55193.81 6,567.27
มูลค่ าการส่ งออกผลิตภัณฑ์ ประมงทั้งหมด 1,672,736.52 214,177.08
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ตารางที่ 3.4 การนําเข้าผลิตภัณฑ์ประมงที่สาํ คัญ ปี 2551

สิ นค้ า การนําเข้ า
ตัน ตัน
ปลาสคิปแจ็กทูน่าแช่เย็นจนแข็ง 605,674.53 34,084.60
ปลาทูน่าครี บเหลืองแช่เย็นจนแข็ง 130,398.68 8,225.65
ปลาทะเลอื่นๆ แช่เย็นจนแข็ง 205,174.61 4,712.60
ปลาแมคเคอเรลแช่เย็นจนแข็ง 104,819.33 4,602.99
ปลาทูน่าครี บยาวแช่เย็นจนแข็ง 32792.34 2,732.95
มูลค่ าการนําเข้ าผลิตภัณฑ์ ประมงทั้งหมด 1,505,760.21 79,108.96

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)


73

ภาพที่ 3.13 ตลาดส่ งออกผลิตภัณฑ์กงุ้ ที่สาํ คัญของไทยปี 2551 (มูลค่าทั้งหมด 69,103 ล้านบาท)
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ภาพที่ 3.14 ตลาดส่ งออกผลิตภัณฑ์ทูน่าที่สาํ คัญของไทยปี 2551 (มูลค่าทั้งหมด 61,037 ล้านบาท)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.4 อุตสาหกรรมชา กาแฟและโกโก้


อุตสาหกรรมชา กาแฟ และโกโก้ของไทยหากไม่นบั รวมระดับฟาร์ มมีผปู ้ ระกอบการ 220 ราย
โดยเป็ นผูแ้ ปรรู ปขนาดเล็กประมาณ 66 % ซึ่ งผูผ้ ลิตกลุ่มนี้จะมีการเข้าออกธุ รกิจตามความต้องการของ
ตลาด เพราะเป็ นการแปรรู ปสิ นค้าเพื่อป้ อนเข้าสู่ โรงงานอุตสาหกรรม โดยใช้เทคโนโลยีการอบแห้ง
อย่างง่ายเพื่อป้ องกันการเกิดเชื้อราเนื่องจากความชื้นในตัววัตถุดิบ เช่น เครื่ องอบชนิดต่างๆทั้งที่ใช้แก๊ส
และความร้อนจากแสงอาทิตย์ ผูผ้ ลิตที่มีบทบาทต่อเศรษฐกิจจะเป็ นผูผ้ ลิตขนาดใหญ่และขนาดกลางมี
ประมาณ 34 % มีท้ งั ที่เป็ นบริ ษทั ข้ามชาติที่มีการนําเข้าเทคโนโลยีการผลิตที่ทนั สมัยนํามาใช้ผลิตสิ นค้า
และผูป้ ระกอบการในประเทศ ตลาดหลักของสิ นค้าที่ผลิตขึ้นจะจําหน่ายในประเทศเป็ นหลัก
74

ภาพที่ 3.15 โครงสร้างอุตสาหกรรม กาแฟ และโกโก้ของไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.4.1 ผลิตภัณฑ์ หลักของอุตสาหกรรมชา กาแฟและโกโก้


1) ผลิตภัณฑ์ ชา
ในปี 2551 สัดส่ วนปริ มาณผลผลิตใบชาเพื่อจําหน่ายในประเทศ 95% และส่ งออก 5 % ของ
ปริ มาณผลผลิตในประเทศ สําหรับแนวโน้มการส่ งออกชาของไทยไปต่างประเทศ ในอนาคตคาดว่ายัง
มีโอกาส เนื่องจากแนวโน้มการนําเข้าชาของโลกมีแนวโน้มที่เติบโตดีในช่วงที่ผา่ นมา
ตลาดหลักในการส่ งออกชาและผลิตภัณฑ์ ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา สหภาพยุโรป ลาว
ผลิตภัณฑ์ ส่งออกทีส่ ํ าคัญ หัวเชื้อเข้มข้นของชา ชาปรุ งแต่งที่ผสมได้ทนั ที ชาดํา ใบชาเชียวไม่
หมักปรุ งกลิ่นรส ใบชาดําหมัก ใบชาเขียวไม่หมัก ชาดําปรุ งกลิ่นรส
2) ผลิตภัณฑ์ กาแฟ
ประเทศไทยได้มีการปลูกกาแฟมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2393 ผลิตกาแฟได้เพียง 1 % ของโลกเป็ น
กาแฟโรบัสต้า 97% และอาราบิกา้ เพียงร้อยละ 3 % เท่านั้น กาแฟอาราบิกา้ มีรสชาติไม่ขมเข้มรุ นแรง
และกลิ่นหอมนุ่มนวล ถือเป็ นกาแฟคุณภาพดี ตลาดโลกมีความต้องการสู ง สําหรับตลาดในประเทศ
ปั จจุบนั การดื่มกาแฟได้รับความนิยมอย่างแพร่ หลาย เห็นได้จากธุ รกิจร้านกาแฟที่พบเห็นได้ทวั่ ไปไม่วา่
จะเป็ นในห้างสรรพสิ นค้า ตึกสํานักงาน โรงพยาบาล ปั้ มนํ้ามัน และอื่น ๆ ซึ่ งมีท้ งั ร้านกาแฟของไทยเอง
และต่างชาติ กาแฟกลายเป็ นเครื่ องดื่มที่จาํ เป็ นและดื่มกันกว้างขวางยิง่ ขึ้นโดยเฉพาะกาแฟสําเร็ จรู ปมี
อัตราเติบโตอย่างต่อเนื่อง
ตลาดส่ งออกกาแฟทั้งในรู ปเมล็ดกาแฟและกาแฟสําเร็ จรู ป ได้แก่ พม่า ลาว ตุรกี ฟิ ลิปปิ นส์ และ
อิหร่ าน
75

ผลิตภัณฑ์ ส่งออกทีส่ ํ าคัญ กาแฟที่ผสมได้ทนั ที กาแฟอะราบิกา้ ดับเบิลยูไอบีหรื อโรบัสต้าโอ


ไอบี ไม่ได้แยกกาเฟอีนออก ของที่ใช้แทนกาแฟที่มีกาแฟผสม กาแฟคัว่ ไม่ได้แยกกาเฟอีนออกบด
กาแฟคัว่ ไม่ได้แยกกาเฟอีนออกไม่บด
3) โกโก้
การปลูกโกโก้นิยมปลูกแซมในสวนมะพร้าว เมล็ดโกโก้ที่ผลิตได้จะนํามาแปรรู ปเป็ นวัตถุดิบ
สําหรับการผลิตเครื่ องดื่ม อาหารหวานและขนมหวานหลากหลายชนิด โดยมีผลิตภัณฑ์โกโก้ที่สาํ คัญ
เช่น ผงโกโก้ ไขมันและนํ้ามันจากเมล็ดโกโก้ ช็อคโกแลต เป็ นต้น การปลูกโกโก้ในประเทศไทยได้เริ่ ม
มีการปลูกนานแล้ว นิยมปลูกในจังหวัด ประจวบขีรีขนั ธ์ สุ ราษฎร์ธานีและชุมพร ปริ มาณผลผลิตยังมี
จํานวนไม่มากคาดว่ามีประมาณ 150 ตัน/ปี ขณะที่ความต้องการโกโก้ในประเทศไทยมีความต้องการ ปี
ละประมาณ 20,000 ตัน ทําให้ไทยต้องพึ่งพิงการนําเข้าเมล็ดโกโก้จากต่างประเทศ แหล่งนําเข้าเมล็ด
โกโก้มากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ มาเลเซี ย อินโดนีเซี ย และการ์ น่า คิดเป็ นสัดส่ วน 30.42 20.87 และ
15.70 % ของปริ มาณนําเข้า สาเหตุหลักที่ไทยยังมีการนําเข้ามาก ขณะที่ผลผลิตในประเทศไม่เพิ่มมาก
ขึ้น เนื่องจากต้นทุนการผลิตของเกษตรกรที่สูงและราคารับซื้ อในประเทศยังไม่จูงใจ รวมถึงแหล่งรับ
ซื้ อเมล็ดโกโก้ที่ยงั มีไม่มาก
ตลาดหลักการส่ งออกโกโก้และผลิตภัณฑ์ ได้แก่ สหภาพยุโรป ออสเตรเลียและมาเลเซีย
ผลิตภัณฑ์ ส่งออกทีส่ ํ าคัญ– โกโก้บตั เตอร์ ไขมันและนํ้ามันของโกโก้ ผงโกโก้ที่ไม่เติมนํ้าตาล
หรื อสารทําให้หวานอื่นๆ ของปรุ งแต่งจากโกโก้ไม่มีไส้ ขนมที่ทาํ จากช็อกโกแลตเป็ นก้อนเป็ นแผ่น
หรื อเป็ นแท่งไม่มีไส้ ผงโกโก้ที่เติมนํ้าตาลหรื อสารทําให้หวาน
3.4.2 สภาวะการผลิตชา - การผลิตชาของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง พื้นที่
ให้ผลผลิตชาในประเทศไทยมีแนวโน้มที่เพิม่ ขึ้น ขณะที่ผลผลิตมีแนวโน้มเพิม่ ขึ้น สําหรับตลาดสิ นค้า
จากชาในประเทศโดยเฉพาะเครื่ องดื่มชาพร้อมบริ โภค พบว่า ส่ วนแบ่งตามชนิดชาแบ่งเป็ นสัดส่ วนของ
ชาเขียว 60 % ชาดํา 25 % และชาแดง ชาขาวและอื่นๆ 15 % กาแฟ พื้นที่ปลูกกาแฟของไทยมีแนวโน้ม
ลดลงอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ผลผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (ผลจากปริ มาณผลผลิตต่อไร่ ที่ปรับสู งขึ้น) มี
ปริ มาณเพียงพอกับความต้องการบริ โภคกาแฟในประเทศ
สําหรับตลาดสิ นค้าจากกาแฟในประเทศโดยเฉพาะเครื่ องดื่มกาแฟพร้อมบริ โภคบรรจุมูลค่า
ตลาดในประเทศประมาณ 8,000 ล้านบาท เติบโต 5-7 % เนื่องจากการแข่งขันที่เพิ่มมากขึ้น
76

โกโก้ - การเติบโตของการนําเข้าโกโก้ในช่วงที่ผา่ นมามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

ภาพที่ 3.16 พื้นที่ให้ผลผลิตกาแฟและปริ มาณผลผลิตกาแฟของประเทศไทย ปี 2541 – 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.4.3 ปัญหาอุปสรรคทางการค้ า
1) ต้นทุนการผลิตในระดับเกษตรของไทยค่อนข้างสู ง ซึ่งเป็ นผลมาจากการขาดทักษะการดูแล
รักษาพื้นที่ปลูก โดยเฉพาะโกโก้ที่จะพึ่งพิงการนําเข้าจากต่างประเทศเป็ นหลัก
2) การปนเปื้ อนสารเมลามีนในสิ นค้านมซึ่ งเป็ นสิ นค้าประกอบที่ใช้ควบคู่กบั ชา กาแฟ และ
โกโก้จะส่ งผลให้ความต้องการในตลาดลดลง
3) ประเทศไทยยังขาดเทคโนโลยีและความชํานาญด้านการแปรรู ปโกโก้ ซึ่งต้องนําเข้ามาจาก
ต่างประเทศ
4) ตลาดรับซื้ อผลผลิตโกโก้ในระดับฟาร์ มยังมีจาํ กัด ทําให้การผลิตเพื่อส่ งเสริ มเข้าสู่ ระดับ
อุตสาหกรรมทําได้ยาก
ตารางที่ 3.5 สถิติอุตสาหกรรมใบชา เมล็ดกาแฟและโกโก้ ที่สาํ คัญของไทยปี 2551

ใบชา เมล็ดกาแฟ เมล็ดโกโก้


พื้นที่ให้ผลผลิต (ไร่ ) 118,339.52 388,662 6,507
ปริ มาณผลผลิตแห้ง(ตัน) 10,328.67 50,442 116.7
ปริ มาณบริ โภค/คน/ปี (ก.ก.) 0.16 0.99 0.27

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)


77

3.4.4 สถิติการค้ าทีส่ ํ าคัญ

ตารางที่ 3.6 การส่ งออกและนําเข้าชา กาแฟ โกโก้และผลิตภัณฑ์ ปี 2551

สิ นค้ า นําเข้ า ส่ งออก


ตัน ล้านบาท ตัน ล้านบาท
ชาและผลิตภัณฑ์ 2,841.81 409.90 6,573.06 403.18
กาแฟและผลิตภัณฑ์ 21,920.25 2,390.76 29,201.83 2,796.94
โกโก้และผลิตภัณฑ์ 38,847.88 3,978.55 18,482.35 2,180.19
รวมทั้งหมด 63,609.94 6,779.21 54,257.24 5,380.31

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ภาพที่ 3.17 ตลาดส่ งออกชาและผลิตภัณฑ์ที่สาํ คัญของไทยปี 2551 (ตามมูลค่า-ล้านบาท)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ภาพที่ 3.18 ตลาดส่ งออกกาแฟและผลิตภัณฑ์ที่สาํ คัญของไทยปี 2551 (ตามมูลค่า-ล้านบาท)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
78

ภาพที่ 3.19 ตลาดส่ งออกโกโก้และผลิตภัณฑ์ที่สาํ คัญของไทยปี 2551 (ตามมูลค่า-ล้านบาท)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.5 อุตสาหกรรมผักผลไม้ และผลิตภัณฑ์


อุตสาหกรรมผักและผลไม้ของไทย ทั้งในรู ปแบบของผลิตภัณฑ์สดและแปรรู ปเป็ นอีกหนึ่ง
อุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ให้กบั ประเทศเป็ นมูลค่ามหาศาล จากสถิติของกรมโรงงานอุตสาหกรรม
พบว่า ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมผักผลไม้ของไทยในระดับโรงงาน 603 ราย (ไม่นบั รวมในระดับ
ฟาร์ม) โดยจําแนกเป็ น ผูป้ ระกอบการรายใหญ่และกลางประมาณ 18 % ผูป้ ระกอบการรายเล็ก 82 %
โครงสร้างสิ นค้าส่ งออกกลุ่ม ผักแช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง คิดเป็ น 33 % ผลไม้สดแช่แข็ง และ
แห้ง 67 % ในขณะที่สินค้ากลุ่มแปรรู ปผลไม้กระป๋ องและแปรรู ปคิดเป็ น 80% (สับปะรดกระป๋ อง 30%
ผลไม้รวมกระป๋ อง 5% นํ้าสับปะรด 25% อื่นๆ 20%) สิ นค้าผักกระป๋ องและแปรรู ปคิดเป็ น 20 %
(ข้าวโพดหวาน 12% ข้าวโพดฝักอ่อนกระป๋ อง 5% และอื่นๆ 3%)

ภาพที่ 3.20 โครงสร้างอุตสาหกรรม ผักผลไม้ไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
79

3.5.1 ผลิตภัณฑ์ หลักของอุตสาหกรรมผักผลไม้ และผลิตภัณฑ์


1) ผลไม้ สดแช่ เย็นแช่ แข็ง และแห้ ง การส่ งออกผลไม้สดตลาดหลัก ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น ฮ่องกง
อินโดนีเซี ย และสหรัฐอเมริ กา ในขณะที่ตลาดอื่นที่น่าสนใจได้แก่ ออสเตรเลีย มาเลเซี ย ซึ่ งมีอตั ราการ
ขยายตัวการส่ งออกเพิ่มสู งขึ้น ผลิตภัณฑ์ส่งออกสําคัญได้แก่ ทุเรี ยนสด ลําไยสด ลําไยอบแห้ง และ
มังคุด
2) ผลไม้ กระป๋ อง/แปรรู ป ผลไม้กระป๋ องและแปรรู ปของไทย นับว่าเป็ นอุตสาหกรรมที่สร้าง
มูลค่าเพิ่มให้กบั สิ นค้าเกษตรของไทยเป็ นอย่างมากและเป็ นสิ นค้าอุตสาหกรรมการเกษตรซึ่ งไทย
ส่ งออกเป็ นรายใหญ่ในตลาดโลก ภาพรวมการส่ งออกสิ นค้าผลไม้กระป๋ องและแปรรู ปในปี 2551
ขยายตัวทั้งปริ มาณและมูลค่า ตลาดหลัก ได้แก่ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น เนเธอร์ แลนด์ รัสเซี ย และเยอรมนี
ผลิตภัณฑ์ส่งออกสําคัญได้แก่ - สับปะรดกระป๋ อง ผลไม้อื่นๆ ทําไว้ไม่ให้เสี ย ไม่ได้แช่เย็นจน
แข็ง ของผสมอื่นๆ ที่เติมนํ้าตาลหรื อสารให้ความหวาน
3) ผักสด แช่ เย็น แช่ แข็ง แห้ งและแปรรู ป ตลาดส่ งออกหลักยังคงเป็ น ญี่ปุ่น สหรัฐฯ สหราช
อาณาจักร ไต้หวัน และเนเธอร์แลนด์
ผลิตภัณฑ์ส่งออกสําคัญได้แก่ - ข้าวโพดอ่อนกระป๋ อง ข้าวโพดหวานกระป๋ อง และหน่อไม้ฝรั่ง
แช่เย็นแช่แข็ง
4) นํา้ ผัก/นํา้ ผลไม้ นํ้าผักผลไม้เป็ นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่มีอตั ราการเติบโตเพิ่มมากขึ้น ทั้งตลาด
ภายในประเทศซึ่ งเป็ นผลิตภัณฑ์น้ าํ ผักผลไม้พร้อมดื่ม ด้วยรสชาติของนํ้าผลไม้พร้อมดื่มมีความ
ใกล้เคียงกับธรรมชาติและเป็ นที่ยอมรับของผูบ้ ริ โภคมากขึ้น ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ช่องทาง
การกระจายสิ นค้าที่สะดวกยิง่ ขึ้น และระดับราคาทําให้ผบู ้ ริ โภคตัดสิ นใจซื้ อบริ โภคได้ไม่ยากนัก
ในขณะที่ตลาดส่ งออกเป็ นอุตสาหกรรมนํ้าผักผลไม้เข้มข้น โดยสิ นค้าที่มีศกั ยภาพของไทยยังคงเป็ นนํ้า
สับปะรด ตลาดส่ งออกนํ้าผลไม้ที่สาํ คัญของไทย ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา ฟิ ลิปปิ นส์ เกาหลีใต้ กัมพูชา
ออสเตรเลีย ฯ
ผลิตภัณฑ์ ส่งออกสํ าคัญได้แก่ - นํ้าสับปะรด นํ้าผักหรื อผลไม้อื่นๆ นํ้าผลไม้ผสม นํ้าผักผสม

3.5.2 สภาวะการผลิต
ภาวะการผลิตของอุตสาหกรรมผักและผลไม้แปรรู ปของไทยในช่วงปี 2549-2551 ดังภาพที่
3.21 สิ นค้าหลัก ได้แก่ สับปะรดกระป๋ อง ข้าวโพดฝักอ่อนกระป๋ อง อุตสาหกรรมนํ้าผักผลไม้
80

ภาพที่ 3.21 อัตราการใช้กาํ ลังการผลิตของอุตสาหกรรมผักผลไม้แปรรู ป (%)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.5.3 ปัญหาอุปสรรคทางการค้ า1) ปั จจัยการผลิตมีราคาเพิ่มสู งขึ้นกว่าปกติ เช่นปุ๋ ย และยาฆ่า


แมลง เนื่องจากจีนลดการผลิต และไทยมีการนําเข้าจากจีนเป็ นจํานวนมากจึงอาจจะส่ งผลให้ตน้ ทุนการ
ผลิตสิ นค้าผักและผลไม้สูงขึ้น
2) ปริ มาณผลผลิตและคุณภาพผลไม้ไม่สมํ่าเสมอขึ้นกับดินฟ้ าอากาศและการจัดการ ทําให้
วัตถุดิบเข้าโรงงานไม่สมํ่าเสมอ ยากต่อการวางแผนการผลิตล่วงหน้า
3) ความผันผวนของราคาส่ งผลต่อการตัดสิ นใจผลิตสิ นค้าผักและผลไม้ของเกษตรกร ในกรณี
ที่บางปี ราคาผักและผลไม้สูง จูงใจให้เกษตรกรทําการเพาะปลูกปริ มาณมาก เกิดภาวะล้นตลาด
4) ปั ญหามาตรการสุ ขอนามัยสิ นค้าที่เข้มงวดเกี่ยวกับการควบคุมการใช้ยาฆ่าแมลงสําหรับ
สิ นค้า ผัก ผลไม้ และสิ นค้าเกษตร ของประเทศผูน้ าํ เข้า
5) แรงงานในอุตสาหกรรมผักผลไม้ ส่ วนมากจะเป็ นแรงงานในวัยกลางคน ส่ วนแรงงานในวัย
หนุ่มสาวจะหันไปทํางานในอุตสาหกรรมอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่สูงกว่า
6) ต้นทุนบรรจุภณั ฑ์กระป๋ องมีราคาสู งขึ้น โดยเฉพาะแผ่นเหล็ก
7) ประเทศคู่แข่ง เช่น เวียดนาม และจีน มีศกั ยภาพในการผลิต แรงงานและ พื้นที่เพาะปลูก
ได้เปรี ยบกว่าประเทศไทย ส่ งผลให้สามารถผลิตสิ นค้าได้มากและมีราคาถูก

ตารางที่ 3.7 สถิติอุตสาหกรรมผักผลไม้ที่สาํ คัญของไทย ปี 2551

สั บปะรด ทุเรียน ลําไย ข้ าวโพดฝักอ่อน (2550)


พื้นที่เพาะปลูก (ไร่ ) 632,271 725,955 1,035,556 NA
ปริ มาณผลผลิต (ตัน) 2,278,566 637,790 476,930 260
ผลผลิตต่อไร่ 3,603 956 493 1,214

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)


81

3.5.4 สถิติการค้ าทีส่ ํ าคัญ

ตารางที่ 3.8 การส่ งออกและนําเข้าผลิตภัณฑ์ผกั ผลไม้ ปี 2551

นําเข้ า ส่ งออก
สิ นค้ า ตัน ล้านบาท ตัน ล้านบาท
ผลไม้กระป๋ อง/แปรรู ป 80,421 2,703 976,807 36,860
ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง 294,007 9,758 732,511 13,737
ผักสด แช่เย็น แช่แข็ง แห้งและแปรรู ป 303,362 5,906 585,509 18,256
นํ้าผัก/นํ้าผลไม้ 18,115 1,395 306,954 9,826

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ตารางที่ 3.9 แนวโน้มการส่ งออกผลิตภัณฑ์ผกั ผลไม้

สิ นค้ า หน่ วย/ปี 2547 2548 2549 2550 2551


ผลไม้กระป๋ อง/แปรรู ป ตัน 790,349 832,731 959,250 916,162 976,807
ล้านบาท 25,255 28,277 30,239 31,671 36,860
ผลไม้สด แช่เย็น ตัน 602,670 634,600 594,313 715,984 732,511
แช่แข็งและแห้ง ล้านบาท 9,986 12,055 12,329 13,520 13,737
ผักสด แช่เย็น แช่แข็ง ตัน 496,931 483,225 541,356 597,241 585,509
แห้งและแปรรู ป ล้านบาท 16,063 17,031 19,124 18,283 18,256
นํ้าผัก/นํ้าผลไม้ ตัน 215,673 225,606 315,910 277,874 306,954
ล้านบาท 7,248 7,533 8,878 8,135 9,826

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)


82

ภาพที่ 3.22 ตลาดส่ องออกผลิตภัณฑ์ผลไม้กระป๋ องแปรรู ป ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้งที่สาํ คัญ


ของไทย ปี 2551
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ภาพที่ 3.23 ตลาดส่ องออกผลิตภัณฑ์ผกั สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง ผลิตภัณฑ์น้ าํ ผัก/ผลไม้ที่สาํ คัญ


ของไทย ปี 2551
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)3.6 อุตสาหกรรมนม

อุตสาหกรรมนมในประเทศไทยจัดเป็ นอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อทดแทนการนําเข้า ซึ่งได้รับ


การส่ งเสริ มอย่างจริ งจังจากทางภาครัฐมาตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ.
2520-2524) และต่อเนื่องมาจนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับปั จจุบนั (ฉบับที่ 10 พ.ศ.
2550-2554) โดยมีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อให้คนไทยมีสุขภาพดีจากการบริ โภคนม รวมทั้งส่ งเสริ มอาชีพ
ให้แก่ประชาชนในประเทศ อุตสาหกรรมนมไทยเป็ นอุตสาหกรรมปลายนํ้าที่ตอ้ งอาศัยนํ้านมดิบจาก
เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงโคนมเพื่อนํามาแปรรู ป ซึ่ งการเลี้ยงโคนมถือเป็ นอาชีพที่สามารถสร้างงานและสร้าง
83

รายได้ให้แก่เกษตรกรรวมทั้งผูป้ ระกอบการแปรรู ปได้ตลอดทั้งปี ซึ่ งแตกต่างจากอาชีพเกษตรกรรม


อื่นๆ เช่น ทํานา หรื อทําไร่ ที่ผลผลิตสามารถสร้างงานและรายได้เป็ นบางช่วงเวลาเท่านั้น ปัจจุบนั
อุตสาหกรรมนมของไทยยังคงมีบทบาทสําคัญต่อประเทศ เพราะนอกจากจะสามารถสร้างอาชีพให้แก่
เกษตรกรและผูป้ ระกอบการแปรรู ปแล้ว อุตสาหกรรมนมยังเป็ นอุตสาหกรรมสนับสนุนที่ทาํ ให้เกิด
อุตสาหกรรมต่อเนื่องทั้งต้นนํ้าและปลายนํ้าอีกเป็ นจํานวนมาก

3.6.1 โครงสร้ างอุตสาหกรรมนมไทย


อุตสาหกรรมนมไทยเป็ นการผสมผสานระหว่างผูป้ ระกอบการภายในประเทศ และบริ ษทั ไทย
ร่ วมทุนกับต่างประเทศ ซึ่ งหากไม่นบั รวมระดับฟาร์ มพบว่ามีผปู ้ ระกอบการ 146 ราย โดยเป็ นผูแ้ ปรรู ป
ขนาดเล็กประมาณ 78 % ซึ่ งผูผ้ ลิตกลุ่มนี้จะเป็ นการแปรรู ปสิ นค้าอย่างง่ายเพื่อจําหน่ายในท้องถิ่น ผูผ้ ลิต
ที่มีบทบาทต่อเศรษฐกิจจะเป็ นผูผ้ ลิตขนาดใหญ่และขนาดกลางที่มีเพียงประมาณ 22 % ในการผลิตของ
ผูผ้ ลิตขนาดใหญ่ส่วนใหญ่จะใช้วตั ถุดิบนมผงนําเข้าในการผลิตเป็ นหลัก เนื่องจากต้นทุนตํ่ากว่านํ้านม
ดิบและมีคุณภาพสู งกว่า

ภาพที่ 3.24 โครงสร้างอุตสาหกรรมนมไทย ปี 2550


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.6.2 ผลิตภัณฑ์ หลักของอุตสาหกรรมนม


ผลิตภัณฑ์หลักของอุตสาหกรรมนมไทยที่ผลิตและจําหน่ายในประเทศส่ วนมากเป็ นผลิตภัณฑ์
นมพร้อมดื่ม เพราะการผลิตผลิตภัณฑ์นมผง หางนม เนย และเนยแข็ง รวมถึงผลิตภัณฑ์นมอื่นๆ มี
ต้นทุนการดําเนินการสู ง ทําให้ไทยมีการผลิตผลิตภัณฑ์เหล่านี้จาํ นวนไม่มากนัก และเน้นนําเข้าจาก
ต่างประเทศ เช่น ออสเตรเลีย นิวซี แลนด์ โดยผลิตภัณฑ์นมที่นาํ เข้าหลัก คือ นมผงขาดมันเนย การ
ส่ งออกผลิตภัณฑ์นมของไทยมีหลายชนิด ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นการนําเข้ามาเพื่อส่ งออกต่ออีกต่อหนึ่ง ( re-
export) โดยสิ นค้าส่ งออกส่ วนมากเป็ นครี มหรื อนมผงในรู ปของเหลวหรื อข้นเติมนํ้าตาล เนยที่ได้จาก
84

นม นมผงขาดมันเนย นมข้นหวาน นมเปรี้ ยว โยเกิร์ต และเป็ นการส่ งออกไปยังประเทศใกล้เคียง เช่น


ลาว กัมพูชา พม่า สิ งคโปร์ ฮ่องกง และฟิ ลิปปิ นส์
1) นมพร้ อมดื่ม อุตสาหกรรมนมพร้อมดื่มของไทยเป็ นการผลิตและจําหน่ายภายในประเทศ
เป็ นหลัก โดยมากกว่า 80 % เป็ นการผลิตนมสดพาสเจอร์ไรซ์ นอกจากนั้นเป็ นการผลิตนมยูเอชทีและ
นมสเตอริ ไรซ์ ปั จจุบนั ผลิตภัณฑ์นมพร้อมดื่มแบบพาสเจอร์ ไรส์ส่วนใหญ่ผลิตมาจากนํ้านมดิบ
ภายในประเทศและผูบ้ ริ โภคหลักคือนักเรี ยนในโครงการนมโรงเรี ยน ส่ วนนมแบบอื่นๆจะผลิตจากนม
ผงคืนรู ป ผลผลิตนมพาณิ ชย์จะออกมาในรู ปนมสดซึ่ งมีท้ งั รสจืดและรสหวาน และในรู ปนมปรุ งแต่ง ที่
มีการเติมกลิ่นและรสต่างๆ ตามความนิยมของผูบ้ ริ โภค เช่น ช็อคโกแล็ต กาแฟ และสตรอเบอรี่ ซึ่ง
ตลาดจะมีการแข่งขันระหว่างผูป้ ระกอบการรายใหญ่ที่มีระบบกระจายสิ นค้าครอบคลุมทัว่ ประเทศสู ง
มาก ทําให้ผผู ้ ลิตขนาดเล็กไม่สามารถแทรกตัวเข้าตลาดได้ง่ายนัก
2) นมผงขาดมันเนย ผลิตภัณฑ์นมที่ไทยนําเข้าประกอบด้วย นมผงขาดมันเนย หางนม (เวย์)
บัตเตอร์ มิลล์ รวมทั้งอาหารปรุ งแต่งปนนมสําหรับเลี้ยงทารก เป็ นต้น โดยมีนมผงขาดมันเนยเป็ น
ผลิตภัณฑ์นมนําเข้าที่สาํ คัญ และยังคงมีสัดส่ วนการนําเข้าสู งกว่าผลิตภัณฑ์นมอื่นๆ คือ ประมาณ 32 %
ของปริ มาณนมและผลิตภัณฑ์นมนําเข้าทั้งหมด เพราะสามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น
ผลิตนมพร้อมดื่ม นมข้น ขนมปัง ไอศกรี ม นมข้นหวาน ลูกกวาด ช็อคโกแเลต และอาหารสัตว์

3.6.3 สภาวะการผลิตภาวะการผลิตของอุตสาหกรรมนมไทยในช่วงปี 2549-2551 ดังภาพที่


3.25 โดยอัตราการใช้กาํ ลังการผลิตอยูท่ ี่ระดับ 50-60 % ซึ่ งส่ วนหนึ่งมาจากข่าวปนเปื้ อนสารเมลามีนใน
ผลิตภัณฑ์นมจากจีน ทําให้ผบู ้ ริ โภคเกิดความหวาดกลัว งดการบริ โภค และหันไปบริ โภคสิ นค้าอื่น
ทดแทน ส่ งผลให้ผผู ้ ลิตลดกําลังการผลิตตามด้วย3.6.4 ปัญหาอุปสรรคทางการค้ า1) ต้นทุนการผลิต
ค่อนข้างสู ง โดยเฉพาะต้นทุนวัตถุดิบ คือ นํ้านมดิบ
2) ภูมิอากาศของไทยไม่เอื้ออํานวยนักในการเลี้ยงโคนม เพราะอากาศร้อนทําให้โคนมพันธุ์ดี
ไม่สามารถให้น้ าํ นมได้มากเท่าที่ควร
3) แหล่งเลี้ยงโคนม โรงงานแปรรู ป สถานที่จดั จําหน่ายส่ วนใหญ่อยูก่ ระจัดกระจายทําให้ตอ้ ง
เสี ยค่าใช้จ่ายในการรวบรวมและขนส่ งสู ง
4) การบริ โภคนมและผลิตภัณฑ์นมไม่ใช่วฒั นธรรมของคนไทย
5) ผูบ้ ริ โภคส่ วนมากมองว่านมเป็ นสิ นค้าฟุ่ มเฟื อย ทําให้การบริ โภคนมยังไม่แพร่ หลายมากนัก
6) ตลาดนมในประเทศมีการแข่งขันสู ง โดยเฉพาะตลาดนมพาณิ ชย์ และบริ ษทั ต่างชาติเป็ นผู ้
ขับเคลื่อนรายสําคัญเนื่องจากสามารถสร้างความแตกต่างและนวัตกรรมในกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์
และบรรจุภณั ฑ์ได้ดีกว่า
7) ผลิตภัณฑ์นมเป็ นสิ นค้าควบคุมราคา การปรับขึ้นราคาสิ นค้าจะต้องขออนุญาตจากกระทรวง
พาณิ ชย์
85

ภาพที่ 3.25 อัตราการใช้กาํ ลังการผลิตของอุตสาหกรรมนม (%)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)3.6.5 สถิติการค้ าทีส่ ํ าคัญ

ตารางที่ 3.10 การส่ งออกและนําเข้าผลิตภัณฑ์นมปี 2551

สิ นค้ า นําเข้ า ส่ งออก


ตัน ล้านบาท ตัน ล้านบาท
นมผงขาดมันเนย 86,945.62 11,360.02 35,308.62 1,914.78
หางนม 43,821.63 1,997.11 13,242.61 499.68
บัตเตอร์มิล 14,102.97 1,833.22 2,925.16 95.86
เนย 11,249.12 1,781.83 17,889.73 991.25
โยเกิร์ต 107.29 16.43 7,794.35 272.93
อื่นๆ 7,638.61 1,097.75 54,432.19 1,887.20
รวมทั้งหมด 163,865.24 18,086.36 131,592.66 5,661.70

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)


86

ภาพที่ 3.26 ตลาดนําเข้าผลิตภัณฑ์นมที่สาํ คัญของไทยปี 2551 (หน่วย : ล้านบาท)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ภาพที่ 3.27 ตลาดส่ งออกผลิตภัณฑ์นมที่สาํ คัญของไทยปี 2551 (หน่วย : ล้านบาท)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.7 อุตสาหกรรมเครื่องเทศเครื่องปรุ งรส


อุตสาหกรรมเครื่ องเทศและเครื่ องปรุ งรสยังคงเป็ นอุตสาหกรรมที่มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง
เพื่อใช้เป็ นวัตถุดิบสําคัญสําหรับผลิตอาหารโดยเฉพาะอย่างยิง่ อาหารแบบตะวันออก เช่น อาหารไทย
ญี่ปุ่น หรื ออินเดีย รวมไปถึงอาหารที่เน้นสุ ขภาพก็หนั มาใช้วตั ถุดิบเครื่ องเทศเพิ่มมากขึ้น โดยมี
ผูป้ ระกอบการรวมทั้งสิ้ น 490 ราย ส่ วนใหญ่เป็ นผูป้ ระกอบการขนาดเล็กหรื อรายย่อยถึง 90 % ซึ่งผลิต
โดยใช้เทคโนโลยีไม่สูงมาก มีเพียง 10% เท่านั้นที่เป็ นผูผ้ ลิตขนาดกลางและขนาดใหญ่ที่มีศกั ยภาพสู ง
สามารถผลิตสิ นค้าให้มีคุณภาพและมาตรฐานส่ งออกได้
87

ภาพที่ 3.28 โครงสร้างอุตสาหกรรมเครื่ องเทศและเครื่ องปรุ งรสไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.7.1 เครื่องเทศ
อุตสาหกรรมเครื่ องเทศของไทยในปั จจุบนั มีแนวโน้มที่ดีข้ ึนตามกระแสความต้องการอาหาร
เพื่อสุ ขภาพและอาหารจากธรรมชาติ ซึ่ งถือว่าเป็ นส่ วนประกอบหลักของอาหารไทยที่เป็ นที่นิยมเพิ่ม
มากขึ้นในหลายประเทศทัว่ โลก จึงเป็ นส่ วนสําคัญให้การขยายตัวของอุตสาหกรรมเครื่ องเทศมี
แนวโน้มที่ดีข้ ึน นอกจากนี้เครื่ องเทศยังถูกใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตเวชภัณฑ์และเครื่ องสําอางค์ได้อีก
ด้วย ตลาดส่ งออกหลักได้แก่ ญี่ปุ่น เนเธอร์ แลนด์ และสหรัฐอเมริ กา
ผลิตภัณฑ์ หลัก1) ขิง ขิงสดและขิงแห้งถูกนํามาใช้เป็ นส่ วนผสมทั้งอาหาร เครื่ องดื่ม และยา
ปริ มาณการส่ งออกขิงไปต่างประเทศเพิม่ ขึ้น โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่นนิยมบริ โภคขิงมาก ซึ่งคุณภาพขิง
จากไทยที่มีคุณภาพดีกว่าประเทศคู่แข่ง เช่น จีน และส่ งออกขิงแบบอื่นๆ เช่น ขิงสด ขิงอบแห้ง
2) พริก พริ กนอกจากใช้เป็ นเครื่ องเทศหลักที่ใช้เป็ นส่ วนประกอบของอาหารบริ โภคทั้งสดและ
แปรรู ปโดยช่วยเพิ่มรสชาติและปรุ งแต่งสี อาหาร เช่น นํ้าพริ ก พริ กแห้ง พริ กป่ น พริ กแกง และซอสพริ ก
สารสกัดจากพริ กสามารถใช้เป็ นอาหารเสริ ม ยา และสารกําจัดศัตรู พืชได้
3) กระเทียม จากข้อมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ผลผลิตกระเทียมทั้งประเทศในปี
2551 มีปริ มาณทั้งสิ้ น 86,000 ตัน ปริ มาณส่ งออกรวม 736.31 ตัน มูลค่า 17.85 ล้านบาท

3.7.2 เครื่องปรุ งรส


อุตสาหกรรมเครื่ องปรุ งรสของไทยยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาสู่ อุตสาหกรรมขนาด
ใหญ่มากขึ้น รวมทั้งมีการปรับปรุ งรู ปแบบผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายและเหมาะสมต่อความต้องการของ
ผูบ้ ริ โภค ตลาดส่ งออกหลักได้แก่ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริ กา และฟิ ลิปปิ นส์ ผลิตภัณฑ์ หลัก1) เครื่องแกง
สํ าเร็จรู ป ความนิยมบริ โภคอาหารไทยส่ งผลให้เครื่ องแกงไทยมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น เครื่ องแกง
สําเร็ จรู ปที่เป็ นที่นิยมส่ วนใหญ่จะบรรจุในแบบซอง เพื่อความสะดวกในการปรุ งและเหมาะสมต่อการ
88

บริ โภคหนึ่งครั้ง ซึ่ งไม่เฉพาะการผลิตเพื่อการส่ งออกเท่านั้น เครื่ องแกงแบบปรุ งสําเร็ จยังสะดวกเหมาะ


สําหรับครอบครัวยุคใหม่ที่มีเวลาประกอบอาหารน้อย แต่ได้รสชาติแกงแบบดั้งเดิม
2) นํา้ ปลา นํ้าปลาเป็ นเครื่ องปรุ งรสที่อยูค่ ู่คนไทยมาตั้งแต่อดีต และเป็ นสิ่ งที่ขาดไม่ได้สาํ หรับ
อาหารไทยเพื่อให้ได้รสชาติที่หอมกลมกล่อม ปั จจุบนั ทีการปรับรู ปแบบโดยการผลิตเป็ นนํ้าปลาผงเพื่อ
ความสะดวกในการพกพาและส่ งออกมาขึ้น ซึ่ งธุ รกิจที่มีการบริ โภคนํ้าปลามากที่สุดคือธุ รกิจภัตตาคาร
และร้านอาหาร นอกจากนี้การผลิตนํ้าปลายังเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอื่นๆ อีก เช่น อุตสาหกรรม
ประมงและนาเกลือ ปั จจุบนั ตลาดนํ้าปลาในต่างประเทศของไทยมีการแข่งขันเพิ่มมากขึ้นโดยคู่แข่ง
สําคัญ คือ เวียดนาม และฟิ ลิปปิ นส์ ซึ่ งได้เปรี ยบที่ค่าจ้างแรงงานและวัตถุดิบในการผลิต
3) ซอสพริก ตลาดซอสพริ กมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นไม้แพ้เครื่ องปรุ งรสชนิดอื่นๆ แนวโน้มยังเติบโต
ได้ดีอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากรสชาติและคุณภาพซอสพริ กไทยเป็ นที่ตอ้ งการของต่างประเทศ เช่น ยุโรป
และสหรัฐอเมริ กา อย่างไรก็ตามการผลิตซอสพริ กในประเทศประสบปั ญหาเรื่ องราคาวัตถุดิบที่สูงขึ้น
และผลผลิตไม่เพียงพอต้องนําเข้าจากต่างประเทศ รวมทั้งกฎระเบียบมาตรฐานของประเทศคู่คา้ ที่
เข้มงวด อาทิเช่น การใช้สีผสมอาหาร สารกันเสี ย เป็ นต้น 3.7.3 สภาวะการผลิตสภาวะการผลิต
อุตสาหกรรมเครื่ องปรุ งรส พบว่า ผูผ้ ลิตรายใหญ่ยงั คงเป็ นผูน้ าํ ตลาดสามารถขยายสายการผลิต
ครอบคลุมทุกผลิตภัณฑ์ และมีช่องทางขยายตลาดส่ งออกมากขึ้น เนื่องจากรสนิยมในการปรุ งอาหาร
แบบไทยที่แพร่ หลายมากขึ้นในกลุ่มชาวตะวันตกโดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ดา้ นเครื่ องแกงสําเร็ จรู ป ของปรุ ง
แต่งสําหรับซุ ป นํ้าปลา นํ้ามันหอย ซอสพริ ก เป็ นต้น อัตราการใช้กาํ ลังการผลิตโดยเฉลี่ยใน
อุตสาหกรรมเครื่ องปรุ งรสของไทยประมาณร้อยละ 80 ต่อปี ซึ่ งค่อนข้างคงที่ แม้วา่ เศรษฐกิจโลกอยู่
ในช่วงชะลอตัวแต่คาดว่ามูลค่าการส่ งออกสิ นค้าในกลุ่มเครื่ องปรุ งรสน่าจะยังมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง
3.7.4 ปัญหาอุปสรรคทางการค้ า การทะลักเข้ามาของสิ นค้าเครื่ องเทศจากจีน และการขยาย
พื้นที่เพาะปลูกในปี ที่ผา่ นมา ส่ งผลให้ราคาเครื่ องเทศตกตํ่าลง
2) ปั ญหาสารตกค้างจากยาปราบศัตรู พืชและจุลินทรี ยเ์ กินมาตรฐาน รวมทั้งข้อกําหนดการ
นําเข้าที่เข้มงวดจากประเทศคู่คา้ บางประเทศ เพิ่มภาระค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบสิ นค้าเครื่ องเทศและ
เครื่ องปรุ งรสของไทย
3) คู่แข่งสิ นค้าสําคัญคือประเทศจีนและเวียดนาม สามารถผลิตสิ นค้าได้คล้ายคลึงกับไทย แต่มี
ความได้เปรี ยบในด้านราคา
4) การผลิตเครื่ องเทศยังคงมีปริ มาณการผลิตและคุณภาพไม่ค่อยสมํ่าเสมอ พื้นที่เพาะปลูก
สามารถเปลี่ยนไปเพาะปลูกพืชชนิดอื่นที่ให้ผลตอบแทนสู งกว่าได้
89

ภาพที่ 3.29 อัตราการใช้กาํ ลังการผลิตของอุตสาหกรรมเครื่ องเทศและเครื่ องปรุ งรส (%)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.7.5 สถิติการค้ า
ตารางที่ 3.11 การส่ งออกและนําเข้าผลิตภัณฑ์เครื่ องเทศและเครื่ องปรุ งรสที่สาํ คัญของไทย ปี 2551
นําเข้ า ส่ งออก
สิ นค้ า ตัน ล้านบาท ตัน ล้านบาท
ขิงสดและแห้ง 2,302.52 25.79 39,136.55 865.73
พริ กสดและแห้ง 24,589.38 464.86 2,595.91 187.35
กระเทียม 3,311.28 56.34 736.31 17.85
เครื่ องเทศอื่นๆ 14,226.64 521.10 2,858.39 219.05
เครื่ องแกงสําเร็ จรู ป 27.31 5.16 10,743.00 1,089.49
นํ้าปลา 117.30 3.00 38,800.73 1,019.99
ซอสพริ ก 256.53 54.74 22,444.39 971.32
เครื่ องปรุ งรสอื่นๆ 12,718.22 1,234.42 105,140.02 6,765.96
รวมทั้งหมด 57,549.18 2,365.41 222,455.30 11,136.74
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
90

ภาพที่ 3.30 ตลาดส่ งออกเครื่ องเทศที่สาํ คัญของไทย ปี 2551 (จําแนกตามมูลค่า: ล้าน)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ภาพที่ 3.31 ตลาดส่ งออกเครื่ องปรุ งรสที่สาํ คัญของไทย ปี 2551 (จําแนกตามมูลค่า: ล้านบาท)
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.8 อุตสาหกรรมนํา้ ตาลและขนมหวานจากนํา้ ตาล


อุตสาหกรรมนํ้าตาลและขนมหวานจากนํ้าตาลของไทยมีผปู ้ ระกอบการ 200 ราย โดยเป็ น
ผูป้ ระกอบการขนาดใหญ่ประมาณ 67 % รองลงมาเป็ นขนาดเล็กและขนาดกลางประมาณ 19 และ 15 %
ตามลําดับ ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมนํ้าตาลส่ วนใหญ่จะตั้งอยูใ่ นพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกอ้อย
หนาแน่น และเป็ นกิจการของคนไทย สําหรับอุตสาหกรรมผลิตลูกอม ลูกกวาด หมากฝรั่ง ขนมหวาน
จากนํ้าตาลจะมีผปู ้ ระกอบการที่มีขนาดแตกต่างกันอยูม่ าก รายใหญ่จะมีการใช้เครื่ องมือเครื่ องจักรและ
เทคโนโลยีการผลิตในระดับสู ง และสามารถผลิตเพื่อส่ งออกด้วย แต่ผปู ้ ระกอบการขนาดกลางและเล็ก
จะผลิตเพื่อจําหน่ายตลาดท้องถิ่นในประเทศเป็ นหลัก และไม่ค่อยมีการทําการตลาด
91

ภาพที่ 3.32 โครงสร้างอุตสาหกรรมนํ้าตาลไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.8.1 ผลิตภัณฑ์ หลักของอุตสาหกรรมนํา้ ตาลและขนมหวานจากนํา้ ตาล1) นํา้ ตาลทราย


สิ นค้าในกลุ่มนี้ได้แก่ นํ้าตาลทรายดิบ นํ้าตาลทรายขาว และนํ้าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์ ในปี 2551
สัดส่ วนปริ มาณผลิต ดังตารางที่ 3.12

ตารางที่ 3.12 ปริ มาณผลิตนํ้าตาลทรายดิบ นํ้าตาลทรายขาว และนํ้าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์ ปี 2551


สิ นค้ า จําหน่ ายในประเทศ (%) ส่ งออก (%)
นํ้าตาลทรายดิบ 7.76 92.24
นํ้าตาลทรายขาว 81.42 18.58
นํ้าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์ 30.55 69.45
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)ในปี 2551

ตลาดหลักในการส่ งออกนํ้าตาลทรายของไทย ได้แก่ อินโดนีเซี ย ญี่ปุ่นและไต้หวัน โดย


ผลิตภัณฑ์ส่งออกที่สาํ คัญ ได้แก่ นํ้าตาลทรายดิบ นํ้าตาลทรายขาว นํ้าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์
ผู้ผลิตนํา้ ตาลรายใหญ่ เมื่อพิจารณาตามโควตานํ้าตาลทรายขาว นํ้าตาลทรายขาวบริ สุทธิ์ และ
นํ้าตาลชนิดอื่นๆ ที่คณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทรายกําหนดให้ผลิตสําหรับบริ โภคภายในประเทศ
(โควตา ก.) ได้แก่ บจก.นํ้าตาลเกษตรไทย บจก.นํ้าตาลมิตรผล บจก.นํ้าตาลนครเพชรและ บจก.นํ้าตาล
ขอนแก่น
2) ลูกอมและขนมหวานจากนํา้ ตาล
ตลาดหลักในการส่ งออกลูกอมและขนมหวานจากนํ้าตาล ได้แก่ ญี่ปุ่น กัมพูชา มาเลเซี ย
สหรัฐอเมริ กาและลาว ภาพรวมของลูกอมและขนมหวานจากนํ้าตาลในประเทศ มีอตั ราการขยายตัว
ของมูลค่าสู งขึ้น
92

ผลิตภัณฑ์ ส่งออกทีส่ ํ าคัญ หมากฝรั่ง ลูกอมที่มีตวั ยาผสม ( medicated confectionery) และ


ช็อกโกแลตขาว
ผู้ผลิตลูกอมและขนมหวานจากนํา้ ตาลรายใหญ่ เมื่อพิจารณาจากส่ วนแบ่งมูลค่าการค้าปลีกในปี
2550 สู งสุ ด 5 อันดับแรก ดังตารางที่ 3.13

ตารางที่ 3.13 ส่ วนแบ่งมูลค่าการค้าปลีกลูกอมและขนมหวานจากนํ้าตาลสู งสุ ด 5 อันดับแรก ในปี 2550

บริษัทผู้ผลิต ส่ วนแบ่ งมูลค่ าการค้ าปลีกในปี 2550


Cadbury Adams (Thailand) Ltd 21.0
Perfetti Van Melle Group 9.7
URC (Thailand) Co Ltd 5.9
General Candy Co Ltd และ 5.3
European Foods PCL 4.9
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.8.2 สภาวะการผลิต

ภาพที่ 3.33 อัตราการใช้กาํ ลังการผลิตของอุตสาหกรรมนํ้าตาล


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ลักษณะของเส้นกราฟอัตราการใช้กาํ ลังการผลิตของอุตสาหกรรมการผลิตนํ้าตาล สะท้อนให้


เห็นถึงการใช้กาํ ลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในช่วงฤดูการหี บอ้อย ซึ่ งเริ่ มเปิ ดฤดูกาลหี บอ้อยตั้งแต่เดือน
ธันวาคม และทยอยปิ ดหี บตั้งแต่ตน้ เดือนพฤษภาคมของปี ถัดไป จนมีอตั ราการผลิตตํ่าสุ ดในช่วงเดือน
กันยายน-พฤศจิกายนของทุกปี
93

ภาวะตลาดนํ้าตาลในประเทศจะขึ้นอยูก่ บั ปั จจัยด้านภาวะเศรษฐกิจ เช่น ถ้าเศรษฐกิจ ชะลอตัว


ลงจะส่ งผลต่อการความต้องการบริ โภคนํ้าตาลของทั้งภาคประชาชนและภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้ม
ปรับลดลง ซึ่ งในส่ วนของภาคประชาชนหรื อการบริ โภคนํ้าตาลโดยตรง ได้แก่ การใช้ประกอบอาหาร
ประจําวัน การเติมนํ้าตาลในเครื่ องดื่มและในอาหารต่างๆ เพื่อการปรุ งรส รวมทั้งผูป้ ระกอบการอาหาร
และขนมรายย่อย ส่ วนในภาคอุตสาหกรรมที่ใช้น้ าํ ตาลเป็ นวัตถุดิบเพื่อผลิตเพื่อบริ โภคภายในประเทศ
และส่ งออก เช่น อุตสาหกรรมเครื่ องดื่ม ผลิตภัณฑ์นม อาหาร ยา ลูกกวาด เป็ นต้น ทั้งนี้เนื่องจากกําลัง
ซื้ อของประชาชนที่ปรับลดลง ส่ งผลให้ประชาชนชะลอหรื อปรับลดพฤติกรรมการบริ โภคสิ นค้าที่มี
นํ้าตาลเป็ นส่ วนผสมทั้งอาหารและเครื่ องดื่มลดลง
3.8.3 ปัญหาอุปสรรคทางการค้ า 1) แนวโน้มปั ญหาลักลอบนํ้าเข้านํ้าตาลจากต่างประเทศ
โดยเฉพาะจากประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดนติดต่อกัน อาทิ มาเลเซี ย ลาว กัมพูชาและพม่าจะยิง่ ทวี
ความรุ นแรงขึ้นเนื่องจากราคานํ้าตาลในตลาดโลกปรับตัวลดลงตามปั จจัยด้านภาวะเศรษฐกิจโลกที่
ชะลอตัว ในขณะที่ภาครัฐของไทยกําหนดราคาไว้ในระดับที่สูงเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร ส่ งผลให้ราคา
จําหน่ายนํ้าตาลในประเทศสู งกว่าราคานํ้าตาลในตลาดโลก
2) ความต้องการบริ โภคนํ้าตาล ทั้งภาคประชาชนและภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มปรับตัว
ลดลงจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย
3) ราคานํ้าตาลในตลาดโลกปรับตัวลดลง อันเป็ นผลจากผลผลิตจากประเทศผูผ้ ลิตนํ้าตาลหลาย
รายปรับตัวลดลงตามภาวะภัยธรรมชาติ รวมทั้งการลดพื้นที่เพาะปลูกอ้อยเพื่อหันไปปลูกพืชชนิดอื่นที่มี
ราคาดีกว่า อาทิ สหรัฐฯ จีน อินเดีย ฟิ ลิปปิ นส์ รวมทั้งไทยและออสเตรเลีย
4) เกษตรกรไม่พอใจราคาอ้อยขั้นต้น แม้วา่ ภาครัฐฯ จะกําหนดราคาอ้อยขั้นต้น แต่ชาวไร่ ออ้ ย
เห็นว่าราคาดังกล่าวยังไม่คุม้ กับต้นทุนการผลิตที่อยูใ่ นระดับสู ง อันเป็ นผลจากปั จจัยการผลิต ทั้งปุ๋ ย ยา
ปราบศัตรู พืช และต้นทุนด้านพลังงาน

ตารางที่ 3.14 สถิติอุตสาหกรรมการผลิตนํ้าตาลที่สาํ คัญของไทยปี 2551 (ม.ค.-พ.ย. 51)


ปริมาณ (ตัน)

นํา้ ตาลดิบ นํา้ ตาลทรายขาว นํา้ ตาลทรายขาวบริสุทธิ์


รายการ
ผลิต 3,501,786.70 1,400,763.98 1,763,742.03
บริ โภค - 1,461,107.54 661,724.18
ส่ งออก 2,550,838.71 355,791.28 1,628,248.39
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
94

ตารางที่ 3.15 การนําเข้าและส่ งออกสิ นค้านํ้าตาล ลูกอมและขนมหวานจากนํ้าตาล ปี 2551

สิ นค้ า นําเข้ า ส่ งออก


ตัน ล้านบาท ตัน ล้านบาท
นํ้าตาลทรายแดง 18.55 0.46 396.29 6.26
นํ้าตาลที่ได้จากอ้อยอื่นๆ 504.68 4.67 246,712.68 2,125.36
นํ้าตาลดิบ-ที่เติมสารปรุ งกลิ่นรสหรื อสารแต่งสี 213.70 8.57 1,800.26 22.17
นํ้าตาลทรายบริ สุทธิ์ -อื่นๆ 2,545.29 34.44 1,706.59 24.77
รวมนํา้ ตาลทั้งหมด 12,886.19 156.10 375,428.37 2,586.31
ขนมที่ทาํ จากนํ้าตาลอื่นๆ 7,524.35 810.51 33,676.25 2,625.04
หมากฝรั่งจะเคลือบนํ้าตาลหรื อไม่ก็ตาม 2,207.44 364.19 4,828.03 1,134.12
ลูกกวาดที่มีตวั ยาผสม 228.05 44.56 2,733.05 356.88
ช็อกโกแลตขาว 117.67 29.90 0.06 0.02
รวมลูกอมและขนมหวานจากนํา้ ตาลทั้งหมด 10,077.51 1,249.16 41,237.39 4,116.06

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ภาพที่ 3.34 ตลาดส่ งออกสิ นค้านํ้าตาลที่สาํ คัญของไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
95

ภาพที่ 3.35 ตลาดส่ งออกสิ นค้าขนมหวานจากนํ้าตาลของไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.9 อุตสาหกรรมนํา้ มันและไขมัน


อุตสาหกรรมนํ้ามันและไขมันของไทยมีผปู ้ ระกอบการ 324 ราย แบ่งเป็ นผูแ้ ปรรู ปขนาดเล็ก 11
ราย ซึ่ งผูผ้ ลิตในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะใช้เทคโนโลยีในการผลิตอย่างง่าย ใช้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น และ
จําหน่ายภายในพื้นที่ ส่ วนอีก 313 ราย เป็ นกลุ่มผูผ้ ลิตขนาดกลางและใหญ่ซ่ ึ งมีการใช้เทคโนโลยีการ
ผลิตในระดับที่สูงขึ้นตามลําดับ ผลิตนํ้ามันดิบ นํ้ามันบริ สุทธิ์ หรื อทั้งสองชนิด

ภาพที่ 3.36 โครงสร้างอุตสาหกรรมนํ้ามันและไขมันของไทย ณ สิ้ นปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)3.9.1 ผลิตภัณฑ์ หลักของอุตสาหกรรมนํา้ มันและไขมัน

1) ผลิตภัณฑ์ นํา้ มันปาล์ม อุตสาหกรรมนํ้ามันปาล์มของไทยมีแนวโน้มขยายตัวตลอดช่วง 5 ปี


ที่ผา่ นมา (ปี 2547-2551) มีการขยายพื้นที่เพาะปลูก เนื่องจากราคารับซื้ อที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็ น
แรงจูงใจสําคัญ ทําให้ผลผลิตเพิม่ ขึ้นเฉลี่ยต่อปี 13.6 % เนื่องจากความต้องการใช้น้ าํ มันปาล์มที่เพิม่ ขึ้น
จากทั้งในและต่างประเทศ การนํ้ามันปาล์มยังคงมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากการขยายตัวของ
96

อุตสาหกรรมที่ใช้น้ าํ มันปาล์มเป็ นหลัก และจากปั ญหาการขาดแคลนวัตถุดิบถัว่ เหลือง ทําให้น้ าํ มัน


ปาล์มได้เปรี ยบในด้านราคา
ตลาดหลักของนํ้ามันปาล์มยังคงเป็ นตลาดในประเทศประมาณ 80 % และส่ งออก 20 % ตลาด
ส่ งออกนํ้ามันปาล์มบริ สุทธิ์ ที่สาํ คัญได้แก่ พม่า มาเลเซี ย จีน อินเดีย และกัมพูชา
แนวโน้มของนํ้ามันปาล์มคาดว่าจะทรงตัวหรื อขยายตัว จะขึ้นอยูก่ บั การชะลอตัวของเศรษฐกิจ
เป็ นผลให้การส่ งออกของอุตสาหกรรมอาหารขยายตัวไม่มาก ประกอบกับกระแส Food for health ทํา
ให้ผบู ้ ริ โภคให้ความสนใจนํ้ามันชนิดที่มีไขมันไม่อิ่มตัวสู งอย่างเช่น นํ้ามันถัว่ เหลืองบริ สุทธิ์ หรื อนํ้ามัน
รําข้าว เป็ นต้น 2) ผลิตภัณฑ์ นํา้ มันถั่วเหลือง อุตสาหกรรมนํ้ามันถัว่ เหลืองของไทยมีแนวโน้มการ
เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันกับตลาดโลก เนื่องจากเมล็ดถัว่ เหลืองในประเทศไทยมีไม่เพียงพอต่อ
ความต้องการใช้ในประเทศ เนื่อง จากพื้นที่เพาะปลูกมีศกั ยภาพตํ่า ขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ที่ดี และ
เกษตรกรหันไปให้ปลูกพืชชนิดอื่นที่ให้ราคาดีกว่า เช่น อ้อย มันสําปะหลัง ข้าวโพด เป็ นต้น ประเทศ
ไทยจึงต้องพึ่งพิงการนําเข้าเมล็ดถัว่ เหลืองจากบราซิ ล อาร์ เจนตินา สหรัฐอเมริ กา เฉลี่ย 87 % ของความ
ต้องการใช้ท้ งั หมด โดยจะถูกนําไปใช้ในอุตสาหกรรมสกัดนํ้ามันถัว่ เหลือง 84.21 % ใช้เป็ นอาหารสัตว์
15.02 % และแปรรู ปเป็ นอาหารอื่นๆ 0.77 %

ตารางที่ 3.16 แสดงตลาดส่ งออกนํ้ามันถัว่ เหลืองของไทย ปี 2548-2551


ปี อัตราการ
ประเทศ สั ดส่ วน (%)
2548 2549 2550 2551 เติบโต (%)
รวมทุกประเทศ 1,078 1,123 519 1,007 93.9 100.0
อาเซียน (9) 805 967 436 862 97.9 85.6
ญี่ปุ่น 38 11 7 14 107.4 1.4
สหรัฐอเมริ กา 5 0.1 0.1 - -99.6 -
สหภาพยุโรป 0.3 0.1 - - 17.5 -
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3) ผลิตภัณฑ์ ครีมเทียม
ครี มเทียมเป็ นผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการผลิตนํ้ามันปาล์ม ซึ่งแนวโน้มการ
ขยายตัวอย่างรวดเร็ ว จากการขยายตัวของธุ รกิจกาแฟ การโรงแรม หรื อธุ รกิจบริ การอาหาร ตลาดหลัก
ได้แก่ ฟิ ลิปปิ นส์ พม่า อินโดนีเซี ย เป็ นต้น เนื่องจากความได้เปรี ยบในด้านระยะทางการขนส่ ง ส่ วนการ
บริ โภคภายในประเทศยังมีแนวโน้มที่ดีเป็ นผลจากการขยายตัวของตลาดกาแฟในประเทศไทย ซึ่ งกําลัง
ได้รับความนิยมอย่างมาก นอกจากนี้ ผูบ้ ริ โภคส่ วนใหญ่นิยมใช้ครี มเทียมเป็ นส่ วนผสมในกาแฟ
97

มากกว่าการใช้ครี ม หรื อนมสด เนื่องจากครี มเทียมนั้นจะไม่มีกลิ่นคาวของนมจึงไม่ไปกลบกลิ่นหอม


ของกาแฟ ปั จจุบนั มีการผลิตครี มเทียมข้นหวาน มีลกั ษณะคล้ายกับนมข้นหวาน แต่ใช้ไขนํ้ามันปาล์มใน
ปริ มาณที่มากกว่า ซึ่ งเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับผูท้ ี่นิยมรับประทานนมข้นหวานแต่ไม่ชอบกลิ่นของ
นม
สําหรับแนวโน้มของอุตสาหกรรมครี มเทียมยังเติบโตได้ดี เนื่องจากผลิตภัณฑ์ครี มเทียมเป็ นที่
นิยมของคนทัว่ โลกและไม่มีขอ้ ยกเว้นด้านศาสนา ดังนั้นถือเป็ นโอกาสที่ดีในการขยายตลาดไปยัง
ภูมิภาคอื่นๆ เช่น ตะวันออกกลาง ยุโรป เป็ นต้น ปั จจุบนั ไทยส่ งออกครี มเทียมในรู ปแบบบรรจุภณั ฑ์
ขนาดใหญ่และนําไปบรรจุเพื่อจําหน่ายอีกครั้ง ซึ่ งไม่ได้ให้ความสําคัญในเรื่ องรู ปแบบบรรจุภณั ฑ์หรื อ
ตราสิ นค้ามากนัก ดังนั้นถ้าเรามีการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ถือเป็ นแนวทางหนึ่งในการเพิม่
ความสามารถการแข่งขันในตลาดโลกได้

ภาพที่ 3.37 สัดส่ วนตลาดส่ งออกของผลิตภัณฑ์ครี มเทียมของไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.9.2 ปัญหาอุปสรรคทางการค้ า
1) อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากอุตสาหกรรมนํ้ามันและไขมัน เช่น อุตสาหกรรมอาหาร ประสบ
กับปั ญหาเศรษฐกิจถดถอยส่ งผลต่อการขยายตัวในอุตสาหกรรมนํ้ามันอย่างมาก
2) อุตสาหกรรมนํ้ามันและไขมันของไทยแปรผันตามตลาดโลกและผูผ้ ลิตรายใหญ่ เนื่องจาก
ประเทศไทยเป็ นเพียงผูผ้ ลิตเมล็ดพืชนํ้ามันรายเล็กเท่านั้น
3) สิ นค้านํ้ามันในประเทศไทยเป็ นสิ นค้าควบคุม การปรับลดราคาต้องรอการอนุมตั ิจากรัฐบาล
4) ผูป้ ระกอบการส่ วนใหญ่ยงั ไม่มีการดําเนินอุตสาหกรรมแบบครบวงจร จึงทําให้ขาด
ประสิ ทธิภาพในการจัดการวัตถุดิบ
5) การลักลอบนําเข้านํ้ามันพืชจากประเทศเพื่อนบ้าน ส่ งผลต่อผูผ้ ลิตภายในประเทศ
98

สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ส่ งผลให้ผลผลิตที่ได้มีปริ มาณและคุณภาพตํ่า

ตารางที่ 3.17 ตลาดส่ งออกที่สาํ คัญ 10 อันดับ ของผลิตภัณฑ์ครี มเทียมของไทย

2550 2551
มูลค่ า มูลค่ า อัตราการ ส่ วนแบ่ ง
ลําดับที่ ประเทศ ปริมาณ ปริมาณ
(ล้ าน (ล้ าน เติบโต (%) ตลาด (%)
(ตัน) (ตัน)
บาท) บาท)
1 Philippines 29,637 1,304 38,021 1,963 50.57 25.2
2 Myanmar 14,735 544 17,101 718 31.90 9.2
3 Indonesia 7,880 313 9,357 481 53.30 6.2
4 Malaysia 8,131 321 8,926 463 44.03 5.9
5 Turkey 3,192 137 7,792 438 218.72 5.6
6 Kampuchea 4,725 192 9,333 397 106.45 5.1
7 Taiwan 6,143 241 6,433 315 31.16 4.1
8 Viet Nam 4,732 199 5,440 282 41.52 3.6
9 Lao 2,624 134 3,746 212 57.60 2.7
10 U.S.A. 5,034 184 5,081 205 11.13 2.6
Other 43,751 1,819 46,812 2,312 27.11 29.7
Total 130,585 5,389 158,042 7,785 44.44 100.0

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.10 อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม
อุตสาหกรรมเครื่ องดื่มเป็ นอุตสาหกรรมที่ตอ้ งใช้เงินลงทุนจํานวนมากในการซื้ อเครื่ องจักร ที่มี
ประสิ ทธิ ภาพรวมทั้งเทคโนโลยีการผลิตที่ทนั สมัย ทําให้มีผปู ้ ระกอบการจํานวนไม่มากเข้ามาลงทุนใน
อุตสาหกรรมเครื่ องดื่ม ปัจจุบนั อุตสาหกรรมเครื่ องดื่มในประเทศไทยจัดเป็ นตลาดที่มีผขู้ ายน้อยราย มี
ผูป้ ระกอบการเพียงไม่กี่รายเท่านั้นที่มีอิทธิ พลในการกําหนดทิศทางของตลาด อุตสาหกรรมเครื่ องดื่ม
เป็ นอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อทดแทนการนําเข้า จึงมีตลาดส่ วนใหญ่อยูใ่ นประเทศ และเป็ น
อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการจ้างงานโดยตรงรวมทั้งอุตสาหกรรมต่อเนื่องอีกเป็ นจํานวนมาก
99

3.10.1 โครงสร้ างอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม

ปั จจุบนั ประเทศไทยมีโรงงานเครื่ องดื่มที่จดทะเบียนไว้กบั กรมโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ


168 โรง แบ่งเป็ นโรงงานเครื่ องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ 99 โรง หรื อ 59 % และที่เหลืออีก 69 โรง หรื อ 41%
เป็ นโรงงานเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่ งโรงงานส่ วนใหญ่เป็ นผูป้ ระกอบการขนาดเล็กคิดเป็ น 72 % ของ
จํานวนโรงงานทั้งหมด รองลงมาเป็ นโรงงานขนาดกลาง 20 % ส่ วนที่เหลืออีก 8 % เป็ นโรงงานขนาด
ใหญ่ อุตสาหกรรมเครื่ องดื่มมีการจ้างงานที่แจ้งไว้ขณะจดทะเบียนโรงงานกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ณ สิ้ นปี 2551 ประมาณ 20,000 คน โดยแรงงานเหล่านี้กระจายอยูใ่ น 3 อุตสาหกรรมสําคัญ ได้แก่
อุตสาหกรรมเบียร์ สุ รากลัน่ และนํ้าอัดลม ในสัดส่ วนใกล้เคียงกันประมาณ 25 % หรื ออุตสาหกรรมละ
5,000 คน และแรงงานที่เหลือกระจายอยูใ่ นอุตสาหกรรมนํ้าดื่มชูกาํ ลัง ไวน์หรื อสุ ราแช่ นํ้าหวาน และ
อุตสาหกรรมเครื่ องดื่มอื่นๆ ในสัดส่ วน 5, 3, 2 และ 17 % ตามลําดับ

ภาพที่ 3.38 โครงสร้างอุตสาหกรรมเครื่ องดื่มไทย ณ สิ้ นปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

สิ นค้าเครื่ องดื่มโดยทัว่ ไปมักแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์และ


เครื่ องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ อุตสาหกรรมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ที่สาํ คัญของไทย อาทิ การผลิตเบียร์ สุ รา
กลัน่ ไวน์ สุ ราจากผลไม้ รวมทั้งเครื่ องดื่มสุ ราผสมพร้อมดื่ม (RTD) ซึ่ งเป็ นเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ที่กาํ ลัง
มาแรง เป็ นต้น ส่ วนอุตสาหกรรมเครื่ องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ที่สาํ คัญของไทย เช่น นํ้าอัดลม โซดา
นํ้าหวาน เครื่ องดื่มชูกาํ ลัง และเครื่ องดื่มเกลือแร่ เป็ นต้น
3.10.2 ผลิตภัณฑ์ หลักของอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม
1) อุตสาหกรรมนํา้ อัดลม
อุตสาหกรรมนํ้าอัดลมเป็ นอุตสาหกรรมที่สาํ คัญต่อระบบเศรษฐกิจไทยทั้งในแง่ของการจ้าง
งานโดยตรง และเป็ นอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรมเชื่อมโยงอื่นๆ ตลาดมีการ
แข่งขันรุ นแรงทั้งจากผูป้ ระกอบการที่อยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกัน รวมทั้งอุตสาหกรรมเครื่ องดื่ม
100

ประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะเครื่ องดื่มที่เน้นจุดขายทางด้านสุ ขภาพ ปั จจุบนั อุตสาหกรรมนํ้าอัดลมเป็ น


อุตสาหกรรมการผลิตเพื่อบริ โภคภายในประเทศเป็ นส่ วนใหญ่ การส่ งออกเริ่ มมีอตั ราขยายตัวดีแต่ยงั มี
สัดส่ วนน้อยมากเพียงไม่ถึง 1% ของยอดการผลิต
อุตสาหกรรมนํ้าอัดลมในประเทศไทยมีลกั ษณะเป็ นตลาดผูข้ ายน้อยราย (Oligopoly) ประกอบ
ไปด้วยโรงงานผูผ้ ลิตประมาณ 17 โรง มีการจ้างงานประมาณ 5,000 คน แต่มีผผู ้ ลิตรายใหญ่เพียง 2-3
รายเท่านั้น ที่ผลิตสิ นค้าภายใต้เครื่ องหมายการค้าชื่อดังจากต่างประเทศ โดยในช่วงที่ผา่ นมามี
ผูป้ ระกอบการรายใหม่เกิดขึ้นไม่มาก เนื่องจากเป็ นอุตสาหกรรมที่ตอ้ งลงทุนสู ง สิ นค้าในตลาดมี
ลักษณะไม่ต่างกันทําให้เกิดการทดแทนกันได้ง่ายในมุมมองของผูบ้ ริ โภค นํ้าอัดลมโดยทัว่ ไปแบ่ง
ออกเป็ น 2 ประเภท คือ พวกที่ไม่มีการผสมนํ้าหวาน เรี ยกว่า โซดา ส่ วนอีกประเภทมีการผสมนํ้าหวาน
ปรุ งแต่งกลิ่นสี และรสชาติ ได้แก่ นํ้าดํา ( Cola) มีมูลค่าตลาดประมาณ 75 % ของตลาดนํ้าอัดลมโดยรวม
และที่เหลือประมาณ 25% คือ นํ้าอัดลมประเภทนํ้าสี เช่น นํ้าส้ม นํ้าแดง นํ้าเขียว และนํ้าอัดลมที่มีสีขาว
(Lemonade/lime) เป็ นต้น
ในแต่ละปี ผูป้ ระกอบการมักนํากลยุทธ์การผลิตสิ นค้าตัวใหม่ออกสู่ ตลาดอยูเ่ สมอ เพื่อครอง
ส่ วนแบ่งการตลาดและกระตุน้ การบริ โภคนํ้าอัดลมให้กลับมาคึกคัก โดยนํ้าอัดลมประเภทนํ้าสี มกั นิยม
ออกผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อกระตุน้ ยอดขายอยูเ่ ป็ นระยะโดยเฉพาะช่วงหน้าร้อนซึ่ งเป็ น High season ของ
ตลาดนํ้าอัดลม โดยการนําเสนอนํ้าอัดลมที่มีกลิ่นและรสชาติใหม่ๆ คล้ายกลิ่นผลไม้ เช่น กลิ่นสับปะรด
มะนาว องุ่น บลูเบอร์ รี่ เป็ นต้น เพิ่มเติมจากนํ้าส้ม นํ้าแดง นํ้าเขียว และนํ้าขาว ซึ่งเป็ นสิ นค้ารสชาติ
ดั้งเดิมที่มีประจําอยูใ่ นท้องตลาด ขณะที่กลุ่มนํ้าอัดลมประเภทนํ้าดําใช้กลยุทธ์ในการปรับเปลี่ยนไปผลิต
นํ้าอัดลมที่ปราศจากนํ้าตาล หรื อมีแคลอรี่ ต่าํ (No sugar / Zero sugar / Low calories) มาเป็ นจุดขายมาก
ขึ้น เพื่อแข่งขันกับเครื่ องดื่มสุ ขภาพโดยเฉพาะ ตลอดจนเป็ นทางเลือกให้กบั ผูร้ ักสุ ขภาพและยังคงชื่น
ชอบการดื่มนํ้าอัดลมอีกด้วย
แนวโน้มอุตสาหกรรมนํ้าอัดลมจะไม่ขยายตัวไปมาก เนื่องจากได้รับผลกระทบจากการชะลอ
ตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงาน ต้นทุนบรรจุภณั ฑ์ ราคานํ้าตาลและสาร
ให้ความหวาน ส่ งผลทําให้ตน้ ทุนในการผลิตสู งขึ้น ผูป้ ระกอบการต้องแข่งขันกันมากขึ้นเพื่อแย่งชิง
ส่ วนแบ่งทางการตลาด อีกทั้งยังต้องรักษาฐานลูกค้ากลุ่มเดิมไม่ให้เปลี่ยนไปบริ โภคเครื่ องดื่มสุ ขภาพ
ซึ่ งปั จจุบนั กระแสสุ ขภาพทําให้คนหันมาดูแลสุ ขภาพกันมากขึ้น และลดการบริ โภคอาหารและ
เครื่ องดื่มที่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ จึงทําให้อุตสาหกรรมนํ้าอัดลมที่ถูกมองว่าไม่มีประโยชน์ต่อสุ ขภาพ
ได้รับผลกระทบไปด้วย และที่สาํ คัญขณะนี้กรมสรรพสามิตอยูร่ ะหว่างการพิจารณาปรับโครงสร้างภาษี
ทั้งระบบ โดยนํ้าอัดลมเป็ นหนึ่งในบัญชีสินค้าที่คาดว่าจะถูกปรับภาษีสรรพสามิตเพิ่มขึ้นด้วย
2) อุตสาหกรรมเบียร์
เบียร์ ที่ผลิตในประเทศไทยส่ วนใหญ่เป็ นประเภทเดียวกับเบียร์ ที่มีแหล่งกําเนิดจากประเทศ
เยอรมนี เรี ยกว่า ลาเกอร์ เบียร์ (Lager Beer) โดยลาเกอร์ เบียร์ มีท้ งั รสหวานจนถึงรสขม มีท้ งั สี อ่อนจนถึง
101

สี เข้ม แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีสีและรสชาติค่อนข้างอ่อน และมีระดับแอลกอฮอล์ต่าํ ประมาณ 3-5% โดย


ปริ มาตร ทําให้ลาเกอร์ เบียร์ เป็ นเบียร์ ที่ดื่มง่ายและได้รับความนิยมจากผูบ้ ริ โภคชาวไทยรวมทั้งผูค้ นทัว่
โลก อุตสาหกรรมเบียร์ ในประเทศไทยเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ วภายหลังจากทางภาครัฐมีนโยบายเปิ ดเสรี
การค้าในช่วงปี 2535 โดยปรับลดเงื่อนไขให้ผปู้ ระกอบการที่ตอ้ งการลงทุนในอุตสาหกรรมผลิตเบียร์
เพียงแค่มีบุคคลสัญชาติไทยหรื อนิติบุคคลสัญชาติไทยเป็ นผูถ้ ือหุ น้ ใหญ่ อย่างไรก็ตามการลงทุนใน
อุตสาหกรรมเบียร์ จาํ เป็ นต้องใช้เงินทุนรวมทั้งเครื่ องจักรที่มีราคาสู ง ส่ งผลทําให้ประเทศไทยมี
ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมเบียร์ประมาณ 13 รายทัว่ ประเทศ และมีเพียงผูผ้ ลิตรายใหญ่ 2 รายเท่านั้น
ที่เป็ นผูน้ าํ ตลาด
ช่วงปี 2547-2549 ความต้องการบริ โภคเบียร์ ภายในประเทศเพิม่ สู งขึ้น ทดแทนการบริ โภคสุ รา
ที่มีราคาสู งขึ้นภายหลังจากการปรับอัตราภาษีสรรพสามิตตามปริ มาณแอลกอฮอล์ในเครื่ องดื่ม รวมทั้ง
รองรับความต้องการของตลาดส่ งออก แม้อุตสาหกรรมเบียร์ ของไทยจะเติบโตดี เมื่อเทียบกับ
อุตสาหกรรมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์อื่นๆ แต่ในช่วง ปี 2550-2551 พบว่าอุตสาหกรรมเบียร์ มีแนวโน้ม
ชะลอตัวลงเล็กน้อย อันเป็ นผลจากปั ญหาค่าครองชีพที่ปรับตัวสู งขึ้นตามต้นทุนพลังงาน ความไม่สงบ
ทางการเมืองที่เกิดขึ้น ประกอบกับการประกาศใช้พระราชบัญญัติควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.
2551 ส่ งผลให้ประชาชนลดการใช้จ่ายสิ นค้าฟุ่ มเฟื อยลง

ตารางที่ 3.18 เครื่ องชี้ภาวะอุตสาหกรรมเบียร์ ไทยปี 2547-2551

2547 2548 2549 2550 2551


ล้านลิตร 1,632 1,695 2,011 2,161 2,160
ปริ มาณ การผลิต
อัตรา เปลี่ยนแปลง (%) 1.9 3.9 18.6 7.5 -0.1
อัตราการใช้กาํ ลังการผลิต อัตรา เปลี่ยนแปลง (%) 66.8 69.4 75.5 72.1 71.2
ล้านบาท 83,887 87,428 106,076 111,647 115,000
มูลค่าตลาด ภายในประเทศ
อัตรา เปลี่ยนแปลง (%) 4.0 4.2 21.3 5.3 3.0
ล้านลิตร 36.2 121.6 69.6 85.3 115.1
ปริ มาณ ส่งออก
อัตรา เปลี่ยนแปลง (%) -16.6 235.6 -42.7 22.5 35.0
ล้านลิตร 10.1 14.0 25.5 24.5 23.1
ปริ มาณ นําเข้า
อัตรา เปลี่ยนแปลง (%) 156.2 38.9 81.7 -4.0 -5.6

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ในปี 2551 ตลาดเบียร์ ภายในประเทศมีมูลค่าประมาณ 115,000 ล้านบาท แบ่งเป็ นเบียร์ ตลาดบน


(Premium Lager) 5 % เบียร์มาตรฐาน (Standard Lager) 10 % และเบียร์ ตลาดล่าง (Economy Lager) 85
102

% แม้บางช่วงตลาดเบียร์โดยรวมจะซบเซา แต่ยอดขายเบียร์ ตลาดล่างกลับเติบโตสวนกระแส เนื่องจาก


ผูป้ ระกอบการใช้กลยุทธ์ทางด้านราคามาใช้แข่งขันในตลาดมากขึ้น เพื่อจับลูกค้ากลุ่มใหญ่ของประเทศ
ที่มีรายได้ไม่มาก และให้สอดรับกับกําลังซื้ อของผูบ้ ริ โภคที่หดตัวลง ซึ่ งสวนทางกับเบียร์ พรี เมี่ยมที่ส่วน
ใหญ่เป็ นเบียร์ นาํ เข้ากลับมียอดขายหดตัวลง ส่ วนตลาดเบียร์ ส่งออกปรับตัวสู งขึ้น 35 % โดยมีตลาด
ส่ งออกสําคัญคือประเทศเพื่อนบ้านแถบอาเซี ยน ได้แก่ กัมพูชา สิ งคโปร์ เมียนมาร์ และมาเลเซี ย ส่ วน
สําคัญตลาดอื่นๆ เช่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ญี่ปุ่นและออสเตรเลีย เป็ นต้น

ตารางที่ 3.19 ตลาดส่ งออกเบียร์ ปี 2551

ตลาดส่ งออก ล้านลิตร %


กัมพูชา 44.3 38.5
สิ งคโปร์ 21.4 18.6
สหรัฐอาหรับฯ 11.8 10.2
เมียนมาร์ 9.7 8.5
ญี่ปุ่น 3.8 3.3
ออสเตรเลีย 3.8 3.3
ไต้หวัน 3.6 3.2
มาเลเซีย 3.4 3.0
อื่นๆ 13.3 11.5
รวม 115.1 100.0

ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.10.3 ปัญหาอุปสรรคทางการค้ า
ปั จจัยที่คาดว่าจะส่ งผลกระทบอุตสาหกรรมเครื่ องดื่ม
1) การซบเซาของธุ รกิจการท่องเที่ยวอันเนื่องมาจากภาวะการชะลอตัวของ เศรษฐกิจโลกและ
ปัญหาการเมืองภายในประเทศ
2) แนวทางการปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตสิ นค้าเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์และนํ้าอัดลม
3) อุตสาหกรรมเครื่ องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์มีแนวโน้มแข่งขันรุ นแรงขึ้น หลังจากกลุ่ม
ผูป้ ระกอบการรายใหญ่ในธุ รกิจเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์เริ่ มรุ กเข้าสู่ ธุรกิจเครื่ องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์มากขึ้น
4) ธุ รกิจเครื่ องดื่มข้ามชาติรายใหญ่มีแนวโน้มเข้ามาลงทุนผลิตขยายตลาดภายในประเทศ และ
ใช้สิทธิ พิเศษเพื่อลดภาษีนาํ เข้าวัตถุดิบรวมทั้งส่ งออกสิ นค้าภายใต้เขตการค้าเสรี อาเซี ยน
103

5) การออกประกาศควบคุมไม่ให้มีการจําหน่ายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเด็ดขาด ในช่วง


เทศกาลและวันสําคัญทางศาสนาของกระทรวงสาธารณสุ ข

3.11 อุตสาหกรรมอาหารสั ตว์


อุตสาหกรรมอาหารสัตว์เป็ นอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม
อาหาร โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการแปรรู ปสัตว์น้ าํ และอุตสาหกรรมการแปรรู ปเนื้อสัตว์ เนื่องจากเป็ น
โครงสร้างต้นทุนของการเลี้ยงสัตว์ที่สาํ คัญ และทั้ง 2 อุตสาหกรรมจะมีความเชื่อมโยงด้านการเติบโตที่
สอดคล้องกัน หากอุตสาหกรรมแปรรู ปขยายตัวดี ก็จะมีความต้องการวัตถุดิบเพิ่มขึ้น อาหารสัตว์ก็จะมี
ความต้องการมากขึ้นตามไปด้วย นอกจากนั้นการผลิตอาหารสัตว์บางประเภทยังใช้วตั ถุดิบที่เหลือจาก
การผลิตในอุตสาหกรรมอาหารในบางประเภท ทําให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มโดยรวมแก่อุตสาหกรรม
อาหารไทยอย่างครบวงจร อย่างไรก็ตาม เมื่อกล่าวถึงอาหารสัตว์ที่ผลิตในระดับอุตสาหกรรมจะมีความ
แตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์การใช้และประเภทของสัตว์ แต่วตั ถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิตอาหารสัตว์
ที่สาํ คัญจะมีเพียงไม่กี่รายการ ต่างกันที่สูตรส่ วนผสมเพื่อให้ได้คุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมกับสัตว์
แต่ละช่วงวัยและสายพันธุ์เท่านั้น วัตถุดิบเกษตรที่สาํ คัญสําหรับอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ได้แก่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากถัว่ เหลือง ปลาป่ น กระดูกป่ น มันสําปะหลังอัดเม็ด ฯ

ภาพที่ 3.39 โครงสร้างอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ของไทย ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.11.1 ผลิตภัณฑ์ หลักของอุตสาหกรรมอาหารสั ตว์ การจําแนกผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์แบ่งตาม


สัตว์เศรษฐกิจ ที่สาํ คัญ ได้แก่ 1) อาหารสัตว์บก เช่น อาหารไก่เนื้อ อาหารไก่ไข่ อาหารเป็ ด อาหารสุ กร
อาหารโคเนื้อและโคนม 2) อาหารสัตว์น้ าํ เช่น อาหารกุง้ อาหารปลา และอาหารสัตว์เลี้ยง หรื อจําแนก
104

ตามลักษณะของอาหารอาจแบ่งได้เป็ น อาหารข้น( concentrate) อาหารหยาบ(roughage) อาหารสําเร็ จ


(complete feed) อาหารเม็ด ( pellet) อาหารแตกเป็ นเสี ยง(crumble feed) อาหารป่ น(mass feed) อาหาร
ผสมล่วงหน้า(premix) อาหารผสมสําเร็ จรู ป(total mix rations) วัตถุเติมอาหารสัตว์(feed additives)
วัตถุดิบอาหารสัตว์บางชนิดประเทศไทยยังผลิตได้ไม่เพียงพอต้องพึ่งพาการนําเข้า ที่สาํ คัญ
ได้แก่ กากถัว่ เหลือง พรี มิกซ์ กากเมล็ดพืชนํ้ามัน เช่น คาโนล่า โคลซ่า ถัว่ ลิสง กากเหลือจากการผลิต
สตาร์ช เป็ นต้น
ทั้งนี้ ไทยมีการส่ งออกอาหารสัตว์ดว้ ยเช่นกัน โดยผลิตภัณฑ์ที่สาํ คัญ ได้แก่ มันสําปะหลัง
อัดเม็ด เพลเลต อาหารสุ นขั หรื อแมว ปลากระป๋ องสําหรับสัตว์เลี้ยง อาหารสําเร็ จรู ปสําหรับกุง้ กากของ
เหลือจากการผลิตสตาร์ช-มันสําปะหลัง อย่างไรก็ตามปริ มาณส่ งออกมันสําปะหลังจะมีแนวโน้มลดลง
เพราะภายในประเทศมีความต้องการสู งทั้งเพื่อการผลิตเอทานอล แปรรู ปเป็ นแป้ ง และอาหารสัตว์
ขณะที่การส่ งออกอาหารสัตว์เลี้ยงมีทิศทางที่ดีมีความต้องการจากตลาดมากขึ้นเรื่ อยๆ3.11.2 สภาวะการ
ผลิตสภาวะการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ที่ผา่ นมาถือว่าอยูใ่ นสภาพที่เติบโตดี อัตราการใช้
กําลังการผลิตสู งสุ ดเฉลี่ยของปี 2549-2551 ดังภาพที่ 3.39 อุตสาหกรรมอาหารสัตว์มีแนวโน้มการขยาย
โรงงานเพิ่มขึ้นทุกปี เพื่อตอบสนองความต้องการบริ โภคเนื้อสัตว์และอาหารโปรตีนของคนไทยและ
ตลาดโลกที่เพิ่มสู งขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะผูผ้ ลิตรายใหญ่ๆ ที่มีการผลิตแบบครบวงจรตั้งแต่ระดับฟาร์ ม
เลี้ยงไปถึงการแปรรู ปอาหารเพื่อส่ งออก

ภาพที่ 3.40 อัตราการใช้กาํ ลังการผลิตสู งสุ ดของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์สาํ เร็ จรู ป (%)


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.11.3 ปัญหาอุปสรรคทางการค้ า
1) วัตถุดิบอาหารสัตว์ในประเทศไม่เพียงพอ ต้องพึ่งพาการนําเข้าบางส่ วน ทําให้ตน้ ทุนการ
ผลิตสู งขึ้น
105

2) อาหารสัตว์เป็ นสิ นค้าควบคุมราคา ทําให้การปรับเปลี่ยนตามกลไกตลาดเป็ นไปได้ชา้


3) ผูผ้ ลิตรายใหญ่มีการแข่งขันทางการตลาดในประเทศสู งมาก รายเล็กๆมีโอกาสเติบโตตํ่า
4) ประเทศผูน้ าํ เข้าสิ นค้าอาหารจากไทยมีมาตรการที่เข้มงวดขึ้นเรื่ อยๆมีการใช้ระบบตรวจสอบ
ย้อนกลับและเริ่ มเพิม่ ความเข้มงวดด้านสุ ขอนามัยอาหารสัตว์มากขึ้น เช่น การกําหนดปริ มาณสู งสุ ดของ
สารผสมในอาหารสัตว์

ตารางที่ 3.20 สถิติการนําเข้าอาหารสัตว์ที่สาํ คัญของไทยปี 2551


รายการ ปริมาณ มูลค่ า ปริมาณการ มูลค่ าการ
(ตัน) (ล้ านบาท) เปลีย่ นแปลง(%) เปลีย่ นแปลง(%)
กากถัว่ เหลือง 2193219.7 3420.26 4.22 59.34
พรี มิกซ์อาหารเสริ ม 112237.53 3308.99 -15.17 21.72
อาหารสัตว์อื่นๆ 80054.26 3113.76 14.15 33.17
กากเมล็ดคาโนล่า 250203.45 2544.75 8.23 64.42
เนื้อสัตว์หรื อส่วนอื่นที่ป่นทําเป็ นเพลเลต 163,001.67 2524.85 38.88 71.81
รวมทั้งสิ้น 3243303.32 52067.15 5.47 52.55
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ตารางที่ 3.21 สถิติการส่ งออกอาหารสัตว์ที่สาํ คัญของไทยปี 2551


รายการ ปริมาณ มูลค่ า ปริมาณการ มูลค่ าการ
(ตัน) (ล้ านบาท) เปลีย่ นแปลง(%) เปลีย่ นแปลง(%)
มันสําปะหลังอัดเม็ด 1564074.44 8681.13 -5.25 20.64
ปลากระป๋ องสําหรับสัตว์เลี้ยง 99393.56 7800.44 15.91 28.65
อาหารสุนขั หรื อแมวเพื่อการขายปลีก 98769.08 7418.41 38.21 37.8
มันสําปะหลังเพลเลต 1202462.89 6539.8 -55.09 -41.27
อาหารสุนขั หรื อแมว 70524.03 4318.06 -7.58 2.82
เพื่อการขายปลีก-มีเนื้อสัตว์
อาหารกุง้ สําเร็ จรู ป 43896.59 1693.45 4.03 11.6
รวมทั้งหมด 3735174.02 43578.83 -30.45 0.03
ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)
106

ภาพที่ 3.41 ตลาดส่ งออกมันสําปะหลังอาหารสัตว์ที่สาํ คัญของไทยปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

ภาพที่ 3.42 ตลาดส่ งออกผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์เลี้ยงที่สาํ คัญของไทยปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.12 อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ เสริมอาหาร (Dietary Supplement)


ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ฉบับที่ 293 (พ.ศ. 2548) เรื่ องผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร ได้มี
การนิยามความหมายของผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารว่าเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ใช้รับประทานนอกเหนือจากการ
รับประทานอาหารตามปกติ ซึ่ งมีสารอาหาร หรื อสารอื่นเป็ นองค์ประกอบ อยูใ่ นรู ปแบบเม็ด แคปซูล
ผง เกล็ด ของเหลว หรื อลักษณะอื่น ซึ่ งมิใช่รูปแบบอาหารตามปกติ (conventional foods) สําหรับ
ผูบ้ ริ โภคที่คาดหวังประโยชน์ทางด้านการส่ งเสริ มสุ ขภาพ ในปี 2551 มูลค่าตลาดผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร
ของไทยมีมูลค่า 18,000 ล้านบาท มีอตั ราเติบโตเฉลี่ย 7 % เมื่อเทียบกับ ปี 2550 จําแนกเป็ น ผลิตภัณฑ์
บํารุ งร่ างกายชนิดเครื่ องดื่มและชนิดนํ้า คิดเป็ นสัดส่ วน 42% ผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มทัว่ ไป (ชนิดเม็ด
และชนิดผง ไม่รวมวิตามิน) มีสัดส่ วน 35 %กลุ่มวิตามินมีสัดส่ วน 16% และผลิตภัณฑ์อาหารเสริ ม
สําหรับเด็ก มีสัดส่ วน 7 %
107

ผูป้ ระกอบการในธุ รกิจผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารกว่า 1,000 ราย โดย 90% เป็ นผูป้ ระกอบการราย
กลางและรายย่อย มีเพียง 10 % ที่เป็ นผูป้ ระกอบการรายใหญ่ที่ครองส่ วนแบ่งตลาดในประเทศจํานวน
มาก ช่องทางจําหน่ายที่สาํ คัญ ได้แก่ การขายตรงคิดเป็ นสัดส่ วน 80 % และร้านค้าปลีกมีสัดส่ วน 20 %
อย่างไรก็ตามช่องทางจําหน่ายผ่านร้านค้าปลีกและร้านสะดวกซื้ อได้รับความนิยมมากขึ้น โดยเฉพาะ
ผลิตภัณฑ์เครื่ องดื่มฟังก์ชนั่ นัลที่ผบู ้ ริ โภคเริ่ มรู ้จกั คุณประโยชน์ของสารอาหารที่ดีต่อสุ ขภาพ และ
ต้องการความสะดวกในการหาซื้ อผลิตภัณฑ์์

ภาพที่ 3.43 ส่ วนแบ่งตลาดผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร ปี 2551


ทีม่ า: สถาบันอาหาร (2551)

3.12.1 ผลิตภัณฑ์ หลัก


1) ผลิตภัณฑ์ บํารุ งร่ างกายทีเ่ ป็ นเครื่องดื่ม
จากการสํารวจในปี 2551 พบว่ามูลค่าตลาดซุ ปไก่สกัดเป็ นตลาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มผลิตภัณฑ์
บํารุ งร่ างกาย ซึ่ งมีมูลค่าตลาดประมาณ 2,800 ล้านบาท ผูผ้ ลิตซุ ปไก่สกัดรายใหญ่ ได้แก่ บริ ษทั เซเรบอส
(ประเทศไทย) มีส่วนแบ่งการตลาดมากถึง 92 %
ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าตลาดเป็ นอันดับ 2 ในกลุ่มนี้ คือ เครื่ องดื่มผสมสารอาหารหรื อที่นิยมเรี ยกว่า
เครื่ องดื่มฟังก์ชนั่ นัล ในปี 2551 มีมูลค่าตลาดอยูท่ ี่ 2,000 ล้านบาท เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความนิยมเป็ น
อย่างมาก ดังจะเห็นได้จากการวางจําหน่ายผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ มากมายและการโฆษณาประชาสัมพันธ์
สิ นค้าอย่างต่อเนื่องตลอดปี 2551 จากภาวะการแข่งขันทําให้ราคาสิ นค้าอยูใ่ นระดับที่ไม่สูงเกินไปและ
ผูบ้ ริ โภคสามารถซื้ อผลิตภัณฑ์ได้สะดวกตามร้านค้าปลีกและร้านสะดวกซื้ อ นอกจากเครื่ องดื่มที่เกาะ
กระแสรักสุ ขภาพแล้ว สิ นค้ากลุ่มบริ โภคเพื่อความงามก็ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมาก เช่น นํ้าผลไม้
ผสมคอลลาเจน เพื่อช่วยในเรื่ องของสุ ขภาพผิว และนํ้าผลไม้ผสมใยอาหารและแอล-คาร์ นิทีน เพื่อช่วย
ในเรื่ องของรู ปร่ าง นอกจากนี้ยงั มีสูตรผสมโคเอ็นไซม์คิวเท็นและไลโคปี นสําหรับผูท้ ี่ตอ้ งการบริ โภค
เพื่อความงามโดยตรง
108

2) ผลิตภัณฑ์ อาหารเสริมทัว่ ไป
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มทัว่ ไปมีมูลค่าตลาด 6,300 ล้านบาท สิ นค้ากลุ่มนี้จะมีลกั ษณะเป็ นเม็ด
แคปซูล นํ้า การบริ โภคจะคล้ายกับกินยา ควรมีช่วงเวลารับประทานที่ต่อเนื่อง ตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาหาร
เสริ มทัว่ ไป ได้แก่ โสม นํ้ามันปลา นํ้ามันอิฟนิ่งพริ มโรส Co-enzyme Q10 เป็ นต้น ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ
ความนิยมมากที่สุดในกลุ่มนี้ คือ กลุ่มที่ให้คุณประโยชน์ทางด้านสุ ขภาพโดยทัว่ ไป คิดเป็ น 43 %
เนื่องจากผูบ้ ริ โภครับประทานเพื่อเป็ นการป้ องกันโรคมากขึ้น รองลงมา คือกลุ่มที่เสริ มสร้างความ
แข็งแรงของกระดูก 21% และเพื่อความงาม 8 %
3) วิตามิน
ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารกลุ่มวิตามินมีมูลค่าตลาด 2,880 ล้านบาท จําแนกได้เป็ น วิตามินรวม
วิตามิน C, วิตามิน B, วิตามิน E และ วิตามิน A เรี ยงลําดับตามมูลค่าตลาดของวิตามินแต่ละชนิด
4) วิตามินและผลิตภัณฑ์ อาหารเสริมสํ าหรับเด็ก
วิตามินและผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มสําหรับเด็กมีมูลค่าตลาด 1,260 ล้านบาท ผูป้ กครองนิยมซื้ อ
วิตามินและผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มที่ช่วยทางด้านพัฒนาการของสมองและพัฒนาการทางด้านร่ างกาย
ให้กบั เด็ก

3.12.2 แนวโน้ มตลาดผลิตภัณฑ์ เสริมอาหาร


ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารมีแนวโน้มเติบโตดีที่สุด คือ ผลิตภัณฑ์เครื่ องดื่มฟังก์ชนั่ นัล โดยมีกระแส
การดื่มเพื่อพัฒนาการทํางานของระบบสมองและดื่มเพื่อลดคลอเรสเตอรอลในร่ างกายเพิ่มขึ้นมาจาก
กระแสความงาม ตลาดเครื่ องดื่มผสมสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่ างกายมีคู่แข่งรายใหม่เข้ามามากขึ้น
ตั้งแต่ช่วงปลายปี 2550 ถึงปัจจุบนั การแข่งขันทางด้านราคาและการจําหน่ายในร้านสะดวกซื้ อมากขึ้น
เป็ นผลดีต่อผูบ้ ริ โภคที่สามารถเลือกผลิตภัณฑ์ตามคุณประโยชน์และรสชาติที่ตอ้ งการในราคาที่
เหมาะสมและหาซื้ อได้สะดวกยิง่ ขึ้น ผลิตภัณฑ์สาํ หรับเด็กมีมูลค่าตลาดน้อยกว่าผลิตภัณฑ์อื่นในกลุ่มนี้
ผลิตภัณฑ์ที่มีแนวโน้มดี ได้แก่ แคลเซี ยม ( Calcium Supplements) โปรตีนผง Co-enzyme Q10 และ
กลูโคซามีน (Glucosamine) ตามลําดับ
3.12.3 ปัญหาและอุปสรรคทางการค้ า
1) กฎหมายความรับผิดต่อความเสี ยหายที่เกิดขึ้นจากสิ นค้าที่ไม่ปลอดภัย (พ.ร.บ. ความรับผิด
ต่อความเสี ยหายที่เกิดขึ้นจากสิ นค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551) ที่มีผลบังคับใช้เมื่อ กุมภาพันธ์ 2552 เป็ น
การคุม้ ครองความปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภค แต่ขณะเดียวกันผูบ้ ริ โภคบางรายอาจใช้กฎหมายดังกล่าว เป็ น
เครื่ องมือในการฟ้ องร้องเรี ยกผลประโยชน์กบั บริ ษทั ผูผ้ ลิตสิ นค้า
2) กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารมีความเข้มงวดมากเพื่อเป็ นการคุม้ ครอง
ผูบ้ ริ โภคจึงการยากสําหรับผูป้ ระกอบการในการโฆษณาถึงคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ช่องทางการ
จําหน่ายสิ นค้าส่ วนใหญ่จึงเป็ นช่องทางขายตรงเพื่อเป็ นการโฆษณาถึงคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์
109

3) การวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารเป็ นการสร้างความมัน่ ใจถึงคุณประโยชน์ที่


ผูบ้ ริ โภคจะได้รับ แต่การวิจยั และพัฒนาจําเป็ นต้องใช้ตน้ ทุนสู งมาก
4) การแข่งขันในตลาดผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารรุ นแรงมาก ซึ่งผูผ้ ลิตต้องปรับตัวโดยนําเสนอ
ผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมใหม่ๆรวมถึงการทําตลาดอย่างต่อเนื่องเพื่ออยูร่ อดในธุ รกิจนี้

You might also like