You are on page 1of 5

2

ถูกใจ
แชร์

รวมคําสัง DOS เวลาซ่อมคอมจ้า

ความจําเป็ นในการใช้ (Dos) ยังคงมีอยู่ แม้วา่ ในปัจจุบนั บทบาทของมันจะเริมลดลงไปมากหลังจาก Windows เริมมีความสมบูรณ์ และมีสงอํ ิ านวย
ความสะดวกมาให้ชนิดทีไม่ตอ ้ งพึงดอสเลย แต่ถา้ เมือไรเครืองของคุณยังไม่มี Windows หรือเข้าไปใช้งาน Windows ไม่ได้ คําสังดอสก็มค ี วาม
จําเป็ นอย่างยิง เพราะการใช้คาํ สังดอสจะช่วยแก้ปญ ั หาต่าง ๆ ได้เช่นการ การซ่อมแซมไฟล์ทเสี ี ย ก๊อปปี ไฟล์ขอ
้ มูล แก้ปญ
ั หา Bad Sector ฯลฯ ดังนี
เราควรทราบคําสังบางคําสังทีจําเป็ นไว้บา้ งเพือนําไปใช้งานในยามฉุ กเฉิน
Dos ย่อมาจาก Disk Operating System เป็ นระบบปฎิบตั ก ิ ารรุน
่ แรก ๆ ซึงการทํางานของเครืองคอมพิวเตอร์จะมีการทํางานบนระบบปฎิบตั ก ิ าร
ดอสเป็ นหลัก โดยการทํางานส่วนใหญ่จะเป็ นการทํางานโดยการใช้คาํ สังผ่านบรรทัดคําสัง (Command Line) ทีนิยมใช้กน ั คือ MS-Dos ซึงต่อมา
ระบบปฎิบตั ก ิ ารดอสจะถูกซ่อนอยูใ่ น Windows ลองมาดูกน ั ว่าคําสังไหนบ้างทีเราควรรูจ้ กั วิธใี ช้งาน

CD คําสังเข้า-ออก ในไดเร็คทอรี
CD (Change Directory) เป็ นคําสังทีใช้ในการเปลียนไดเร็คทอรีในโหมดดอส เช่น ถ้าต้องการรัน คําสังเกมส์ทเล่ ี นในโหมดดอส ซึงอยูใ่ นไดเร็ค
ทอรี MBK ก็ตอ ้ งเข้าไปในไดเร็คทอรีดงั กล่าวเสียก่อนจึงจะรันคําสังเปิ ดโปรแกรมเกมส์ได้
รูปแบบคําสัง
CD [drive :] [path]
CD[..]
เมือเข้าไปในไดเร็คทอรีใดก็ตาม แล้วต้องการออกจากไดเร็คทอรีนน ั ก็เพียงใช้คาํ สัง CD\ เท่านันแต่ถา้ เข้าไปในไดเร็คทอรียอ
่ ยหลาย ๆ ไดเร็คทอรี
ถ้าต้องการออกมาทีไดรว์ซงเป็
ึ นระดับสูงสุด ให้ใช้คาํ สัง CD\ เพราะคําสัง CD.. จะเป็ นการออกจากไดเร็คทอรีได้เพียงลําดับเดียวเท่านัน
ตัวอย่างการใช้คาํ สัง

CD\ กลับไปที Root ระดับสูงสุด เช่น ถ้าเดิมอยูท่ ี C:\>docs\data> หลังจากใช้คาํ สังนีก็จะย้อนกลับไปที C:\ >
CD.. กลับไปหนึงไดเร็คทอรี เช่น ถ้าเดิมอยูท
่ ี C:\windows\command> หลังจากนัน ใช้คาํ สังนีก็จะก็จะย้อนกลับไปที C:\windows>

CHKDSK (CHECK DISK) คําสังตรวจเช็คพืนทีดิสก์


CHKDSK เป็ นคําสังทีใช้ในการตรวจสอบข้อมูลของหน่ วยความจํา และการใช้งานดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ การรายงานผลของคําสังนีจะเข้าไปตรวจสอบ
พืนทีไดเร็คทอรี และ FAT ของดิสก์ หรือไฟล์ เพือหาข้อมผิดพลาดของการเก็บบันทึก ถ้า CHKDSK พบว่ามี Lost Cluster จะยังไม่แก้ไขใด ๆ
นอกจากจะใช้สวิตซ์ /f กําหนดให้ทาํ การเปลียน Lost Cluster ให้เป็ นไฟล์ทมี
ี ชือไฟล์เป็ น FILE0000.CHK ถ้าพบมากว่า 1 ไฟล์ อันต่อไปจะเป็ น
FILE0002.CHK ไปเรือย ๆ นอกจากนียังสามารถรายงานปัญหาทีตรวจพบได้อก ี อย่างเช่น จํานวน Bad Sector , Cross-ling Cluster (หมาย
ถึง Cluster ทีมีไฟล์มากกว่าหนึงไฟล์แสดงความเป็ นเจ้าของ แต่ขอ
้ มูลใน Cluster จะเป็ นของไฟล์ได้เพียงไฟล์เดียวเท่านัน)
รูปแบบคําสัง
CHKDSK [drive:][[path]filename] [/F] [/V]
[drive:][path] กําหนดไดรว์ และไดเร็ทอรีทต้ี องการตรวบสอบ
filename ชือไฟล์ทต้ ี องการให้ตรวจสอบ
/F สังให้ Fixes Errors ทันทีทตรวจพบ

/V ขณะทีกําลังตรวจสอบ ให้แสดงชือไฟล์และตําแหน่ งของดิสก์บนหน้าจอด้วย
ตัวอย่างการใช้คาํ สัง

C:\WINDOWS>CHKDSK D: ตรวจสอบข้อมูลการใช้งานดิสก์ในไดรว์ D
C:\>CHKDSK C: /F ตรวจสอบ ไดรว์ C พร้อมกับซ่อมแซมถ้าตรวจเจอปัญหา

COPY คําสังคัดลอกไฟล์
Copy เป็ นคําสังทีใช้ในการคัดลอกไฟล์ จากไดเร็คทอรีหนึงไปยังไดเร็คทอรีทต้
ี องการ คําสังนีมีประโยชน์มากควรหัดใช้ให้เป็ น เพราะสามารถคัด
ลอกไฟล์ได้ยามที Windows มีปญ ั หา
รูปแบบคําสัง
COPY [Source] [Destination]
ตัวอย่างการใช้คาํ สัง

C:\COPY A:README.TXT คัดลอกไฟล์ชือ README.TXT จากไดรว์ A ไปยังไดรว์ C


C:\COPY README.TXT A: คัดลอกไฟล์ชือ README.TXT จากไดรว์ C ไปยังไดรว์ A
C:\INFO\COPY A:*.* คัดลอกไฟล์ทงหมดในไดรว์
ั A ไปยังไดเร็คทอรี INFO ในไดรว์ C
A:\COPY *.* C:INFO คัดลอกไฟล์ทงหมดในไดรว์
ั A ไปยังไดเร็คทอรี INFO ในไดรว์ C

DIR คําสังแสดงไฟล์และไดเร็คทอรียอ ่ ย
เป็ นคําสังทีใช้แสดงรายชือไฟล์และไดเร็คทอรี คําสังนีถือเป็ นคําสังพืนฐานทีต้องใช้อยูเ่ ป็ นประจํา เพือจะได้รูว้ า่ ในไดรว์หรือไดเร็คทอรีนน
ั ๆ มีไฟล์
หรือไดเร็คทอรีอะไรอยูบ ่ า้ ง
รูปแบบคําสัง
DIR /P /W
/P แสดงผลทีละหน้า
/W แสดงในแนวนอนของจอภาพ
ตัวอย่างการใช้คาํ สัง

C:\>DIR ให้แสดงรายชือไฟล์ และไดเร็คทอรีทงหมดในไดรว์


ั C
C:\>DIR /W ให้แสดงรายชือไฟล์ และไดเร็คทอรีทงหมดในไดรว์
ั C ในแนวนอน
C:\>INFO\DIR /P ให้แสดงรายชือไฟล์ และไดเร็คทอรียอ ่ ยในไดเร็คทอรี INFO โดยแสดงทีละหน้า
C:\>INFO\DIR *.TEX ให้แสดงรายชือไฟล์ทงหมดในไดเร็
ั คทอรี INFO เฉพาะทีมีนามสกุล TXT เท่านัน
C:\> DIR BO?.DOC ให้แสดงรายชือไฟล์ในไดรว์ C ทีขึนต้นด้วย BO และมีนามสกุล DOC ในตําแหน่ ง ? จะเป็ นอะไรก็ได้
DEL (DELETE) คําสังลบไฟล์
เป็ นคําสังทีใช้ในการลบไฟล์ ซึงต้องระมัดระวังในการใช้คาํ สังนีให้มาก
รูปแบบคําสัง
DEL [ชือไฟล์ทต้ ี องการลบ]
ตัวอย่างการใช้คาํ สัง

C:\>DEL BOS.VSD ลบไฟล์ในไดรว์ C ทีชือ BOS.VSD


C:\>PROJECT\DEL JOB.XLS ลบไฟล์ชือ JOB.XLS ทีอยูใ่ นไดเร็คทอรี PROJEC ของไดรว์ C
D:\>DEL *.TXT ลบทุกไฟล์ทมี
ี นามสกุล TXT ในไดรว์ D

FDISK ( Fixed Disk)


เป็ นไฟล์โปรแกรมทีใช้ในการจัดการกับพาร์ตช ิ นของฮาร์
ั ดสิ ก์ ใช้ในการสร้าง ลบ กําหนดไดรว์ ทีทําหน้าทีบูตเครือง แสดงรายละเอียดของพาร์ตช ิ น

บนฮาร์ดสิ ก์ จะเห็นว่าเป็ นโปรแกรมอีกตัวหนึงทีต้องทําความรูจ้ กั และศึกษาวิธใี ช้งาน เพราะสามารถใช้ประโยชน์ในการสร้าง ฮาร์ดดิสก์ให้มห
ี ลาย ๆ
ไดรว์ก็ได้
รูปแบบคําสัง
FDISK /STATUS
ตัวอย่างการใช้งานโปรแกรม
A:>\FDISK เริมใช้งานโปรแกรม
A:\>FDISK /STATUS แสดงข้อมุลเกียวกับพาร์ตช
ิ น
ั บนฮาร์ดดิสก์
2
FORMAT คําสังฟอร์แมตเครือง
เป็ นคําสังใช้จดั รูปแบบของดิสก์ใหม่ คําสังนีปกติจะใช้หลังการแบ่งพาร์ชนั ด้วยคําสัง FDISK เพือให้สามารถใช้งานฮาร์ดดดดิสก์ได้ หรือฝช้ลา้ ง ถูกใจ
ข้อมูลกรณี ตอ ้ งการเคลียร์ขอ
้ มูลทังหมดในฮาร์ดสิ ก์ แชร์
รูปแบบคําสัง
FORMAT drive: [/switches]
/Q ให้ฟอร์แมตแบบเร็ว ซึงจะใช้เวลาน้อยลง (Quick Format)
/S หลังฟอร์แมตแล้วให้คดั ลอกไฟล์ระบบลงไปในไดรว์นนด้ ั วย เพือให้ไดรว์ททํ
ี าการฟอร์แมตสามารถบูตได้
ตัวอย่างการใช้คาํ สัง

A:\>FORMAT C: /S ฟอร์แมตไดรว์ C แล้วให้คดั ลอกไฟล์ระบบลงไปในไดรว์ดว้ ย


C:\>FORMAT A: /Q ฟอร์แมตไดรว์ A แบบ Quick Format

MD คําสังสร้างไดเร็คทอรี
MD (Make Directory) เป็ นคําสังทีใช้ในการสร้างไดเร็คทอรี คําสังนีจะช่วยให้สามารถสร้างไดเร็คทอรีชืออะไรก็ได้ทเราต้
ี องการ แต่ตอ
้ งมีการตัง
ชือทีอยูใ่ นกฎเกณฑ์ของ Dos
รูปแบบคําสัง
MD [drive:] path
ตัวอย่างการใช้คาํ สัง

D:\> MD TEST สร้างไดเร็คทอรี TEST ขึนมาในไดรว์ D


D:\>DOC\MD TEST สร้างไดเร็คทอรีทชื
ี อ TEST ขึนมาภายในไดเร็คทอรี DOC

REN (RENAME) คําสังเปลียนชือไฟล์


เป็ นคําสังทีใช้ในการเปลียนชือไฟล์ และส่วนขยาย โดยคําสัง REN นีไม่สามารถใช้เปลียนชือไดเร็คทอรีได้
รูปแบบคําสัง
REN [ชือไฟล์เดิมล [ชือไฟล์ใหม่]
ตัวอย่างการใช้คาํ สัง

C:\REN BOS.DOC ANN.DOC เปลียนชือไฟล์ BOS.DOC ในไดรว์ C เป็ น ANN.DOC


C:\REN C:\MAYA\BOS.DOC PEE.DOC เปลียนชือไฟล์ BOS.DOC ในไดเร็คทอรี MAYA ให้เป็ น PEE.DOC
C:\REN A:*.*TEX *.OLD เปลียนส่วนขยายของไฟล์ชนิด TXT ทุกไฟล์ในไดรว์ A ให้เป็ น OLD

SCANDISK
คําสัง SCANDISK เป็ นคําสังตรวจสอบพืนทีฮาร์ดดิสก์ สามารถใช้ในการตรวบสอบปัญหาต่าง ๆ ได้ และเมือ SCANDISK ตรวจพบปํ ญหา จะมี
ทางเลือกให้ 3 ทางคือ FIX IT , Don't Fix IT และ More Info ถ้าไม่เข้าใจปัญหาทีเกิดขึนให้เลือก More Info เพือขอข้อมูลเพิมก่อนตัดสินใจต่อ
ไป
ถ้าเลือก FIX IT จะเป็ นการสังให้ Scandisk ทําการแก้ไขปัญหาทีพบ ถ้าการซ่อมแซมสําเร็จโปรแกรมจะมีรายงานทีจอภาพให้ทราบ ส่วน Don't
Fix IT คือให้ขา้ มปัญหาทีพบไปโดยไม่ตอ ้ งทําการแก้ไข
รูปแบบคําสัง
SCANDISK [Drive:]/AUTOFIX
/AUTOFIX ให้แก้ไขปัญหาโดยอัตโนมัติ
ตัวอย่างการใช้คาํ สัง

A:\>SCANDISK C: ทําการตรวจสอบปัญหาในไดรว์ C
A:\>SCANDISK D:/AUTOFIX ทําการตรวจสอบปัญหาในไดรว์ D และแก้ไขอัตโนมัติ
Type คําสังดูขอ้ มูลในไฟล์
Type เป็ นคําสังทีใช้แสดงเนือหาภายในไฟล์บนจอภาพ คําสังนีจะใช้ได้กบั ไฟล์แบบ Text ส่วนไฟล์โปรแกรมต่าง ๆ จะไม่สามารถอ่านได้
รูปแบบคําสัง
TYPE [ชือไฟล์ทต้ ี องการอ่าน]
ตัวอย่างการใช้คาํ สัง

C:\>Type AUTOEXEC.BAT แสดงเนือหาภายในไฟล์ AUTOEXEC.BAT


C:\>NORTON\TYPE README.TXT แสดงเนือหาภายในไฟล์ README.TXT ในไดเร็คทอรี NORTON

XCOPY คําสังคัดลอกทังไดเร็คทอรีและทังหมดในไดเร็คทอรี
XCOPY เป็ นคําสังทีใช้ในการคัดลอกไฟล์ได้เหมือนคําสัง COPY แต่ทาํ งานได้เร็วกว่า และสามารถคัดลอก ได้ทงไดเร็
ั คทอรีและไดเร็คทอรียอ
่ ย
รูปแบบคําสัง
XCOPY [ต้นทาง] [ปลายทาง] /S /E
/E ให้คดั ลอกไดเร็คทอรียอ
่ ยทังหมดรวมถึงไดเร็คทอรียอ
่ ยทีว่างเปล่าด้วย
/S ให้คดั ลอกไดเร็คทอรียอ่ ยทีไม่วา่ งเปล่าทังหมด
ตัวอย่างการใช้คาํ สัง

C:\>XCOPY BACKUP F: /S /E คัดลอกทุกไฟล์และทุกไดเร็คทอรียอ


่ ย BACKUP ไปไว้ในไดรว์ F
C:\>PRINCE>XCOPY *.VSD A: คัดลอกทุกไฟล์ทมี
ี นามสกุล VSD ในไดเร็คทอรี PRINCE ไปทีไดรว์ A

ข้อความแจ้งปัญหาในดอส
ในการทํางานบนดอสบางครังก็เกิดปัญหาได้บอ ่ ย ๆ เหมือนกัน ซึงการเกิดปัญหาแต่ละครังก็จะมีขอ
้ ความแจ้งให้ทราบว่าปัญหาทีเกิดขึนนัน มีสาเหตุ
จากอะไร ต่อไปนีเป็ นข้อความแจ้งปัญหาทีมักพบได้บอ ่ ย ๆ มีดงั นี
Abort, Retry, Fail ?
จะพบได้ในการณี ทไดรว์
ี ไม่มแ
ี ผ่นดิสก์อยุแ
่ ล้วเรียกใช้ขอ้ มูลจากไดรว์นน
ั การแก้ไขก็นําแผ่นดิสก์ทต้
ี องการใช้มาใส่เข้าไป

กดปุ่ ม < R > (Retry) : การทํางานจะทําต่อจากงานทีค้างอยูก ่ อ


่ นเกิดความผิดพลาด
กดปุ่ ม < A > (Abort) : รอรับคําสังจะไปอยูใ่ นไดรว์ทสั
ี งงานล่าสุด
กดปุ่ ม < F > (Fail) : เมือต้องการยกเลิกการทํางาน และเปลียนไดรว์ใหม่

Bad Command or file name : ใช้คาํ สังผิดหรือไฟล์ทเรี ี ยกใช้งานนันไม่สามารถเรียกใช้ได้ การแก้ไข ตรวจสอบบรรทัดคําสังว่าถูกต้องหรือไม่


เช่น พิมพ์คาํ สังหรือชือไฟล์ถก
ู ต้องหรือไม่ แล้วลองรันคําสังดูใหม่อก
ี ครัง อาจเกียวข้องกับเวอร์ชน
ั ของดอสไม่มค
ี าํ สังนันก็ได้

File not found : ไม่สามารถหาไฟล์นนพบ


ั อาจไม่มไี ฟล์นน
ั หรืออาจพิมพ์ชือไฟล์นนนผิ
ั ดจากทีต้องการ นอกจากนีอาจเกิดจากพาธ (Path) ทีสัง
งานไม่มไี ฟล์นน

Insufficient memory หรือ Out of memory Insufficient memory : หน่ วยความจําไม่พอต่อความต้องการของโปรแกรม

Out of memory : โปรแกรมเริมทํางานไปแล้วบางส่วนแล้วหน่ วยความจําไม่พอ ระบบจึงต้องแจ้งให้ผใู้ ช้ทราบ

Directory already exits : เกิดขึนเมือสร้างไดเร็คทอรีแล้วไปซํากับซือทีมีอยูแ


่ ล้วในพาธเดียวกัน

Duplicate file ot file not found : ถ้าเปลียนชือไฟล์ไปซํากับชือทีมีอยูจ่ ะทําไม่ได้และจะแจ้งเตือนดังข้อความดังกล่าว


InSufficient Disk space : ข้อความนีจะเกิดขึนเมือดิสก์ไม่เพียงพอต่อการเก็บข้อมูล วิธแ
ี ก้ ลองใช้ดสิ ก์อนหรื
ื อลบไฟล์ทไม่
ี จาํ เป็ นต้องใช้ออก
2
ถูกใจ
แชร์

Death13th 1 ม.ค. 51 เวลา 12:40:00 พิมพ์


แจ้งลบ IP = 125.24.57.185

คําตอบที 1

เยียมครับ

Harumaki 4 มี.ค. 51 เวลา 12:15:00 IP = 202.28.27.6

คําตอบที 2

แจ๋วเลยน้อง

rebirth 2 ม.ค. 51 เวลา 18:08:00 IP = 125.26.219.5

คําตอบที 3

Blue Screen of Death คัมภีร์แก้ปญ


ั หาจอมรณะ

Error : UNEXPECTED_KERNEL_MODE_TRAP (Error Code : Stop 0x0000007F) 0x7F นันบ่งบอกถึงปัญหาปัญหาทีเคอร์แนลไม่


อนุญาตให้เข้าใช้งาน (bound trap) ซึงอาจเกียวพันกับฮาร์ดแวร์ดว้ ย

สาเหตุและหนทางแก้ปญ ั หาทีอาจเป็ นไปได้


0x7F ส่วนมากมาจากความผิดพลาดหรือล้มเหลวในส่วนของหน่ วยความจําหลัก ถ้าคุณได้ตด ิ ตังอุปกรณ์ ใหม่เข้าไป ให้ลองแก้ไขโดยการถอดเปลียน
อุปกรณ์ ดงั กล่าว
การโอเวอร์คล็อกซีพียก
ู ็สามารถทําให้เกิดเออร์เรอร์โค้ด 0x7F หรือหมายเลขอืนๆ ได้ เนืองจากความร้อนทีสูงขึนอาจทําให้ซีพียทู าํ งานผิดพลาดได้
หากเกิดปัญหานีขึนสําหรับเครืองทีโอเวอร์คล็อกให้ลองลดการโอเวอร์คล็อกกลับมาทีความเร็วซีพียเู ดิม
อีกสาเหตุก็คอื คราบสกปรกทีเกาะอยูบ ่ นเมนบอร์ด ถ้ามีควรทําความสะอาดเสียให้เรียบร้อย

Error : BAD_POOL_CALLER (Error Code : 0x000000C2)

0xC2 หมายถึง kernel-mode process หรือไดรเวอร์บางตัวเกิดการใช้งานหน่ วยความจําทีผิดพลาด อาจจะมีสาเหตุมาจากทางใดทางหนึงดังนี

• การจัดสรร Memory Pool ทีขนาด เป็ น 0 (ศูนย์)

• การจัดสรร Memory Pool ทีมีอยูจ่ ริง

• การสังการให้ Memory Pool นันเป็ น Free memory pool ทังทีมันว่างอยูแ


่ ล้ว

• การจัดสรรหรือการสังการให้เป็ น Free memory pool ทีค่า IRQL สูงเกินไป

• ความผิดพลาดของไดรเวอร์หรือซอฟต์แวร์ทใช้
ี งาน

สาเหตุและหนทางแก้ปญ
ั หาทีอาจเป็ นไปได้

0xC2 นันถ้าหากเกิดขึนหลังจากคุณติดตังโปรแกรมหรือไดรเวอร์ทไม่
ี สมบูรณ์ สามารถแก้ไขได้โดยการถอดถอน ส่วนทีติดตังลงไปออกเสีย

หรืออาจจะเกียวข้องกับการผิดพลาดของฮาร์ดแวร์ก็ได้ ในกรณี ทมี


ี การอ้างอุปกรณ์ บางชินในเออเรอร์ ก็ให้ลองเปลียนอุปกรณ์ ตวั นันหรือถอดถอน
ออกอาจจะแก้ไขปัญหาได้
หรืออาจจะเกิดจากการไม่คอมแพตทิเบิลกันของไดรเวอร์และซิสเต็มส์เซอร์วส ิ ของเซอร์วส
ิ แพ็คทีได้ตด
ิ ตังไว้ ให้ลองถอดถอน Third-party Device
ก่อนการติดตังเซอร์วส
ิ แพ็ค
Error : DRIVER_POWER_STATE_FAILURE (Error Code : 0x0000009F)
0x9F บ่งบอกว่าไดรเวอร์บางตัวทํางานไม่ปกติ มักเกิดในกรณี ทวิี นโดวส์ถก
ู สังให้กลับมาทํางาน หลังจากทีพักในโหมดสแตนบายด์ ซึงไดรเวอร์บาง 2
อย่างกลับมาใช้งานได้ในโหมดปกติ เป็ นต้น
สาเหตุและหนทางแก้ปญ ั หาทีอาจเป็ นไปได้ ถูกใจ
ถ้าหากเกิดขึนหลังจากคุณติดตังโปรแกรมหรือไดรเวอร์ทไม่
ี สมบูรณ์ ลงไป สามารถแก้ไขได้โดยการถอดถอนโปรแกรมหรือไดรเวอร์ตวั ดังกล่าวออก แชร์
เสียก็เรียบร้อย

Error : UNMOUNTABLE_BOOT_VOLUME (Error Code : 0x000000ED)


เออเรอร์นีหมายความว่าเคอร์แนลพยายามเข้าไปเมาท์บต
ู โวลุม
่ แต่ไม่สามารถทําได้ เออเรอร์นีมักจะเกิดขึนเมืออัพเกรดไปสูว่ น
ิ โดวส์ เอ็กซ์พีโปร
เฟสชันแนลบนเครืองพีซีทไม่
ี คอมแพตทิเบิล หรืออาจเกิดจากปัญหาเกียวกับสายเคเบิลก็เป็ นไปได้

สาเหตุและหนทางแก้ปญ ั หาทีอาจเป็ นไปได้


ถ้าคุณใช้ฮาร์ดดิสก์แบบ ATA66 ขึนให้ลองเปลียนจากสายสัญญาณแบบ 40 พิณไปเป็ นแบบ 80 พินอาจช่วยแก้ปญ
ั หาได้นอกจากนีควรไปปรับค่า
ในไบออสของเมนบอร์ดให้ถก ู ต้องตรงกับชนิดของ ATA ทีใช้ได้ดว้ ย

อีกวิธห
ี นึงทีใช้แก้ปญ
ั หาได้จริง คือ ให้ถอดถอนฮาร์ดดิสก์ตวั ทีมีปญ
ั หา นําไปต่อกับเครืองพีซีทใช้
ี วนิ โดวส์ เอ็กซ์พีรุน
่ เดียวกันแล้วสังให้ Scandisk
ด้วยเครืองมือในไดรฟ์พรอเพอร์ตี จากนันนํา กลับมาต่อทีเครืองเดิมก็สามารถใช้งานได้ตามปกติ

Error : STATUS_IMAGE_CHECKSUM_MISMATCH (Error : 0xC0000221)


เออเรอร์นีบ่งบอกว่า ปัญหาอาจเกิดจากไดรเวอร์ ซิสเต็มส์ไฟล์ หรือ ดิสก์เกิดความผิดพลาด เช่น เกิดความเสียหายของเพจจิงไฟล์ หรือเกิดความผิด
พลาดของหน่ วยความจํา เป็ นต้น

สาเหตุและหนทางแก้ปญ ั หาทีอาจเป็ นไปได้


เริมต้นให้ใช้วธิ แ
ี ก้แบบเดิมๆ คือ หากเกิดปัญหาหลังจากติดตังไดรเวอร์ใหม่เข้าไป ให้ลองยกเลิกหรือกลับไปใช้ไดรเวอร์ตวั เก่า คุณสามารถใช้เมนู
Last known good cofiguration (กด F8 ก่อนเข้าวินโดวส์) เพือสังให้กลับมาสูส ่ ภาวะปกติทเคยใช้
ี งานได้ หรือลองมองหาเซอร์วส ิ แพ็คหรือฮ็อต
ฟิ กซ์จากเว็บไซต์ของไมโครซอฟท์มาติดตังดู
ถ้าเออเรอร์ได้บง่ บอกชือของไฟล์มาด้วยให้ลองก๊อบปี ไฟล์ทพึ
ี งได้มาใหม่จากแผ่นติดตังวินโดวส์ เอ็กซ์พีทบั แทนทีไฟล์เดิมก็น่าจะแก้ปญั หานีได้

Error : KERNEL_DATA_INPAGE_ERROR (Error Code : 0x0000007A)


0x7A แสดงถึงข้อมูลของ kernel (page of kernel data) ไม่สามารถพบได้บนเวอร์ชวลเมโมรี ทําให้ไฟล์ไม่สามารถอ่านไปสูห
่ น่ วยความจําได้
หรืออาจจะเกิดจาการทีดิสก์หรือไดรฟ์คอนโทรลเลอร์ หรือเฟิ ร์มแวร์ หรืออุปกรณ์ อนๆ
ื ใช้งานได้ไม่สมบูรณ์
โดยทัวๆไปแล้ว เราจําแนกแยกแยะรายละเอียดของเออเรอร์นีได้จากตัวแปลทีสองของเออเรอร์โค้ดยกตัวอย่างเช่น

• 0xC000009A หรือ STATUS_INSUFFICIENT_RESOURCES หมายความว่า ค่าของ non paged pool ไม่เพียงพอกับความต้องการ

• 0xC000009C หรือ STATUS_DEVICE_DATA_ERROR หมายความว่า มีการเรียกใช้งาน Bad Block หรือ Bad Sectors บนฮาร์ดดิสก์

• 0x000009D หรือ STATUS_DEVICE_NOT_CONNECTED หมายความว่า อุปกรณ์ บางตัวทีต้องการเข้าถึงนัน หายไปจากระบบ น่ าจะ


เป็ นได้วา่ ไฟไม่เข้า หรือสายเคเบิลทีเอาไว่ตอ
่ กับคอนโทรลเลอร์มป
ี ญ
ั หา (สายหลุดน่ ะแหละ) ลองตรวจสอบตรงนีดูนะครับ

• 0xC000016A หรือ STATUS_DISK_OPERATION_FAILED หมายความว่า มีการเรียกใช้งาน Bad Block หรือ Bad Sectors บน
ฮาร์ดดิสก์

• 0xC0000185 or STATUS_IO_DEVICE_ERROR หมายถึง เกิดปัญหากับอุปกรณ์ I/O ควรตรวจสอบจุดต่างๆ เช่น หัวเชือมต่อสายเคเบิล


หรือถ้าใช้การ์ดคอนโทรลเลอร์ลองทําความสะอาดแล้วเสียบใหม่ หรือเป็ นไปได้
ว่ามีอป
ุ กรณ์ 2 ชินกําลังแย่งกันใช้ทรัพยากรเดียวกันภายในเครืองอยู่ ให้ลองถอด ตัวใดตัวหนึงออกก่อน

สาเหตุและหนทางแก้ปญ ั หาทีอาจเป็ นไปได้


0x7A ส่วนมากเกิดจากการไปใช้งานเวอร์ชน ั เมโมรีบนส่วนทีเป็ นแบ็ดเซ็กเตอร์เข้าให้ หรืออาจจะเกิดจากความผิดพลาดของคอนโทรลเลอร์ หรือ
หน่ วยความจํามีปญ
ั หา ให้ลองแก้ไขโดยการรีบต ู เครือง ถ้าคิดว่ามาจากปัญหาเรืองเกียวกับความเสียหายของฮาร์ดดิสก์ให้ลองใช้โปรแกรม
"Autochk" เพือตรวจสอบ และระบุแบ็ดเซ็กเตอร์

อีกกรณี หนึง น่ าจะมาจากการทํางานผิดพลาดหรือเกิดความเสียหายของหน่ วยความจําทีมีอยูใ่ นระบบ ไม่วา่ จะเป็ นหน่ วยความจําหลัก L2 Cache
หรือหน่ วยความจําของการ์ดแสดงผล ให้ลองเปลียนหรือถอดอุปกรณ์ ทน่
ี าจะมีปญ
ั หาออก แล้วลองหาซอฟต์แวร์ diagnostics ตรวจสอบอีกที

ให้ลองตรวจสอบผ่านทางเว็บไซต์หรือทางตัวแทนจําหน่ าย เพืออัพเดตเฟิ ร์มแวร์หรือไดรเวอร์ของอุปกรณ์ ประเภทดิสก์คอนโทรลเลอร์ ซึงน่ าจะเพิม


ความคอมแพตทิเบิลได้ อีกทางหนึงให้ลองตรวจสอบกับคูม่ อ
ื การตังค่าของอุปกรณ์ วา่ ตังค่าเหมาะสมหรือไม่ เช่น การตังค่า Transfer rate ของแรม
ทีตําไปหรือสูงไปอาจจะมีผลกระทบกับระบบโดยรวมได้

อีกสาเหตุหนึงก็คอ
ื อาจจะเกิดจากสิงสกปรกทีติดอยูต
่ ามเมนบอร์ดและลายวงจร ให้ลองทําความสะอาดดูอาจจะช่วยได้บา้ ง

Error : DRIVER_UNLOAD_WITHOUT_ CANCELLING_PENDING_OPERATIONS (Error Code : 0x000000CE)

0xCE บ่งบอกถึงการทีความผิดพลาดทียกเลิกการใช้งานไดรเวอร์ตวั นัน

สาเหตุและหนทางแก้ปญ ั หาทีอาจเป็ นไปได้


ปัญหานีไม่คอ่ ยหนักหนานักเนืองจากมาเป็ นเอาตอนทีจะเลิกใช้งานอยูแ่ ล้ว ซึงเออเรอร์นีหมายความว่าไดรเวอร์และโปรแกรมนันๆ อาจจะมีปญ
ั หา
แนะนําให้ถอนการติดตังไดรเวอร์หรือโปรแกรมนันออก แล้วรีบต ู เครืองใหม่อก ี ครัง

Error : DRIVER_IRQL_NOT_LESS_OR_EQUAL (Error Code : Stop 0x000000D1)


0xD1 บ่งบอกว่าระบบพยายามทีจะเข้าใช้งาน pageable memory ทีกําลังใช้งานด้วย kernel process ทีมี IRQL สูงมากเกินไป ทําให้ไดรเวอร์
นันๆ ไม่สามารถใช้งานได้แบบปกติได้

สาเหตุและหนทางแก้ปญ ั หาทีอาจเป็ นไปได้


0xD1 นันส่วนมากมาจากไดรเวอร์ทไม่ ี คอ่ ยสมบูรณ์ นกั วิธแ
ี ก้ก็ทาํ ได้โดยหากเพิงติดตังดีไวซ์ไดรเวอร์ใหม่ลงไป แล้วทําให้เกิดปัญหา ก็ให้ถอดออก
ไดรเวอร์ตวั ดังกล่าวออก แล้วกลับไปใช้ตวั ทีคอมแพตทิเบิลจะดีกว่า

Error : ATTEMPTED_WRITE_TO_READONLY_MEMORY (Error Code : 0x000000BE)


0xBE บ่งบอกว่าไดรเวอร์บางตัว กําลังพยายามจะเขียนข้อมูลลงสูห
่ น่ วยความจําทีอ่านได้อย่างเดียว ( ROM:Read-only Memory)

สาเหตุและหนทางแก้ปญ ั หาทีอาจเป็ นไปได้


ปัญหานีส่วนมากเกิดมาจากไดรเวอร์หรือโปรแกรมทีไม่สมบูรณ์ แก้ไขได้ตามรายละเอียดทีแก้ไขกันบ่อยๆ คือ ให้ ถอนการติดตังออก แล้วกลับไป
ใช้ไดรเวอร์ตวั เก่า ในกรณี ทเป็
ี นโปรแกรมหากต้องการใช้งานจริงๆ อาจต้องติดต่อกลับไปยังผูพ
้ ฒ
ั นา เพือขอวิธแ
ี ก้ไขจากผูพ
้ ฒ
ั นาโดยตรงอีกที

สรุปปัญหา Blue Screen


ปัญหา Blue Screen นันส่วนมากนันจะเกิดจากการผิดพลาดของดีไวซ์ไดรเวอร์ หรือการทํางานผิดพลาดอันเนืองจากมาจากไวรัส เพือหลีกเลียง
ปัญหา Blue Screen ควรหมันแบ็กอัพค่าคอนฟิ กและค่ารีจส ิ ทรีของวินโดวส์อยูเ่ สมอ เครืองมือทีดีทสุ
ี ดก็คอ
ื System Restore ดังนันถ้าคุณไม่
แน่ ใจเรืองของระบบก่อนลงโปรแกรมหรือไดรเวอร์ใดๆ ก็ตามให้คณ ุ สัง System Restore เสียก่อน เผือว่าเกิดปัญหา Blue Screen คุณยัง
สามารถเข้าเซฟโหมดแล้วสังให้โรลแบ็กระบบกลับมาได้
หรือในกรณี สดุ ท้ายทีหนักสุดคือ เกิดจากความผิดพลาดของฮาร์ดแวร์ เช่น แรมเสือมสภาพ เพาเวอร์ซพ ั พลายหมดอายุ ฯลฯ ซึงอันนีคงต้องอาศัยการ
เปลียนอุปกรณ์ เพียงอย่างเดียว แนะนําว่าควรลองถอดเปลียนอุปกรณ์ ตอ
้ งสงสัยกับเครืองข้างเคียงก่อน

2
ถูกใจ
แชร์

Death13th 4 ม.ค. 51 เวลา 9:37:00 IP =


203.149.16.42

ตังกระทู้ Login ก่อน Click ทีนี

any comments, please e-mail guitarthai@gmail.com (นายดูด


๋ )ี
All Rights Reserved (C) Copyright 1999 - 2005

You might also like