You are on page 1of 21

คัมภีรฉ

์ ั นทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์
สงเคราะห์
คํานํ า
รายงานเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อเปนสวนหนึ่งของวิชาไทยระดับชั้นมัธยมที่๕ เพื่อใหไดศึกษาหาความรูในเรื่องการ
อานและพิจารณาวรรณคดี และไดศึกษาอยางเขาใจเพื่อเปนประโยชนกับการเรียน ผูจัดทําหวังวารายงานเลมนี้จะเปน
ประโยชนกับผูอาน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กําลังหาขอมูลเรื่องนี้อยู หากมีขอแนะนําหรือขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทํา
ขอนอมรับไวและขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย

ผูจัดทํา

วันที่ ๘/๖/๖๓
สารบัญ
๑. การอ่านและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม
๑.๑ เนื้ อเรือ
่ ง
๑.๒ โครงเรือ ่ ง
๑.๓ ตัวละคร
๑.๔ ฉากท้องเรือ ่ ง
๑.๕ บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน
๑.๖ แก่นเรือ ่ ง

๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
๒.๑ การสรรคํา
๒.๒ การเรียบเรียงคํา
๒.๓ การใช้โวหาร

๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์ หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
๓.๑ คุณค่าทางปัญญา
๓.๒ คุณค่าทางศี ลธรรม
๓.๓ คุณค่าทางวัฒนธรรม

บรรณานุกรม
01

การอ่านและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธใี น
วรรณคดีและวรรณกรรม
เนื้ อเรือ
่ ง
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ตอน คัมภีรฉ ์ ั นทศาสตร์ได้กล่าวเปิดเรือ
่ ง
ด้วยบทไหว้ครู ต่อจากนั้ นได้กล่าวถึงคุณสมบัติ และสิ่ งที่ไม่พึงกระทํา เช่น
เลือกรักษาคนไข้ หรือไม่มีความเสมอภาคในการให้การรักษาคนรวยกับคน
จน หลอกลวงหวังผลกําไร อวดดี ความประมาท ความถือดี ไม่มีมีความ
รู ม
้ ากพอที่จะรักษา ความโลภ ความเห็นแก่ตัว ความหลงตัว เป็นต้น โดยผู้
เขียนยังเปรียบเทียบให้เห็นว่า ร่างกายของคนเราเปรียบเหมือนเมือง
เปรียบหัวใจเหมือนกษัตริย์ เปรียบโรคภัยคือข้าศึ กที่เข้ามาโจมตีเมือง
เปรียบแพทย์เป็นทหารของเมืองที่รูภ ้ ูมิประเทศของเมืองอย่างดี นาดีในตับ
เปรียบเหมือนวังหน้ าต้องดูแลรักษาให้ดีเพราะทําหน้ าที่ย่อยอาหารไป
หล่อเลี้ยงร่างกาย อาหารซึง ่ เปรียบเหมือนเสบียงอาหารที่เลี้ยงทหารใน
กองทัพ เมื่อมีข้าศึ กหรือเชือ
้ โรคที่รา้ ยแรงเข้ามาอย่าวางใจ ต้องป้องกัน
เมืองไว้อย่าดี ทัง้ ๓ อย่าง คือ หัวใจ นาดี อาหาร ต้องรักษาดูแลให้ดีอย่า
ให้เชือ้ โรคเข้ามาทําลายได้ เพราะจะพลาดโอกาสในการรักษา ดังนั้ น
แพทย์ต้องใจเย็นๆ รักษาอย่างมีสติ เพราะอาจเกิดอันตราย
โครงเรือ
่ ง
ตําราเรือ
่ งนี้ มุ่งเน้ นเพื่อสื่ อถึง
คุณสมบัติที่แพทย์ควรมี กล่าวถึง
ความสํ าคัญของแพทย์และ
จรรยาบรรณที่แพทย์พึงปฏิบัติ รวม
ถึงวิธก
ี ารรักษาโรคต่างๆ เป็น
วรรณคดีที่รวบรวมพื้นฐานทุกสิ่ ง
อย่างของอาชีพแพทย์อย่างครบถ้วน
สมบูรณ์ ซึง ่ แบ่งออกเป็นทัง ้ หมด ๑๙
ตอน
ตัวละคร
ในเรือ
่ งนี้ จะไม่มีตัวละครหลัก
เพียงแต่กล่าวจรรยาบรรณของแพทย์
และวิธก
ี ารรักษาแต่ละโรค

ฉากท้องเรือ
่ ง
คัมภีรฉ ์ ั นทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ไม่ปรากฏ
ฉากท้องเรือ
่ ง เพราะมีจุดประสงค์ ในการบรรยาย และ
สอนในสิ่ งที่แพทย์ควรมีนั้น คือ คุณสมบัติในการเป็น
แพทย์ และสิ่ งที่ไม่พึงกระทํา

บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน
ตํารานี้ ไม่ได้มีบทเจรจาหรือรําพึงรําพึง แต่จะเป็นการ
บอกกล่าว และบรรยาย จรรยาบรรณของแพทย์ สิ่ งที่แพทย์ที่
ดีพึงปฏิบัติและไม่พึงปฏิบัติ
แก่นเรือ
่ ง

แก่นของเรือ ่ งนี้ กล่าวเกี่ยวกับจรรณยาบรรณ


ของแพทย์ และอาการหรือการรักษาของโรคนั้ นๆ
เพื่อให้ประชาชนที่ป่วยไข้ สามารถใช้เป็นเครือ ่ งมือ
รักษาตนเอง และเพื่ออนุรก ั ษ์ตําราแพทย์แผนไทย
ไว้ให้คนรุ น
่ หลัง
02

การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดี
และวรรณกรรม
๒.๑ การสรรคํา
ผูแ
้ ต่งได้เลือกใช้คําที่สื่อความหมายและความคิดได้อย่างเหมาะสมทําให้เข้าใจง่าย

๒.๑.๑ การใช้สํานวนไทย มีการใช้สํานวนไทยประกอบการอธิบาย เพื่อให้


เข้าใจเนื้ อความได้งา่ ยขึ้นและชัดเจน

เรียนรู ค
้ ม
ั ภีรไ์ สย สุขุมไว้อย่างแพร่งพราย

ควรกล่าวจึ่งขยาย อย่ายืน
่ แก้วแก่วานร

การใช้สํานวน “อย่ายื่นแก้วแก่วานร” หมายถึงการให้ของมีค่าแก่คนที่ไม่รูค ้ ่า


แก่คนที่ไม่รูค
้ ่าของสิ่ งนั้ น เหมือนกับการเรียนรู ค
้ ําภีรไ์ สยที่ควรนํ าไปบอกต่อ
กับคนที่ควรค่าและเหมาะสมเท่านั้ น
๒.๑.๒ การเลือกใช้คาํ ให้เหมาะสมกับประเภทของคําประพันธ์

ไหว้ครู กม
ุ ารภัจ ผูเ้ จนจัดในคัมภีร์

เวชศาสตรบรรดามี ให้ทานทัว
่ แก่นรชน

ผูแ
้ ต่งเลือกชนิ ดคําประพันธ์ได้เหมาะสมกับประเภทของงานเขียนโดย
บทประพันธ์น้ี เป็นร้อยกรองกาพย์ยานี ๑๑ วรรคแรก ๕ พยางค์ วรรค
หลัง ๖ พยางค์ ตรงตามหลักของกาพย์ยานี ๑๑ทุกประการ
๒.๒ การเรียบเรียงคํา
การจัดลําดับถ้อยคําจากสิ่ งที่สําคัญน้ อยไปมากโดยเริม่ จาก
เรือ
่ งที่ดูธรรมดาแล้วค่อยๆเข้มข้นไปเรือ ่ ยๆจนถึงใจความสํ าคัญ
ตอนท้าย

แก่กายไม่แก่รู้ ประมาทผูอ
้ ุดมญาณ

แม้เด็กเป็นเด็กชาญ ไม่ควรหมิ่นประมาทใจ
๒.๓ การใช้โวหาร
คือการที่ผแ
ู้ ต่งใช้ถ้อยในการเปรียบเทียบเพื่อให้ผอ
ู้ ่าน
เข้าใจความหมายและเห็นภาพได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น

อุปมาโวหาร
โวหารที่กล่าวเปรียบเทียบโดยมีคําเชือ
่ มและยกตัวอย่างสิ่ งที่คล้ายคลึงกันมาเปรียบ
เพื่อให้เกิดความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู ส ้ ึ กมากยิ่ง
ขึ้นโดยอาจเปรียบเทียบอย่างสั้ นๆหรือเปรียบเทียบอย่างละเอียดก็ได้

อุทธัจจังอุทธัจ เห็นถนั ดในโรคา

ให้ตง
ั้ ตนอย่างพระยา ไกรสรราชเข้าราวี

อนึ่ งโสดอย่าซบเซา อย่าง่วงเหงานั้ นมิดี

เห็นโรคนั้ นถอยหนี กระหนายาอย่าละเมิน


อุปลักษณ์ โวหาร
เป็นการเปรียบเทียบ สิ่ งหนึ่ งเป็นอีกสิ่ งหนึ่ ง อุปลักษณ์ จะไม่กล่าวโดยตรง
เหมือนอุปมา แต่ใช้วิธกี ล่าวเป็นนั ยให้เข้าใจเอาเอง ที่สําคัญอุปลักษณ์ จะไม่
มีคําเชือ
่ มเหมือนอุปมา

คําเฉลยแก้ปุจฉา รู ร
้ ก
ั ษาก็จริงจัง

ด้วยโรคเหลือกําลัง จึ่งมิฟังในการยา
03
การอ่านและพิจารณาประโยชน์
หรือคุณค่าในวรรณคดีและ
วรรณกรรม
๓.๑ คุณค่าทางปัญญา
❖ ให้ ข้อคิดสํ าหรับการนํ าไปใช้ในชีวิตประจําวัน

สามารถนํ าข้อคิดที่ได้จากการศึ กษาส่ วนนี้ ไปนํ าประยุคใช้ในอาชีพต่างๆได้ เพราะไม่


ว่าจะเป็นบุคคลในอาชีพใด ไม่ว่าจะเรียนหรือทํางานอยู่ ถ้ามีศีลธรรมประจําใจ ไม่
หลอกลวง อวดดี ประมาท ก็จะได้รบ ั การยกย่องจากคนรอบข้าง และอย่างเรือ ่ งนี้ อาชีพ
แพทย์ซง ่ึ เกี่ยวข้องกับความเป็นความตายของชีวิตคน เพราะฉะนั้ นจะต้องเป็นผูท ้ ่ร
ี อบรู ้
ตัง
้ แต่การตัง ้ แต่การวินิจฉั ย การใช้ยา ความรับผิดชอบต่อชีวิตของผูป ้ ่วย มีสติ ไม่ประมาท
และที่สําคัญคือ ไม่อวดรู ว ้ ่าชํานาญ เพราะถึงอย่างไรก็อาจนํ าไปสู้การกระทําที่ผด ิ พลาดได้
ทัง้ หมดนี้ ซึง ่ ก็เป็นคุณสมบัติท่พี ึงควรมีในการใช้รก
ั ษาผูค
้ น ดังที่เห็นได้ดังตัวอย่าง

บางถือว่าตนเฒ่า เป็นหมอเก่าชํานาญดี

รู ย
้ าไม่รูท
้ ี รักษาได้กช
็ น
ื่ บาน
❖ ให้ ความรู ้เรื่องศั พท์ทางการแพทย์
แผนโบราณ

เนื่ องจากคัมภีรน
์ ้ี ได้ให้ความรู เ้ พิ่มเติมหลาย
ด้าน สะท้อนหลายๆสิ่ งออกมา รวมถึง คําศั พท์
หลายคําที่เราอาจจะรู จ้ ักและคําที่เราไม่รูจ ้ ัก ดังที่
เห็นได้ดังตัวอย่าง อติสาร แปลว่า อาการของการ
เจ็บ หรือ ซาง ที่เป็นชือ
่ โรคชนิ ดหนึ่ ง
๓.๒ คุณค่าทางศี ลธรรม

คัมภีรฉ ์ ั นทศาสตร์น้ี ได้สะท้อนให้เห็นถึงศี ลธรรมที่พึง


ควรมี ไม่ว่าจะเป็นคุณธรรม และจรรยาบรรณ ที่สาขาอาชีพการ
แพทย์ควรมี รวมถึงอาชีพอื่นๆ ที่ขาดสิ่ งเหล่านี้ ไม่ได้นั่นก็คือ
ความเสมอภาค ไม่หลอกลวง ไม่อวดดี และความโลภเห็นแก่ตัว
๓.๓ คุณค่าทางวัฒนธรรม
นอกจากการให้คุณค่าทางปัญญาความรู ้ ข้อคิดต่างๆ และยังให้คุณค่าทางวรรฒธรรมซึง ่ ก็
คือ สะท้อนให้เห็นคุณค่าเรือ ่ งแพทย์แผนไทยในสมัยก่อน ในด้านสั งคมไทย ก็มีการประสานแนว
คิดและความเชือ ่ ต่างๆทัง
้ สั งคมวัฒนธรรม และทางพระพุทธศาสนา และทําให้รูว ้ ่าความเชือ
่ หรือ
แนวคิดนี้ อยู่กับคนไทยมาเป็นเวลานาน และสะท้อนให้เห็นความเชือ ่ ของสั งคมไทยในสมัยก่อน
ว่าตําราการแพทย์ในคัมภีรอ ์ าถรรพเวท เป็นเรือ ่ งราวที่เกี่ยวข้องกับไสยศาสตร์ แสดงให้เห็นว่า
ในสมัยก่อนนั้ นได้มีหลักความเชือ ่ เหล่านี้ เข้ามาเกี่ยวด้วยอย่างเห็นได้ชด ั ดังที่เห็นได้ดังตัวอย่าง

เรียนรู ใ้ ห้เจนจัด จบจังหวัดคัมภีรไ์ สย

ตัง
้ ต้นปฐมใน ฉั นทศาตรดังพรรณา
บรรณานุกรม

ศึ กษาธิการ, กระทรวง. สานั กงานคณะกรรมการการศึ กษาขัน ้ พื้นฐาน. หนั งสื อ


เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ์ ชัน ้ มัธยมศึ กษาปีท่ี ๕ กลุ่ม
สํ าระการเรียนรู ภ
้ าษําไทย. ลาดพร้าว : โรงพิมพ์ สกสค., พ.ศ. ๒๕๕๕. ๑๓๑
จัดทําโดย

นางสาว ณั ฐวดี เลาวัณย์ศิริ


ชัน
้ มัธยมศึ กษาปีที่ ๕/๑ เลขที่ ๕

นางสาว พิชชาภา ประเสริฐพันธุ ์


ชัน
้ มัธยมศึ กษาปีที่ ๕/๑ เลขที่ ๑๑

นางสาว เจษฎ์สิตา วัฒนปกรณ์ วงศ์


ชัน
้ มัธยมศึ กษาปีที่ ๕/๑ เลขที่ ๒๐

You might also like