You are on page 1of 8

 

รายงานเชิงวิชาการ 
การอ่านและพิจารณาวรรณคดี  
เรือง คัมภีรฉ
์ น
ั ทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ 
 
โดย 
 
 
นางสาว ณัฐวดี เลาวัณย์ศริ ิ ชันมัธยมศึกษาปที ๕/๑ เลขที ๕ 
นางสาว พิชชาภา ประเสริฐพันธุ์ ชันมัธยมศึกษาปที ๕/๑ เลขที ๑๑ 
นางสาว เจษฎ์สติ า วัฒนปกรณ์วงศ์ ชันมัธยมศึกษาปที ๕/๑ เลขที ๒๐ 
 
เสนอ 
 
อ. ปทวรรณ พันชัย 
 
รายงานนีเปนส่วนหนึงของรายวิชา 
วิชา ภาษาไทย 
โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัย มหิดล 
ภาคเรียนที ๒ ปการศึกษาที ๒๕๖๑ 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
คํานํา 
รายงานเล่มนีจัดทําขึนเพือเปนส่วนหนึงของวิชาไทยระดับชันมัธยมที๕ เพือให้ได้ศก ึ ษาหาความรูใ้ น
เรืองการอ่านและพิจารณาวรรณคดี และได้ศก ึ ษาอย่างเข้าใจเพือเปนประโยชน์กับการเรียน ผูจ ้ ัดทําหวังว่า
รายงานเล่มนีจะเปนประโยชน์กับผูอ ้ ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ทีกําลังหาข้อมูลเรืองนีอยู่ หากมีขอ ้ แนะนํา
หรือข้อผิดพลาดประการใด ผูจ ้ ัดทําขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ทีนีด้วย 

  ผูจ
้ ัดทํา 

วันที ๘/๖/๖๓ 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สารบัญ 
 
หน้า 
 
๑. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม  
๑.๑ เนือเรือง  
๑.๒ โครงเรือง  
๑.๓ ตัวละคร  
๑.๔ ฉากท้องเรือง  
๑.๕ บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน  
๑.๖ แก่นเรือง  
 
๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม  
๒.๑ การสรรคํา  
๒.๒ การเรียบเรียงคํา 
๒.๓ การใช้โวหาร  
 
๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม  
๓.๑ คุณค่าทางปญญา  
๓.๒ คุณค่าทางศีลธรรม  
๓.๓ คุณค่าทางวัฒนธรรม  
 
บรรณานุกรม  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
๑. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม 
๑.๑ เนือเรือง  
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ตอน คัมภีรฉ ์ น
ั ทศาสตร์ได้กล่าวเปดเรืองด้วยบทไหว้ครู ต่อจากนัน
ได้กล่าวถึงคุณสมบัติ และสิงทีไม่พงึ กระทํา เช่น เลือกรักษาคนไข้ หรือไม่มค ี วามเสมอภาคในการ
ให้การรักษาคนรวยกับคนจน หลอกลวงหวังผลกําไร อวดดี ความประมาท ความถือดี ไม่มม ี ค
ี วาม
รูม
้ ากพอทีจะรักษา ความโลภ ความเห็นแก่ตัว ความหลงตัว เปนต้น โดยผูเ้ ขียนยังเปรียบเทียบให้เห็น
ว่า ร่างกายของคนเราเปรียบเหมือนเมือง เปรียบหัวใจเหมือนกษัตริย์ เปรียบโรคภัยคือข้าศึกทีเข้ามา
โจมตีเมือง เปรียบแพทย์เปนทหารของเมืองทีรูภ ้ ม
ู ปิ ระเทศของเมืองอย่างดี นาดีในตับ เปรียบเหมือน
วังหน้าต้องดูแลรักษาให้ดีเพราะทําหน้าทีย่อยอาหารไปหล่อเลียงร่างกาย ซึงเปรียบเหมือนเสบียง
อาหารทีเลียงทหารในกองทัพ เมือมีขา้ ศึกหรือเชือโรคทีร้ายแรงเข้ามาอย่าวางใจ ต้องปองกันเมืองไว้
อย่าดี ทัง ๓ อย่าง คือ หัวใจ นาดี อาหาร ต้องรักษาดูแลให้ดีอย่าให้เชือโรคเข้ามาทําลายได้ เพราะ
จะพลาดโอกาสในการรักษา ดังนัน แพทย์ต้องใจเย็นๆ รักษาอย่างมีสติ เพราะอาจเกิดอันตราย  
 
๑.๒ โครงเรือง 
ตําราเรืองนี มุง่ เน้นเพือสือถึงคุณสมบัติทีแพทย์ควรมี กล่าวถึงความสําคัญของแพทย์และ
จรรยาบรรณทีแพทย์พงึ ปฏิบต ั ิ รวมถึงวิธกี ารรักษาโรคต่างๆ เปนวรรณคดีทีรวบรวมพืนฐานทุกสิง
อย่างของอาชีพแพทย์อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ซึงแบ่งออกเปนทังหมด ๑๙ ตอน 
 
๑.๓ ตัวละคร  
ในเรืองนีจะไม่มต ี ัวละครหลัก เพียงแต่กล่าวจรรยาบรรณของแพทย์ และวิธก ี ารรักษาแต่ละ
โรค 
 
๑.๔ ฉากท้องเรือง 
คัมภีรฉ
์ น
ั ทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ไม่ปรากฏฉากท้องเรือง เพราะมีจุดประสงค์ ในการ
บรรยาย และ สอนในสิงทีแพทย์ควรมีนน ั คือ คุณสมบัติในการเปนแพทย์ และสิงทีไม่พงึ กระทํา 
 
๑.๕ บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน  
ตํารานีไม่ได้มบ
ี ทเจรจาหรือรําพึงรําพึง แต่จะเปนการบอกกล่าว และบรรยาย จรรยาบรรณ
ของแพทย์ สิงทีแพทย์ทีดีพงึ ปฏิบต ั ิและไม่พงึ ปฏิบต ั ิ 
 
๑.๖ แก่นเรือง 
แก่นของเรืองนีกล่าวเกียวกับจรรณยาบรรณของแพทย์ และอาการหรือการรักษาของโร
คนันๆ เพือให้ประชาชนทีปวยไข้ สามารถใช้เปนเครืองมือรักษาตนเอง และเพืออนุรก ั ษ์ตําราแพทย์
แผนไทยไว้ให้คนรุน ่ หลัง 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม  
๒.๑ การสรรคํา 
ผูแ
้ ต่งได้เลือกใช้คําทีสือความหมายและความคิดได้อย่างเหมาะสมทําให้เข้าใจง่าย 
 
 
๒.๑.๑ การใช้สาํ นวนไทย มีการใช้สาํ นวนไทยประกอบการอธิบาย เพือให้เข้าใจเนือความได้ง่ายขึน
และชัดเจน 
 

เรียนรูค
้ ัมภีรไ์ สย สุขุมไว้อย่างแพร่งพราย 

ควรกล่าวจึงขยาย อย่ายืนแก้วแก่วานร   

 
การใช้สาํ นวน “อย่ายืนแก้วแก่วานร” หมายถึงการให้ของมีค่าแก่คนทีไม่รูค
้ ่าแก่คนทีไม่รูค
้ ่า
ของสิงนัน เหมือนกับการเรียนรูค
้ ําภีรไ์ สยทีควรนําไปบอกต่อกับคนทีควรค่าและเหมาะสมเท่านัน 
 
 
 
๒.๑.๒ การเลือกใช้คําให้เหมาะสมกับประเภทของคําประพันธ์  

ไหว้ครูกม
ุ ารภัจ ผูเ้ จนจัดในคัมภีร ์

เวชศาสตรบรรดามี ให้ทานทัวแก่นรชน 
 
ผูแ
้ ต่งเลือกชนิดคําประพันธ์ได้เหมาะสมกับประเภทของงานเขียนโดยบทประพันธ์นเปนร้
ี อย
กรองกาพย์ยานี๑๑ วรรคแรก ๕ พยางค์ วรรคหลัง ๖ พยางค์ ตรงตามหลักของกาพย์ยานี๑๑ทุก
ประการ 
 
 
๒.๒ การเรียบเรียงคํา 
การจัดลําดับถ้อยคําจากสิงทีสําคัญน้อยไปมากโดยเริมจากเรืองทีดูธรรมดาแล้วค่อยๆ 
เข้มข้นไปเรือยๆจนถึงใจความสําคัญตอนท้าย 
 
 
แก่กายไม่แก่รู ้ ประมาทผูอ
้ ุดมญาณ 
 
แม้เด็กเปนเด็กชาญ  ไม่ควรหมินประมาทใจ 
 
 
๒.๓ การใช้โวหาร 
คือการทีผูแ
้ ต่งใช้ถ้อยในการเปรียบเทียบเพือให้ผอ
ู้ ่านเข้าใจความหมายและเห็นภาพได้อย่าง
ชัดเจนมากยิงขึน 
 
๒.๓.๑ อุปมาโวหาร 
โวหารทีกล่าวเปรียบเทียบโดยมีคําเชือมและยกตัวอย่างสิงทีคล้ายคลึงกันมาเปรียบเพือให้
เกิดความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรูส ้ ก
ึ มากยิงขึนโดยอาจเปรียบเทียบ
อย่างสันๆหรือเปรียบเทียบอย่างละเอียดก็ได้ 

อุทธัจจังอุทธัจ  เห็นถนัดในโรคา 

ให้ตังตนอย่างพระยา ไกรสรราชเข้าราวี 

 
อนึงโสดอย่าซบเซา อย่าง่วงเหงานันมิดี 
 
เห็นโรคนันถอยหนี กระหนายาอย่าละเมิน 
 
๒.๓.๒ อุปลักษณ์โวหาร 
เปนการเปรียบเทียบ สิงหนึงเปนอีกสิงหนึง อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้
วิธก
ี ล่าวเปนนัยให้เข้าใจเอาเอง ทีสําคัญอุปลักษณ์จะไม่มค
ี ําเชือมเหมือนอุปมา 
 
คําเฉลยแก้ปุจฉา รูร้ ก
ั ษาก็จริงจังล 
 
ด้วยโรคเหลือกําลัง จึงมิฟงในการยา 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 
๓.๑ คุณค่าทางปญญา 
 
❖ ให้ขอ ้ คิดสําหรับการนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน 
 
สามารถนําข้อคิดทีได้จากการศึกษาส่วนนีไปนําประยุคใช้ในอาชีพต่างๆได้ เพราะไม่ว่าจะ
เปนบุคคลในอาชีพใด ไม่ว่าจะเรียนหรือทํางานอยู่ ถ้ามีศล ี ธรรมประจําใจ ไม่หลอกลวง อวดดี 
ประมาท ก็จะได้รบ ั การยกย่องจากคนรอบข้าง และอย่างเรืองนี อาชีพแพทย์ซงเกี ึ ยวข้องกับความเปน
ความตายของชีวิตคน เพราะฉะนันจะต้องเปนผูท ้ ีรอบรู้ ตังแต่การตังแต่การวินจ ิ ฉัย การใช้ยา ความ
รับผิดชอบต่อชีวิตของผูป ้ วย มีสติ ไม่ประมาท และทีสําคัญคือ ไม่อวดรูว ้ ่าชํานาญ เพราะถึงอย่างไรก็
อาจนําไปสูก ้ ารกระทําทีผิดพลาดได้ ทังหมดนี ซึงก็เปนคุณสมบัติทีพึงควรมีในการใช้รก ั ษาผูค
้ น ดังที
เห็นได้ดังตัวอย่าง 
 
บางถือว่าตนเฒ่า เปนหมอเก่าชํานาญดี 
 
รูย
้ าไม่รูท ้ ี รักษาได้ก็ชนบาน 

 
❖ ให้ความรูเ้ รืองศัพท์ทางการแพทย์แผนโบราณ 
 
เนืองจากคัมภีรน ์ ได้
ี ให้ความรูเ้ พิมเติมหลายด้าน สะท้อนหลายๆสิงออกมา รวมถึง คําศัพท์ 
อีกมากมาย ทังคําทีเราอาจจะทังรูจ ้ ักและคําทีเราไม่รูจ้ ัก ดังทีเห็นได้ดังตัวอย่าง อติสาร แปลว่า 
อาการของการเจ็บ หรือ ซาง ทีเปนชือโรคชนิดหนึง  
 
๓.๒ คุณค่าทางศีลธรรม 
 
คัมภีรฉ์ น
ั ทศาสตร์นได้ ี สะท้อนให้เห็นถึงศีลธรรมทีพึงควรมี ไม่ว่าจะเปนคุณธรรม และจรรยา
บรรณ ทีสาขาอาชีพการแพทย์ควรมี รวมถึงอาชีพอืนๆ ทีขาดสิงเหล่านีไม่ได้นนก็ ั คือ ความเสมอภาค 
ไม่หลอกลวง ไม่อวดดี และความโลภเห็นแก่ตัว 
 
๓.๓ คุณค่าทางวัฒนธรรม  
 
นอกจากการให้คณ ุ ค่าทางปญญาความรู้ ข้อคิดต่างๆ และยังให้คณ ุ ค่าทางวรรฒธรรมซึงก็คือ 
สะท้อนให้เห็นคุณค่าเรืองแพทย์แผนไทยในสมัยก่อน ในด้านสังคมไทย ก็มก ี ารประสานแนวคิดและ
ความเชือต่างๆทังสังคมวัฒนธรรม และทางพระพุทธศาสนา และทําให้รูว ้ ่าความเชือหรือแนวคิดนี อยู่
กับคนไทยมาเปนเวลานาน และสะท้อนให้เห็นความเชือของสังคมไทยในสมัยก่อน ว่าตําราการแพทย์
ในคัมภีรอ์ าถรรพเวท เปนเรืองราวทีเกียวข้องกับไสยศาสตร์ แสดงให้เห็นว่าในสมัยก่อนนันได้มห ี ลัก
ความเชือเหล่านีเข้ามาเกียวด้วยอย่างเห็นได้ชด ั ดังทีเห็นได้ดังตัวอย่าง 
 
เรียนรูใ้ ห้เจนจัด จบจังหวัดคัมภีรไ์ สย 
 
ตังต้นปฐมใน ฉันทศาตรดังพรรณา 
 
 
บรรณานุกรม 
 
 
ศึกษาธิการ, กระทรวง. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน. หนังสือเรียน รายวิชาพืนฐาน ภาษา
ไทย วรรณคดีวิจักษ์ ชันมัธยมศึกษาปที ๕ กลุ่มสําระการเรียนรูภ
้ าษําไทย. ลาดพร้าว : โรงพิมพ์ สกสค., พ.ศ. 
๒๕๕๕. ๑๓๑ 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

You might also like