You are on page 1of 4

วัสดุสําหรับอุปกรณกีฬา !

TEC เมษายน - มิถนุ ายน 2540 "#

โ ล ด แ ล น ไ ป กั บ …
เรือ &
กระดานโตคลืน
่ มนทกานต ธัชยพงษ
อภิชาต เหล็กงาม
แปลและเรียบเรียงจาก
K.E. Eastering, Advanced Materials for Sport Equipment

ในอดีตนั้น เรือและกระดานโตคลื่นสรางดวยไมเปน
สวนใหญ ทําใหเรือเหลานั้นมีลักษณะสวยงามดึงดูดใจแก
ผูพ บเห็น แตในปจจุบนั วัสดุทใี่ ชสว นใหญเปน
พลาสติกทีป่ ระกอบดวย glass-fibre-reinforced
epoxy ซึ่งแมจะไมมีความสวยงามเทาเรือที่ ภาพที่ 1 แสงแรงทีเ่ กิดขณะพายเรือ
วัสดุชนิดใหมที่ใชในการทําเรือนั้นมีสมบัติพิเศษ
ทําจากไม แตก็มีน้ําหนักเบา ราคาถูก และ ชวยลดน้ําหนักของเรือใหเบาลง
ตองการการดูแลรักษานอยกวา วัสดุรุดหนา และยังทําใหเกิดแรงฝดในปริมาณ
ทีน่ อ ยทีส่ ดุ อีกดวย
(advanced materials) เปนวัสดุที่
จะนํามาใชกันมากในอนาคต เพราะมี
ลักษณะเดนคือ น้ําหนักเบา ลดการเสียดสี มีความทนทาน ภาพที่ 2 จากรูป ถาไมพายอยูใ นระดับน้าํ ทีล่ กึ เกินไป
จําทําใหเกิดแรงตานการเคลื่อนที่มาก ดังนั้นจึงตอง
สูง และทําใหโครงสรางมีความปลอดภัยสูงกวาวัสดุธรรมดา พิจารณาทิศทางการไหลของน้ํารวมดวย
ในการคํานวณหาคาแรงลัพธ
ในการออกแบบเรือจะพิจารณาถึงแรงที่เกิดขึ้น 4 แรง
(ภาพที่ 1) ไดแก น้ําหนัก (weight), แรงยก (lift), แรงขับ
(thrust) และแรงฉุด (drag)
น้ํ า หนั ก คื อ แรงโน ม ถ ว งของเรื อ ซึ่ ง ขึ้ น อยู กั บ
มวล (mass) ของเรือ และผูโ ดยสาร
แรงยก คื อ แรงที่ ขึ้ น อยู กั บ ความสามารถในการ
ลอยตัวของเรือ เชน การแทนทีน่ า้ํ
แรงขับ และแรงฉุด เปนแรงที่ขึ้นกับความเร็วของเรือ
โดยแรงขั บ จะเป น แรงผลั ก ดั น ให เ รื อ เคลื่ อ นไป และแรงฉุ ด ไดในขณะที่เรือวิ่ง ดังนั้นจึงตองใชวัสดุที่มีแรงเสียดทานต่ํา
จะต า นทานการเคลื่ อ นที่ ข องเรื อ ขึ้ น อยู กั บ การเสี ย ดสี แ ละ มาใชในการประกอบโครงสรางของเรือดวย นอกจากนี้ยังตอง
ความตานทานทีห่ วั เรือ (ภาพที่ 2) มี ก ารฉาบด ว ยขี้ ผึ้ ง (wax) ที่ พื้ น ผิ ว เรื อ เพื่ อ ที่ จ ะทํ า ให ผ ล
จะสังเกตไดวา แรงตานทานเหลานี้มีความสําคัญตอ กระทบจากการเสียดสีมีนอย อยางไรก็ตาม ถาพื้นผิวเรือนั้น
การออกแบบเรือ โดยที่แรงเสียดสีตอผิวนั้นจะพิจารณาทั้งจาก ประกอบดวยรองทีล่ ะเอียดในทิศทางเดียวกันกับการไหลของน้าํ
การไหลของน้ําอยางราบเรียบ และมีการไหลของน้ําที่เชี่ยว แรงฉุ ด ก็ อ าจจะลดลงได บ า งดั ง ที่ STARS AND STRIPES
ทั้ ง นี้ เ พราะว า turbulent flow จะทํ า ให เ กิ ด แรงดึ ง สู ง ขึ้ น ไดนาํ มาใชในการผลิตเรือทีใ่ ชแขงขัน America’s Cup ในป ค.ศ.
พบว า แรงเสี ย ดสี ต อ ผิ ว จะลดลงได ถ า การเปลี่ ย นแปลงจาก 1988 โดยมี ก ารเคลื อ บเรื อ อะลู มิ เ นี ย มด ว ยวั ส ดุ โ พลิ เ มอร
น้ํานิ่งไปสู turbulent flow นี้ถูกทําใหชาลงเทาที่จะเปนไป ที่มีเนื้อละเอียด จะทําใหความเร็วของเรือเพิ่มขึ้นอีก 2%
!TEC เมษายน - มิถนุ ายน 2540 "$
วัสดุสําหรับเรือที่ใชในการแขงขัน
จุ ด ประสงค ห ลั ก ในการออกแบบเรื อ คื อ ลดแรงฉุ ด
ที่ ร ะดั บ ความเร็ ว เรื อ ปกติ ซึ่ ง ทํ า ได โ ดยการออกแบบเรื อ ให
มี โ ครงที่ มี น้ํ า หนั ก เบา ยาว และแคบ ในอดี ต นั้ น ลั ก ษณะ
ของเรือแขงขันจะมีรูปรางที่สวยงาม เพราะทํามาจากไมสน
หรื อ ไม ม ะฮอกกานี และโครงสร า งจะต อ งบางเหมื อ น
กระดาษเพื่ อ ให มี น้ํ า หนั ก เบา แต โ ครงสร า งลั ก ษณะนี้ จ ะ
ไม ค งทนและเสี ย หายได ง า ย ในป ค.ศ. 1950 จึ ง ได มี ก าร
ภาพที่ 3 เรือประเภท single-scull ซึง่ ทํามาจาก aromid fibre/carbon fibre/
พั ฒ นาโครงสร า งที่ ทํ า จากไฟเบอร ห รื อ โพลิ เ มอร และ epoxy composite จะตองมีความแข็งแรง และมีนา้ํ หนักทีเ่ บาเปนพิเศษ
ในปลายยุ ค ค.ศ. 1960 ส ว นประกอบไฟเบอร ก็ ไ ด เ ริ่ ม
มี บ ทบาทมากกว า เรื อ ที่ ทํ า จากไม มี ก ารนํ า มาใช กั น อย า ง โครงสร า งของเรื อ single-scull ที่ ใ ช ใ นการ
แพรหลาย ดังจะเห็นไดวาในปจจุบันเรือที่ทําจากไมนั้นจะหา แขงขันในปจจุบันนี้ทํามาจากสวนประกอบไฟเบอรของ kevlar
ไดยากแลว aramid fibre/carbon ซึ่งมีความแข็งแรงและมีน้ําหนักเบา
ประกอบกับการที่กีฬาทางน้ําไดเขามามีบทบาทเปน เปนพิเศษ รวมทั้งโครงสรางที่มีลักษณะเปน solid Iaminated
อย า งมากในป จ จุ บั น รวมไปถึ ง การแข ง ขั น ในการประกอบ คื อ ไม มี วั ส ดุ ที่ เ ป น แกนหลั ก (ภาพที่ 3) จะทํ า ให มี น้ํ า หนั ก
เรือที่จะนํามาใชในการแขงขัน จึงตองใชวัสดุที่เหมาะสม และ เบากวาถึง 25% และมีความแข็งแรงกวาโดยจะชวยในการ
มี คุ ณ ภาพ เพื่ อ ที่ จ ะให ไ ด เ รื อ ที่ มี ค วามทนทานและแข็ ง แรง เพิ่มความแข็งใหสูงขึ้นอีก 50% เมื่อเทียบกับ glass fibre
ในขณะเดียวกันก็มีน้ําหนักเบาเทาที่จะเปนไปได ดังเชนเรือ ที่มีราคาถูกกวา
ประเภท single-scull ที่ มี น้ํ า หนั ก เบาเพี ย งประมาณ 10 ในการปรั บ ปรุ ง โครงสร า งของเรื อ catamaraus ที่
กิ โ ลกรั ม ชนิ ด ของโครงสร า งที่ ป ระกอบเป น เรื อ นั้ น จะเป น ใช ใ นการแข ง ขั น นั้ น จะมี ก ารออกแบบคายเรื อ ใหม โ ดยใช
ประเภท polymer/glass fibre รวมกั บ kevlar หรื อ graphite-glass ผสมกั บ fibre-reinforced epoxy resin
carbon fibre ซึ่งจะทําใหมีความแข็งแรง และทนทานเปน ซึ่ ง จะมี ข อ ดี ห ลายประการเมื่ อ เที ย บกั บ glass-fibre หรื อ
พิเศษ aramid-fibre reinforced epoxy resin ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจาก
เรือที่ใชในการแขงขันที่ดีจะประกอบดวยโครงสรางที่ เปนการยากทีจ่ ะออกแบบใหมที งั้ น้าํ หนักทีเ่ บาและความแข็งแรง
ประกบกั น ระหว า งชั้ น ของ glass fibre material และ ในเวลาเดียวกัน ดังนั้นวัสดุที่เปนลักษณะ hybrid materials
kevlar woven fabrics เชื่ อ มเข า กั บ วั ส ดุ ที่ เ ป น แกนหลั ก เช น graphite fibre ที่ เ ป น แนวควบคู ไ ปกั บ ply-glass
ที่ เ หมาะสมเช น ethafoam วั ส ดุ ที่ ใ ช เ ป น แกนเหล า นี้ จ ะ ที่ เ ป น เหลี่ ย มนั้ น จะทํ า ให เ กิ ด การตั ด ขวางที่ เ ป น วงรี ซึ่ ง จะ
ประกอบด ว ยเครื อ ข า ยของโพลิ เ มอร ซึ่ ง มี น้ํ า หนั ก เบาแต มี ทํ า ให เ กิ ด ข อ ดี ใ นการทํ า ให เ รื อ ประเภท catamaraus นี้ มี
ความแข็ ง แรง ส ว นล า งและด า นข า งของเรื อ จะทํ า จากชั้ น น้ําหนักเบา นอกจากนี้การผสม epoxy resin 55% ในสวน
glass fibre 2-3 ชัน้ และสวนผสมของ kevlar ของคานเรื อ รวมกั บ orientated glass/carbon fibres
ถ า ต อ งการความแข็ ง แรงมาก ส ว นประกอบนี้ ก็ จ ะ 50% โดยปริมาตรเขาในโครงสรางเรือจะทําใหลดน้ําหนักได
ซับซอนขึน้ โดยจะประกอบดวย polyester isophatalic resin ถึง 14% เมือ่ เทียบกับ glass fibre ทีเ่ ปนเสนตรงธรรมดา
และ kevlar ที่ ส านกั น เป น ไม อั ด วั ส ดุ แ ม พิ ม พ อั น หนึ่ ง นั้ น ในสวนของการปรับปรุงความแข็งแรงของเรือที่ใชใน
จะใช epoxy หรือ isophatalic resin (NPG) เพื่อปองกัน การแข ง ขั น ได มี ก ารใช วิ ธี ก ารเชื่ อ มกั น ของ carbon fibre
การเกิดฟอง ซึ่งถามีฟองเกิดขึ้นจะทําใหเกิดรูรั่วขึ้นไดจากการ ใน 2 ทิ ศ ทางกั บ 1 ทิ ศ ทางให อ ยู ใ นรู ป woven fabric ใน
ออสโมซิ ส และการเสี ย รู ป ของโพลิ เ มอร จ ะขึ้ น อยู กั บ การที่ กรณีของเสาเรือใบจะสรางโดยการพันเสนใย carbon fibre
สารยึดเหนีย่ ว (bonding agent) ซึง่ ใชยดึ ไฟเบอรและ แมพมิ พ ในทิ ศ ทางเดี ย วกั บ เสาโค ง การใช วั ส ดุ carbon fibre ใน
epoxy resin เข า ด ว ยกั น นั้ น เกิ ด การแตกตั ว ซึ่ ง แนวเหล า นี้ จ ะใช ใ นปริ ม าณที่ พ อเหมาะซึ่ ง มี ก ารควบคุ ม
ป ญ หาของการออสโมซิ ส นี้ จ ะพบมากในเรื อ แคนู (canoe) ความหนาแน น ของการพั น เข า ด ว ยกั น โดยใช ค อมพิ ว เตอร
ทีใ่ ชแขงขัน และจะทําใหเกิดเปนแรงกดดันในขณะทีแ่ ขงขันดวย เขาชวย
!TEC เมษายน - มิถนุ ายน 2540 "%
เรือ CANOES และเรือ KAYAKS stress ในส ว นของด า มที่ บ าง รวมทั้ ง จะต อ ง
สวนประกอบของเรือ ที่ใชในการแขงขันจะนิยมใช polyethylene, พิจารณาถึงความเบา และความทนทานดวย
polyurethane และ polyester มากกว า epoxy resin เพราะมี ค วาม ดั ง นั้ น ในโครงสร า งจึ ง ประกอบด ว ย 4 ส ว น
แข็ ง แรงมากกว า วั ส ดุ polyethylene ที่ นํ า มาใช เ ชื่ อ มเป น แนวขวางนี้ แยกจากกั น โดยที่ แ ต ล ะส ว นจะถู ก ผลิ ต เพื่ อ
จะมี ค วามต า นทานต อ การกระแทกได ดี ก ว า วั ส ดุ ป ระเภท glass หรื อ ความตองการที่แตกตางกัน ไดแก ดามไมพาย
graphite-fibre-reinforced โฟม polyurethane ที่ เ ป น แบบฉี ด นั้ น จะ ประกอบดวยชิ้นไฟเบอรหลาย ๆ ชิ้น แตละชิ้น
ถูกนํามาใชในโครงสรางภายในเรือ เพราะจะชวยใหมีระดับการลอยตัวสูง จะอยู ใ นรู ป แบบของการขดเป น วงของเส น ใย
และมีความแข็งแรง นอกจากนี้โฟมที่เปน polyurethane นี้จะถูกนํามา และเสนใยเหลานี้ทํามาจากเครื่องจักรพิเศษที่
ใช ใ นการผลิ ต กระดานโต ค ลื่ น เพื่ อ ที่ จ ะทํ า ให มี ค วามเร็ ว สู ง และไม มี ก าร ถูกออกแบบเพื่อการผลิต เสาของเรือแตละชิ้น
เปลี่ ย นแปลงความเร็ ว ด ว ย การใช วั ส ดุ ส ว นประกอบ advanced fibre จะถูกดึงตามแนวยาวและนํามาพันเปนวงกลม
กั บ โฟมนี้ ใ นเรื อ canoes และเรื อ kayaks จะช ว ยปรั บ ปรุ ง ในเรื่ อ ง (ภาพที่ 5) และมีแรงเสริมพิเศษเพื่อยึดอีก 3
ความทนทาน เพราะในการแขงขันอาจจะตองผานชวงที่กระแสน้ํามีความ สวนเขาดวยกัน
เชี่ยวรุนแรง และบริเวณที่มีหินอยูดวย

ไมพาย ใบพาย
แตเดิมนั้นวัสดุที่ใช เ ป น ส ว น ป ร ะ ก อ บ ที่
ทําไมพายนัน้ ทําจากไมทาง ซับซอน เพราะนอกจากตองการ
ยาวเป น แผ น แต อ ย า งไร ความแข็ ง แรงและทนทานแล ว
ก็ตามไดมีการพิจารณาถึง ยังตองมีภาคตัดขวางที่บางเปน
ทั ก ษ ะ แ ล ะ ง า น ฝ มื อ ที่ พิ เ ศษ เพื่ อ จะจ ว งน้ํ า ได ง า ย
จํ า เป น ต อ งใช ใ นการผลิ ต ดั ง นั้ น ในการผลิ ต จึ ง ต อ งให มี
และในผลิตภัณฑขนั้ สุดทาย ชั้นของไฟเบอรกลาสภายนอก 2
ซึ่ ง มี ต น ทุ น ที่ ค อ นข า งสู ง ชั้น และทําใหมีความแข็งแรงดวย
และอาจจะมี ข อ เสี ย อยู epoxy โพรงชั้นในของใบพายใช
หลายประการ (ภาพที่ 4) cellular foam ที่ มี ค วามหนา
เชน ใบพายทีบ่ างเปนพิเศษ แน น ต่ํ า เพื่ อ ให เ บาเป น พิ เ ศษ
อาจจะทํ า ให แ ตกได ง า ย และมี ก ารใช ท อ ไฟเบอร ก ลวง
ในขณะที่ตัวดามซึ่งตองมี สอดเข า ไปในแกนกลางของใบ
รูปรางที่คงที่ และมีความ พายและภายในแกนหลั ก ของ
แข็ ง แรงที่ เ พี ย งพอ การ ภาพที่ 4 ไมพายชนิด bent-shape ทํามาจาก hybrid composite ซึง่ ตองมี โฟมเพื่อที่จะเพิ่มความแข็งขึ้นอีก
ความแข็งแรงและน้ําหนักที่เบามาก นอกจากนั้นยังตองมีความเหนี่ยว (หักยาก)
ที่ จ ะซ อ มไม พ ายที่ ชํ า รุ ด แตในขณะเดียวกันจะตองมีความเรียบและจะตองทําใหเกิดแรงลากจูงในขณะที่พายเพียงพอ
นัน้ ทําไดยากและการใชอนั
ใหมมาแทนก็จะมีราคาสูง ดังนั้นจึงมีการ
ออกแบบและสร า งไม พ ายที่ เ สริ ม ด ว ย
โพลิ เ มอร เพื่ อ สํ า หรั บ นํ า ไปใช ง าน
และแกปญหาเหลานี้
ตั ว ด า มที่ เ ป น ส ว นกลางนั้ น จะมี
ลั ก ษณะที่ ย าว และจะต อ งพิ จ ารณาถึ ง
ความแข็ ง แรง ความยื ด หยุ น และการ
เปลี่ยนทิศ แรงที่ใชในไมพายนั้นประมาณ ภาพที่ 5 จากรูปแสดงโครงสรางของดามไมพาย ประกอบไปดวย glass fibre 3 ชัน้
ซึง่ จะถูกหุม ดวยชัน้ ของ carbon fibre อีกที และชัน้ นอกสุดจะเคลือบดวย epoxy resin
1000 นิ ว ตั น ซึ่ ง เกิ ด จากแรง bending
!TEC เมษายน - มิถนุ ายน 2540 "&
ปลอกกลวง
เปนสวนทีใ่ ชตอ กับขอตอระหวางใบพายและ
ไม พ าย ทํ า มาจากพลาสติ ก polyurethane ที่
ทํ า ให ร อ นและนํ า มาเทลงในแม พิ ม พ จากนั้ น นํ า
มายึดติดไวที่ไมพาย

คันจับ
ทํ า มาจากต น Ontario ที่ ทํ า ให แ ห ง
ความยาวของสวนนี้จะพอดีกับของไมพาย และมี
ศู น ย ก ลางของแรงโน ม ถ ว งอยู ที่ จุ ด เดี ย วกั น กั บ
ไมพาย

กระดานโตคลืน่
มี ค วามซั บ ซ อ นเหมื อ นเรื อ ที่ ใ ช ใ นการ ภาพที่ 6 ภาพตัดขวางของกระดานโตคลืน่ ซึง่ แสดงใหเห็นวา
สวนประกอบภายในนั้นทํามาจากวัสดุชนิดใหมเปนสวนใหญ
แขงขัน แกนหลักของกระดานโตคลื่น (ภาพที่ 6)
จะประกอบดวย foam polystyrene ในไฟเบอร glass fibre (kevlar fibre) โดยหล อ ใน resin แม ว า kevlar นี้
กลาส และมี ส าย graphite fibre พั น อยู ใ น จะมีความแข็งแรงสูงกวา แตมันมีตนทุนสูงถึง 10 เทา จึงทําใหไดมี
แมพิมพ PVC resin โดยที่สวนประกอบของ PVC การคิ ด ค น การหล อ แบบโดย polyethylene copolymer ใน
fibre นี้ จ ะอยู ใ นชั้ น ของ E-glass fibre ที่ มี กระดานโต ค ลื่ น ซึ่ ง จะช ว ยลดน้ํ า หนั ก และไม ต อ งใช ก ารขึ้ น รู ป ด ว ย
ความทนทานสูงอยู 4 ชัน้ และสุดทาย สวนประกอบ มือซึ่งตองใชเวลานาน และวิธีนี้ยังถูกกวาอีกดวย
ทั้งหมดนี้ก็จะรวมอยูในสวนประกอบของ glass- ปจจุบัน มีการวิจัยเพื่อที่จะปรับปรุงคุณลักษณะทางพลศาสตร
fibre-reinforced epoxy และมี ก ารใช kevlar ทางน้ําของครีบใตน้ําของกระดานโตคลื่น และวินดเซิรฟ เพื่อที่จะลด
ในสวนที่จะฉีกขาดไดงายดวยเพื่อเพิ่มความแข็ง การปน ปวนของน้าํ ดังเชนการเกิดปญหาในการแขงเรือ America’s Cup
ซึ่งบริษัทที่จะผลิตกระดานโตคลื่นไดนั้นจะตองมี และจะตองมีการพิจารณารูปรางของเรือที่เหมาะสมกับสภาพทางน้ํา
ความชํ า นาญเป น พิ เ ศษ แต ก็ มี ผู ที่ คิ ด จะสร า ง และความแข็ ง แรงของเรื อ ด ว ย ดั ง นั้ น การใช carbon fibre/kevlar
กระดานโตคลืน่ ดวยตนเองโดยใชโฟม polystyrene polymer ในสวนประกอบของครีบเหลานีจ้ งึ มีความสําคัญเปนอยางมาก
(EPS) เปนวัสดุหลัก และมีการปดทับดวยชั้นของ

You might also like