You are on page 1of 7

บริษ ัท มาลีกรุป

๊ จาก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย


การวิเคราะห์และคาอธิบายของฝ่ายจ ัดการ
สาหร ับงวดไตรมาส 3 และงวดเก้าเดือนสิน ้ สุดว ันที่ 30 ก ันยายน 2560

1. สรุปสาระสาค ัญในไตรมาส 3/2560

 ไตรมาส 3/2560 บริษั ทฯ และบริษั ทย่อย มียอดขาย


Unit: Million Baht รวม 1,500 ล ้านบาท ลดลง 15% YoY จากการชะลอ
ตั ว ของธุ ร กิจ Brand ในประเทศ และธุ ร กิจ CMG
2,000
1,741 1,760 200
ต่า งประเทศ อย่า งไรก็ ต าม ยอดส่ง ออกของธุ ร กิจ
1,800
1,533 1,507 1,515 1,500 180
1,600 1,370 160 Brand ยังคงเติบโตโดดเด่นอย่างต่อเนื่อง โดยเพิม ่ ขึน ้
1,400
1,200
161
140
120
ถึง 60% YoY รวมถึงยอดขายธุรกิจ CMG ในประเทศ
1,000
143 100 ฟื้ นตัวและกลับมาเติบโตได ้จากสินค ้าใหม่ทไี่ ด ้รั บการ
117 118
800 110 80
ตอบรับค่อนข ้างดี
600 60
400
61
78 40  ยอดขายไตรมาส 3/2560 ฟื้ นตัวดีขน ึ้ เมือ ่ เทียบกับไตร
200
0
20
0
มาสก่อนหน ้า โดยเติบโต 9% QoQ เนื่องจากยอดขาย
Q1/16 Q2/16 Q3/16 Q4/16 Q1/17 Q2/17 Q3/17 ธุรกิจ Brand ในประเทศขยายตัวเพิม ่ ขึน้ หลังออกบรรจุ
ภั ณ ฑ์ใ หม่ และธุ ร กิจ ผลไม ก้ ระป๋ องเริ่ ม ฤดู ก าลใหม่
Sales Revenue Net Profit ในขณะทีธ ่ ุร กิจ CMG ในประเทศฟื้ นตัว ดีข น ึ้ และมี
สิน ค ้าใหม่ ท ี่ไ ด ้รั บ การตอบรั บ ดี รวมถึง ธุ ร กิจ Brand
แผนภาพ 1 ผลประกอบการรายไตรมาส ต่างประเทศยังขยายตัวอย่างต่อเนือ ่ ง
 กาไรสุท ธิใ นไตรมาส 3/2560 เท่า กับ 78 ล ้านบาท
ลดลง 52% YoY เนื่องจาก 1) ต ้นทุนต่อหน่วยเพิม ่ ขึน้
จากการใช ้กาลังการผลิตทีล ่ ดลง YoY และ 2) ค่าเสือ ่ ม
ราคาเพิ่ม ขึน ้ จากการลงทุน เพิ่ม เติม ในเครื่อ งจั ก รเพื่อ
ปรั บ ปรุ ง ประสิท ธิภ าพและลดต ้นทุน การผลิต ส าหรั บ
รองรับการผลิตทีเ่ พิม ่ ขึน
้ ในอนาคต
 กาไรสุทธิไตรมาส 3/2560 ปรับตัวดีขน ึ้ มากเมือ ่ เทียบ
กั บ ไตรมาสก่ อ นหน า้ โดยเพิ่ ม ขึ้น 27% QoQ
เนื่ อ งจากยอดขายที่ฟื้ นตั ว ดีข ึ้น แทบทุ ก กลุ่ ม ธุ ร กิจ
ในขณะทีต ่ ้นทุนต่อหน่วยลดลง QoQ จากการใช ้กาลัง
การผลิตทีส ่ งู ขึน
้ และการบริหารจัดการต ้นทุนทีด ่ ขี น
ึ้

2. ภาพรวมเศรษฐกิจและตลาดนา้ ผลไม้พร้อมดืม
่ ภายในประเทศ

ใ น ไ ต ร ม า ส 3 / 2 5 6 0 ต ล า ด น้ า ผ ล ไ ม ้พ ร ้ อ ม ดื่ ม
ภายในประเทศยั งคงปรั บตัวลดลง 9% YoY และ 4% Others
QoQ ในขณะทีใ่ นรอบระยะเวลา 9M/2560 ตลาดปรับตัว Super
1,844MB
ลดลง 9% YoY ตามภาวะการชะลอตัวลงของการบริโภค Economy
14%
(-14% YoY) Premium
ภายในประเทศ อย่า งไรก็ต าม การบริโ ภคโดยรวมขยาย Market
(<19% RTD
Market
(100% RTD
ตัวอย่างค่อยเป็ นค่อยไป โดยเริม ่ ปรับตัวดีขน ึ้ จากไตรมาส Fruit Juice) Fruit Juice)
ก่อนหน ้า 2,335MB
18%
4,933MB
38%
(-1% YoY) (-4% YoY)
ในรอบระยะเวลา 12 เดือ น จนถึง เดือ นกั น ยายน 2560
ตลาดน้ า ผลไม ้พร อ้ มดื่ม ภายในประเทศมีมูล ค่า 13,026
ล ้านบาท ลดลง 8% YoY ตามภาวะการชะลอตัวของการ
บริโภคภายในประเทศ โดยสะท ้อนไปยังการจับจ่ายสินค ้า
อุป โภคบริโ ภคทีม
่ ีอัต ราการบริโ ภคสูง (Fast moving
consumer goods หรือ FMCG) ซึง่ ผู ้บริโภคมีการจับจ่าย Economy Medium
ลดลง โดยมี สั ด ส่ ว นมู ล ค่ า ตลาดและอั ต ราการเติบ โต Market (20- Market (40-
ปรากฏอยูใ่ นแผนภาพ 2 (ทีม ่ า: Nielsen) 39% RTD
Fruit Juice)
99% RTD
Fruit Juice)
2,656MB 1,259MB
20% 10%
(-18% YoY) (+1% YoY)

แผนภาพ 2 มูล ค่า ตลาดน้ า ผลไม ้พร ้อมดื่ม MAT Sep


2017 แยกตามประเภทตลาด
หน้ า 2

3. ผลการดาเนินงานและความสามารถในการทากาไร
- - -
2
1 -15% 2 +9%
1 2 -13%
1
1
7 YoY 1 YoY
7 1 YoY
7
% % %
1,760
1,800

1,700
Y 1,800

1,700
Y 5,200 5,034 Y
5,000
1,600
o 1,500 1,600
o 1,500 o
4,800
1,500

Y
1,500

1,370 Y Y
1,400 1,400
4,600
1,300 1,300
4,384
4,400
1,200 1,200

1,100 1,100
4,200
1,000 1,000
4,000

Q3/16 Q3/17 Q2/17 Q3/17 9M/16 9M/17

รายได ้ ไตรมาส 3/2560 รายได ้ งวด 9 เดือน ปี 2560


บริษั ทฯ และบริษั ทย่ อ ยมีย อดขายรวม 1,500 ล ้านบาท บริษั ทฯ และบริษั ทย่อ ยมีย อดขายรวม 4,384 ล ้านบาท
ลดลง 15% YoY แต่ฟื้นตัวจากจุดตา่ สุดในไตรมาสก่อน ลดลง 13% YoY รายละเอียดดังนี้
หน ้า โดยปรับตัวเพิม ่ ขึน
้ 9% QoQ โดยมีรายละเอียดดังนี้  ยอดขายของธุรกิจ Brand ในประเทศ ลดลงประมาณ
 ยอดขายของธุ ร กิจ ตราสิน ค ้าของบริษั ทฯ (Branded 15% YoY เนือ ่ งจาก
Business: Brand) ในประเทศ ลดลงประมาณ 10% o ยอดขายน้ าผลไม ้ของธุรกิจ Brand ในประเทศ
YoY แต่เพิม ่ ขึน
้ ประมาณ 27% QoQ เนือ ่ งจาก ลดลงประมาณ 15% YoY ตามภาวะการหดตัว
o ยอดขายน้ าผลไม ้ของธุรกิจ Brand ในประเทศ ของการใช ้จ่ายในประเทศ
ลดลงประมาณ 15% YoY ตามภาวะการหดตัว o ยอดขายกลุม ่ ผลไม ้กระป๋ องของธุรกิจ Brand ใน
ของการใช ้จ่า ยในประเทศ แต่ป รั บ ตัว เพิ่ม ขึน ้ ประเทศ ลดลงประมาณ 30% YoY จากฤดูกาล
ประมาณ 30% QoQ หลังมีการเปลีย ่ นแปลง ่ ค่อนข ้างช ้าจากไตรมาส 2 ไป
ผลไม ้รอบใหม่เริม
บรรจุภัณฑ์ใหม่ในไตรมาส 3 เรียบร ้อยแล ้ว ไตรมาส 3
o ยอดขายผลไม ก ้ ร ะป๋ องของธุ ร กิจ Brand ใ น  ยอดขายของธุรกิจ CMG ในประเทศ ลดลงประมาณ
ประเทศ เช่น เงาะ ล าไย และลิน ้ จี่ กลับ มาเป็ น 5% YoY ตามภาวะการหดตั ว ของการใช ้จ่ า ยใน
ปรกติ YoY และปรั บเพิม ่ ขึน ้ เกือบ 50% QoQ ประเทศ
หลังเริม่ ฤดูกาลใหม่แล ้ว  ยอดขายของธุรกิจ CMG ต่างประเทศ ลดลงประมาณ
 ยอดขายของธุ ร กิจ พั ฒ นาผลิต ภั ณ ฑ์ต ามสัญ ญาและ 20% YoY เนื่องจากบริษัท ฯ ได ้เพิ่ม มาตรการเชิง
รั บจ ้างผลิต (Contract Manufacturing Business: ป้ องกัน (Preventive Measure) ในการควบคุมการ
CMG) ในประเทศ เพิม ่ ขึน
้ ประมาณ 25% YoY และ ตรวจสอบคุณ ภาพน้ า มะพร ้าวตลอด Supply Chain
30% QoQ เนื่องจากยอดสั่งซือ ้ ฟื้ นตัวดีขน ึ้ รวมถึงมี ซึง่ มีความเข ้มงวดมากขึน ้
สินค ้าใหม่ได ้รับผลตอบรับจากตลาดค่อนข ้างดี
อย่างไรก็ตาม ยอดขายของธุรกิจ Brand ต่างประเทศ
 ยอดขายของธุรกิจ CMG ต่างประเทศ ลดลงประมาณ
ยั ง คงเติบ โตโดดเด่น โดยเติบ โตประมาณ 35% YoY
50% เนื่องจากตัง้ แต่ไตรมาส 2 ทีผ ่ ่านมา บริษัทฯ ได ้
โดยเฉพาะในกลุม ่ ประเทศทีบ
่ ริษัทฯ มุ่งเน ้นในการดาเนิน
เพิม่ มาตรการเชิงป้ องกัน (Preventive Measure) ใน
กลยุทธ์ทางการตลาด ดังกล่าวข ้างต ้น
การควบคุม การตรวจสอบคุณ ภาพน้ า มะพร า้ วตลอด
Supply Chain เพื่อความมั่น ใจได ้ว่า ผลิตภัณ ฑ์น้ า ทัง้ นี้ สามารถแบ่ง สัดส่วนการขายตามประเภทธุร กิจ และ
มะพร ้าวทีบ ่ ริษัทฯ ผลิต จะไม่มป ี ั ญหาด ้านคุณภาพใน ภูมศ ิ าสตร์ได ้ดังนี้
อนาคต รวมถึงความสามารถในการตรวจสอบย ้อนกลับ
ยอดขายตามประเภทธุรกิจ
เส ้นทางของผลิต ภั ณ ฑ์ไ ด ้ (Traceability) โดย ณ
 ยอดขาย Brand 2,042 ล ้านบาท ลดลง 9% YoY
ปั จ จุบัน บริษั ทฯ อยู่ร ะหว่างการปรั บ ปรุง กระบวนการ
 ยอดขาย CMG 2,342 ล ้านบาท ลดลง 16% YoY
ท างาน ซึ่ง แม ร้ ะหว่ า งการท างานยั ง มี ปั ญหา และ
 สัด ส่ว นยอดขายของ Brand และ CMG เท่า กั บ
อุปสรรค แต่สามารถปรั บและแก ้ไขให ้ดีขน ึ้ ราบรื่นขึน ้
47:53 เทียบกับ 45:55 ในช่วงเวลาเดียวกันของปี กอ
่ น
และรวดเร็ ว ขึน ้ โดยมีค วามก ้าวหน า้ ในกระบวนการ
ทางานอย่างต่อเนือ ่ ง และเป็ นไปตามแผนการทางานที่ ยอดขายตามภูมศ ิ าสตร์
วางไว ้ ทัง้ นี้ บริษัทฯ กาลังเร่งพัฒนาการทางานร่วมกับ  ยอดขายในประเทศ 2,699 ล ้านบาท ลดลง 13%
แหล่งน้ ามะพร ้าวต่างๆ เพือ ่ ให ้มีปริมาณน้ ามะพร ้าวผ่าน YoY
การตรวจสอบคุ ณ ภาพเพิ่ ม ขึ้น เรื่ อ ยๆ ซึ่ง คาดว่ า จะ  ยอดขายต่า งประเทศ 1,685 ล ้านบาท ลดลง 13%
สามารถกลับมาผลิตได ้ในระดับปกติภายในสิน ้ ปี 2560 YoY
นี้  สัดส่วนของยอดขายในประเทศและยอดส่งออก เท่ากับ
62:38 ไม่เปลีย
่ นแปลงจากช่วงเวลาเดียวกันของปี ก่อน
หน้ า 3

อย่างไรก็ตาม ยอดขายของธุรกิจ Brand ต่างประเทศ


ยังคงเติบโตต่อเนื่อง โดยเติบโตประมาณ 60% YoY อัน
เป็ นผลมาจากที่บ ริษั ทฯ ได ้ร่ ว มท างานอย่ า งใกล ้ชิด กั บ
Distributor และพันธมิตรในแต่ละประเทศ ในการวางแผน
ร่ ว มกั น เพื่อ เลือ กสรรผลิต ภั ณ ฑ์แ ละด าเนิน กลยุ ท ธ์ท าง
การตลาดได ้อย่า งเหมาะสม โดยเฉพาะในประเทศที่
บริ ษั ทฯ มุ่ ง เน น ้ เช่ น กลุ่ ม ประเทศเศรษฐกิจ เกิด ใหม่
(Emerging Countries) ในอาเซียน รวมถึงประเทศจีน
เป็ นต ้น
ทัง้ นี้ สามารถแบ่ง สัดส่วนการขายตามประเภทธุร กิจ และ
ภูมศ ิ าสตร์ได ้ดังนี้
ยอดขายตามประเภทธุรกิจ
 ยอดขาย Brand 735 ล ้านบาท ลดลง 1% YoY
 ยอดขาย CMG 765 ล ้านบาท ลดลง 25% YoY
 สัด ส่ว นยอดขายของ Brand และ CMG เท่า กั บ
49:51 เปรียบเทียบกับ 42:58 ในไตรมาส 3/2559

ยอดขายตามภูมศ ิ าสตร์
 ยอดขายในประเทศ 1,028 ล ้านบาท เพิม่ ขึน
้ 2% YoY
 ยอดขายต่างประเทศ 472 ล ้านบาท ลดลง 38% YoY
 สั ด ส่ ว นของยอดขายใ นปร ะเ ทศและยอดส่ ง ออก
เท่ากับ 69:31 เปรียบเทียบกับ 57:43 ในไตรมาส
3/2559

Brand : CMG Domestic : Export

58% 66% 63% 69%


54% 53% 55% 55% 80% 57% 58% 57% 59%
60% 53% 51% 70%
55% 60%
50% 50%
45% 40%
40% 47% 49% 30%
35% 46% 47% 45% 45% 20% 43% 42% 43% 41%
30% 42% 10% 34% 37% 31%
25% 0%
Q1/16 Q2/16 Q3/16 Q4/16 Q1/17 Q2/17 Q3/17 Q1/16 Q2/16 Q3/16 Q4/16 Q1/17 Q2/17 Q3/17

Brand CMG Domestic Export

ต ้นทุนขาย ไตรมาส 3/2560 ต ้นทุนขาย งวด 9 เดือน ปี 2560


บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีต ้นทุนขายรวม 1,054 ล ้านบาท บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีต ้นทุนขายรวม 3,087 ล ้านบาท
โดยมีอั ต ราส่ว นต ้นทุ น ขายต่ อ ยอดขายเท่ า กั บ 70.3% โดยมีอั ต ราส่ว นต ้นทุน ขายต่อ ยอดขายเท่า กั บ 70.4%
เพิม่ ขึน้ จาก 65.6% ในไตรมาส 3/2559 เนื่องจากต ้นทุน เพิ่ม ขึน
้ จาก 67.9% ในช่ว งเวลาเดีย วกั น ของปี ก่อ น
ต่อหน่วยเพิม ้ จากการใช ้กาลังการผลิตลดลง รวมถึงค่า
่ ขึน เนื่องจากต ้นทุนต่อหน่วยเพิม ่ ขึน ้ จากการใช ้กาลังการผลิต
่ มราคาทีเ่ พิ่มขึน
เสือ ้ จากการลงทุน เพิ่ม เติม ในเครื่อ งจั ก ร ลดลง รวมถึงค่าเสือ ่ มราคาทีเ่ พิม
่ ขึน้ จากการลงทุนเพิม
่ เติม
เพื่อปรั บปรุงประสิทธิภาพและลดต ้นทุนการผลิต สาหรั บ ในเครือ ่ งจักรเพื่อปรั บปรุงประสิทธิภาพและลดต ้นทุนการ
ร อ ง รั บ ก า ร ผ ลิ ต ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ใ น อ น า ค ต อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ผลิต เพือ ่ รองรับการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ ในอนาคต
อัตราส่วนต ้นทุนขายต่อยอดขายลดลง QoQ จาก 72.4%
ในไตรมาส 2/2560 เนื่อ งจากการใช ้ก าลัง การผลิต ดีข น ึ้
และการบริหารจัดการต ้นทุนทีด ่ ข
ี น
ึ้

กาไรขัน
้ ต ้น ไตรมาส 3/2560 กาไรขัน
้ ต ้น งวด 9 เดือน ปี 2560
บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีกาไรขัน ้ ต ้น 446 ล ้านบาท ลดลง บริษั ทฯ และบริษั ทย่ อ ยมี ก าไรขั น้ ต ้น 1,297 ล ้านบาท
26% YoY คิดเป็ นอัตรากาไรขัน ้ ต ้น 29.7% ลดลงจาก ลดลง 20% YoY คิดเป็ นอัตรากาไรขัน ้ ต ้น 29.6% ลดลง
34.4% ในไตรมาส 3/2559 เนื่อ งจากต ้นทุน ต่อ หน่ ว ย จาก 32.1% ในช่วงเวลาเดียวกัน ของปี ก่อ น เนื่องจาก
เพิ่ม ขึ้น จากการใช ้ก าลั ง การผลิต ลดลง แต่ อั ต ราก าไร ต ้นทุน ต่อ หน่ ว ยเพิ่ม ขึ้น จากการใช ้ก าลั ง การผลิต ลดลง
ดังกล่าวข ้างต ้น
ขัน
้ ต ้นดีข น ึ้ QoQ จาก 27.6% ในไตรมาส 2/2560
เนื่องจากการใช ้กาลังการผลิตดีขน ึ้ และการบริหารจัดการ
ต ้นทุนทีด ่ ข
ี น ึ้
หน้ า 4

ค่าใช ้จ่ายในการขาย ไตรมาส 3/2560 ค่าใช ้จ่ายในการขาย งวด 9 เดือน ปี 2560


บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีค่าใช ้จ่ายในการขาย 235 ล ้าน บริษัท ฯ และบริษัทย่อ ยมีค่าใช ้จ่ายในการขาย 634 ล ้าน
บาท ลดลง 15% YoY คิดเป็ นอัตราค่าใช ้จ่ายในการขาย บาท ลดลง 16% YoY คิดเป็ นอัตราค่าใช ้จ่ายในการขาย
ต่อยอดขายเท่ากับ 15.7% ไม่เปลีย ่ นแปลงเมือ
่ เทียบกับ ต่อ ยอดขายเท่า กั บ 14.5% ลดลงจาก 15.1% ในช่ว ง
ไตรมาส 3/2559 ตามนโยบายควบคุมค่าใช ้จ่ายของกลุ่ม เวลาเดีย วกั น ของปี ก่อ น ตามนโยบายควบคุม ค่า ใช ้จ่า ย
บริษั ท แต่ เ พิ่ม ขึ้น จาก 14.3% ในไตรมาส 2/2560 ของกลุม ่ บริษัท
่ งจากมีคา่ ใช ้จ่ายในการเปลีย
เนือ ่ นแปลงบรรจุภัณฑ์ใหม่ใน
ไตรมาส 3 รวมถึงมีคา่ ใช ้จ่ายในการทาการตลาดเพิม ่ ขึน

ค่าใช ้จ่ายในการบริหาร ไตรมาส 3/2560 ค่าใช ้จ่ายในการบริหาร งวด 9 เดือน ปี 2560


บริษั ทฯ และบริษั ทย่ อ ยมีค่ า ใช ้จ่ า ยในการบริห าร 116 บริษั ทฯ และบริษั ทย่ อ ยมีค่ า ใช ้จ่ า ยในการบริห าร 376
ล ้านบาท ลดลง 14% YoY คิดเป็ นอัตราค่าใช ้จ่ายในการ ล ้านบาท เพิม ้ 6% YoY คิดเป็ นอัตราค่าใช ้จ่ายในการ
่ ขึน
บริห ารต่อ ยอดขายเท่า กั บ 7.7% ใกล ้เคีย งกับ ไตรมาส บริ ห ารต่ อ ยอดขายเท่ า กั บ 8.6% เพิ่ ม ขึ้น จาก 7.0%
3/2559 แต่ลดลงจาก 8.9% ในไตรมาส 2/2560 ในช่วงเวลาเดียวกันของปี ก่อน เนื่องจากมีค่าใช ้จ่ายด ้าน
บุค ลากร ซึง่ รวมถึง พนั ก งานในบริษั ทย่ อ ยแห่ ง ใหม่ข อง
บริษัทฯ และการทยอยปรับปรุงสวัสดิการพนั กงาน รวมถึง
ค่าใช ้จ่ายด ้านการวิจัยและพัฒนาทีเ่ พิม ่ ขึน
้ ทัง้ หมดนี้ เพือ

เตรียมความพร ้อมสาหรับการเติบโตแบบก ้าวกระโดดของ
องค์กรในอนาคต

ต ้นทุนทางการเงิน ไตรมาส 3/2560 ต ้นทุนทางการเงิน งวด 9 เดือน ปี 2560


บริษัทฯ และบริษัทย่อ ยมีต ้นทุนทางการเงิน 6 ล ้านบาท บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีต ้นทุนทางการเงิน 16 ล ้านบาท
ลดลง 8% YoY เนื่องจากสามารถเจรจาต่อรองขออัตรา ลดลง 13% YoY เนื่องจากสามารถเจรจาต่อรองขออัตรา
ด อ ก เ บี้ ย ไ ด ล ้ ด ล ง ร ว ม ถึ ง ก า ร บ ริ ห า ร ว ง เ งิ น สิ น เ ชื่ อ ด อ ก เ บี้ ย ไ ด ล ้ ด ล ง ร ว ม ถึ ง ก า ร บ ริ ห า ร ว ง เ งิ น สิ น เ ชื่ อ
หมุนเวียนดีขน ึ้ หมุนเวียนดีขน ึ้

กาไรสุทธิ ไตรมาส 3/2560 กาไรสุทธิ งวด 9 เดือน ปี 2560


บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีกาไรสุทธิ 78 ล ้านบาท ลดลง บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีกาไรสุทธิ 257 ล ้านบาท ลดลง
52% YoY คิด เป็ นอัต รากาไรสุทธิ 5.1% ลดลงจาก 38% YoY คิด เป็ นอัต รากาไรสุทธิ 5.8% ลดลงจาก
9.1% ในไตรมาส 3/2559 เนื่อ งจากต ้นทุน ต่อ หน่ ว ย 8.2% ในช่วงเวลาเดียวกันของปี ก่อน เนื่องจากต ้นทุนต่อ
เพิม่ ขึน ้ จากการใช ้กาลังการผลิตทีล ่ ดลง ค่าเสือ่ มราคาที่ ้ จากการใช ้ก าลัง การผลิต ทีล
หน่ ว ยเพิ่ม ขึน ่ ม
่ ดลง ค่า เสือ
เพิ่ม ขึน ้ จากการลงทุน เพิ่มเติม ในเครื่องจั ก รเพื่อ ปรั บ ปรุ ง ราคาที่เ พิ่ม ขึน้ จากการลงทุน เพิ่ม เติม ในเครื่อ งจั ก รเพื่อ
ประสิท ธิภ าพและลดต ้นทุน การผลิต ส าหรั บ รองรั บ การ ปรั บ ปรุ ง ประสิท ธิภ าพและลดต น ้ ทุ น การผลิต ส าหรั บ
ผลิต ที่เ พิ่ม ขึน้ ซึง่ เป็ นการเตรีย มความพร ้อมส าหรั บ การ ้ ค่าใช ้จ่า ยในการบริห ารเพิม
รองรั บการผลิต ทีเ่ พิ่มขึน ่ ขึน ้
เติบโตแบบก ้าวกระโดดขององค์กรในอนาคต รวมถึงการ เพือ
่ การเตรียมความพร ้อมด ้านบุคลากรสาหรับการเติบโต
รั บ รู ผ
้ ลขาดทุ น 4 ล ้านบาท จาก Monde Malee แบบก ้าวกระโดดขององค์กรในอนาคต รวมถึงการรั บรู ้ผล
Beverage Corporation (MMBC) ธุรกิจการร่วมค ้าในใน ขาดทุน 11 ล ้านบาท จาก MMBC ซึง่ ผลขาดทุน ของ
ประเทศฟิ ลป ิ ปิ นส์ MMBC ลดลงเมือ ่ เทียบกับปี ก่อน โดยอยู่ภายใต ้แผนธุรกิจ
ของบริษั ทฯ และถือ ว่า อยู่ ใ นระดั บ ปกติส าหรั บ ธุ ร กิจ ใน
อย่า งไรก็ต าม กาไรสุทธิไตรมาส 3/2560 ปรั บ ตัว ดีข น ึ้ ช่ว งแรกที่ม ีก ารออกผลิต ภั ณ ฑ์ใ หม่ ๆ ซึง่ จะมีค่ า ใช ้จ่ า ย
มากเมื่อ เทีย บกั บ ไตรมาสก่ อ นหน า้ โดยเพิ่ม ขึ้น 27 % ค่อนข ้างสูง
QoQ เนื่องจากยอดขายทีฟ ่ ื้ นตัวดีขน
ึ้ แทบทุกกลุม
่ ธุรกิจ
ในขณะทีต ่ ้นทุนต่อหน่วยลดลง QoQ จากการใช ้กาลังการ
ผลิตทีส่ งู ขึน
้ และการบริหารจัดการต ้นทุนทีด ่ ข
ี น
ึ้
หน้ า 5

4. ฐานะการเงินของบริษ ัทฯ และบริษ ัทย่อย

(หน่วย : ล ้านบาท) 30 กันยายน 2560 31 ธันวาคม 2559 %เปลีย


่ นแปลง

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 37 92 -60%
ลูกหนีก้ ารค ้า 818 731 +12%
สินค ้าคงเหลือ 968 812 +19%
สินทร ้พย์หมุนเวียนอืน
่ 190 96 +98%
รวมสินทร ้พย์หมุนเวียน 2,013 1,731 +16%
ทีด
่ น
ิ อาคารและอุปกรณ์ 2,005 1,781 +13%
เงินลงทุนในการร่วมค ้า 4 5 -27%
สินทร ้พย์ไม่หมุนเวียนอืน
่ 149 123 +21%
รวมสินทร ้พย์ไม่หมุนเวียน 2,157 1,909 +13%
รวมสินทร ัพย์ 4,170 3,640 +15%
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู ้ยืมระยะสัน ้ จากสถาบันการเงิน 1,331 1,047 +27%
เจ ้าหนีก ้ ารค ้า 482 323 +49%
หนีส ้ นิ ระยะยาวทีถ ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึง่ ปี 128 7 +1718%
ส่วนของหนีส ้ น ิ ตามสัญญาเช่าการเงินทีถ
่ งึ กาหนด 40 33 +20%
ชาระภายในหนึง่ ปี
หนีส ้ นิ หมุนเวียนอืน ่ 345 416 -17%
รวมหนีส ิ หมุนเวียน
้ น 2,326 1,826 +27%
เงินกู ้ยืมระยะยาว-สุทธิจากทีถ
่ งึ กาหนดชาระภายในหนึง่ ปี 62 7 +851%
หนีส ้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน-สุทธิจากทีถ
่ งึ กาหนดชาระ 70 91 -22%
ภายในหนึง่ ปี
หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียนอืน
่ 128 138 -7%
รวมหนีส ิ ไม่หมุนเวียน
้ น 261 235 +11%
รวมหนีส ้ นิ 2,587 2,061 +26%
ทุนจดทะเบียน 140 140 +0%
ทุนทีอ
่ อกและชาระเต็มมูลค่า 140 140 +0%
ส่วนเกิน (ต่ากว่า) มูลค่าหุ ้น 6 6 -0%
กาไร (ขาดทุน) สะสม 1,242 1,229 +1%
องค์ประกอบอืน ่ ของส่วนของผู ้ถือหุ ้น 195 199 -2%
ส่วนของผูถ ้ อ
ื หุน ้ บริษ ัทใหญ่ 1,583 1,575 +1%
ส่วนของผู ้ถือหุ ้นส่วนน ้อย 0 5 -100%
รวมส่วนของผูถ ้ อ ื หุน
้ 1,583 1,579 +0.2%
รวมหนีส ิ
้ นและส่วนของผูถ ้ อ
ื หุน
้ 4,170 3,640 +15%

สินทร ัพย์
ณ วันที่ 30 กันยายน 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสน ิ ทรัพย์รวม 4,170 ล ้านบาท เพิม ่ ขึน
้ 15% จาก 3,640 ล ้านบาท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โดยมีสาเหตุหลักจากการเพิม ่ ขึน
้ ของลูกหนี้การค ้า รวมถึงสินค ้าคงเหลือทีเ่ พิม
่ ขึน
้ เนื่องจาก
เป็ นฤดูกาลใหม่ของการผลิตผลไม ้กระป๋ อง นอกจากนีย ้ ังมีการลงทุนเพิม
่ เติมในเครือ่ งจักรเพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพและ
ลดต ้นทุนการผลิต สาหรับรองรับการผลิตทีเ่ พิม
่ ขึน
้ ในอนาคต
หนีส ้ นิ
ณ วันที่ 30 กันยายน 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนีส ิ รวม 2,587 ล ้านบาท เพิม
้ น ่ ขึน
้ 26% จาก 2,061 ล ้านบาท ณ
วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โดยมีปัจจัยหลักจากการเพิม ่ ขึน้ ของเจ ้าหนี้การค ้า เนื่องจากมีการซือ ้ วัตถุดบ
ิ และภาชนะบรรจุ
และหีบห่อมากขึน ้ ในช่วงฤดูกาลใหม่ของการผลิตผลไม ้กระป๋ อง รวมถึงการเพิม ่ ขึน
้ ของเงินกู ้ยืมจากสถาบันการเงิน เพือ

ใช ้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการดาเนินกิจการและค่าใช ้จ่ายในการลงทุนของบริษัทฯ
ส่วนของผูถ ้ อ
ื หุน

ณ วันที่ 30 กันยายน 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสว่ นของผู ้ถือหุ ้นของบริษัทฯ 1,583 ล ้านบาท เพิม
่ ขึน
้ เล็กน ้อย
1% จาก 1,575 ล ้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เนื่องจากมีผลกาไรจากการดาเนินงานระหว่างปี และมีการจ่ายปั น
ผลระหว่างกาล
หน้ า 6

5. สภาพคล่องและความเพียงพอของเงินทุน (Liquidity and Capital Resources)


อ ัตราส่วนสภาพคล่อง
ณ วันที่ 30 กันยายน 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีอัตราส่วนสภาพคล่อง 0.87 เท่า ลดลงจาก 0.95 เท่า ณ สิน ้ ปี
2559 โดยมีปัจจัยหลักจากการเพิม ่ ขึน ้ ของเจ ้าหนี้การค ้า การเพิม ่ ขึน ้ จากสถาบัน
้ เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู ้ยืมระยะสัน
่ ใช ้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการดาเนินกิจการของบริษัทฯ รวมถึงการเพิม
การเงินเพือ ่ ขึน
้ ของหนี้สนิ ระยะยาวทีถ่ งึ กาหนด
ชาระภายในหนึง่ ปี และส่วนของหนีส ิ ตามสัญญาเช่าการเงินทีถ
้ น ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึง่ ปี

กระแสเงินสด
หน่วย : ล ้านบาท 9M/2560 9M/2559 % เปลีย
่ นแปลง
เงินสดจากการดาเนินงานก่อนการเปลีย ่ นแปลงในสินทรัพย์ 482 704 -32%
และหนี้สน ิ ดาเนินงาน
เงินสดจากการเปลีย ่ นแปลงในสินทรัพย์และหนี้สนิ ดาเนินงาน (334) (252) -33%
เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดาเนินงาน 148 453 -67%
เงินสดจ่ายซือ ้ เงินลงทุนในการร่วมค ้า (17) (38) +57%
เงินสดจ่ายซือ ้ ทีด
่ น
ิ อาคารและอุปกรณ์ (415) (91) -357%
เงินสดจากกิจกรรมลงทุนอืน ่ ๆ 24 2 +883%
เงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน (408) (127) -221%
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู ้ยืมระยะสัน ้ จากสถาบันการเงิน 291 (39) +840%
เพิม
่ ขึน้ (ลดลง)
เงินกู ้ยืมระยะยาว (ลดลง) 185 (5) +3895%
เงินสดจ่ายชาระคืนหนีส ิ ตามสัญญาเช่าการเงิน
้ น (13) (64) +79%
เงินสดจ่ายต ้นทุนทางการเงิน (15) (22) +32%
จ่ายเงินปั นผล (243) (203) -20%
เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจ ัดหาเงิน 205 (333) +162%
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม ่ ขึน้ (ลดลง) สุทธิ (55) (7) -734%
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต ้นงวด 92 75 +23%
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวด 37 69 -46%
้ ไตรมาส 3/2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินสดสุทธิ 37 ล ้านบาท ลดลงจาก 69 ล ้านบาท ณ สิน
ณ สิน ้ ไตรมาส
3/2559 โดยมีสว่ นประกอบหลักมาจากรายการต่างๆ ดังนี้

 เงิน สดสุท ธิไ ด ้มาจากกิจ กรรมด าเนิน งาน 148 ล ้าน  เงินสดสุทธิได ้มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน 205 ล ้านบาท
บ า ท ป ร ะ ก อ บ ด ว้ ย ( 1 ) เ งิ น ส ด รั บ จ า ก กิ จ ก ร ร ม ประกอบด ้วย (1) เงิน เบิกเกินบัญ ชีแ ละเงินกู ้ยืมระยะ
ด าเนิ น งานก่ อ นการเปลี่ย นแปลง ในสิน ทรั พ ย์ แ ละ สัน ้ จากสถาบันการเงินเพิม ่ ขึน
้ 291 ล ้านบาท (2) เงิน
ิ ด าเนิน งาน 482 ล ้านบาท โดยมีส ่ว นประกอบ
หนี้ส น กู ้ยืมระยะยาวเพิม่ ขึน
้ 185 ล ้านบาท (3) เงินสดจ่าย
หลักจากกาไรจากการดาเนินงาน และ (2) เงินสดจ่าย ิ ตามสัญ ญาเช่า การเงิน 13 ล ้านบาท
ช าระคืน หนี้ส น
ไปจากการเปลี่ ย นแปลงของสิน ทรั พ ย์ แ ละหนี้ ส ิน (4) เงินสดจ่ายต ้นทุนทางการเงิน 15 ล ้านบาท และ
ดาเนิน งาน 334 ล ้านบาท โดยมีสาเหตุห ลัก จากการ (5) เงิน สดจ่ า ยเงิน ปั น ผลให ้กั บ ผู ้ถือ หุ ้นของบริษั ทฯ
เพิม
่ ขึน
้ ของลูกหนีก ้ ารค ้าและสินค ้าคงเหลือ 243 ล ้านบาท
 เงิน สดสุ ท ธิใ ช ้ไปในกิจ กรรมลงทุ น 408 ล า้ นบาท
ประกอบด ้วย (1) การลงทุน ในสิน ทรั พ ย์ถ าวร 415
ล ้านบาท (2) เงิน สดจ่ า ยซือ้ เงิน ลงทุน ในการร่ ว มค ้า
17 ล ้านบาท (3) เงินสดรับจากการจาหน่ายสินทรั พย์
ถาวร 6 ล ้านบาท และ (4) เงินสดรั บจากกิจ กรรม
ลงทุนอืน่ ๆ 18 ล ้านบาท
หน้ า 7

6. แนวโน้มธุรกิจ
เมือ
่ วันที่ 30 ตุลาคม 2560 ทีผ ่ ่านมา บริษัทฯ ได ้ลงนามเซ็นสัญญาร่วมทุนกับกลุม ่ บริษัท พีท ี คีโน่ อินโดนีเซีย (PT
Kino Indonesia Tbk หรือ KINO) หนึง่ ในบริษัทสินค ้าอุปโภคบริโภคยักษ์ ใหญ่ของประเทศอินโดนีเซีย โดยจะร่วมกัน
จัดตัง้ ธุรกิจร่วมค ้า 2 บริษัท ในประเทศไทยและอินโดนีเซีย โดยการดาเนินธุรกิจในประเทศไทย ภายใต ้ “บริษัท มาลี คี
โน่ (ประเทศไทย) จ ากัด ” จะเน น ้ การทาการตลาดและการจั ด จ าหน่ า ยสิน ค ้าในกลุ่ม บริษั ท KINO ด ้วยการน าเข ้า
ผลิตภัณฑ์ Personal Care ทีเ่ หมาะกับกลุม ่ ผู ้บริโภคในประเทศไทย ซึง่ กลุม
่ ธุรกิจเครือ่ งใช ้ส่วนบุคคลมีอัตราการทา
กาไรทีส ่ ูงกว่ากลุ่มธุรกิจเครื่อ งดืม่ บริษัทฯ จึงคาดว่า ธุร กิจใหม่นี้จะช่วยทาให ้อัตรากาไรของบริษัทฯ โดยรวมสูงขึน ้
และส าหรั บ การด าเนิน ธุร กิจ ในประเทศอิน โดนีเ ซีย ภายใต ้ “บริษั ท พีท ี คีโ น่ มาลี อิน โดนี เ ซีย ” จะเน น ้ การพั ฒ นา
ผลิต ภัณ ฑ์ใหม่ใ นกลุ่มเครื่อ งดืม ่ รวมทัง้ การขยายตลาดน้ า ผลไม ้ตรามาลี ในประเทศอินโดนีเ ซีย ซึง่ กลุ่ม KINO มี
เครือข่ายการจาหน่ายและกระจายสินค ้าครอบคลุมทั่วทัง้ ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีจุดขายมากกว่า 1 ล ้านจุด โดยคาด
ว่า จะสามารถเริ่มด าเนิน ธุร กิจ ได ้ภายในกลางปี 2561 ทัง้ นี้ การร่ว มทุนดังกล่า วจะช่วยสร ้างความได ้เปรีย บทางการ
แข่งขันของทัง้ 2 บริษัท ทัง้ ในส่วนของการขยายฐานธุรกิจเข ้าไปในตลาดใหม่และสร ้างความแข็งแกร่งให ้กับตลาดที่
ดาเนินธุรกิจอยูแ ่ ล ้วด ้วยผลิตภัณฑ์ทห ี่ ลากหลาย รวมทัง้ เป็ นส่วนสาคัญในการขับเคลือ ่ นธุรกิจให ้โตอย่างก ้าวกระโดด
ในช่ว งระหว่างปี 2558-2560 บริษั ทฯ อยู่ใ นช่ว งเวลาของการสร ้างรากฐานและเตรียมความพร ้อมในแต่ละด ้านเพื่อ
รองรับการเติบโตขององค์กรในอนาคต ซึง่ เป็ นระยะแรกจากกลยุทธ์การดาเนินงานระยะยาว 9 ปี โดยในช่วงเวลา 3 ปี ที่
ผ่านมาจนถึงปั จจุบัน บริษัท ฯ ได ้มีการลงทุน ในโครงการทีส ่ าคัญต่างๆ เช่น การปรั บปรุงเครื่องจักรและโรงงาน การ
จัดตัง้ บริษั ทย่อยแห่งใหม่ รวมถึงการร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ทาให ้เกิดต ้นทุน
คงทีท ่ สี่ งู ขึน
้ มากเมือ
่ เทียบกับยอดขายทีย ้ ในทันที ซึง่ จะเป็ นไปเพียงช่วงระยะเวลาหนึง่ อย่างไรก็ตาม บริษัท
่ ังไม่เกิดขึน
ฯ เชือ ่ มั่นว่า การลงทุนต่างๆ มีความสาคัญและมีความจาเป็ นทีต ่ ้องลงทุน โดยจะเป็ นปั จจัยสนั บสนุนหลักในการผลักดัน
ให ้บริษัท ฯ สามารถเติบ โตอย่างก ้าวกระโดดได ้ตามแผนกลยุทธ์การดาเนิน งานในระยะที่ 2 ในช่ว งระหว่างปี 2561-
2563 หลังจากนั น ่ ว่ งสร ้างความยั่งยืนของธุรกิจ ด ้วยการเป็ นผู ้ผลิตอาหารและเครือ
้ บริษัทฯ จะเข ้าสูช ่ งดืม
่ เพือ
่ สุขภาพ
ระดับโลกได ้อย่างมั่นคงและยั่งยืนระหว่างปี 2564-2566 ตามแผนกลยุทธ์การดาเนินงานในระยะที่ 3
หลังจากการดาเนินงานทุกอย่างเป็ นไปตามแผน บริษัทฯ มีความมั่นใจว่า จะสามารถผลักดันยอดขายให ้เติบโตได ้ถึง
30% ในปี 2561 ซึง่ จะเป็ นปี แรกของแผนกลยุทธ์การดาเนินงานระยะที่ 2 ทีบ ่ ริษัทฯ ตัง้ ใจจะเติบโตแบบก ้าวกระโดด
โดยการเติบโตจะมาจากทุกช่องทาง ตามกลยุทธ์การกระจายความเสีย ่ งของบริษัทฯ ซึง่ ประกอบด ้วย 1) การเพิม ่ ความ
หลากหลายของลูกค ้า (Diversified Customers) ได ้แก่ การขยายตัวของลูกค ้าในธุรกิจ CMG 2) การเพิม ่ ความ
หลากหลายของผลิตภัณฑ์ (Diversified Products) ได ้แก่ การใช ้เครื่องจักรใหม่ทม ี่ เี ทคโนโลยีทดี่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ ในการเพิ่ม
ศักยภาพการผลิตสินค ้าทีห ่ ลากหลาย และช่วยลดต ้นทุนการผลิตสินค ้า และ การเปิ ดตัวผลิตภัณฑ์ใน category ใหม่ๆ
3) การกระจายความเสีย ่ งทางการตลาด (Diversified Markets) เช่น การฟื้ นตัวของยอดขายในประเทศของธุรกิจ
Brand รวมถึงแผนการตลาดตลอดทัง้ ปี เพือ ่ เฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี และยอดขายต่างประเทศของธุรกิจ Brand ทีย ่ ัง
เติบโตได ้อย่างต่อเนือ
่ ง
บริษัทฯ มีค วามเชือ่ มั่น เชือ
่ มั่ นว่า การจั บมือกับพั นธมิต รทางธุร กิจ ชัน
้ นาทีม
่ ีความเชีย่ วชาญในด ้านต่า งๆ เพื่อ พั ฒ นา
สินค ้าใหม่ รวมถึงช่องทางขายและการจัดจาหน่ายทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ จะช่วยขยายฐานธุรกิจเข ้าไปในตลาด
ใหม่และสร ้างความแข็งแกร่งให ้กับธุรกิจ รวมทัง้ เป็ นส่วนสาคัญในการขับเคลือ ่ ารเป็ น
่ นธุรกิจให ้โตอย่างก ้าวกระโดดสูก
ผู ้ผลิตอาหารและเครือ่ งดืม่ เพือ
่ สุขภาพระดับโลกได ้อย่างมั่นคงและยั่งยืน และจะสามารถช่วยผลักดันยอดขายในปี หน ้า
ให ้เติบโตได ้ 30% ตามเป้ าหมาย

You might also like