You are on page 1of 97

บทที่ 2 หม้อแปลงเครื่องมือวัด

( Instrument Transformers )

1
2.1 บทนำ
ระบบไฟฟ้ำแรงดันสูง
ปริมำณทำงไฟฟ้ำ อยูท่ ำงด้ำนแรงดันสูง

หม้อแปลงเครื่องมือวัด
( Instrument Transformers )

ปริมำณทำงไฟฟ้ำ อยูใ่ นด้ำนแรงดันต ่ำ


เพื่อเข้ำสูเ่ ครื่องมือวัด, รีเลย์ป้องกัน
2
2.1 บทนำ (ต่อ)
หม้อแปลงเครื่องมือวัด ( Instrument Transformers )
แบ่งเป็ น 2 ประเภท
1. หม้อแปลงกระแส ( Current Transformer : CT )
2. หม้อแปลงแรงดัน ( Voltage Transformer : VT )

Current Transformer : CT Voltage Transformer : VT


3
2.2 หม้อแปลงกระแส ( Current Transformer ; CT. )
แปลง กระแสค่ำสูงที่แรงดันสูง  เป็ น กระแสค่ำต ่ำที่แรงดันต ่ำ
เพื่อ กำรวัดและกำรป้องกัน
หม้อแปลงกระแสมีหน้ำที่ …
1. แปลงขนำดกระแสของระบบไฟฟ้ำค่ำสูงให้เป็ นค่ำต ่ำ
เพื่อประโยชน์ในกำรวัดและกำรป้องกัน
2. แยกวงจร Secondary ออกจำกวงจร Primary
เพื่อควำมปลอดภัยของผูป้ ฏิบตั งิ ำน
3. ทำให้สำมำรถใช้กระแสมำตรฐำนทำงด้ำน Secondary ได้
(1A หรือ 5A )
4
ประเภทของหม้อแปลงกระแส…
แบ่งตำมกำรใช้งำนได้เป็ น 2 กลุม่
1. หม้อแปลงกระแสสำหรับกำรวัด
( Measurement CT )
2. หม้อแปลงกระแสสำหรับกำรป้องกัน
( Protection CT )
แบ่งตำมลักษณะของ Primary ได้ 2 แบบ
1. แบบ Bar Primary
2. แบบ Wound Primary
5
1.แบบ Bar Primary

Primary
(conductor)

Secondary
(winding)
(Core : Window, Doughtnut)
รูปที่ 2.1 หม้อแปลงกระแสแบบ Bar Primary
6
7
2.แบบ Wound Primary

Primary
(winding)

Secondary
(winding)

รูปที่ 2.2 หม้อแปลงกระแสแบบ Wound Primary


8
ลักษณะโครงสร้ำงของ CT ยังแบ่งเป็ น 3 แบบ
1. แบบ Hair-Pin Type
2. แบบ Eye-Bolt Type
3. แบบ Top-Core Type

9
CT พิกดั 525 kV , 2000A / 5A
10
ทฤษฎีหม้อแปลงกระแส
Np Ip  Ns Is

Primary Secondary
Ip
Ie Ie Im
I s
Ep Es
Ic 
Is
รูปที่ 2.4 เฟสเซอร์ไดอะแกรม ( Phasor Diagram )
11
ควำมคลำดเคลื่อนทำงปริมำณและเฟสของกระแส
( Current Error and Phase Error )
• เกิดจำกกระแสกระตุน้ Ie ( Exciting Current )
Error

Current Error
Phase Error

Primary Current
Rated Current

รูปที่ 2.5 ค่ำควำมคลำดเคลื่อน ( Error ) ของ CT


สัมพันธ์กบั กระแส Primary
12
กำรแก้ไขควำมคลำดเคลื่อนทำได้ 3 วิธี
1. ปรับปรุงคุณภำพของวัสดุแม่เหล็กที่นำมำทำเป็ นแกนเหล็ก
• โลหะผสมซิลิกอน(Cold Rolled Grain-Oriented Silicon Steel :
C.R.O.S.S) มีค่ำ Knee Point ประมำณ 1.6 T
• โลหะนิกเกิล (Nickel Steel) มีค่ำ Knee Point ประมำณ 0.7 T
2.ลดเส้นทำงเดินของฟลักซ์แม่เหล็กในแกนเหล็ก
3.ลดควำมหนำแน่นของฟลักซ์แม่เหล็กในแกนเหล็ก

13
สูตรพื้นฐำนของหม้อแปลงกระแส
(Current Transformer Basic Formula)
ค่ำแรงดันสูงสุดของขดลวด Secondary ที่ทำให้แกนเหล็กอิ่มตัว
Ek = 4.44 x B x A x f x N
โดยทั ่วไปกำหนดค่ำควำมหนำแน่นฟลักซ์ (B) สูงสุด = 1.6 T
Ek = 4.44 x1.6 x A x f x N

โดยที่ Ek = Secondary Induced Voltage


(ค่ า rms ของ Knee Point Voltage) (V)
N = จานวนของขดลวดทางด้ าน Secondary
f = ความถีข่ องระบบ มีหน่ วยเป็ นเฮิรตซ์ (Hz)
A = พืน้ ที่หน้ าตัดของแกนเหล็ก (csa) 14
มีหน่ วยเป็ นตารางเมตร (m2)
ตัวอย่ำงที่ 2.1 หม้อแปลงกระแส (CT.) มีขอ้ มูลดังนี้
• อัตรำส่วนกำรแปลงกระแสเป็ น 2000/5 A
• พื้นที่หน้ำตัดแกนเหล็ก (csa) เท่ำกับ 2000 mm2
• ขดลวด Secondary มีควำมต้ำนทำน 0.31 
• กระแส Primary ค่ำสูงสุดไม่เกิน 40,000 A
• ควำมถี่ของระบบไฟฟ้ำเท่ำกับ 50 Hz
จงคำนวณค่ำ Burden สูงสุดของหม้อแปลงที่จะไม่ทำให้แกนเหล็กเกิด
กำรอิ่มตัวขึ้น (กำหนดให้ Bmax = 1.6 T)
วิธีทำ จำนวนรอบขดลวด Primary (Np) = 1 รอบ
จำนวนรอบขดลวด Secondary (Ns) = N รอบ
N = Npx(Ip/Is) = 2000/5 = 400 รอบ
15
คำนวณหำค่ำกระแส Secondary (Is)
เมื่อค่ำกระแสทำงด้ำน Primary สูงสุด 40,000 A
Is  400002000 5  100 A
คำนวณค่ำ Knee point voltage (Ek)
Ek = 4.44 x1.6 x A x f x N

Ek  4.441.6200010650400
 284 V
16
นั ่นคือ ค่ำ Burden สูงสุดที่หม้อแปลงสำมำรถรับได้ มีค่ำเท่ำกับ
Ek 284
Burden= I  100  2.84 
s
ดังนั้น เพื่อไม่ให้แกนเหล็กเกิดกำรอิ่มตัวขึ้น
ค่ำ Burden ที่นำมำต่อกับ CT. รวมทั้งหมดต้องไม่เกิน 2.84 
นั ่นคือ ควำมต้ำนทำนที่นำมำต่อต้องมีค่ำไม่เกิน…
= ค่ำ Burden สูงสุด – ควำมต้ำนทำนขดลวด Secondary
= 2.84 - 0.31 = 2.53 
ANS.
17
หม้อแปลงกระแสจะสำมำรถทำงำนได้
อย่ำงถูกต้องก็ตอ่ เมื่อ
1. ค่ำกระแสทำงด้ำน Primary มีค่ำสูง
Burden ทำงด้ำน Secondary จะต้องมีค่ำต ่ำ
2. ค่ำกระแสทำงด้ำน Primary มีค่ำต ่ำ
Burden ทำงด้ำน Secondary จะต้องมีค่ำสูง

18
พิกดั ของหม้อแปลงกระแส
IEC ได้กำหนดพิกดั ที่สำคัญของ CT. คือ
• Burden
• Rated Current
• Short Time Current
• Rated Secondary Current
• Rated Dynamic Current
• Accuracy Limit Factor
19
Rated Burden
- ค่ำพิกดั กำลังของ CT. ที่สำมำรถใช้งำนได้
โดยมีควำมเที่ยงตรงตำมที่กำหนดไว้
- มีค่ำในหน่วย VA
- ค่ำที่นิยมใช้ คือ 2.5 , 5 , 7.5 , 10 , 15 , 30 VA
Continuous Rated Current
- คือค่ำกระแสพิกดั ทำงด้ำน Primary ที่หม้อแปลง
กระแสได้รบั อย่ำงต่อเนื่องในภำวะปกติ

20
Short Time Rated Current
- ค่ำกระแสที่ CT. สำมำรถทนได้โดยไม่เสียหำยเมื่อ
เกิดควำมผิดพร่อง (Fault)
- เวลำที่ CT. สำมำรถทนกระแสได้เป็ นเวลำ
0.5 , 1 , 2 หรือ 3 s
- คิดพิกดั เมื่อ Secondary ของ CT. ถูกลัดวงจร
Rated Secondary Current
- คือค่ำพิกดั ของกระแส Secondary ของหม้อแปลง
กระแสโดยปกติเท่ำกับ 1 A หรือ 5 A
21
Rated Dynamic Current
- หมำยถึงอัตรำส่วนของ IPEAK : IRATED
- IPEAK คือค่ำกระแสสูงสุดที่ CT. สำมำรถทนได้
โดยไม่เสียหำย
Accuracy Limit Factor : ALF.
- หมำยถึงอัตรำส่วนของ IPrimary : IRATED
ที่ CT. ยังสำมำรถรักษำ ค่ำ Rated Accuracy ไว้ได้

22
เส้นโค้งสมบัตแิ ม่เหล็กของหม้อแปลงกระแส
( Current Transformer Magnetizing Curve )
B(T)
Flux Density (Tesla)

Knee Point

Ankle Point

MMF Ampere-Turns Per Metre


( )
H AT m

รูปที่ 2.6 B-H Curve ของ CT.


23
ค่ำแรงดันเหนี่ยวนำของขดลวด Secondary
Es  4.4450BAN

เมื่อ B มีหน่วยเป็ น T (Tesla) และ A (csa) มีหน่วยเป็ น m2


หรือ Es  222BAN10-4
กำหนดให้ E s AN
Kv  
B 45

24
Exciting Current (Ie) : Ie  MMF
L
N
Ie  Ki MMF

กำหนดให้ Ki  L
N
โดยที่ MMF คือ Magneto Motive Force
ถ้ำ MMF มีหน่วยเป็ น Ampere-Turns Per Meter
ต้องใช้ค่ำ L ในหน่วยเมตร และ Ki มีหน่วยเป็ น Meter/turn
หมำยเหตุ : L = Mean Magnetic Path
25
ตัวอย่ำงที่ 2.2 หม้อแปลงกระแสมีอตั รำส่วนเป็ น 100/5 A
ต่ออยูก่ บั Earth Relay ชนิดหนึ่ง กำหนดกระแสเริม่ ทำงำน (pick up)
อยูท่ คี่ ่ำ Burden ต ่ำสุดเท่ำกับ 2 VA ที่ 10% ของค่ำกระแสพิกดั
และมีค่ำ Plug Setting เท่ำกับ 10 เท่ำ
จงคำนวณหำค่ำ Kv และ Ki เมื่อ หม้อแปลงกระแสที่ใช้เป็ นแบบ
(1) Bar Primary Type Current Transformer
(2) Wound Primary (5 turns) Current Transformer
สมมติว่ำใช้แกนเหล็กชนิด C.R.O.S.S มีค่ำ B = 1.6 T

26
OD 300 mm TOP VIEW

102
D1mm
ID 180 mm

( a ) แกนเหล็กสำหรับ Bar primary CT

300 mm

180 mm
20.4
D2mm L  2 rm

ID OD 

( b ) แกนเหล็กสำหรับ Wound primary CT
L  

2

รูปที่ 2.7 แกนเหล็กสำหรับตัวอย่ำงที่ 2.2


27
วิธีทำ
(1) Ring Type Current Transformer (Bar Primary)
• รีเลย์มีค่ำ Setting Current = 0.5 A ( 10% ของ 5 A )
• ทีค่ ่ำ burden ต ่ำที่สุด จะมีแรงดันที่ขดลวด secondary
= 2 VA / 0.5 A = 4 V
• ที่ Plug Setting = 10  ค่ำแรงดันทีต่ อ้ งกำร = 4x10 = 40 V
เป็ นค่ำแรงดันที่ขดลวด Secondary ( Es )
• จำนวนรอบของ Primary = 1 รอบ (Bar primary)
จำนวนรอบของขดลวด Secondary =100/5 = 20 รอบ

28
จำกสมกำร Es  4.44fBAN
แทนค่ำ 40  4.44501.6A20
ดังนั้นพื้นที่หน้ำตัด
A  40  56.310- 4 m2
7110 2

สมมติใช้ Stacking Factor = 0.92

 Gross CSA  56.3 10 - 4


 61.210-4 m2
0.92
29
ขนำดของแกนเหล็กที่ใช้ : ID = 0.18 m , OD = 0.3 m
 D1  61.2 10 -4
 0.102 m
0.5(0.3-0.18)
 ID  OD  
ดังนั้น L   2   0.24 

Kv  AN  56.3 10 - 4 20  2510- 4 m - turn


45 45
Ki  L 0.24   3.7710-2 m/turn
N 20
30
(2) Wound Primary CT.
• CT. มีจำนวนรอบของขดลวดทำงด้ำน Primary 5 รอบ
ดังนั้นจำนวนรอบของขดลวดทำงด้ำน Secondary จะเท่ำกับ
5x(100/5) = 100 รอบ
40  4.44501.6A100
ดังนั้นพื้นที่หน้ำตัด
 A 40  11.2610- 4 m2
3.5510 4
นัน่ คือ Gross CSA  11.26 10-4  12.24104 m2
0.92
31
ขนำดของแกนเหล็กที่ใช้ : ID = 0.18 m , OD = 0.3 m
 D2  12.24 10 -4
 0.0204 m
0.5(0.3-0.18)
L  0.24  จะได้วา่
ดังนั้น
Kv  AN  11.26 10 - 4 100  2510- 4 m - turn
45 45
Ki  
L 0.24   0.75410-2 m/turn
N 100

32
300 mm

Kv  2510-4 m-turn
180 mm
102 mm
Ki  3.7710-2 m/turn

( a ) แกนเหล็กสำหรับ Bar primary CT

300 mm

Kv  2510-4 m-turn
20.4 mm

180 mm Ki  0.75410-2 m/turn


( b ) แกนเหล็กสำหรับ Wound primary CT ANS.
ขนำดของแกนเหล็กสำหรับตัวอย่ำงที่ 2.2
33
Knee Point
• จุดที่เมื่อค่ำของ B เพิ่ม 10 % ทำให้ค่ำของ H เพิ่ม 50 %
ตำรำงที่ 2.1 แสดงตัวอย่ำงของค่ำต่ำงๆ ในเส้นโค้งสมบัตแิ ม่เหล็ก
H -4 8 16 24 32 40 48 56 64 72 80 200 400 >1000
( AT/m )
B 0.05 0.15 0.5 1.0 1.3 1.42 1.5 1.56 1.60 1.64 1.67 1.71 1.75 1.8
(T)

34
Primary Current Assumed

Flux Density
Magnetization
Flux Density Curve
Secondary Current
Flux Density

And Voltage

Time Ampere-Turns
Mean Magnetic Path Per Core Length

รูปที่ 2.8 คลื่นกระแสและควำมหนำแน่นฟลักซ์ที่สภำวะอยูต่ วั


ของหม้อแปลงกระแสเมื่อเกิดกำรอิ่มตัว
35
กำรเกิดแรงดันเกินทำงด้ำน Secondary ของ CT.
เมื่อเปิ ดวงจร ( Open Circuited Secondary Winding )
แรงดันเมื่อวงจร Secondary เปิ ดวงจร
Vk I
Voc  I
mag
โดยที่
Voc = แรงดันทำงด้ำน Secondary ขณะเปิ ดวงจร ( V )
Vk = แรงดันที่ Knee Point ( V )
I = กระแส Primary ที่ถ่ำยทอดสูด่ ำ้ น Secondary ( A )
Imag = กระแสหล่อเลี้ยงสนำมแม่เหล็ก
( Magnetizing Current ) ( A )
36
ตัวอย่ำงที่ 2.3 CT. มีอตั รำส่วน 6,000/1 กระแสหล่อเลี้ยง
สนำมแม่เหล็กที่ Knee Point เท่ำกับ 30 mA และแรงดันที่ Knee Point
เท่ำกับ 7,800 V ถ้ำวงจร Secondary ถูกเปิ ดวงจรและมีกระแส Primary
ถ่ำยทอดสู่ดำ้ น Secondary ปริมำณ 1 A แรงดันด้ำน Secondary มีค่ำ
เป็ นเท่ำใด
Vk I
Voc  I
วิธีทำ
mag
Voc  7,8001  260,000 V
30103
ANS.
37
วงจรสมมูลของหม้อแปลงกระแส
( Equivalent Circuit of Current Transformer )

I s Z s  Rs  jX s
IP
IP
Ie
N
Ze Zb
Vt
N Es

รูปที่ 2.9 แสดงวงจรสมมูลของหม้อแปลงกระแส


38
โดยที่
Ip = กระแสในขดลวด Primary (A)
N = อัตรำส่วนของหม้อแปลง
Zb = Burden อิมพิแดนซ์ของรีเลย์ (Ohm)
Zs = อิมพิแดนซ์ของขดลวด Secondary (Ohm)
Ze = Secondary Excitation Impedance (jX)(Ohm)
Ie = กระแสกระตุน้ ทำงด้ำน Secondary (A)
Is = กระแส Secondary (A)
Es = Secondary Excitation Voltage (V)
Vt = แรงดันขั้วทำงด้ำน Secondary (V)
39
ควำมคลำดเคลื่อนหรือควำมผิดพลำดของ CT.(CT. Error)
ควำมคลำดเคลื่อนของ CT. เกิดขึ้นเนื่องจำก
1. กำรเปลี่ยนแปลงควำมถี่ ควำมคลำดเคลื่อนเพิ่ม เมื่อควำมถี่ต ่ำ
ควำมต้ำนทำนและควำมร้อนสูง เมื่อควำมถี่เพิ่ม
2. กำรเปลี่ยนรูปลักษณะของคลื่นกระแส อันเนื่องจำกฮำร์โมนิกที่3
( 3rd Harmonic ) ไม่ทำให้เกิดควำมคลำดเคลื่อนเพิ่มขึ้นมำกนัก
3. CT. อยูใ่ กล้กบั สำยไฟที่มีกระแสไฟฟ้ำไหลมำก เช่น 2,000 A หรือ
สูงกว่ำนั้น เส้นแรงแม่เหล็กจะเข้ำไปผ่ำนแกนเหล็กของ CT. จะ
ก่อให้เกิดควำมคลำดเคลื่อนสูงกว่ำปกติได้
4. กำรใช้งำนเกินพิกดั หำกเกินพิกดั แล้วควำมคลำดเคลื่อนจะมีมำก
และหำกจำเป็ นต้องใช้เกินพิกดั ไม่ควรเกินกว่ำ 10%
40
IP Is Zs  Rs  jX s IP

Ie Iq
Ie
Ie
Es Ic
Ze Zb
I s

Ep Es

(a) IP (b)

Is Ie

(c)
รูปที่ 2.10 (a) วงจรสมมูลของ CT. (b) เฟสเซอร์ไดอะแกรม
(c) ผลของกำรเกิดฮำร์โมนิก
41
ควำมคลำดเคลื่อน (CT Error)
(1) อัตรำส่วนผิดพลำด (Ratio Error)
(2) มุมเฟสผิดพลำด (Phase Angle Error)
(3) ควำมผิดพลำดรวม (Composite Error)
NI 
 I 

 p 100%
 
Ratio Error s



Ip
Phase Angle Error β  tan - 1 Iq
Ia  Ic







T 2
Composite Error  I
100 1
 Ni s  i p dt








p T  

0 42
โดยที่
Ip คือ ค่ำกระแสฉับพลันของกระแส Primary (A)
Is คือ ค่ำกระแสฉับพลันของกระแส Secondary (A)
Iq คือ กระแสหล่อเลี้ยงสนำมแม่เหล็ก (A)
Ic คือ กระแสที่ไหลเนื่องจำกควำมสูญเสียในแกนเหล็ก (A)
T คือ เวลำในหนึ่งคำบ (S)

43
Measurement CT และ Protection CT Classes
ตำรำงที่ 2.2 Limits Of Error For Accuracy Classes 0.1 To 1.0
 % Ratio Error At  Phase Displacement At Percentage
Percentage Of Rated Of Rated Current Shown Below
Current Shown Below Minutes Centiradians
10 20 100 10 20 100 10 20 100
Class
UpTo UpTo UpTo UpTo UpTo UpTo UpTo UpTo UpTo
But Not But Not 120 But Not But Not 120 But Not But Not 120
Incl. 20 Incl. Incl. 20 Incl. Incl. 20 Incl.
100 100 100
0.1 0.25 0.2 0.1 10 8 5 0.3 0.24 0.15
0.2 0.5 0.35 0.2 20 15 10 0.6 0.45 0.3
0.5 1.0 0.75 0.5 60 45 30 1.8 1.35 0.9
1 2.0 1.5 1.0 120 90 60 3.6 2.7 1.8

44
ตำรำงที่ 2.3 Limits Of Error For Accuracy Classes 3 And 5

 % Ratio Error At
Percentage Of Rated
Class
Current Shown Below
50 120
3 3 3
5 5 5

Example CT 1000/5 A Class 5


Actual current 1000 A
CT current 950- 1050 A
45
ตำรำงที่ 2.4 Limits Of Error For Accuracy Class 5P And Class 10

Accuracy Current Error At Phase Displacement At Rated Composite Error At


Class Rated Primary Primary Current Rated Accuracy
Current (%) Limit Primary
Minutes Centiradians Current (%)
5P 1  60  1.8 5
10P 3 - - 10

Example CT 1000/5 A , 5P10


Current 10 In , Error 5 %
Fault current 10,000 A
CT current 9,500 A ( 47.5 )
46
กำรเลือกพิกดั ของ CT (CT Rating)
• พิกดั ด้ำน Primary : ควรสูงกว่ำพิกดั กระแสของวงจร”
Ip > I n
Ip แทนกระแสพิกดั ด้ำน Primary ของ CT
In แทนกระแสพิกดั ของวงจร
• พิกดั ด้ำน Secondary : 1 A หรือ 5 A
ถ้ำด้ำน secondary ใช้สำยยำวเกิน 30 m ควรเลือก 1 A
• อัตรำส่วนสูงสุดของ CT คือ 3000/1”
47
กำรต่อ CT กรณีพิเศษ (Special Connection of CT)
หม้อแปลงกระแสช่วย (Auxiliary”CT)
• ต่อใช้งำนร่วมกับ CT ทำงด้ำน Secondary ของ CT
• ช่วยแยกวงจรของ Main Secondary CT ออกจำกวงจรอื่น ๆ
• ช่วยปรับอัตรำส่วนของ CT ให้ได้อตั รำส่วนที่ตอ้ งกำร
กำรต่อ CT แบบ Wye และแบบ Delta
• แบบ Wye : ไม่มี Phase Shift
• แบบ Delta : Phase Shift = 30o
กระแสที่ตอ่ เข้ำ Burden = 3 ของกระแสในขดลวด CT
48
Wye Connection Delta Connection
กำรต่อ CT กรณีพิเศษ (Special Connection of CT)
Zero Sequence Current Shunt
• ต่อใช้งำนร่วมกับ CT ทำงด้ำน Secondary ของ CT

50
กำรต่อ CT กรณีพิเศษ (Special Connection of CT)
หม้อแปลงกระแสแบบผลรวมฟลักซ์ (Flux Summing CT)
• ใช้ CT เพียงตัวเดียวเพื่อจับกระแส Zero Sequence

51
Burden ของ CT ( Current Transformer Burden )

• วงจรที่ตอ่ ด้ำนขดลวด Secondary ของ CT. (สำยไฟ,รีเลย์)


ถูกเรียกว่ำ Burden => เหมือนกับ โหลด ของ CT”
• Burden กำหนดเป็ น อิมพิแดนซ์ (Ω) หรือ Volt-Amp (VA)
• CT เวลำใช้ตอ้ งต่ออนุกรมกับระบบ
• ห้ำมเปิ ดวงจร (Open Circuit) เพรำะแรงดันจะสูงมำก
ตัวอย่ำง CT. พิกดั Secondary 5 A , Burden 0.5 
Burden สำมำรถคิดเป็ น VA ได้จำก I2R
= 52 x 0.5 = 12.5 VA
52
Burden ของ CT ( Current Transformer Burden )

• Burden ของ CT มักเป็ นแบบ Power Factor Lagging


• กำรคำนวณค่ำอัตรำส่วนผิดพลำด
นำ Burden ที่เป็ นค่ำอิมพิแดนซ์บวกกันทำงพีชคณิต
แล้วนำไปคำนวณค่ำอัตรำส่วนผิดพลำด
ค่ำอัตรำส่วนผิดพลำดจะสูงกว่ำค่ำจริง

53
อิมพีแดนซ์ของรีเลย์กระแสเกิน
2
 

Z2  Z1 I1
I  
 
 
 
2  
 

โดยที่ Z1 = Impedance Of Coil At Pick-Up Current I1 ()


Z2 = Impedance Of Coil At Pick-Up Current I2 ()

ตัวอย่ำง CT. มีค่ำ Z1 = 1  ที่กระแส Pick Up I1 = 5 A


ให้คำนวณหำค่ำ Z2 ที่กระแส Pick Up ,I2 = 1 A
Z2 = 1 x (5/1)2 = 25 

54
ตัวอย่ำงที่ 2.5 จงคำนวณค่ำ VA ขำออก (VA Output) ที่ตอ้ งกำร
สำหรับ CT.ที่มีพิกดั กระแส Secondary 5 A โดย Burden ของ CT.
ประกอบด้วยรีเลย์ที่ตอ้ งกำร 10 VA ที่กระแส 5 A และวงจรรอบของ
สำยมีควำมต้ำนทำนรวม 0.1  จงเลือกขนำดของ CT. ที่เหมำะสม

ความต้านทานสาย

0.1  5A
รี เลย์
10 VA

55
VA ที่จำ่ ยให้วงจรของสำย = I2R
= 52 x 0.1 = 2.5 VA

VA ขำออกที่ตอ้ งกำรรวม = 10 + 2.5 = 12.5 VA

ค่ำมำตรฐำนของพิกดั ขำออกที่มีให้เลือกใช้ได้แก่
2.5 , 5 ,7.5 , 10 , 15 , 20 , 30 เป็ นต้น
ดังนั้นเลือกใช้ CT. พิกดั ขำออก 15 VA และพิกดั กระแส
Secondary 5 A
ANS.
56
ตัวอย่ำงที่ 2.6 กำหนดให้ CT. มีพิกดั กระแส Secondary 5 A
ถ้ำรีเลย์กินไฟ 3 VA ที่ค่ำ Plug Setting 2.5 A จงคำนวณหำ
VA ประสิทธิผลของ Burden ที่มีตอ่ CT.
2
Pc  Pr Is
 
วิธีทำ I




 
 r 
 

Pr = VA , Burden ของรีเลย์ที่ Setting 3 VA


Pc = VA ประสิทธิผลของ Burden
Is = พิกดั กระแส Secondary ของ CT.
Ir = Setting Current ของรีเลย์ = 2.5 A
2
 Pc  3 2.5  12 VA
5 







 

ดังนั้น CT. ที่เลือกใช้ที่พิกดั ขำออก 15 VA


57
ตัวอย่ำงที่ 2.7 CT. หนึ่งตัวมีอตั รำส่วนกระแส 300/5 A มี Burden
10 VA คล้องต่อในสำยของระบบไฟฟ้ำกำลังที่มีอิมพิแดนซ์สมมูล
Z = 21.2  แรงดันของระบบเป็ น 11 kV
จงวำดวงจรสมมูลทำงด้ำน Secondary ของ CT. กำหนดให้ควำม
ต้ำนทำนของ CT. มีค่ำ 0.2  และวงจรกระตุน้ ของ CT. มีค่ำควำม
ต้ำนทำน 150  และมีรีแอกแตนซ์เป็ น 50  ต่อขนำนกัน

58
วิธีทำ
ค่ำอิมพีแดนซ์ของรีเลย์ = ( 10 VA ) / 52 = 0.4 
เรำอำจวำดวงจรสมมูลได้ดงั นี้

( a ) วงจรจริงของ CT. ที่ตอ่ คล้องเข้ำกับระบบไฟฟ้ำกำลัง


59
Z = 21.2  R = 0.2 

X L=
E = 6350 V N = 300/5 R=150  Z = 0.4 
j50 

( b ) CT. ในรูป ( a ) แทนด้วยวงจร CT. อุดมคติตอ่ กับอิมพิแดนซ์


กระตุน้ ควำมต้ำนทำนของ CT. และ Burden 0.4 

60
ZN2 = 21.2´602  76,200  R=0.2 

XL=j50 
EN = 6350´60 = 381,000 V R=150  Z=0.4 

( c ) แสดงวงจรสมมูลทำงด้ำน Secondary ของ CT.


ถ้ำพิจำรณำในวงจรรูป และสังเกตค่ำอิมพีแดนซ์ในส่วนต่ำงๆ แล้ว
เรำอำจจะสรุปคุณสมบัตขิ อง CT. ทั ่วๆ ไปได้ดงั นี้
1.ถ้ำอิมพีแดนซ์ของ Burden เปลี่ยนแปลงไม่มำกนัก กระแส Secondary ก็
เปลี่ยนแปลงไม่มำกนักเช่นเดียวกัน
เช่นถ้ำ Burden มีค่ำเพิ่มขึ้นเท่ำตัวหรือลดลงเท่ำตัว กระแส
Secondary ก็จะยังคงมีขนำดใกล้เคียงค่ำเดิม
61
2. ในขณะที่มีกระแสทำงด้ำน Primary วงจรทำงด้ำน Secondary จะต้อง
ไม่ถูกตัดตอน ถ้ำวงจรด้ำน Secondary เกิดเปิ ดวงจร แรงดันระหว่ำง
ขั้วของ CT. อำจมีค่ำสูง เนื่องจำกกระแส Primary ที่ถ่ำยทอดไป
ทำงด้ำนSecondary จะไหลได้เฉพำะในวงจรแม่เหล็กเท่ำนั้น

3. เรำอำจคำนวณอัตรำค่ำผิดพลำดและมุมเฟสผิดพลำดได้ง่ำยดำย
ถ้ำเรำทรำบค่ำ Burden และลักษณะทำงแม่เหล็กของ CT.

ANS.

62
กำรคำนวณควำมแม่นยำของ CT. โดยใช้เส้นโค้งสมบัติแม่เหล็ก

สำมำรถคำนวณหำอัตรำส่วนผิดพลำดได้ ดังนี้
1. สมมติค่ำกระแส Secondary Is ทีละค่ำแล้วคำนวณแรงดันด้ำน
Secondary (Es)จำก Isx( Zs+Zb )
2. จำกค่ำ Es ที่ได้อ่ำนค่ำ Ic จำกกรำฟเส้นโค้งสมบัตแิ ม่เหล็ก
ผลรวมของ Ic กับ Is คือ Ip/N
3. คำนวณค่ำอัตรำส่วนผิดพลำดโดยประมำณจำก
( NIc / Ip ) x 100
4. นำเอำค่ำ Es, Ip และค่ำอัตรำส่วนผิดพลำดหลำยๆ ค่ำที่ค่ำ Is ต่ำงๆกัน
มำลงไว้ในตำรำงเรียงตำมลำดับ เมื่อทรำบค่ำ Ip ก็สำมำรถเทียบค่ำ
จำกตำรำงหำค่ำ Es , Is และอัตรำส่วนผิดพลำดได้
63
กำรแบ่งชั้นของควำมแม่นยำสำหรับ CT. เพื่อกำรป้องกัน
( Classification of Protection Current Transformer )

แบ่งเป็ น 2 Class ได้แก่


1. CT Class P ”
2. CT Class X ”

64
CT Class P
ุ สมบัตดิ งั นี้
ระบุคณ
(1) Burden (VA)
(2) Class 5P, 10P
(3) Accuracy Limit Factor (ALF)

ALF คือ จำนวนเท่ำของกระแสที่ไหลผ่ำนทำงด้ำน Primary ของ CT


โดย CT มีค่ำควำมผิดพลำดไม่เกินค่ำที่ระบุไว้
ALF โดยปกติกำหนดค่ำไว้ที่ 10 เท่ำ หรือ 20 เท่ำ

65
ตำรำงที่ 2.5 แสดงถึงขีดจำกัดของควำมผิดพลำดสำหรับ CT.
Accuracy Current Error at Rated Phase Displacement Composite Error at Rated
Class Primary Current (Percent) Rated Current Accuracy Limit Primary
(minutes) Current (Percent)
5P  1  60 5
10 P  3 - 10

66
Knee Point Voltage ของ CT คำนวณได้จำก
Vk  VA
In  ALF

เมื่อมีควำมต้ำนทำนของ CT. จะได้สมกำร


Vk  ALF InRCT  VA
 
   
   
  

In

VA คือ Rated Burden ของ CT


In คือกระแสพิกดั ด้ำน Secondary ของ CT
RCT คือควำมต้ำนทำนของ CT
67
ตัวอย่ำงที่ 2.8 CT Ratio 400/1 , 15 VA ,10P20
RCT = 1.5  ให้หำค่ำ Knee Point Voltage ( Vk )

วิธีทำ จำกข้อมูล CT : 15 VA ,10P20


Accuracy class = 10P
Accuracy Limit Factor (ALF) = 20
หมำยถึง ถ้ำกระแส Primary ไม่เกิน 20 เท่ำของพิกดั CT
จะทำให้เกิดควำมผิดพลำดรวมไม่เกิน 10%

68
ตัวอย่ำงที่ 2.8 (ต่อ)
Knee Point Voltage คำนวณได้จำก
 
Vk  ALF I  RCTIN 
VA 


N  

Vk  20 15
1 1.51








 

= 330 V
ANS.
69
CT Class X
• ใช้กบั งำนป้องกันที่ไม่ตอ้ งกำรให้ CT เกิดกำรอิ่มตัว
โดยดูได้จำก Knee Point Voltage ส่วนใหญ่ใช้กบั Differential
Relays
• ระบุคณ ุ สมบัติดงั นี้
(i) Rated Burden
(ii) Turns Ratio
(iii) Knee Point Voltage
(iv) Max. Current (At Specified Voltage)
(v) Secondary Resistance
70
2.3 หม้อแปลงแรงดัน ( Voltage Transformer )

• แปลงค่ำแรงดันสูง เป็ นค่ำแรงดันต ่ำ


• ใช้งำนกับมิเตอร์เพื่อกำรวัด รีเลย์ และอุปกรณ์อื่นๆ
• ทำงำนที่สภำวะโหลดต ่ำๆ คล้ำยไม่มีโหลด
• แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท
1. Electromagnetic VT.
2. Coupling Capacitor VT.

71
(1) Electromagnetic VT.
• หลักกำรทำงำนอำศัยกำรเหนี่ยวนำ
• เหมือนหม้อแปลงทั ่วไป
• ออกแบบให้แปลงแรงดันให้ถูกต้อง
• ออกแบบให้ใช้งำนที่ No Load
• มี Burden ต ่ำ

72
B-H Curve
Flux Density
'B'
Saturation

1.6 Cross C.T's & Power Transformer

Tesla
1.0 V.T's

0.5

Protecton C.T. (At Full Load)


'H'
1000 2000 3000
Magnetizing Force (AT/m)

รูปที่ 2.16 แสดงจุดทำงำนของหม้อแปลงเครื่องมือวัด


บนกรำฟคุณลักษณะสมบัตแิ ม่เหล็ก 73
Equivalent Circuit

N p N s  Kn Rp Lp Rs Ls

Ip Ie Is

Vp Lm Rc Vs Zs
(Burden)
Im Ic
E p  Es

รูปที่ 2.17 วงจรสมมูลของหม้อแปลงแรงดัน


แบบ Electromagnetic
74
Vector Diagram
X pw I p
Vp

R pw I p
Ip
Np
 Ep    Es
Ns I p

Ie
Iw

Im


Rb I s
Vs
Xb Is

Is Rsw I s

X sw I s Es

รูปที่ 2.18 เวกเตอร์ไดอะแกรมหม้อแปลงแรงดันแบบ Electromagnetic


75
ค่ำควำมคลำดเคลื่อนของมุมเฟส
( Phase Difference Of Phase Error )
Vp
X pw I e
R pw I e
X pw I p
R pw I p
  Ep Kt2 X sw I p

 KtVs Kt2 Rsw I p




I p ( also  I s )


Ie

Flux 
รูปที่ 2.19 เวกเตอร์ไดอะแกรมวงจรสมมูล
ทำงด้ำน Primary ของหม้อแปลงแรงดัน
76
ควำมคลำดเคลื่อนของ VT. ขึ้นอยูก่ บั

1. กำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของขดลวด
อุณหภูมิของขดลวดมีผลต่อค่ำควำมคลำดเคลื่อนน้อยมำก
เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน ≈ 45 oC ควำมคลำดเคลื่อนจะมี ≈ 0.1%
2. กำรเปลี่ยนรูปลักษณะคลื่นแรงดัน เนื่องมำจำกฮำร์โมนิกที่ 3
3. กำรเปลี่ยนแปลงขนำดแรงดัน
แรงดันไม่ควรเกิน 10% ของแรงดันที่กำหนด
4. กำรเปลี่ยนแปลงควำมถี่ปกติ

77
ตำรำงที่ 2.6 แสดงถึงขีดจำกัดของควำมผิดพลำดสำหรับ VT

Accuracy Class Percentage Voltage (ratio) Error Phase Displacement


Minutes Centiradians
3P  3.0  120  3.5
6P  6.0  240  7.0

78
กำรป้องกันหม้อแปลงแรงดัน (Protection of VT.)

• ทำงด้ำน Primary ป้องกันด้วย HRC Fuse


• ทำงด้ำน Secondary ต้องป้องกันด้วย Fuse หรือ MCCB
• VT ใช้งำนที่ No Load
• ห้ำมลัดวงจรทำงด้ำน Secondary

79
(2) Coupling Capacitor VT. ( CCVT )

• ใช้กบั แรงดันสูง ตัง้ แต่ 69 kV ขึ้นไป


• ใช้เทคนิคกำรลดทอนแรงดัน (Voltage Divider)
โดยใช้ Capacitors
• เพื่อควำมสะดวกและประหยัดค่ำใช้จำ่ ย

80
C1
L
T
Vp
C2 VC2 Vi Vs ZB

รูปที่ 2.20 วงจรพื้นฐำนของ CCVT.


Ii C L Ri I s Rs

EC EL Ie

Vi VC2 Ei Ze Vs Z B
Ic Im

รูปที่ 2.21 วงจรสมมูลของ CCVT.


81
I i Ri
EC

Vi
EL
Ei
I sRs
VC 2
Vs

Ii
I s

Ie

รูปที่ 2.22 เวกเตอร์ไดอะแกรมวงจรรูปที่ 2.21


82
การป้ องกันหม้อแปลงแรงดันแบบ Coupling Capacitor VT
• เมื่อเกิด Short Circuit ทาให้เกิดแรงดันในขดลวดเพิ่มขึน้
• ใช้ Spark Gap เป็ นตัวจากัดแรงดันเกิน
Transient Behavior ของหม้อแปลงแรงดัน
แบบ Coupling Capacitor VT
• CCVT มีลกั ษณะวงจรเป็ น Series Resonance Circuit
• เมื่อมี Surge Voltage ทำให้เกิด Oscillation ของแรงดัน
• สำหรับงำน High Speed Protection ต้องทำให้ Transient
Oscillation เกิดขึ้นน้อยที่สุด
83
Voltage Ratio
• อัตรำส่วนแรงดัน พิจำรณำจำกค่ำ Rated Voltage
ด้ำน Primary หรือ ( หำรด้วย 3 )
เทียบกับแรงดันด้ำน Secondary
• ค่ำมำตรำฐำนทำง Secondary คือ
100 , 110 หรือ 120 V หรือ ( หำรด้วย 3 )

84
กำรต่อใช้งำนหม้อแปลงแรงดัน
ต่อแบบ Y-Y

รูปที่ 2.23 กำรต่อ VT แบบ Y-Y


85
ต่อแบบ V-Connected

รูปที่ 2.24 กำรต่อ VT แบบ V Connected


86
ต่อแบบ Wye - Open Delta

3E0
to Ground Relay

(ก) ต่อแบบ Y-  (Wye - Open Delta) โดยตรง


87
Main VT

Auxiliary VT

3E0
to Ground Relay

( ข ) ต่อแบบ Y-  (Wye - Open Delta) ผ่ำน Auxiliary VT


รูปที่ 2.25 ต่อ VT แบบ Y-Open Delta
88
กำรต่อแบบ Y- (Wye - Open Delta)
• ใช้สำหรับตรวจสอบควำมผิดพร่องลงดิน (Ground Fault)
• ขณะทำงำนปกติ (ไม่มี Ground Fault)
แรงดันขำออกของ VT ( 3E0 ) = 0
• เมื่อเกิด Ground Fault
แรงดันขำออกของ VT = 3E0
ใช้เป็ น Voltage Polarization สำหรับ
Directional Ground Relay (67N)

89
Terminal Designations for Current Transformers

90
91
Secondary Earthing of Voltage Transformers

VT’s connected between phases

A set of VT’s with one Y-connected and one broken delta secondary circuit 92
Location of CT’s and VT’s in Substations

CT’s and VT’s in Simple Substation

93
Location of CT’s and VT’s in Substations

Double busbar Station


94
Location of CT’s and VT’s in Substations

Double Busbar Station


95
Transfer Busbar Station
96
Double breaker arrangement สวัสดี
97

You might also like