You are on page 1of 10

เอกสารแนบ 3

แบบ ตป.1/

แบบติดตามและประเมินผลรายงานความก้าวหน้างานวิจย
ั ปี 2563
ระดับโครงการวิจย

 3 เดือน  6 เดือน  9 เดือน  12 เดือน

1. ชื่อชุดโครงการวิจัย………………………………………………………………..
.…………………………………..

2. ชื่อหัวหน้าชุดโครงการ
วิจัย…………………………………………………………………………………………...

3. ชื่อโครงการ.....
…………………………………………………………………………………………………………….

4. ชื่อหัวหน้า
โครงการ…………………………………………………………………………………………………….
..

5. วัตถุประสงค์ของ
โครงการ.........................................................................................................

6. ชื่อการทดลองภายใต้โครงการ/หัวหน้าการ
ทดลอง……………………………………………………………
กิจกรรมที่ 2 ศึกษาชีววิทยา นิเวศวิทยา ของศัตรูพืชและ ศัตรูธรรมชาติ (วงจร
ชีวิต การเข้าทำลาย พืชอาหาร และการแพร่กระจาย)
กิจกรรมย่อยที่ 2.1 ศึกษาชีววิทยา นิเวศวิทยา ของแมลง ไร สัตว์ ศัตรูพช

การทดลองที่ 2.1.9 ศึกษาชนิด ชีววิทยา และการแพร่กระจายเชิง


ภูมิศาสตร์ของหอยน้ำศัตรูพืชสกุล Physella หัวหน้าการทดลอง นาย
อภินันท์ เอี่ยมสุวรรณสุข สังกัด สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช
- ระยะเวลาที่ดำเนินการ ปี ที่เริ่มต้น 2562 ปี ที่สิน
้ สุด 2563
7. การรายงานผลงานตามตัวชีว
้ ัดรายโครงการ
7.1 ตัวชีว
้ ัดของโครงการ (ตามที่ระบุไว้ใน ว-1 ด)
......................................................................................................................................
.........................
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………..
7.2 ผลการดำเนินงานตามตัวชีว
้ ัดของโครงการ
ปี 2562: พบ Physella acuta จำนวน 78 ตัวอย่าง และ Physella sp. 1 จำนวน 2
ตัวอย่าง หอยชนิดนีพ
้ บอาศัยอยู่กับพืชน้ำบางชนิด ได้แก่ สาหร่ายหางกระรอก และ
บัวประดับ จากการศึกษาลักษณะการวางไข่ในห้องปฏิบต
ั ก
ิ าร จากการศึกษาตัวอย่าง
หอยสกุล Physella จำนวน 80 ตัวอย่างจากจังหวัดกรุงเทพ กาญจนบุรี และ
นครปฐม พบว่าเป็ นชนิด พบว่ามีลก
ั ษณะเป็ นเมือกเหนียวห่อหุม
้ กลุม
่ ไข่อก
ี ชัน
้ หนึง่
จำนวนไข่ตอ
่ คลัสเตอร์ประมาณ 11-43 ฟอง จะต้องมีการศึกษาชีววิทยา และการเจริญ
เติบโตจนครบวงชีวต
ิ ในห้องปฏิบต
ั ก
ิ ารต่อไป
ื Physella เพิม
ปี 2563: ได้ตวั อย่างหอยศัตรูพช ่ เติมจากกรุงเทพ 15 ตัวอย่าง และ
นครปฐม 17 ตัวอย่าง รวม 32 ตัวอย่าง พบว่าเป็ น Physella acuta 23 ตัวอย่าง และ
เป็ น Physella sp. 1 9 ตัวอย่าง พบแพร่กระจายในภาคตะวันตกเพียง 1 จังหวัด ได้แก่
จังหวัดกาญจนบุรี และพบการแพร่กระจายในภาคกลาง 2 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพ และ
นครปฐม และสร้างกราฟจากการวัดน้ำหนักของลูกหอยเกิดใหม่ทก
ุ สัปดาห์จนครบ 8
สัปดาห์
งบประมาณทีใ่ ช้: 22,530 บาท

8. ผลการดำเนินงานในแต่ละการทดลอง
การทดลองที่
1................................................................................................................
- ระยะเวลาที่ดำเนินการ ปี ที่เริ่มต้น......ปี ที่สิน
้ สุด.......
- วิธีดำเนินงาน/ขัน
้ ตอนการ
วิจัย.............................................................................
- กรรมวิธีการ
ทดลอง................................................................................................
-
KPIs……………………………………………………………………………………………………..……
- ผลการ
ทดลอง........................................................................................................
การทดลอง 2.1.9
- ระยะเวลาที่ดำเนินการ ปี ที่เริ่มต้น 2562 ปี ที่สิน
้ สุด 2563
- วิธีดำเนินงาน/ขัน
้ ตอนการวิจัย
1. เก็บตัวอย่างหอยและศึกษาการแพร่กระจาย (ดำเนินการในปี 2562-2563)
1.1 สำรวจและเก็บตัวอย่างหอยสกุล Physella ในแหล่งน้ำตามธรรมชาติ และ
แปลงปลูกพรรณไม้น ้ำของเกษตรกรในพื้น ทีภ
่ าคเหนือ จัง หวัด เชียงใหม่ ภาคกลาง
จังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ ภาค
ตะวัน ออก จัง หวัด ฉะเชิง เทรา จัน ทบุร ี ภาคตะวัน ตก จัง หวัด กาญจนบุร ี ราชบุร ี
ประจวบคีรข
ี น
ั ธ์ และภาคใต้ จังหวัดกระบี่ ตรัง ชุมพร ระนอง และสุราษฎร์ธานี
1.2 วิธก
ี ารเก็บตัวอย่าง ดำเนินการเก็บตัวอย่างในพื้นทีท
่ กำ
่ี หนด โดยแบ่งเก็บพื้นที่
ละ 5 จุด ตามขอบตลิง่ พื้นดินขอบบ่อ และพันธุพ
์ ช
ื น้ำ
การบันทึกข้อมูล :
ั การกระจายของหอยสกุล Physella โดยเครื่อง GPS และนำมาทำ
- บันทึกพิกด
แผนทีก
่ ารกระจายพันธุโ์ ดยใช้โปรแกรม Google Earth
- บันทึกชนิดพันธุไ์ ม้น้ำทีพ ่ อยสกุล Physella อาศัยอยู่
่ บในบริเวณแหล่งน้ำทีห
บันทึกลักษณะทางภูมศ
ิ าสตร์ของพื้นทีท
่ เ่ี ก็บตัวอย่าง
2. ศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา น้ำหนักและจำแนกชนิด (ดำเนินการในปี
2562-2563)
นำหอยทีเ่ ก็บตัวอย่างมาได้มาวัดความสูงของเปลือก (จาก apex จนถึงด้าน
ล่างสุดของ aperture) ความยาวของเปลือก ความกว้างของรูเปิ ด (aperture) จำนวนวง
(whorl) ลักษณะของเปลือก
จำแนกชนิดโดยใช้ลก
ั ษณะทางสัณฐานวิทยาของเปลือก ดังเช่น ลักษณะรูป
ทรงของเปลือก (shell shape) รูเปิ ด (aperture) จำนวนวง (whorl) ลักษณะตีน (foot)
ตามวิธก
ี ารในคูม
่ อ
ื ของ Brown (1994)
3. ศึกษาวงจรชีวต
ิ (ดำเนินการในปี 2562-2563)
3.1. นำ หอยมาเลีย
้ งเพื่อ ศึก ษาวงจรชีว ต
ิ ในกล่อ งพลาสติก ขนาด 13 x 13
เซนติเมตร สูง 10 เซนติเมตร ทีภ
่ ายในบรรจุน้ำประมาณ 3 ลิตร พร้อมสาหร่ายหาง
กระรอก นำไปเลีย
้ งในบริเวณทีม
่ แ
ี สง อุณหภูมิ 25±2 องศาเซลเซียส ให้อาหารปลาชนิด
เม็ดและผักกาดหอมทุก 3 วัน และทำการเปลีย
่ นถ่ายน้ำและให้แคลเซียมผงทุก 7 วัน วัด
ความสูงความยาวของเปลือก น้ำหนัก วัดค่าความเป็ นกรดด่างและอุณหภูมิ
3.2 เมื่อหอยเกิดการผสมพันธุแ
์ ละวางไข่ บันทึกจำนวนไข่ตอ
่ กลุม
่ ให้นำไข่มาเลีย
้ ง
ในกล่องพลาสติกบรรจุน้ำและสาหร่ายหางกระรอกกล่องใหม่ เมื่อลูกหอยรุ่นที่ 1 ฟั กออก
มาจากไข่แล้ว นับจำนวน และวัดขนาดลูกหอยทีเ่ กิดขึน
้ ใหม่ทก
ุ สัปดาห์
3.3 เลีย
้ งลูกหอยรุ่นที่ 1 จนกระทัง่ เจริญเติบโตเป็ นตัวเต็มวัยและสามารถผสมพันธุ์
ได้ ให้ดำเนินการตามข้อที่ 3.1 และ.3.2 จนกระทัง่ เกิดลูกหอยรุ่นที่ 2
- KPIs
ไตรมาส 1 ได้ข อ
้ มูล การแพร่ก ระจายและตัว อย่า งของหอยน้ำศัต รูพ ช
ื สกุล
Physella ในภาคกลาง เพิม
่ ขึน
้ อย่างน้อย 12 ตัวอย่าง และได้ขอ
้ มูลน้ำหนักของหอย
Physella อย่างน้อย 1 ชนิด
ื สกุล Physella และศึกษาการแพร่กระจาย
ไตรมาส 2 ได้ตวั อย่างหอยน้ำศัตรูพช
บริเวณภาคใต้ เช่น จ.สุราษฎร์ธานี อย่างน้อย 1 ชนิด 12 ตัวอย่าง
ไตรมาส 3 ได้ขอ
้ มูลวงชีวต ื สกุล Physella อย่างน้อย 1 ชนิด
ิ ของหอยน้ำศัตรูพช
12 ตัวอย่าง
ื สกุล Physella เพิม
ไตรมาส 4 จำแนกชนิดของหอยน้ำศัตรูพช ่ ขึน
้ อย่างน้อย 1
ชนิด 12 ตัวอย่าง
KPIs ทัง้ ปี ได้ขอ
้ มูลชีววิทยา ได้แก่ วงชีวต
ิ การสืบพันธุ์ และการเจริญเติบโตของหอยน้ำ
ื สกุล Physella อย่างน้อย 1 ชนิด จากจำนวนตัวอย่าง 36 ตัว
ศัตรูพช
ปี 2562: ได้อป
ุ กรณ์ทจำ
่ี เป็ นต่อ การเก็บ ตัวอย่า งหอย ได้ตวั อย่า งหอยศัต รูพช

Physella จากกรุงเทพ 40 ตัวอย่าง และจังหวัดกาญจนบุรี 32 ตัวอย่าง นครปฐม 8
ตัวอย่าง ลักษณะเด่นของหอยในสกุลนีค
้ อ
ื มีเปลือกเวียนซ้าย ไม่มฝ
ี าปิ ด มีสข
ี องเปลือกที่
พบตัง้ แต่สน
ี ้ำตาลออกส้มยันสีดำสนิท สีของ foot มีสดำ
ี พบอาศัยอยูใ่ นแหล่งน้ำนิง่ ทีใ่ ส
ื อาศัยดังนี้ คือ สาหร่ายหางกระรอก  Hydrilla verticillata และบัวประดับ
สะอาด มีพช
Nymphaea spp. สามารถเคลื่อนไหวได้รวดเร็วกว่าหอยน้ำศัตรูพช
ื ชนิด อื่น ๆ เช่น
Radix พบหอยในสกุลนี ้ 2 ชนิด ได้แก่ Physella acuta ซึง่ มีลก
ั ษณะเปลือกเป็ นรูปไข่
apex แหลม มีค วามยาวเปลือ ก (shell length) ตัง้ แต่ 4-11 มม . เฉลีย
่ เท่า กับ
8.24±2.11 มม. มีค วามกว้า งเปลือ ก (shell width) ตัง้ แต่ 2-7 มม. เฉลีย
่ เท่า กับ
4.67±1.19 มม. มีค วามยาวรูเ ปิ ด (aperture length) ตัง้ แต่ 3-8 มม. เฉลีย
่ เท่า กับ
5.74±1.37 มม. มีค วามกว้า งรูเ ปิ ด (aperture width) ตัง้ แต่ 2-6 มม. เฉลีย
่ เท่า กับ
3.84±1.17 มม. และมีจำนวนวงรอบ (whorl) ตัง้ แต่ 4-5 วง และ Physella sp. 1 ซึง่
จะมีลก
ั ษณะเปลือกทรงเหลีย
่ ม มี apex ทีม
่ ล ั ษณะแบน โดยพบ P. acuta 80 ตัวอย่าง
ี ก
ในพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพ กาญจนบุรี และนครปฐม ส่วน Physella sp. 1 พบ
เพียง 2 ตัวอย่างในกรุงเทพเท่านัน
้ จากการศึกษาลักษณะการวางไข่ในห้องปฏิบต
ั ก
ิ าร
พบว่ามีลก ื Radix กล่าวคือ มีลก
ั ษณะของไข่คล้ายกับไข่ของหอยศัตรูพช ั ษณะเป็ นเมือก
เหนียวห่อหุม
้ กลุม
่ ไข่อก
ี ชัน
้ หนึง่ จำนวนไข่ตอ
่ คลัสเตอร์ประมาณ 11-43 ฟอง ไข่จะฟั ก
เป็ นลูกหอยภายใน 2-5 วัน และเริม
่ วางไข่ครัง้ แรกได้เมื่อลูกหอยอายุ 30-35 วัน จะต้อง
มีการศึกษาชีววิทยา และการเจริญเติบโตจนครบวงชีวต
ิ ในห้องปฏิบต
ั ก
ิ ารต่อไป
ปี 2563: ได้อป
ุ กรณ์ทจำ
่ี เป็ นต่อการเก็บตัวอย่างหอย ทำการเก็บตัวอย่างหอยศัตรู
พืช Physella เพิม
่ เติมจากกรุงเทพ 15 ตัวอย่าง และนครปฐม 17 ตัวอย่าง รวม 32
ตัวอย่าง พบว่าเป็ น Physella acuta 23 ตัวอย่าง และเป็ น Physella sp. 1 9 ตัวอย่าง
พบว่า หอย Physella แพร่ก ระจายในภาคตะวัน ตกเพีย ง 1 จัง หวัด ได้แ ก่ จัง หวัด
กาญจนบุรี และพบการแพร่กระจายในภาคกลาง 2 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพ และนครปฐม
จากการวัดน้ำหนักของลูกหอยเกิดใหม่ทก
ุ สัปดาห์จนครบ 8 สัปดาห์ สามารถสร้างกราฟ
ได้ดงั ในรูปที่ 3
1
cm
1
รูปที่ 2.1.9.1 แสดง Physella cm
acuta (ซ้าย) และ Physella sp. 1 (ขวา)

จังหวัด ชนิด
Physella acuta Physella sp. 1
กรุงเทพ 46 11
กาญจนบุรี 32 -
นครปฐม 25 -
รวม 103 11
ตารางที่ 2.1.9.1 แสดงจำนวนตัวอย่างของหอยศัตรูพืช Physella ที่เก็บได้จากทั่ว
ประเทศ
ั ดาห์
กราฟแสดงน้ำหนักของหอย Physella รายสป
0.040
0.035
0.030
น้ำหนั ก (กรัม)

0.025
0.020
0.015
0.010
0.005
0.000
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
สัปดาห์ที่
รูปที่ 3 กราฟแสดงน้ำหนักของหอย Physella acuta ที่เปลี่ยนแปลงไปตัง้ แต่สัปดาห์
ที่ 1-8

9. การนำไปใช้ประโยชน์
ผลงานวิจัยที่คาดว่าจะนำไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลเกี่ยวกับวงชีวิตและชีววิทยา
จะทำให้สามารถวางแผนการจัดการเพื่อป้ องกันกำจัดหอย Physella acuta ที่เป็ น
ศัตรูพรรณไม้น้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วทันการ และเหมาะสม
กลุ่มเป้ าหมายคือ.............เกษตรกร และผูส
้ ่งออกพรรณไม้น้ำ นักวิชาการ นัก
วิจัย หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมส่งเสริมการเกษตร กรมประมง
มหาวิทยาลัย เป็ นต้น...............

10. ผลสำเร็จที่ได้รับจากการวิจย
ั (รายงานผลเมื่อสิน
้ ปี งบประมาณ)
- ผลผลิต Output จากงาน
วิจัย...................................................................................................
- ผลลัพธ์ Outcome ที่ได้จากผล
วิจัย..........................................................................................
- ผลกระทบ Impact จากการดำเนินโครงการ……………….………………….
……………………………....

11. ปั ญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะในภาพรวมของโครงการ
งบประมาณถูกตัดไป 50% ทำให้ไม่ได้ผลการศึกษาในภาพรวมตลอดทัง้ ปี เป็ นไปตาม
KPI ทีกำ
่ หนดไว้
………………………………………………………………………………………………………………………
……….………...
………………………………………………………………………………………………………………………
………………….
คำอธิบายการจัดทำรายงานผลงานวิจัย
------------------------------------------------------------------

เพื่อให้เกิดระบบการรายงานที่ดีและเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดทำ
รายงาน
เห็นสมควรกำหนดขอบเขตของการรายงานในแบบฟอร์มที่แนบดังนี ้

1. ชุดโครงการวิจัย : ชื่อชุดโครงการวิจัยที่ระบุอยู่ในแบบ ว-
1ด

2. ชื่อหัวหน้าชุดโครงการ : ชื่อหัวหน้าชุดโครงการวิจัยที่ระบุไว้ใน
แบบ ว-1 ด

3. ชื่อโครงการวิจัย : ชื่อโครงการที่ระบุอยู่ในแบบ ว-1 ด

4. ชื่อหัวหน้าโครงการวิจัย : ชื่อหัวหน้าโครงการวิจัยที่ระบุไว้ใน
แบบ ว-1 ด
5. วัตถุประสงค์ของโครงการ : ระบุวัตถุประสงค์งานวิจัยตามที่ระบุไว้ใน ว-1 ด

6. ชื่อการทดลองภายใต้โครงการ/หัวหน้าการทดลอง
: ชื่อการทดลองภายใต้โครงการ พร้อมชื่อหัวหน้า
การทดลองและสังกัดที่ระบุไว้ใน
แบบ ว-1 ด

7. การรายงานตัวชีว้ ัดรายโครงการ : - ระบุตัวชีว้ ัดของโครงการ (ที่ระบุไว้ใน ว-


1 ด ข้อ 17)
- รายงานผลดำเนินงานที่สำคัญในเชิง
วิชาการ เป็ นผลการดำเนินงานตัง้ แต่เริ่มดำเนิน
การถึงปั จจุบันในภาพรวมของโครงการ

8. ผลการดำเนินงานในแต่ละการทดลอง : เป็ นส่วนที่สรุปรายละเอียด


ของเนื้อหาการ
ดำเนินงานที่สำคัญในเชิงวิชาการพร้อมราย
ละเอียดเพิ่มเติม ได้แก่
- ระยะเวลาการดำเนินงาน ระบุปีที่เริ่มต้นและ
สิน
้ สุด/วิธีดำเนินการและขัน
้ ตอนการดำเนิน
งาน/KPIs การทดลอง (ที่ระบุไว้ใน ว-1 ก) โดย
ให้ระบุ KPIs ทัง้ 4 ไตรมาส/ผลการทดลองใน
ลักษณะการบรรยายสรุป ตารางการบันทึก
ข้อมูลตามความเหมาะสมของลักษณะงาน ภาพ
แสดงผลการทดลองพร้อมคำบรรยายใต้ภาพ
เป็ นต้น ตามรอบการรายงาน ดังนี้
- รอบ 3 เดือน เป็ นผลการดำเนินงาน
ระหว่างเดือน ตุลาคม – ธันวาคม
- รอบ 6 เดือน เป็ นผลการดำเนินงาน
ระหว่างเดือน ตุลาคม – มีนาคม
- รอบ 9 เดือน เป็ นผลการดำเนินงาน
ระหว่างเดือน ตุลาคม – มิถน
ุ ายน
- รอบ 12 เดือน เป็ นผลการดำเนินงาน
ระหว่างเดือน ตุลาคม – กันยายน
9. การนำไปใช้ประโยชน์ : - ระบุให้ชด
ั เจนว่าผลงานวิจย
ั ทีไ่ ด้อยูใ่ นด้านใด
(ด้านวิชาการ/เศรษฐกิจ/สังคม/นโยบาย) และทีค
่ าด
ว่าจะมีการนำไปใช้ประโยชนในปี ใด พร้อมทัง้ ระบุช่ อ

กลุม
่ เป้ าหมาย จำนวน ปริมาณ พืน
้ ทีท
่ จ
่ี ะนำผลงาน
วิจย
ั ไปใช้ประโยชน์จริงเพื่อให้สามารถติดตามวัดผล
ได้ในอนาคต

10. ผลสำเร็จที่ได้รับจากการวิจัย : - (Output) สรุปผลผลิตที่ได้จาก


การวิจัย
- (Outcome) ระบุผลลัพธ์ที่เกิดขึน
้ กับผู้ทนำ
ี่
ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
- (Impact) ระบุผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึน

หลังจากมีผู้นำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์แล้ว
ทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม

11. ปั ญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะในภาพรวมของโครงการ


: สรุปปั ญหา/อุปสรรค ของการดำเนินงาน พร้อม
ทัง้ แนวทางในการแก้ไขปั ญหาและข้อเสนอแนะ
ในภาพรวมของโครงการ

You might also like