You are on page 1of 16

สัตว์เลีย

้ งลูกด ้วยน้ำนม

จากวิกพ
ิ เี ดีย สารานุกรมเสรี

ไปยังการนำทางไปยังการค ้นหา

สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำปนผันานม

ช่วงเวลาทีม ี วี ต
่ ช ิ อยู:่ ปลายยุคไทรแอสซิก - ปั จจุบน
ั 228–0Ma

PreЄЄOSDCPTJKPgN

Mammal Diversity 2011.png

้ ทางวิทยาศาสตร์e
การจำแนกชัน

อาณาจักร: สัตว์

ไฟลัม: สัตว์มแ
ี กนสันหลัง

้ ใหญ่:
ชัน เทเทรอโพดา

เคลด: เรปทิลโิ อมอร์ฟา

เคลด: แอมนิโอตา

เคลด: ซีแนปซิดา

เคลด: เมอเมเลียฟอร์มส

้ :
ชัน สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม

Linnaeus, 1758

้ ย่อย ชัน
ชัน ้ ฐาน และอันดับ

้ ย่อยยิโนเธอเรีย
ชัน

อันดับมอนอเทรมาทา

้ ย่อยเธอเรีย
ชัน

้ ฐานสัตว์มก
ชัน ี ระเป๋ าหน ้าท ้อง

อันดับใหญ่

แอเมอริเดลเฟี ย

อันดับ

ไดเดลฟิ มอร์เฟี ย
อันดับ

พอซิทเู บอร์คล
ู าทา

อันดับใหญ่

ออสทราไลเดลเฟี ย

อันดับ

ไมโครไบโอเธอเรีย

อันดับ

แดสยูโรมอร์เฟี ย

อันดับ

นอทอริกทีมอร์เฟี ย

อันดับ

พีรามีลม
ี อร์เฟี ย

อันดับ

ไดโพรโทดอนเทีย

้ ฐานพลาเซนทาเลีย
ชัน

ี าร์ธรา
อันดับใหญ่ซน

อันดับซิงกูลาทา

อันดับไพโลซา

อันดับใหญ่

แอโฟรอินเซกทิฟิเลีย

อันดับเทนเรค

ี ้าง
อันดับหนูผช

อันดับอาร์ดวาร์ก

อันดับใหญ่เพนุนกูลาตา

อันดับไฮแรกซ์

อันดับพะยูน
อันดับช ้าง

อันดับใหญ่

ยูอาร์คอนโทกลิเรส

อันดับกระแต

อันดับกระต่าย

อันดับสัตว์ฟันแทะ

อันดับบ่าง

อันดับวานร

อันดับใหญ่

ลอเรเซียเธอเรีย

อันดับ

ยูลพ
ิ อไทเฟลอ

อันดับค ้างคาว

อันดับสัตว์กบ
ี คู่

อันดับสัตว์กบ
ี คี่

อันดับลิน

อันดับสัตว์กน
ิ เนื้อ

สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม (อังกฤษ: Mammal; จากภาษาละติน mamma "หน ้าอก") เป็ นกลุม ่ ของสัตว์มก ี ระดูก
สันหลังทีป ่ ระกอบขึน ้ เป็ นชัน้ สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม (Mammalia[a]) สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมมีลักษณะเด่น
ได ้แก่ มีตอ่ มน้ำนมทีพ ่ บในเพศเมีย (หรือพบได ้ในเพศผู ้เป็ นบางครัง้ [1]) ทำหน ้าทีผ ่ ลิตน้ำนมสำหรับเลีย ้ งลูก
อ่อน[2] มีคอร์เทกซ์ใหม่ (บริเวณหนึง่ ของสมอง) มีขนสัตว์หรือเส ้นผม และมีกระดูกหูชน ั ้ กลางสามชิน ้
ลักษณะเด่นดังกล่าวจำแนกสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมออกจากสัตว์เลือ ้ ยคลานและสัตว์ปีก ซึง่ สัตว์ทงั ้ สามกลุม ่
นัน
้ เบนออกจากกันเมือ ่ 201–227 ล ้านปี กอ ่ น ในช่วงปลายยุคไทรแอสซิก สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมมีอยู่
ประมาณ 5,450 ชนิด อันดับทีใ่ หญ่ทส ี่ ด
ุ ได ้แก่ อันดับสัตว์ฟันแทะ, อันดับค ้างคาว และอันดับตุน ่ สามอันดับ
ขนาดรองลงมาได ้แก่ อันดับวานร (เอป, ลิง และอืน ่ ๆ), อันดับสัตว์กบี คู่ (วาฬ–โลมา และสัตว์กบ ี คูอ
่ ย่าง
ยีราฟ) และอันดับสัตว์กน ิ เนื้อ (แมว, หมา, แมวน้ำ และอืน ่ ๆ)

สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมเป็ นสัตว์เลือดอุน
่ เช่นเดียวกับสัตว์ปีก ลักษณะนีว้ วิ ัฒนาการอย่างเป็ นอิสระจากกัน
ระหว่างชัน ้ ทัง้ สอง และเป็ นตัวอย่างหนึง่ ของวิวัฒนาการเบนเข ้า สัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนมสามารถดำรงชีวต ิ ได ้
ในทุกสภาพสิง่ แวดล ้อม[3]
ในทางแคลดิสติกส์ ซึง่ สะท ้อนให ้เห็นถึงประวัตวิ วิ ัฒนาการ สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมเป็ นสมาชิกเดียวทีย ่ ังมี
ชีวติ อยูข
่ องเคลดซีแนปซิดา เคลดนีแ ้ ละซอรอปซิดารวมกันเป็ นเคลดแอมนิโอตาทีใ่ หญ่กว่า บรรพบุรษ ุ ไซ
แนปซิดของสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมเป็ นเพลิโคซอร์จากเคลดสเฟนาโคดอนเทีย อันเป็ นกลุม ่ ทีร่ วมถึงไดมีเท
รอดอนทีไ่ ม่ใช่สต ั ว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนม เมือ ้ สุดยุคคาร์บอนิเฟอรัสประมาณ 300 ล ้านปี กอ
่ สิน ่ น กลุม ่ นีเ้ บนออก
จากสายซอรอปซิดาทีนำ ่ ไปสูส ่ ต
ั ว์เลือ ้ ยคลานและสัตว์ปีกในปั จจุบน ั สายนีต ้ ามกลุม ่ สเตมสเฟนาโคดอนเทีย
ได ้แยกออกเป็ นกลุม ่ ทีห ่ ลากหลายของไซแนปสิดทีไ่ ม่เป็ นสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนม (บางครัง้ อ ้างอิงอย่างผิด ๆ
ว่าเป็ นสัตว์เลือ ้ ยคลานคล ้ายสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนม) ก่อนทีจ ่ ะเกิดสัตว์กลุม ่ เธอแรปซิดในยุคเพอร์เมียนตอน
ต ้น อันดับสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมในปั จจุบน ั กำเนิดขึน
้ ในยุคพาลีโอจีนและนีโอจีนแห่งมหายุคซีโนโซอิก หลัง
การสูญพันธุข ์ องไดโนเสาร์ทไี่ ม่ใช่สต ั ว์ปีก และกลายเป็ นกลุม ่ สัตว์บกทีค ่ รองพืน ้ ทีม
่ าตัง้ แต่ 66 ล ้านปี กอ ่ น
จนถึงปั จจุบน ั

สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมมีรป ู ร่างพืน้ ฐานเป็ นสัตว์สเี่ ท ้า (Quadruped) และสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมส่วนมากใช ้
ส่วนปลายทัง้ สีน ่ ใี้ นการเคลือ ่ นทีบ
่ นบก แต่ในสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมบางชนิด ส่วนปลายดังกล่าวปรับตัวใช ้ใน
ทะเล บนอากาศ บนต ้นไม ้ ใต ้ดิน หรือด ้วยสองขา สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมมีขนาดตัง้ แต่ค ้างคาวคุณกิตติขนาด
30–40 มิลลิเมตร (1.2–1.6 นิว้ ) จนถึงวาฬสีน้ำเงินขนาด 30 เมตร (98 ฟุต) ซึง่ อาจเป็ นสัตว์ทใี่ หญ่ทส ี่ ด
ุ ที่
เคยมีชวต ี ิ มา ช่วงชีวต ิ สูงสุดแตกต่างกันไปตัง้ แต่ 2 ปี ของหนูผจ ี นถึง 211 ปี ของวาฬหัวคันศร สัตว์เลีย ้ งลูก
ด ้วยน้ำนมทัง้ หมดในปั จจุบน ั ออกลูกเป็ นตัว ยกเว ้นโมโนทรีมห ้าชนิดทีอ ่ อกลูกเป็ นไข่ กลุม
่ สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วย
น้ำนมทีม ่ ส ี ม
ี ปี ชส ์ ากทีส ุ คือ พลาเซนทาเรีย ซึง่ มีรกทีทำ
่ ด ่ หน ้าทีเ่ ลีย
้ งตัวอ่อนระหว่างทีอ่ ยูใ่ นครรภ์

้ งลูกด ้วยน้ำนมส่วนมากฉลาด โดยมีสมองขนาดใหญ่ มีการรับรู ้ตนเอง และสามารถใช ้อุปกรณ์ได ้


สัตว์เลีย
สัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนมสามารถสือ ่ สารและส่งเสียงได ้ด ้วยหลายวิธก
ี าร รวมถึงการปล่อยคลืน ่ เสียงความถีส ่ งู
การสร ้างอาณาเขตด ้วยการปล่อยกลิน ่ ตัว การส่งสัญญาณเตือน การร ้องเพลง และการกำหนดวัตถุทต ี่ งั ้ ด ้วย
เสียงสะท ้อน สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมสามารถจัดระเบียบตัวเองให ้เป็ นสังคมฟิ ซชัน–ฟิ วชัน, ฮาเร็ม และลำดับ
ขัน
้ แต่ก็สามารถอยูอ ่ ย่างโดดเดีย่ วและครองอาณาเขต สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมส่วนมากมีตวั เมียหลายตัว แต่
บางชนิดอาจมีคเู่ พียงตัวเดียวทัง้ ชีวต ิ หรือมีตวั ผู ้หลายตัว

การปรับสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมหลายชนิดให ้เป็ นสัตว์เลีย ้ งโดยมนุษย์นัน ้ เป็ นองค์ประกอบสำคัญในการปฏิวัต ิ


ยุคหินใหม่ และทำให ้เกษตรกรรมเป็ นแหล่งอาหารหลักของมนุษย์แทนทีก ่ ารเก็บของป่ าล่าสัตว์ เหตุการณ์
ดังกล่าวนำไปสูก ่ ารปรับโครงสร ้างครัง้ ใหญ่ในสังคมมนุษย์จากการเร่ร่อนเป็ นการตัง้ หลักปั กฐาน ณ ทีใ่ ดที่
หนึง่ และด ้วยความร่วมมือระหว่างกลุม ่ ทีใ่ หญ่ขน
ึ้ เรือ
่ ย ๆ ในท ้ายทีส ่ ด
ุ ก็พัฒนาเป็ นอารยธรรมแรก สัตว์เลีย ้ งลูก
ด ้วยนมทีเ่ ลีย
้ งนัน้ เป็ นแรงงานสำหรับการขนส่งและเกษตรกรรม เป็ นอาหารให ้กับมนุษย์ (เนือ ้ สัตว์และ
ผลิตภัณฑ์นม) และเป็ นผู ้ให ้ขนและหนังสัตว์ สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมยังถูกล่าและถูกจับมาแข่งขันเป็ นกีฬา
และยังใช ้เป็ นสิง่ มีชวี ติ ตัวแบบในทางวิทยาศาสตร์ สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมยังได ้รับการพรรณนาในศิลปะ
ตัง้ แต่ยค
ุ หินเก่า และยังปรากฏในวรรณกรรม, ภาพยนตร์, เรือ ่ งปรัมปรา และศาสนา จำนวนสัตว์ทล ี่ ดลงและ
การสูญพันธุข ์ องสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมจำนวนมากเป็ นผลมาจากการบุกรุกเข ้าไปล่าสัตว์ของมนุษย์และการ
ทำลายถิน ่ ฐานธรรมชาติด ้วยการทำลายป่ าเป็ นส่วนใหญ่
เนือ
้ หา

1 วิวัฒนาการ

2 ลักษณะทั่วไป

3 การจัดหมวดหมูส ั ว์เลีย
่ ต ้ งลูกด ้วยน้ำนม

4 ลักษณะทางกายวิภาค

4.1 ผิวหนัง

4.2 ขน

4.3 ต่อม

4.4 เขา

5 อาหารและการล่าเหยือ

5.1 สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีก
่ น
ิ พืช

5.2 สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีก
่ น
ิ เนือ

5.3 สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีก
่ น
ิ แมลง

5.4 สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีเ่ คีย
้ วเอือ
้ ง

5.5 สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีก
่ น
ิ พืชและสัตว์

6 การควบคุมอุณหภูมภ
ิ ายในร่างกาย

6.1 การปรับตัวในสภาพอากาศร ้อน

6.2 การปรับตัวในสภาพอากาศหนาวเย็น

7 การจำศีล

8 การอพยพและย ้ายถิน
่ ฐาน

9 การสืบสายพันธุ์

10 ถิน
่ อาศัยและการครอบครองอาณาเขต

11 เชิงอรรถ
12 อ ้างอิง

วิวัฒนาการ

สัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนม มีววิ ัฒนาการในระยะตอนต ้นของมหายุคมีโซโซอิก ซึง่ เป็ นระยะเวลายาวนานก่อน


หน ้าทีไ่ ดโนเสาร์จะมีววิ ัฒนาการจนถึงระดับสูงสุด มีกลุม ่ ของสัตว์เลือ
้ ยคลานกลุม ่ หนึง่ ทีม ่ ล
ี ักษณะรูปร่าง
คล ้ายคลึงกับสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมปรากฏขึน ้ ได ้แก่เธอแรพสิด (Therapsids) ทีม ่ วี วิ ัฒนาการมาจากสัตว์
เลือ ้ ยคลาน เธอแรพสิดมีการเปลีย ่ นแปลงร่างกาย รวมทัง้ โครงสร ้างหลาย ๆ อย่าง จนมีลักษณะใกล ้เคียงกับ
สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมในปั จจุบัน แต่เดิมเธอแรพสิด จะมีรยางค์สองข ้างทีต ่ งั ้ ฉากออกมาจากด ้านข ้างของลำ
ตัว ตามลักษณะของสัตว์เลือ ้ ยคลานในมหายุคมีโซโซอิก ต่อมาได ้พัฒนาเปลีย ่ นแปลงไปจากเดิมคือ รยางค์
ทีเ่ คยตัง้ ฉากจากด ้านข ้างของลำตัว เปลีย ่ นเป็ นเหยียดตรงและแนบชิดกับลำตัวแทน ทำให ้สามารถเคลือ ่ นที่
ได ้อย่างรวดเร็ว และมีศก ั ยภาพในการล่าเพิม ่ มากขึน้ กว่าเดิม

การเปลีย ่ นแปลงโครงสร ้างร่างกายของสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยนม ส่วนทีสำ


่ คัญทีส ่ ด
ุ คือกะโหลกศีรษะ มีการพัฒนา
และเปลีย ่ นแปลงของระบบทางเดินของอาหารและอากาศภายในช่องปากแยกออกจากกัน ช่วยทำให ้สัตว์
เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมสามารถหายใจได ้อย่างสะดวกในขณะทีค ่ าบเหยือ
่ เอาไว ้ในปาก และช่วยให ้เวลาเคีย ้ วและ
ย่อยอาหารภายในปากมีความยาวนานมากกว่าเดิม ซึง่ ในสายของการวิวัฒนาการเปลีย ่ นแปลงของสัตว์เลีย ้ ง
ลูกด ้วยน้ำนม กลุม่ ของสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมในระยะแรก จะยังคงลักษณะของสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมไว ้ 2
รูปแบบคือ การมีขนปกคลุมร่างกายและการมีตอ ่ มน้ำนมเพือ
่ สำหรับเลีย้ งลูกอ่อน[4]

ในปั จจุบนั สัตว์เลีย


้ งลูกด ้วยน้ำนมส่วนใหญ่จัดอยูใ่ นชัน ้ ย่อยเธอเรีย (Subclass Theria) หรือสัตว์เลีย ้ งลูก
ด ้วยน้ำนมทีอ่ อกลูกเป็ นตัว ซึง่ เป็ นการสืบเชือ้ สายมาจากบรรพบุรษ ุ ของสัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนมในยุคจูแรสซิก
เมือ่ ประมาณ 150 ล ้านปี มาแล ้ว ซึง่ แตกต่างจากสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมอีกกลุม่ คือชัน้ ย่อยโพรโทเธอเรีย
(Subclass Prototheria) ทีเ่ ป็ นกลุม ่ ของสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม มีถน ิ่ ฐานอาศัยอยูใ่ นแถบทวีปออสเตรเลีย
ได ้แก่ แทสเมเนีย (Tasmanial) และนิวกินี (New Guinea) ทีเ่ ป็ นสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมทีว่ างไข่ มีรป
ู ร่าง
และลักษณะแตกต่างจากสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมชนิดอืน ่ ๆ ทีย่ ังคงลักษณะของสัตว์เลือ ้ ยคลานเกือบทัง้ หมด

สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมในชัน ้ ย่อยโพรโทเธอเรีย มีความเป็ นไปได ้สูงในการทีจ ้ สายมาจากสัตว์เลีย
่ ะสืบเชือ ้ ง
ลูกด ้วยน้ำนมชนิดอืน ่ ๆ ซึง่ การแบ่งแยกเธอเรียและโพรโทเธอเรียออกจากกัน น่าจะมีมาตัง้ แต่ในยุคไทรแอส
ซิก โดยตามหลักฐานทางธรณีวท ิ ยา ทีน
่ ักธรณีวท
ิ ยาได ้ทำการศึกษาและค ้นคว ้า พบเพียงชิน ้ ส่วนกระดูกเล็ก
ๆ ในช่วงระหว่างยุคจูแรสซิกและยุคครีเทเชียสเท่านัน ้ สืบเนือ
่ งมาจากสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม ี วี ต
่ ช ิ อาศัย
อยูใ่ นยุคนัน
้ มีขนาดและรูปร่างเล็ก ปราดเปรียวและว่องไว มีลักษณะคล ้ายคลึงกับกระรอก หรืออาจจะมีขนาด
เล็กกว่าเพียงเล็กน ้อย มีกระดูกทีเ่ ปราะบาง แตกหักได ้ง่าย ทำให ้เมือ ่ ตายไป โครงกระดูกกลายเป็ น
ซากดึกดำบรรพ์ได ้ยาก

เมือ
่ ไดโนเสาร์เริม่ สูญพันธุจ
์ ากเหตุการณ์อกุ กาบาตพุง่ ชนโลก ในขณะทีเ่ ริม่ มหายุคซีโนโซอิกนั น ้ สัตว์เลีย
้ ง
ลูกด ้วยน้ำนมเริม
่ เพิม่ จำนวนประชากร แพร่กระจายเผ่าพันธุอ ์ ย่างรวดเร็ว ซึง่ เป็ นการเริม
่ ยุคสมัยของสัตว์เลีย ้ ง
ลูกด ้วยน้ำนม เมือ ่ ประมาณ 70 ล ้านปี มาแล ้ว โดยอาจเป็ นผลกระทบมาจากสถานะของสัตว์เลือ ้ ยคลานใน
ระบบนิเวศ (ecological niche) ทีเ่ กิดช่องว่างลงเป็ นจำนวนมาก ส่งผลให ้สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมเข ้ามา
แทนที่ และอาจมีเหตุผลอืน ่ ๆ เข ้ามามีสว่ นเกีย
่ วข ้องด ้วย เช่น ความว่องไวและปราดเปรียวของสัตว์เลีย ้ งลูก
ด ้วยน้ำนม การทีส ่ ามารถปรับและรักษาอุณหภูมข ิ องร่างกายให ้คงที่ แม ้จะอยูใ่ นสภาวะอากาศแบบใดก็ตาม
การมีขนปกคลุมทั่วทัง้ ร่างกาย การมีสายรกทีเ่ ป็ นสายใยเชือ ่ มต่อระหว่างแม่และตัวอ่อน ตลอดไปจนถึงการ
เลีย้ งดูลก
ู เมือ
่ ถือกำเนิดออกมา

เหตุผลสำคัญทีทำ ่ ให ้สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนม สามารถมีชวี ต ิ อยูร่ อดจากมหายุคซีโนโซอิกจนถึงปั จจุบัน คือ


การทีเ่ ป็ นสัตว์ทม ี่ ค
ี วามฉลาดกว่าสัตว์ชนิดอืน ่ ๆ ในยุคเทอร์เชียรี (Tertiary) หรือเมือ ่ ประมาณ 55 - 30 ล ้านปี
มาแล ้ว สัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนมถือเป็ นสัตว์ทม ี่ วี วิ ัฒนาการจนสูงสุด และมีจำนวนชนิดมากทีส ่ ด
ุ เช่นกัน และ
หลังจากนัน ้ จำนวนชนิดก็เริม ่ ลดน ้อยลงไปเรือ ่ ย ๆ เริม่ มีการวิวัฒนาการและปรับเปลีย่ นรูปแบบ โดยเฉพาะใน
ช่วงระยะเวลา 1 ล ้านปี สด ่
ุ ท ้าย ซึงอาจเป็ นผลมาจากการทำลายล ้างของมนุษย์ ทัง้ ทางตรงและทางอ ้อม

ลักษณะทั่วไป

ลิงเป็ นสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม ทีม
่ ข
ี นปกคลุมทั่วทัง้ ร่างกาย

วาฬเป็ นสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม ทีม
่ ก
ี ารวิวัฒนาการลดจำนวนขนและรยางค์

สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนม มีลักษณะทีแ


่ ตกต่างจากสัตว์ชนิดอืน ่ ๆ อย่างชัดเจน มีลักษณะทั่วไปคือตลอดทั่วทัง้
ลำตัวมีขนปกคลุม (hair) แต่สำหรับสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมบางชนิด อาจมีการวิวัฒนาการของร่างกายให ้มี
จำนวนเส ้นขนลดน ้อยลง มีผวิ หนังทีป ่ กคลุมทั่วทัง้ ร่างกายและมีตอ ่ มเหงือ
่ (sweat glands) ต่อมกลิน
่ (scent
glands) ต่อมน้ำมัน (sebaceous glands) และต่อมน้ำนม (mammary glands) มีฟันทีแ ่ ข็งแรงสำหรับล่า
เหยือ่ และบดเคีย ้ วอาหารจำนวน 2 ชุด (diphyodont) ทัง้ บริเวณขากรรไกรด ้านบนและขากรรไกรด ้านล่าง มี
ฟั นชุดแรกคือฟั นน้ำนม (milk teeth) ทีจ ่ ะถูกแทนทีด ่ ้วยฟั นแท ้ (permanent teeth) มีเปลือกตาทีส่ ามารถ
เคลือ
่ นไหวได ้ นัยน์ตา 2 ข ้างสามารถกลอกไปมาเพือ ่ ใช ้สำหรับมองเห็นและป้ องกันตัวเองจากศัตรู รวมทัง้ มี
ใบหูทอ ี่ อ่ นนุ่ม

สัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนมบางชนิด มีการวิวัฒนาการด ้วยการปรับเปลีย ่ นรยางค์ทงั ้ 2 คู่ ให ้เป็ นไปตามแบบของ


แต่ละสายพันธุห ์ รือในการดำรงชีวต ิ เช่นวาฬทีแ
่ ต่เดิมจัดเป็ นสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยนมทีอ่ าศัยบนบก และมีการ
วิวัฒนาการปรับเปลีย ่ นตัวเองด ้วยการลดรยางค์จากเดิมทีเ่ ป็ นขาคูห ่ น ้า ให ้กลายเป็ นครีบเพือ ่ สำหรับอาศัยใน
ท ้องทะเล จากหลักฐานโครงกระดูกของวาฬ เมือ ่ ทำการเปรียบเทียบลักษณะของกระดูกบริเวณครีบหน ้า จะ
เห็นว่ามีการพัฒนาและเปลีย ่ นแปลงด ้วยการลดรยางค์คห ู่ น ้า จากเท ้าหน ้าให ้กลายเป็ นครีบ สัตว์เลีย ้ งลูกด ้วย
น้ำนมบางชนิดอาจลดรยางค์ลงหรือหายไปเลยก็ม ี ทัง้ นีก ้ ็เพือ ่ การเคลือ ่ นไหวในรูปแบบต่าง ๆ และสำหรับการ
ดำรงชีวต ิ มีระบบหมุนเวียนภายในร่างกาย ทีป ่ ระกอบด ้วยหัวใจทีม ่ ี 4 ห ้องเช่นเดียวกับมนุษย์ มีเม็ดเลือดแดง
ทีม่ ล
ี ักษณะกลมแบน และเว ้าทัง้ 2 ข ้าง รวมทัง้ ไม่มน ี วิ เคลียสเป็ นส่วนประกอบ[5]
สามารถหายใจได ้ด ้วยปอดและมีกล่องเสียงสำหรับขูคำ ่ ราม เช่นแมว เสือ สิงโต เป็ นต ้น มีกะบังลม
(diaphragm) มีลักษณะเป็ นแผ่นกล ้ามเนือ้ ทำหน ้าทีก
่ นั ้ ระหว่างช่องอกและช่องท ้อง มีระบบขับถ่ายที่
ประกอบไปด ้วยไตแบบเมทาเนฟรอส (metanephros) และมีทอ ่ หน ้าทีเ่ ปิ ดเข ้าสู่
่ ปั สสาวะ (ureter) ทีทำ
กระเพาะปั สสาวะ (urinary bladder) และมีสมองทีม ่ กี ารเจริญอย่างดีเยีย ่ ม โดยเฉพาะสมองในส่วนนีโอซีรบ ี
รัม (neocerebrum) รวมทัง้ มีเส ้นประสาทสมองจำนวน 12 คู[่ 6]

สิง่ สำคัญอีกประการหนึง่ ของลักษณะทั่วไปของสัตว์เลีย


้ งลูกด ้วยน้ำนมคือ การรักษาอุณหภูมข ิ องร่างกายให ้
คงที่ แม ้สภาพอากาศจะมีการเปลีย ่ นแปลงโดยการใช ้พลังงานความร ้อนทีเ่ กิดจากเมทาโบลิซม ึ ภายใน
ร่างกาย (endothermic) หรืออาจจะกล่าวได ้ในอีกทางหนึง่ ทีว่ า่ อุณหภูมริ า่ งกายของสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม
จะคงที่ ไม่มกี ารเปลีย ่
่ นแปลงไปตามสภาพแวดล ้อม (homeothermic) ซึงเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของสัตว์
เลือดอุน่ (warm-blooded)

สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมมีเพศทีแ่ บ่งแยกชัดเจน ทำให ้สามารถรู ้ได ้ทันทีวา่ เป็ นเพศผู ้หรือเพศเมีย (dioeceous)
สืบพันธุโ์ ดยการปฏิสนธิภายในสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมเพศเมีย ตัวอ่อนภายในท ้องจะมีสายรกสำหรับยึดเกาะ
(placental attachment) และเจริญเติบโตอยูภ ่ ายในมดลูก มีเยือ ่ ห่อหุ ้มตัวอ่อน (fetal membrane) และมี
น้ำนมจากต่อมน้ำนม เพือ ่ สำหรับเลีย้ งดูลก
ู อ่อน ทัง้ นีม
้ ก
ี ารยกเว ้นในกรณีของสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมในอันดับ
โมโนทรีมาทา ทีเ่ ป็ นสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมชนิดเดียวเท่านัน ้ ทีอ
่ อกลูกเป็ นไข่กอ ่ นจะฟั กออกมาเป็ นตัวอ่อน
และเจริญเติบโตจนมีลักษณะคล ้ายคลึงกับตัวทีโ่ ตเต็มวัย

สัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนมและนก เป็ นสัตว์ทม ี่ วี วิ ัฒนาการมาจากสัตว์เลือ ้ ยคลาน ทำให ้มีโครงสร ้างของร่างกาย
ทีม
่ ค
ี วามคล ้ายคลึงกันระหว่างสัตว์ทงั ้ 3 กลุม ่ แต่สำหรับสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทีเ่ ด่น
ชัดทีส่ ด
ุ คือ "มีขนปกคลุมทั่วทัง้ ร่างกาย" แม ้ว่าในบางชนิดเช่นวาฬ จะลดจำนวนของขนลงไป หรือแม ้แต่
เกล็ดของสัตว์เลือ ้ ยคลานทีเ่ ป็ นต ้นกำเนิดของขน จะยังคงหลงเหลืออยูใ่ นสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมบางชนิด
เช่นเกล็ดบริเวณแผ่นหางของบีเวอร์และหนู เป็ นต ้น

แต่ปัจจัยสำคัญทีส ่ ด
ุ ทีทำ
่ ให ้สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยนมประสบความสำเร็จ จนมีววิ ัฒนาการถึงขีดสุดคือสมองในส่วน
นีโอซีรบี รัม ทีม
่ ค
ี วามเจริญเติบโตอย่างดีเยีย ่ ม ทำให ้มีความสามารถในการปรับตัว รวมถึงพฤติกรรมการกินอยู่
อาศัยและหลับนอน ตลอดจนการเรียนรู ้ ความอยากรู ้อยากเห็น และมีความฉลาดมากกว่าสัตว์เลือ ้ ยคลานมาก
ทำให ้ในยุคมีโซโนอิกเป็ นยุคทีส ั ว์เลีย
่ ต ้ งลูกด ้วยนมครองโลกเป็ นต ้นมา (อันดับสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยนม 3 อันดับ
ทีฉ
่ ลาดทีส ่ ด
ุ ในโลก 1. มนุษย์ 2. วานร 3. โลมา) แต่ยังไม่ครองโลกนานเท่าไรนั ก เนือ ่ งจากมนุษย์ถอ ื กำเนื
ดมาเมือ่ 1.8 ล ้านปี มานีเ่ อง

การจัดหมวดหมูส ั ว์เลีย
่ ต ้ งลูกด ้วยน้ำนม
การจัดหมวดหมูข ่ องสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม เป็ นการจำแนกสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม ี วี ต
่ ช ิ อยู่ เป็ น 18 อันดับ
ซึง่ ไม่รวมเอากลุม่ ของสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีส่ ญ
ู พันธุไ์ ปแล ้ว 14 อันดับ มารวมอยูด่ ้วย และเป็ นการจัด
อันดับสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมตามแบบของ Hickman et al., 1982 ดังนี้[7]

อิคด
ิ นาสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีว่ างไข่

จิงโจ ้สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม
่ ถ
ี งุ หน ้าท ้อง

โคอาลาสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม
่ ถ
ี งุ หน ้าท ้อง

แรคคูนสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม
่ ส
ี ายรก

วาฬสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม
่ ส
ี ายรก

ั ว์เลีย
มานาทีสต ้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม
่ ส
ี ายรก

ลิงกอริลลาสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม
่ ส
ี ายรก

Class Mammalia จำแนกอันดับต่าง ๆ ได ้ดังนี้

Subclass Prototheria จัดเป็ นสัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนมทีว่ างไข่

Order Monotremata

- ตัวตุน
่ ปากเป็ ด

- ตัวกินมดหนาม

Subclass Theria จัดเป็ นสัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนมทีอ


่ อกลูกเป็ นตัว

Clade Metatheria จัดเป็ นสัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม


่ ถ
ี งุ หน ้าท ้อง

Infraclass Marsupialia
- โอพอสซัม

- จิงโจ ้

- โคอาลา

Infraclass Eutheria จัดเป็ นสัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม


่ ส
ี ายรก

Order Eulipotyphla

- หนูผ ี

- เม่นหนามสัน้

- ตัวตุน

Order Chiroptera

- ค ้างคาว

Order Dermoptera

- บ่าง

Order Tubulidentata

- อาร์ดวาร์ก

Order Rodentia

- กระรอก

- หนู

- กระจ ้อน

- บีเวอร์

- เม่นใหญ่

Order Pholidota

- ลิน

Order Lagomorpha

- กระต่าย

- กระต่ายป่ า
- พิคา

Order Xenarthra

- ตัวกินมดยักษ์

- สล็อท

- ตัวนิม

Order Carnivora

- สิงโต

- แรคคูน

- สกังค์

- วอลรัส

- แมวป่ า

- หมาป่ า

- แมวน้ำ

- สิงโตทะเล

- เพียงพอน

Order Proboscidea

- ช ้าง

Order Hyracoidea

- ไฮแรกซ์

Order Sirenia

- พะยูน

- มานาที

Order Perissodactyla

- ม ้า

- ม ้าลาย
- สมเสร็จ

- แรด

Order Artiodactyla

- อูฐ

- กวาง

- ยีราฟ

- ควาย

- แพะ

- แกะ

- วัว

- ฮิปโปโปเทมัส

- วาฬ

- โลมา

Order Scandentia

- กระแต

Order Primate

- ลิงลม

- ชะนี

- ลิงอุรังอุตงั

- ลิงกอริลลา

- ลิงชิมแพนซี

- มนุษย์

Mammalia

Monotremata Ornithorhynchus anatinus


Theria

Marsupialia Macropodidæ

Placentalia

Atlantogenata

Afrotheria Elephas maximus Trichechus

Xenarthra Dasypus novemcinctus Myrmecophaga tridactyla

Boreoeutheria

Euarchontoglires

Euarchonta Cebus olivaceus Homo sapiens


Glires Rattus Lepus

Laurasiatheria

Eulipotyphla Talpidae

Scrotifera

Chiroptera Desmodontinae

Euungulata

Cetartiodactyla Capra walie Eubalaena glacialis

Perissodactyla Equus quagga Diceros bicornis


Ferae

Pholidota Manidae

Carnivora Acinonyx jubatus Zalophus californianus

ลักษณะทางกายวิภาค

สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม เป็ นสัตว์เลือดอุน
่ ทีม
่ ล
ี ักษณะทางกายวิภาคแตกต่างกันตามแต่ละสปี ชส ี ์ มีขนาด
ร่างกายแตกต่างกันออกไป เช่นค ้างคาวกิตติ เป็ นสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม่ ข
ี นาดเล็กทีส ่ ดุ ในปั จจุบน ั มีปีก
สำหรับบินในอากาศ น้ำหนักตัวน ้อยมากเฉลีย ่ ประมาณ 2 กรัม ความยาวของลำตัวประมาณ 29 - 38
มิลลิเมตร แตกต่างจากช ้างแอฟริกาซึง่ เป็ นสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมทีม ่ ข
ี นาดใหญ่ทส ี่ ดุ มีลักษณะทาง
กายวิภาคทีแ ่ ตกต่างจากค ้างคาว เช่นเดียวกับวาฬทีเ่ ป็ นสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมทีดำ
่ รงชีวต ิ อยูใ่ นน้ำ ทีม่ ข
ี นาด
ร่างกายใหญ่โต น้ำหนักตัวประมาณ 107,272 กิโลกรัม ความยาวของลำตัวประมาณ 32 เมตร โดยสัตว์เลีย ้ ง
ลูกด ้วยน้ำนมทุกชนิด ยังคงลักษณะเฉพาะตัว ทีส ่ ามารถอธิบายถึงพฤติกรรมการอยูอ ่ าศัยและสภาพแวดล ้อม
ได ้ โดยลักษณะทางโครงสร ้างทางกายภาพของสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนม สามารถแบ่งออกได ้ดังนี้[8]
ผิวหนัง

สัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม มีผวิ หนังและโครงสร ้างทีป ่ นจากเดิมมาก โดยเฉพาะผิวหนังจะเป็ นสิง่ ทีใ่ ช ้ใน
่ รับเปลีย
การจัดหมวดหมูข ่ องสัตว์เลีย้ งลูกด ้วยน้ำนม ผิวหนังจะเป็ นตัวกลางระหว่างตัวของสัตว์ในชนิดต่าง ๆ และ
สภาพสิง่ แวดล ้อม ทีจ ่ ะเป็ นตัวบ่งบอกศักยภาพของสัตว์ เช่น ผิวหนังของสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมทั่วไป จะมี
ลักษณะทีห ่ นากว่าสัตว์ไม่มก ี ระดูกสันหลังในกลุม่ อืน
่ ๆ เนือ่ งจากผิวหนังของสัตว์เลีย
้ งลูกด ้วยน้ำนม จะ
ประกอบไปด ้วยอิพเิ ดอร์มส ิ หรือหนังกำพร ้า และเดอร์มส ิ หรือหนังแท ้

โดยทั่วไปหนังแท ้จะมีความหนามากกว่าหนังกำพร ้า ซึง่ จะเป็ นเพียงชัน ้ ผิวหนังบาง ๆ ทีม่ ข


ี นขึน
้ ปกคลุมเพียง
เล็กน ้อย ซึง่ จะช่วยในการป้ องกันผิวหนังไม่ให ้ได ้รับอันตราย แต่สำหรับในบริเวณทีม ี ารใช ้งานและมีการ
่ ก

สัมผัสกับสิงของมาก เช่นบริเวณฝ่ ามือและฝ่ าเท ้า ผิวหนังของสัตว์เลีย ้ งลูกด ้วยน้ำนมจะมีความหนาเพิม ่ มาก
ขึน
้ และมีสารเคอราทิน (keratin) สะสมอยูภ ่ ายใต ้ชัน ้ ของผิวหนัง

ขน

You might also like