You are on page 1of 19

กฎหมาย

ใน ชีวิต ประจํา
วัน

Laws
In Everyday
life

1207
สารบัญ
หน้า
การสมรส 1-2
การหย่า 3-4
การแจ้งเกิด 5-6
การแจ้งตาย 7-8
การขอมีบต
ั รประจําตัวประชาช 9-12

สัญญาจํานําและสัญญาจํานอง 13-14
กฎหมายการรับราชการทหาร 15-16
1

กฎหมาย
การแต่งงาน
การสมรสเปนจุดเริมต้นของสถาบันครอบครัวซึงเปนหน่วยย่อยพืนฐานของสังคมเพราะฉะนันสถานะความเปน
ครอบครัวจึงเริมต้นเมือชายและหญิงทําการสมรสกัน ในสมัยสุโขทัยกฎหมายสมรสของคนไทยนันได้รบั
อิทธิพลจากประเพณีและวัฒนธรรมของชาวอินเดีย ชาวขอมและชาวมอญ พ่อขุนรามคําแหงมหาราชกล่าวไว้ใน
ศิลาจารึกว่า ในการสมรสจะไม่มกี ารแบ่งสินสอดระหว่างฝายชายและหญิง บิดามีอํานาจมากทีสุดในครอบครัว
ส่วนมารดาจะไร้บทบาท ต่อมา ในสมัยอยุธยาเกิดการขยายของอาณาจักรมากขึนจึงต้องสร้างกฎหมายการ
สมรสมา เนืองจากประเพณีเดิมไม่สามารถใช้ได้ในสังคมเหมือนเดิมด้วยชุมชนทีขยายตัวมากขึน
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังคงใช้กฎหมายตามมอยุธยา แต่ตอ่ มาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
ได้โปรดให้มกี ารชําระกฎหมายให้ถกู ต้อง ปรับปรุงใหม่เพือความยุตธิ รรม และจัดเปนระเบียบ

เงือนไขในการสมรส กฎหมายเกียวกับการสมรสทัวไป
ชายและหญิงต้ องมีอายุ 17 ปบริบูรณ์แล้วจึงจะทํ า ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ครอบครัว ทีใช้บงั คับ
การสมรสได้ เว้นแต่ มีเหตุอันสมควร ศาลอาจ อยูใ่ นปจจุบน ี ารแก้ไขเพิมเติมคร้ัง ใหญ่ในป พ.ศ. 2533
ั นี ได้มก
อนุญาตให้สมรสก่อนนันได้ (มาตรา 1448) และมีแก้ไขเพิมเติมเล็กน้อยให้เรือยมา ซึงมีหลักการสําคัญ ดังนี

ชายและหญิงต้ องยินยอมเปนสามีภรรยากัน
(มาตรา 1458)
กฎหมายรับรองสิทธิตามกฎหมายให้แก่ค่สู มรสท่ีจดทะเบียน
สมรสถูกต้องตามกฎหมายเท่านัน ตามมาตรา 1457 และการ
ชายและหญิงซึงเปนญาติ สืบสายโลหิตโดยตรงขึนไป ึ องทําโดยความยินยอมของ
สมรสจะสินสุดลงด้วยการหย่า ซ่งต้
หรือลงมาก็ ดี เปนพีน้องร่วมบิดามารดาหรือร่วม แต่ ทังสองฝายหรือโดยคําพิพากษาของศาล และการหย่ามีผล
บิดาหรือมารดาก็ดี จะทํ าการสมรสกันไม่ได้ สมบูรณ์เมือจดทะเบียนหย่ากันตามกฎหมาย ตามมาตรา 1514
(มาตรา 1450)
และมาตรา 1515

หากชายหรือหญิงเปนบุ คคลวิกลจริตหรือเปนบุ คคล


ซึงศาลสังให้เปนคนไร้ความสามารถ จะทํ าการ สมรส ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยานัน ประมวลกฎหมายแพ่งและ
กันไม่ได้ (มาตรา 1449) พาณิชย์ บรรพ 5 มาตรา 1461 วางหลักไว้วา่ สามีภริยาต้องอยู่
กินด้วยกันฉันสามีภริยา และสามีภริยาต้องช่วยเหลืออุ ปการะ
เลียงดูกันตามความสามารถและฐานะของ ตน ซึงสะท้อนให้เห็น
ผู้รบ
ั บุ ตรบุ ญธรรมกับบุ ตรบุ ญธรรมจะสมรสกันไม่ได้ ว่า ความสัมพันธ์ในครอบครัวเปนไปตามหลักความเสมอภาค
(มาตรา 1451) ระหว่างชายและหญิง

โดย ปนโจ วินเนอร์ สไปรท์


2

การจดทะเบียนสมรส
เอกสาร ขันตอน
บัตรประชาชนตัวจริงทียังไม่หมดอายุ ตรวจสอบเอกสาร
หรือบัตรอืนทีทางราชการออกให้
สอบถามข้อมูลทัวไป
ทะเบียนบ้านตัวจริง

พยาน 2 คน (พร้อมบัตรประชาชนของ สอบถามการยินยอมเปลียน/ไม่เปลียนคํานําหน้า


พยานด้วย) ทีมีอายุครบ 20 ปบริบูรณ์
เซ็นเอกสารพร้อมด้วยพยาน 2 คน
ถ้าเคยหย่ามาก่อน ต้องพกหลักฐานการหย่าไปด้วย

ู มรสคนก่อนหน้าเสียชีวต
กรณีค่ส ิ ต้องมีหลักฐาน รับหลักฐานหรือใบสําคัญการสมรส
การตาย เช่น ใบมรณบัตร ประกอบด้วย
ั รและทะเบียนบ้านของบุตร กรณีทีมีลก
สูติบต
ทีจะจดทะเบียนสมรส
ู ก่อน
ปจจุบัน
แบบฟอร์ม คร.1 ตัวนีสามารถขอได้จากทีอําเภอ #สมรสเท่าเทียม เปนหนึงให้แฮชแท็กยอดนิยมในทวิตเตอร์ในเดือน
หรือสํานักทะเบียนทีไปจดทะเบียนสมรสเลยค่ะ ก.ค. ป พ.ศ.2563 ซึงเปนการเคลือนไหวเพือหาคนทีมีความคิดเห็น
เดียวกันกับการแก้ไขกฎหมายสมรสทําให้บุคคลธรรมดาทังเพศ
กรณีชาวต่างชาติ จะต้องมีหนังสือเดินทาง เดียวกันและชายหญิงสามารถทําการหมันและสมรสได้อย่างถูกต้อง
(Passport) ตัวจริง และแบบฟอร์มรับรองทีได้ ตามกฎหมาย โดยจะมีการเปลียนแปลงในการใช้สรรพนามเรียกคู่หมัน
จากสถานทูตหรือกงสุลทีแปลแล้วประกอบด้วยค่ะ เปน ผู้หมัน และผู้รบ
ั หมัน แทนคําว่า ชายและหญิง

สถานการณ์ตัวอย่างการสมรส
นายสไปร์ทอายุ 18 นางสาวโปปุยอายุ 16 นายสไปร์ทรัก
นางสาวโปปุยมาก จึงขอนางสาวโปปุยแต่งงาน และเดินทาง
ไปจดทะเบียนสมรสด้วยตัวเอง แต่วา่ นายทะเบียนไม่ยอม
จดทะเบียนสมรสให้เพราะว่านางสาวโปปุยยังอายุไม่ครบ
17 ปบริบูรณ์ โดยผู้ปกครองของทังสองฝายก็ยงั ไม่เห็นด้วย
ี น้าทีการงานทีมันคง
เพราะว่าทังสองคนยังอายุน้อยและไม่มห
ดังนันศาลจึงไม่อนุญาติให้ทังสองแต่งงานกัน แต่วา่
นายสไปร์ทเผลอไปทํานางสาวโปปุยท้อง และนายสไปร์ท
ยืนยันทีจะรับเลียงดูเด็กและสามารถดูแลครอบครัวได้โดยที
ครอบครัวของตนจะไม่ลําบากอย่างแน่นอน เมือผู้ปกครอง
เห็นความพยายามและความมันใจของสไปร์ท ท่านจึงอนุญาติ
ี ารแต่งงาน แต่วา่ ศาลได้ตรวจสอบอีกรอบ และพบว่านายสไปร์ท
ให้มก
เปนคนวิกลจริต การสมรสครังนีจึงถือเปนโมฆะ ถึงแม้ฝายผู้ปกครอง
จะอนุญาตแล้วก็ตาม
อ้างอิง สุภธิดา สุกใส (2018, June 8). การพัฒนากฎหมายเกียวกับการสมรสและ การรับรองสทิ ธิในการสมรสระหว่างเพศเดียวกัน ใน
ประเทศไทย. Law.Cmu. https://www.law.cmu.ac.th/lasc/conference/wp-
content/uploads/sites/2/2017/09/4สุภธิดา-แก้.pdf
กฎหมายทัวไป การหมันและการสมรส. Ordinarylawthai.
https://sites.google.com/site/ordinarylawthai/bth-thi-3-kdhmay-kab-khwam-samphanth-
phaynikhrxbkhraw/3-1-kar-hman-laea-kar-smrs
3

กฎหมายการหย่า
ที มา การขอหย่ า
ในอดีตเมือมีการหย่าร้าง จะมีการแบ่ง 1. ยินยอมทัง 2 ฝาย
สินสมรสให้ชายนันได้ 2 ส่วน ส่วนหญิงได้ ต้องทําเปนหนังสือ ลงลายมือชือต้องมี
เพียง 1 ส่วน ตามหลัก "ชายหาบ หญิงคอน" พยาน 2 คน และนัดกันนําหนังสือหย่าดังกล่าว
เพราะถือว่าชายเปนหัวหน้าในการทํามาหากิน ไปจดทะเบียนหย่า พร้อมพยาน 2 คน
งานและความสามารถของหญิง นอกเหนือ 2. การฟองหย่า
จากงานในบ้านยังไม่เปนทียอมรับของสังคม เมือพยายามหาทางพู ดคุยกันหลายครัง
แต่หลังจากประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่ง แล้ว แต่ไม่สามารถตกลงกันได้ ก็ต้องอาศัย
และพาณิชย์ในปพ.ศ. ๒๕๕๑ ทําให้สตรีมส ี ท
ิ ธิ กระบวนการยุติธรรมให้เข้ามาช่วยเหลือ โดย
เท่ากับผูช
้ าย สามารถฟองหย่าได้ มีสท
ิ ธิในการ สามารถติดต่อทนายความเพือขอคําแนะนํา จาก
แบ่งสินสมรส และเลียงดูบุตร นันทนายจะส่งหนังสือบอกกล่าวให้อีกฝายหนึง
มาหย่าภายในระยะเวลากําหนด หากอีกฝายไม่มา
หย่า ต้องทําสํานวนส่งฟองศาลต่อไป
สาเหตุการฟองหย่าได้นันอยูใ่ นมาตรา 1516
นอกใจ ทําร้ายร่างกาย วิกลจริต
(1) มีชู้ (สามารถเรียกค่าทดแทนจากชู)้
(2) สามีหรือภริยาประพฤติชวั เปนเหตุให้อีกฝาย
หนึงได้รบ ั ความเดือดร้อนเกินควร เมือเอาสภาพ

เอกสารประกอบ
ความเปนสามีภริยามาคํานึงประกอบอีกฝาย
หนึงนันฟองหย่าได้
การดํา เนิ น การ (3) สามีหรือภริยาทําร้าย หรือทรมานร่างกาย
หรือจิตใจ หรือหมินประมาทหรือเหยียดหยามอีก
ฝายหนึงหรือบุพการีของอีกฝายหนึง
บัตรประจําตัวของคูห
่ ย่า
(4) สามีหรือภริยาจงใจละทิงร้างอีกฝายหนึงไป
ทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านของคูห
่ ย่า เกิน 1 ป
(5) สามีหรือภริยาถูกศาลสังให้เปนคนสาบสูญ
ใบสําคัญการสมรส (6) สามีหรือภริยาไม่ให้ความช่วยเหลืออุ ปการะ
เลียงดูอีกฝายหนึงตามสมควร
พยานบุคคล 2 คน
(7) สามีหรือภริยาวิกลจริตตลอดมาเกิน 3 ป ถึง
สัญญาหย่า ขนาดทีจะทนอยูร่ ว่ มกันฉันสามีภริยาต่อไปไม่ได้
(8) สามีหรือภริยาผิดทัณฑ์บนทีทําให้ไว้เปน
เอกสารการเปลียนชือตัว ชือสกุล (ถ้ามี) หนังสือในเรืองความประพฤติ
(9) สามีหรือภริยาเปนโรคติดต่ออย่างร้ายแรง
สูตบ
ิ ต
ั รบุตร (ถ้ามี)
อันอาจเปนภัยแก่อีกฝายหนึง
(10) สามีหรือภริยามีสภาพไม่อาจร่วมประเวณีได้
ตลอดกาล
เอ๋ย ลูกพีช นําหอม
4

กฎหมาย
การหย่า
สาระสําคัญ Cast study
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 1.สามีและภริยาสมัครใจแยกกันอยูเ่ พราะ
๒๕๕๑ เหตุไม่สามารถอยูก
่ ันได้อย่างปกติสข
ุ เกิน
มาตรา ๑๕๑๔ การหย่านันจะทําได้แต่โดยความ สามป คําพิพากษาศาลฎีกาที 41351/2541
ยินยอมของทังสองฝายหรือโดยคําพิพากษา
บันทึกระหว่างโจทก์และจําเลยเปนข้อตกลงมี
ของศาล การหย่าโดยความยินยอมต้องทําเปน วัตถุประสงค์เปนการระงับข้อพิพาทในเรืองการหย่า
หนังสือ และ มีพยานลงลายมือชืออย่างน้อย 2 โดยตรง และโจทก์ยอมจ่ายเงินค่าอุ ปการะเลียงดู
คน และเงินบําเน็จบํานาญให้แก่จาํ เลย ในทีนีสามีได้
มาตรา ๑๕๑๕ เมือได้จดทะเบียนสมรสตาม นอกใจไปมีภริยาอีกคน ซึงไม่ได้เกิดจากความสมัคร
ประมวลกฎหมายนี การหย่าโดยความยินยอม ใจของจําเลย เลยทําให้โจทก์ไม่สามารถฟองหย่า
จะสมบูรณ์ต่อเมือสามีและภริยาได้จดทะเบียน จําเลยโดยอาศัยเหตุฟองหย่าตามประมวลกฎหมาย
การหย่านันแล้ว แพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๕๒๐ ในกรณีหย่าโดยความยินยอม ให้
สามีภริยาทําความตกลงเปนหนังสือว่าฝายใด 2.สามีภริยาสมัครใจแยกกันอยูฝ
่ ายเดียว
จะเปนผูใ้ ช้อํานาจปกครองบุตรคนใด ถ้ามิได้ ฟองอย่าไม่ได้ คําพิพากษาศาสฎีกาที
ตกลงกันหรือตกลงกันไม่ได้ ให้ศาลเปนผูช ้ ขาด
ี 1762/2542
มาตรา ๑๕๒๒ ถ้าสามีภริยาหย่าโดยความ จําเลยไม่ได้อยูก
่ ับโจทก์ฉันสามีภริยาทีต่าง
ยินยอม ให้ทําความตกลงกันไว้ในสัญญาหย่าว่า ประเทศ เนืองจากโจทก์ไม่ให้ความยินยอมใน
สามีภริยาทังสองฝาย หรือสามีหรือภริยาฝาย การทําหนังสืออนุญาตเข้าประเทศแก่จาํ เลย ต่อ
ใดฝายหนึงจะออกเงินค่าอุ ปการะเลียงดูบุตร มาเมือโจทก์กลับมารับราชการในไทย โจทก์เปน
เปนจํานวนเงินเท่าใดถ้าหย่าโดยคําพิพากษา ฝายแยกไปอยูต ่ ่างหาก โดยทีจําเลยไม่ได้สมัคร
ของศาลหรือในกรณีทีสัญญาหย่ามิได้กําหนด ใจ ในทีนีไม่สามารถฟองหย่ากรณีทีโจทก์จาํ เลย
เรืองค่าอุ ปการะเลียงดูบุตรไว้ ให้ศาลเปนผู้ สมัครใจแยกกันอยู่ เพราะเหตุไม่อาจอยูร่ ว่ มกัน
กําหนด ฉันสามีภริยาได้โดยปกติสข ุ ตลอดมาเกิน3ป
อันเปนเหตุให้โจทก์ฟองหย่าตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1516(4/2)

คดีฟองหย่า - ทนายนิธพ
ิ ล - Nitilawandwinner. (n.d.). Retrieved from
https://www.nitilawandwinner.com/content/2817/คดีฟองหย่า-ทนายนิธพ ิ ล
5

กฎหมายแจ้งเกิด
จริงๆแล้วกฎหมายอยูใ่ กล้ตัวเรามากกว่าทีเราคิด อย่างกฎหมายการแจ้งเกิดเปนกฎหมายแรกทีเข้ามาผูก
พันธ์ในชีวต
ิ ของเรา เพือทําให้เรามีตัวตนในสังคม นอกจากนี การแจ้งเกิดยังทําให้เราได้รบ
ั สิทธิต่างๆจาก
ภาครัฐได้อย่างเต็มที ไม่วา่ จะเปนในเรืองด้านการศึกษา การรักษาพยาบาลและในอีกหลายๆด้านเช่นกัน

กฎหมายทะเบียนราษฎร หลักฐาน
1. ให้แจ้งชือตัวของเด็กเกิดใหม่ พร้อมกับการ 1. สําเนาทะเบียนบ้าน ( ฉบับเจ้าบ้าน )
แจ้งเกิด และแจ้งชือสกุลด้วย พร้อมสําเนา 2. บัตรประจําตัวประชาชนของผูแ ้ จ้ง บัตรประจําตัว
ทะเบียนบ้านทีจะเพิมชือเด็ก ประชาชนของบิดามารดา ( ถ้ามี )
2. แจ้งวัน เดือน ป และสถานทีเกิด ถ้ามีหนังสือ 3. หนังสือรับรองการเกิดจากโรงพยาบาล ( ถ้ามี )
รับรองการเกิดจากสถานพยาบาล ให้นํามา 4. หนังสือยินยอมให้บุตรใช้ชอสกุ
ื ลของบิดา ( กรณี
แสดงด้วย ไม่จดทะเบียนสมรส )
3. แจ้งชือตัว - ชือสกุลบิดา มารดาของเด็ก 5. เอกสาร "การแจ้งเกิด" (ต้องไปเอาทีเทศบาลฯ
4. แจ้งชือตัวชือสกุลและทีอยูข ่ องผูแ
้ จ้งการ หรือสถานทีพึงได้ตามเงือนไขทีกําหนด)
เกิดตามหลักฐานสําเนาทะเบียนบ้านพร้อมบัตร
ประจําตัวประชาชนทีนํามาแสดง (กรณีผแ
ไม่ใช่บด
ิ า - มารดา)กรณีเมือมีคนเกิดนอกบ้าน
ู้ จ้ง
ขันตอนการติดต่อ
ให้บด
ิ าหรือมารดาหรือผูท ้ ีได้รบั มอบหมายเปนผู้ 1. ผูแ
้ จ้งยืนเอกสารหลักฐานต่อนายทะเบียนท้องทีที
แจ้งต่อนายทะเบียน ผูร้ บั แจ้งแห่งท้องที ทีเกิด เด็กเกิด
หรือแห่งท้องทีทีพึงได้ใน 15 วัน นับแต่วน ั เกิด 2. นายทะเบียนตรวจสอบหลักฐานแล้วเปรียบเทียบคดี
หรือ ในกรณีจาํ เปนไม่อาจแจ้งได้ตามกําหนด ให้ ความผิดและสอบสวนผูแ ้ จ้ง บิดามารดาให้ทราบสาเหตุ
แจ้งภายหลัง ได้ แต่ต้องไม่เกิน 30 วัน ทีไม่แจ้งการเกิดภายในกําหนด ในกรณีบด ิ าหรือมารดา
ไม่อาจมาให้ถ้อยคําในการสอบสวนได้ ไม่วา่ จะด้วยกรณี
ใด นายทะเบียนจะบันทึกถึงสาเหตุดังกล่าวไว้
3. นายทะเบียนนําเสนอนายอําเภอแห่งท้องทีพิจารณา
อนุมต ั ิออกสูติบต
ั ร และเพิมชือในทะเบียนบ้าน

แจ้งเกิดต้องไปทีไหน
1แจ้งเกิดในประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร แจ้งเกิด
ทีสํานักงานเขตในพืนทีที
เด็กเกิด ต่างจังหวัด แจ้ง
เกิดทีเทศบาล อําเภอ ใน
พืนทีทีเด็กเกิด
2 แจ้งเกิดต่างประเทศ
สถานเอกอัครราชทูต หรือ
สถานกงสุล
หลิว ตูน ออม
ในเคสต่างๆ
6
กรณีการแจ้งเกิด
การแจ้งเกิดเด็กลูกครึง
กรณีที 1 เด็กเกิดในราชอาณาจักรไทยใช้เอกสารบัตรประจําตัวประชาชนของบิดามารดา บัตรประจําตัว
ประชาชนของผูแ ้ จ้งเกิด หรือผูท
้ ีได้รบ
ั มอบหมายหนังสือรับรองการเกิด (ท.ร. 1/1) ออกโดยสถานพยาบาล
และเอกสารแจ้งเกิดเข้าทะเบียนบ้าน ใช้สาํ เนาทะเบียนบ้าน (ฉบับเจ้าบ้าน) ทีต้องการย้ายชือเด็กเข้า เด็กจะได้
สัญชาติไทยตาม 3 กรณีนี
1 เมือพ่อหรือแม่มส ี ญ
ั ชาติไทย และได้จดทะเบียนสมรสกัน
2 แม่มส
ี ญั ชาติไทย จดหรือไม่จดทะเบียนสมรส
3พ่อมีสญั ชาติไทย แม่ถือสัญชาติอืนและจดทะเบียนสมรส
กรณี 2 แจ้งเกิดเด็กลูกครึง เกิดนอกราชอาณาจักรเข้าทะเบียนบ้านไทยหากเด็กเกิดนอกราชอาณาจักร
ไทย และแจ้งเกิดรับสูติบต ั รจากสถานกงสุลมาเรียบร้อยแล้ว หากต้องการเพิมชือเด็กเข้าทะเบียนบ้านไทย ใช้
เอกสารข้อ 1-4 ตามข้อมูลข้างต้น โดยเพิมเอกสารสูติบต ั รทีออกโดยนายทะเบียนสถานเอกอัครราชทูต หรือ
สถานกงศุล หากเด็กเกิดทีต่างประเทศ ต้องมีหนังสือเดินทางไทยทีใช้เดินทางเข้าประเทศไทยด้วย

เด็กในสภาพแรกเกิดหรือเด็กอ่อนซึงถูก
ทอดทิง
ผูใ้ ดพบเด็กในสภาพแรกเกิดหรือเด็กอ่อนซึงถูกทอดทิงให้นาํ เด็กนันไปส่ง และแจ้งต่อพนักงานฝายปกครอง
หรือตํารวจหรือเจ้าหน้าทีประชาสงเคราะห์แห่งท้องทีทีตนพบเด็กนันโดยเร็ว
- เจ้าหน้าทีประชาสงเคราะห์ได้รบั ตัวเด็กไว้ แล้วแจ้งการมีคนเกิดต่อ นายทะเบียนผูร้ บ
ั แจ้ง โดยใช้หลักฐาน
ดังนี- บัตรประจําตัวผูแ้ จ้ง
- สําเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านของสถานสงเคราะห์และบันทึกการ รับตัวเด็ก
- สอบสวนผูแ ้ จ้ง และผูป
้ กครองสถานสงเคราะห์

ตัวอย่างสถานการณ์
ถ้าหากในครอบครัวหนึงมีสามีเปนทหารทีต้องออกไปทํา อ้างอิง
สงครามแต่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส ในขณะเดียวกันก็ทิง ท. (2020, November 28). การแจ้งเกิด
ภรรยาทีตังครรภ์ไว้ ซึงผู้เปนสามีตายในสงคราม แล้ว shorturl.at/tuvJT
สุดท้ายตัวภรรยาต้องทํายังไงกับลูกทีเกิดมา จําเปนต้องระบุ การแจ้งเกิด - cdba55021226.
ชือบิดาในใบเกิดไหม?ในกรณีทีไม่ได้จดทะเบียนสมรส ถือว่า (2537).shorturl.at/gkENU
ลูกทีเกิดมาเปนสิทธิของแม่โดนชอบธรรม คุณแม่สามารถ T. (2020a, August 24). 4 เอกสารแจ้งเกิด 2563 ใช้
ื ดาไปในใบแจ้งเกิด หรือจะไม่ประสงค์ทีจะระบุก็ไ้ด้ ฉ
ระบุชอบิ อะไรบ้าง และต้องแจ้งเกิดภายในกีวัน.
นันเราจะแยกกรณีออกเปน 2 เคส shorturl.at/dktGR
เคสแรก ระบุชอแค่
ื มารดา : ถ้าคุณแม่ไม่อยากระบุชอคุ
ื ณพ่อ อุ ทยารัตน์, ส. (2016, February 29). แจ้งเกิดอย่างไร หาก
ุ แม่มอ
ในใบแจ้งเกิด จะทําให้คณ ี ํานาจสิทธิในการปกครองลูก ท้องไม่มพี อ
่ ต้องระบุชอผู
ื ช
้ ายในใบเกิดไหม. Retrieved
November 21, 2020, from shorturl.at/jAF19
เพียงคนเดียว รวมไปถึงในการทําเอกสารต่างๆ เช่น การเข้า
เรียน การเข้ารับราชการ จะไม่มป ี ญหาเกิดขึนในภายหลังใน
เคสทีสอง คุณแม่ทีอยากจะเพิมชือคุณพ่อในภายหลังจะต้อง
มีการระบุตรวจสอบหลักฐาน DNA พ่อ แม่และลูกเท่านัน เพือ
ยืนยันว่าเปนสายเลือดเดียวกัน
7

กฏหมาย
แจ้งตาย
ความหมาย กฏหมาย
ความตาย เปนสิงทีต้องเกิดขึนกับทุกสิงมี เมือมีคนตายให้แจ้งการตาย มาตรา 21 เมือมีคนตายในบ้าน ให้เจ้า
ชีวต
ิ รวมถึงมนุษย์ เพราะฉะนันความตายจึง บ้านหรือผูพ
้ บศพแจ้งต่อนายทะเบียนผูร้ บ ั แจ้งแห่งท้องทีทีมีคน
เปนเรืองทีใกล้ตัวเรามาก ๆ และสามารถเกิด ตาย ภายในยีสิบสีชัวโมง นับแต่เวลาตาย หรือพบศพ แต่ถ้าหากคน
ขึนเมือไหร่ก็ได้ กับใครก็ได้ ในทางศาสนา ตายนอกบ้าน
การตายเปนความเชือทีว่าเรานันได้หลุดพ้น ให้คนทีไปกับผูต ้ ายหรือผูพ้ บศพแจ้งต่อนายทะเบียนผูร้ บ ั แจ้งแห่ง
จากความทุกข์ และดวงวิญญาณก็จะไปขึน ท้องที ทีมีการตายหรือพบศพ หรือแห่งท้องที ทีจะพึงแจ้งได้ภายใน
สวรรค์หรือลงนรก แต่ในทางกลับกัน ทาง ยีสิบสีชัวโมงนับแต่เวลาตายหรือเวลาพบศพ กรณีเช่นนี จะแจ้งต่อ
กฎหมายการตายจะไม่เรียกว่าการตายจน พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจก็ได้ ทีสํานักงานเขต ทีว่าการ
กระทังเกิดการแจ้งตาย กฎหมายแรกทีมี อําเภอ หรือสํานักงานเทศบาล ถ้าไม่ปฏิบต ั ิตามข้อกฎหมายระวังโทษ
ความเกียวข้องกับเราคือกฎหมายหารแจ้ง ปรับไม่เกิน 1,000 บาท
เกิด เมือเวลาผ่านไป เราก็จะได้พบเจอกับ มาตรา 25 ถ้ามีเหตุให้สงสัยว่าคนตายด้วยโรคติดต่ออันตรายหรือ
กฎหมายมากมายทีส่งผลกระทบต่อการใช้ ตายโดยผิดธรรมชาติ ให้นายทะเบียนผูร้ บ ั แจ้งรีบแจ้งต่อเจ้า
ชีวติ แต่กฎหมายสุดท้ายทีจะเกียวข้องกับ พนักงานผูม ้ ห
ี น้าทีตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่ออันตรายหรือ
เราคือกฎหมายแจ้งตาย พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจและให้รอการออกมรณบัตรไว้
ก่อนจนกว่าจะได้รบ ั ความเห็นชอบจากเจ้าพนักงานดังกล่าว

ขันตอนการแจ้งตาย
เราจะต้องเตรียม สําเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้า
บ้านทีคนตายมีชอและรายการบุ
ื คคล (ถ้ามี)
หนังสือรับรองการตายจากโรงพยาบาล (ถ้ามี)
และบัตรประจําตัวประชาชนของผูแ ้ จ้ง โดยผู้
แจ้งยืนเอกสารและหลักฐานต่อนายทะเบียน
เพือตรวจสอบและลงรายการในมรณบัตร แลัว
จําหน่ายชือผูต
้ ายออกจากทะเบียนบ้าน โดยจะ
ประทับคําว่า “ตาย” สีแดง ไว้หน้ารายการคนตาย

"อย่าสงสารคนตายเลยแฮรี สงสารคนที
ต้องอยูต
่ ่อดีกว่า" - อัลบัส ดัมเบิลดอร์
มัม เมย์ แอลเบิรท

เสียชีวต
ิ ต่างๆ
8
กรณีการ
กรณีเสียชีวต
ิ ด้วยโรคหรือชราภาพ จะต้องมีหนังสือรับรองการตาย
จากแพทย์ใบประกอบโรคศิลป และบัตรประจําตัวของแพทย์ (กรณีมี
แพทย์รกั ษาก่อนตาย) และบัตรประจําตัวผูแ
้ จ้ง (เจ้าบ้านและผูไ้ ด้รบ

มอบหมาย)
การแจ้งตายรายแรก เปนการแจ้งตาย “กริเซลด้า มาร์ชแบงส์” ซึงปวยเปนโรคมะเร็งในช่องท้อง ตายในโรง
พยาบาล พีกัลเลเทีย เมร์รธอต
ี เล่าว่าหลังจากกริเซลด้า มาร์ชแบงส์ตาย แพทย์จะยังไม่ดาํ เนินการใด ๆ จนกว่า
จะครบ 2 ชัวโมง เพือให้แน่ใจก่อนว่าผูต้ ายได้เสียชีวต
ิ อย่างแน่นอนแล้ว จากนันโรงพยาบาลจึงจะดําเนินการออก
หนังสือรับรองการตาย (ใบ ท.ร.4/1) ก่อนทีกัลเลเทีย เมร์รธอต ี จะดําเนินการเรืองเคลือนศพกลับสูบ
่ า้ นเกิดที
อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เมือกัลเลเทีย เมร์รธอต
ี นําศพพีสาวมาถึงทีวัดเรียบร้อยแล้ว เธอจึงได้ดาํ เนินการแจ้งตาย ณ ทีทําการ
ปกครองอําเภอเสนา โดยนําหลักฐานซึงประกอบไปด้วย หนังสือรับรองการตาย (ใบ ท.ร.4/1) ทีได้จากโรง
พยาบาล พร้อมทังบัตรประจําตัวประชาชนผูแ ้ จ้งตาย บัตรประจําตัวประชาชนผูต ้ าย และสําเนาทะเบียนบ้านที
มีชอคนตาย
ื ไปยืนต่อนายทะเบียน จากนันนายทะเบียนจะทําการจําหน่ายชือของผูต ้ ายออกจากทะเบียนบ้าน โดย
ประทับคําว่า “ตาย” เปนสีแดงไว้หน้ารายการคนตายในทะเบียนบ้าน ก่อนทีจะคืนหลักฐานต่าง ๆ ให้กับกัลเลเทีย
เมร์รธอต

กรณีเสียชีวต
ิ โดยผิดธรรมชาติ เช่น ถูกยิง อุ บต ั ิเหตุ ให้ผแ
ู้ จ้ง แจ้งต่อ
สถานีตํารวจท้องทีทีมีผเู้ สียชีวต
ิ ภายใน 24 ชัวโมง เพือออกใบชัณ
สูตรพลิกศพ สถานีตํารวจจะส่งศพไปยังสถาบันนิติเวชวิทยาเพือหา
สาเหตุการตาย และออกใบรับรองสาเหตุการตายจากสถาบัน ฯ โดย
เราต้องนําบัตรประจําตัวผูแ ้ จ้ง (เจ้าบ้านและผูไ้ ด้รบ ั มอบหมาย) หาก
ไม่แจ้งตายภายในกําหนด ปรับไม่เกิน 1,000 บาท
การแจ้งตายรายที 2 เปนการแจ้งตาย “คุณย่าเคนดรา” ซึงตายด้วยอาการชราภาพทีบ้าน กรณีนเซซิ
ี เลียเล่าว่า
คุณย่าไม่เคยเจ็บปวยจนถึงขันต้องเข้าโรงพยาบาล เพราะสุขภาพแข็งแรงดี จะมีเพียงแค่อาการหลง ๆ ลืม ๆ ตาม
ประสาผูส
้ งู อายุ

คุณย่าได้หมดลมหายใจในวันทําบุญต่อชะตาก่อนวันเกิดเพียง 1 วัน หลังจากนันเซซิเลียจึงได้ไปแจ้งตายกับ


ผูใ้ หญ่บา้ น เพือให้ผใู้ หญ่บา้ นออกใบรับแจ้งการตาย (ท.ร.4 ตอนหน้า) ให้ ก่อนทีจะนําใบรับแจ้งการตาย (ท.ร.4
ตอนหน้า) พร้อมหลักฐานเอกสารอืนๆ ได้แก่ บัตรประจําตัวประชาชนของผูแ ้ จ้งตาย บัตรประจําตัวประชาชนของผู้
ตาย และสําเนาทะเบียนบ้านทีมีชอคนตาย ื ไปยืนต่อนายทะเบียน เพือให้นายทะเบียน ณ ทีทําการปกครองอําเภอ
ออกใบมรณบัตรให้
กรณีเสียชีวต ิ ในโรงพยาบาล เราจะต้องนําบัตรประจําตัวของผูแ
้ จ้ง
และหนังสือมอบหมาย หนังสือรับรองการตาย สําเนาทะเบียนบ้านที
ผูเ้ สียชีวต
ิ มีชอื (คนในพืนทีตายในโรงพยาบาล) และนําหลักฐานไป
แจ้งการตายต่อนายทะเบียนแห่งท้องทีทีโรงพยาบาลนันตังอยู่
การแจ้งตายรายที 3 เปนการแจ้งตาย “คุณน้าดิมท ิ รอฟ” ซึงปวยด้วยโรงมะเร็งตับระยะสุดท้าย หมดหนทาง
รักษา แพทย์จง ึ ให้กลับมาพักทีบ้าน เมือคุณน้าตายดีนโทมัส ก็ได้กลับไปทีโรงพยาบาลอีกครังเพือให้แพทย์ออก
หนังสือรับรองการตาย (ใบ ท.ร.4/1) และ ก่อนทีจะนําหนังสือรับรองการตาย (ใบ ท.ร.4/1) บัตรประจําตัวประชาชน
ผูแ
้ จ้งตาย บัตรประจําตัวประชาชนผูต ้ าย และสําเนาทะเบียนบ้านทีมีชอคนตาย
ื ไปยืนกับนายทะเบียน ณ ทีทําการ
อําเภอเช่นเดิม
G. (2020, February 18). การแจ้งตาย. Retrieved November 27, 2020, from https://www.gcc.go.th/webgcc/?p=1679
(2007, January 1). งานทะเบียนราษฎร์และบัตร. Retrieved November 27, 2020, from https://www.hatyaicity.go.th/hatyaicity_other/detail/4/data.html
การตาย - DOPA. (2020). Retrieved November 27, 2020, from https://www.bora.dopa.go.th/callcenter1548/index.php/menu-population/13-service-
handbook/population/11-population-dead
ปนเพชรพงศ์, ส. (n.d.). Redirect Notice. Retrieved November 27, 2020, from https://sites.google.com/site/lawofthailandatcanton/home/kar-caeng-tay
9
กฎหมาย การขอมีบต ั รประชาชน
เเละการทําบัตรใหม่
หลักฐานชินหนึงทีสามารถใช้ในการเเสดงตนได้ในทุกๆทีในประเทศไทย มาในรูปเเบบบัตรพลาสติก ยาว 8.6 ซม. เเละ กว้าง 5.4
ซม. ทําให้พกพาได้สะดวกด้วยขนาดทีเท่ากับบัตรเครดิต บัตรทีว่านีถูกใช้เปนหลักฐานในการแสดงตน ใช้พสิ จ
ู น์และยืนยันตัว
บุคคลในการติดต่อราชการ การขอรับบริการหรือสวัสดิการในด้านต่างๆจากหน่วยงานของรัฐ รวมทังใช้ประกอบการทําธุรกรรม
ต่างๆ โดยกฎหมายในการทําบัตรประชาชนถูกเขียนไว้ในพระราชบัญญัติบต ั รประจําตัวประชาชน(ป๒๕๕๔) ดังต่อไปนี

การทําบัตรประจําตัวประชาชน กรณีขอทําบัตรประจําตัวประชาชนครัง
บัตรประจําตัวประชาชนเปนเอกสารราชการที
แรก
ออกให้สาํ หรับคนไทยทีมีชอในทะเบี
ื ยนบ้าน
เมือมีอายุ 7 ปบริบูรณ์ และมีชอในทะเบี
ื ยนบ้าน
เท่านัน เพือใช้เปนหลักฐานในการแสดงตน ใช้
(ท.ร.14) ต้องทําบัตรประจําตัวประชาชนภายใน
พิสจู น์และยืนยันตัวบุคคลในการติดต่อ
60 วัน หากพ้นกําหนดจะเสียค่าปรับ ไม่เกิน
ราชการ การขอรับบริการหรือสวัสดิการในด้าน
100 บาท
ต่างๆ จากหน่วยงานของรัฐรวมทังใช้ประกอบ หลักฐานทีต้องใช้
การทําธุรกรรมต่างๆ ทํานิติกรรม ฯลฯ เช่น 1.สูติบต
ั ร หรือหลักฐานอืนทีราชการออกให้
การสมัครงาน การขอเปดบัญชีเพือทํา เช่น ใบสุทธิ สําเนาทะเบียนนักเรียน
ธุรกรรมกับธนาคาร การโอนอสังหาริมทรัพย์/ หนังสือเดินทาง เปนต้น เพือแสดงว่าเปน
อสังหาริมทรัพย์ เปนต้น บุคคลเดียวกับผูม ้ ช
ี อในทะเบี
ื ยนบ้าน
2.หากเด็กเคยเปลียนชือตัว ชือสกุล ต้องนําใบ
คุณสมบัติของผู้ทีต้องมีบต
ั รประจําตัว สําคัญมาแสดงด้วย และหากบิดา มารดาของ
ประชาชน เด็กเคยเปลียนชือตัว ชือสุกล ต้องนําใบ
1.มีสญ
ั ชาติไทย สําคัญมาแสดงด้วย
2.ต้องมีชออยู
ื ใ่ นทะเบียนบ้าน (ท.ร.14) 3.หากไม่มเี อกสารตามข้อ 2 ให้นําเจ้าบ้านหรือ
3.มีอายุตังแต่ 7 ป แต่ไม่เกิน 70 ปสําหรับผู้ บุคคลผูน ้ ่าเชือถือมาให้การรับรอง
มีอายุเกิน 70 ป และผูไ้ ด้รบ
ั การยกเว้น จะขอมี 4.กรณีบด ิ ามารดาเปนคนต่างด้าว ให้นําใบ
บัตรประจําตัวประชาชนได้ สําคัญประจําตัวคนต่างด้าวของบิดา มารดามา
แสดงด้วย หรือนําใบมรณบัตรของฝายใดฝาย
บุคคลทีกฎหมายยกเว้นไม่ต้องมีบต
ั ร
หนึงทีถึงแก่กรรมไปแสดง
ประจําตัวประชาชน 5.การขอมีบต ั รครังแรกเมืออายุตังแต่ 16 ป
1.สมเด็จพระบรมราชินี ขึนไป ต้องนําเอกสารหลักฐานทีกําหนดตามข้อ
2.พระบรมวงศานุวงศ์ตังแต่ชนพระองค์
ั เจ้าขึน 1,2,3,4 และให้นําเจ้าบ้านและบุคคลทีน่าเชือถือ
ไป อย่างน้อย 2 คน ไปพบเจ้าหน้าทีเพือสอบสวน
3.ภิกษุ สามเณร นักพรต และนักบวช และให้การรับรอง
4.ผูม
้ กี ายพิการเดินไม่ได้ หรือเปนใบ้ หรือ
ตาบอดทังสองข้าง หรือจิตฟนเฟอน ไม่สม
ประกอบ
5.ผูอ้ ยูใ่ นทีคุมขังโดยชอบด้วยกฎหมาย
6.บุคคลซึงกําลังศึกษาวิชา ณ ต่างประเทศ
และไม่สามารถยืนคําขอมีบต ั รประจําตัว
ประชาชนได้

ปอม พีท ปนปน


10
กฎหมาย การขอมีบต ั รประชาชน
เเละการทําบัตรใหม่

กรณีผ้ถ
ู ือบัตรย้ายทีอยู่ กรณีผ้ซ ึ อายุเกิน 70 ป ขอมีบต
ู งมี ั ร
เพือให้รายการทีอยูท ่ ีปรากฏในบัตรประจําตัว คนสัญชาติไทยซึงมีอายุเกิน 70 ป จะขอมีบต
ั ร
ประชาชนตรงกับรายการในทะเบียนบ้านผูถ ้ ือ ประจําตัวประชาชนก็ได้
บัตรผูใ้ ดย้ายทีอยูจ
่ ะขอเปลียนบัตรโดยทีบัตร
เดิมยังไม่หมดอายุสามารถทําได้แต่หากไม่ขอ หลักฐานทีต้องใช้
เปลียนบัตรก็สามารถใช้บต ั รนันได้ต่อไป 1.สําเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
จนกว่าบัตรจะหมดอายุ 2.บัตรประจําตัวประชาชนเดิม (ถ้ามี)
3.หากไม่ปรากฏข้อมูลการทําบัตร หรือบัตรเดิม
หลักฐานทีต้องใช้ ได้หมดอายุนานมากแล้ว ต้องนําเอกสารอืน
1.บัตรประจําตัวประชาชนเดิม ทีทางราชการออกให้มาแสดง พร้อมทังนําเจ้า
บ้านและบุคคลทีน่าเชือถือมารับรอง

กรณีบุคคลทีพ้นสภาพได้รบ
ั การยกเว้น
ขอทําบัตร กรณีบต
ั รเดิมหมดอายุ
ผูซ
้ งพ้
ึ นสภาพได้รบั การยกเว้นไม่ต้องมีบตั ร เมือบัตรเดิมหมดอายุให้ทําบัตรใหม่ภายใน 60
ประจําตัวประชาชน เช่น ผูพ
้ น
้ โทษจากเรือนจํา วัน นับแต่วน
ั ทีบัตรเดิมหมดอายุ หากพ้น
หรือทัณฑสถาน เปนต้น ต้องไปขอทําบัตร กําหนดจะต้องเสียค่าปรับไม่เกิน 100 บาท ผู้
ประชาชนภายใน 60 วัน นับแต่วน ั พ้นสภาพได้ ถือบัตรสามารถขอทําบัตรใหม่ก่อนวันทีบัตร
รับการยกเว้น หากพ้นกําหนดจะต้องเสียค่าปรับ เดิมหมดอายุก็ได้ โดยให้ยนคํ
ื าขอภายใน 60 วัน
ไม่เกิน 100 บาท ก่อนวันทีบัตรเดิมหมดอายุ

หลักฐานทีต้องใช้ หลักฐานทีต้องใช้
1.หลักฐานทีแสดงว่าพ้นสภาพจากการยกเว้น
1.บัตรประจําตัวประชาชนเดิมทีหมดอายุ
ไม่ต้องมีบต
ั ร เช่น หนังสือสําคัญของเรือนจํา
2.หากบัตรเดิมหมดอายุเปนเวลานาน ต้องนํา
หรือทัณฑสถาน (ร.ท.5) หรือหนังสือเดินทาง
เจ้าบ้านหรือพยานบุคคลทีน่าเชือถือมารับรอง
และเอกสารทีแสดงว่าเปนผูส ้ าํ เร็จการศึกษา
ด้วย
จากต่างประเทศ มีบต ั รประจําตัวข้าราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจแล้วแต่กรณี เปนต้น
2.หากไม่ปรากฏข้อมูลการทําบัตร หรือบัตรเดิม
ได้หมดอายุนานแล้ว ต้องนําเจ้าบ้านและบุคคล
น่าเชือถือมารับรองด้วย
11
กฎหมาย การขอมีบต ั รประชาชน
เเละการทําบัตรใหม่

กรณีบต
ั รหาย หรือถูกทําลาย กรณีเปลียนชือตัวหรือชือสกุลแล้วต้อง
เมือบัตรประจําตัวประชาชนหาย หรือถูกทําลาย
เปลียนบัตร
ให้ไปแจ้งความไว้เปนหลักฐาน ณ ทีว่าการ
อําเภอ สํานักงานเขตเทศบาลหรือเมืองพัทยา เมือผูถ
้ ือบัตรเปลียนชือตัว/ชือสกุล ต้อง
แล้วแต่กรณี และขอทําบัตรใหม่ภายใน 60 วัน เปลียนบัตรภายใน 60 วัน นับแต่วน ั ทีแก้ไขชือ
นับแต่วนั ทีบัตรหายหรือถูกทําลาย หากพ้น ตัว ชือสกุล ในทะเบียนบ้าน หากพ้นกําหนดจะ
กําหนดจะต้องเสียค่าปรับไม่เกิน 100 บาท ต้องเสียค่าปรับไม่เกิน 100 บาท
หลักฐานทีต้องใช้
หลักฐานทีต้องใช้
1.เอกสารทีมีรูปถ่ายของผูข ้ อมีบต
ั รใหม่ทีทาง 1.บัตรประจําตัวประชาชนเดิมทีต้องการ
ราชการออกให้ เช่น ใบอนุญาตขับขี หลักฐาน เปลียน
การศึกษา หรือหนังสือเดินทาง เปนต้น 2.หลักฐานการเปลียนชือตัวหรือชือสกุล แล้ว
2.หากไม่มห ี ลักฐานตามข้อ 2 ให้นําเจ้าบ้านหรือ แต่กรณี
บุคคลผูน
้ ่าเชือถือมาให้การรับรอง

กรณีบต
ั รเดิมชํารุดในสาระสําคัญ บัตรถูกทําลาย
หากบัตรเดิมชํารุดในสาระสําคัญ บัตรถูก
ทําลาย เช่น บัตรถูกไฟไหม้บางส่วน บัตรชํารุด
เลอะเลือน เปนต้น ต้องเปลียนบัตรภายใน 60
วัน นับแต่วน
ั ทีบัตรเดิมชํารุดหรือถูกทําลาย
หากพ้นกําหนดจะต้องเสียค่าปรับไม่เกิน 100
บาท

หลักฐานทีต้องใช้
1.บัตรประจําตัวประชาชนเดิมทีชํารุดหรือถูก
ทําลาย
2.เอกสารทีมีรูปถ่ายของผูข ้ อมีบต
ั รใหม่ทีทาง
ราชการออกให้ เช่น ใบอนุญาตขับขี หลักฐาน
การศึกษา หรือหนังสือเดินทาง เปนต้น
3.หากไม่มเี อกสารตามข้อ 2 ให้นําเจ้าบ้านหรือ
บุคคลผูน
้ ่าเชือถือมาให้การรับรอง
12
กฎหมาย การขอมีบตั รประชาชน
เเละการทําบัตรใหม่

การขอมีบต
ั รกรณีเปนบุคคลได้รบ
ั การ ขอเปลียนบัตร กรณีเปลียนคํานําหน้า
เพิมชือในทะเบียนบ้าน นาม
ต้องยืนขอมีบต ั รประจําตัวประชาชนภายใน 60
หลักฐานทีต้องใช้
วัน นับแต่วน
ั ทีเพิมชือในทะเบียนบ้าน หากพ้น
1.บัตรประจําตัวประชาชนเดิม
กําหนดมีโทษปรับไม่เกิน 100 บาท
2.หลักฐานแสดงการเปลียนคํานําหน้านาม เช่น
หลักฐานทีต้องใช้ ทะเบียนสมรส ทะเบียนอย่า เปนต้น
1.เพิมชือกรณีแจ้งเกิดเกินกําหนด ใช้หลักฐาน
สูติบต
ั ร และสอบสวนเจ้าบ้านหรือบุคคลน่าเชือ
ถือ Case study
นายเอไปเทียวทีพัทยา เเละได้ทํากระเปาเงินทีมี
2.เพิมชือกรณีชอตกสํ
ื ารวจให้สาํ เนาทะเบียน
บัตรประชาชนอยูห ่ าย นายเอจึงจําเปนต้อง
บ้านทีผูน
้ ันเคยมีชออยู
ื ก
่ ่อน หลักฐานการเพิม
ไปเเจ้งสํานักงานเขตตามทะเบียนบ้านของตน
ชือหรือหลักฐานทีทางราชการออกให้ และ
พร้อม เงินค่าธรรมเนียม20บาท เเละ เอกสารที
สอบสวนเจ้าบ้านหรือบุคคลผูน ้ ่าเชือถือ
มีรูปถ่ายของนายเอทีทางราชการออกให้(เช่น
ใบอนุญาตขับขี หรือหนังสือเดินทาง เปนต้น)
การขอมีบตั รกรณีบุคคลซึงได้สญ ั ชาติ หรือ บุคคลผูน้ ่าเชือถือมาให้การรับรอง
ไทย หรือได้รบ ั ิให้มสี ญ
ั อนุมต ั ชาติไทย ภายใน60วัน เพือทีจะไม่เสียเงินค่าปรับไม่
เกิน100บาท
หรือได้กลับคืนสัญชาติไทย
ยืนคําขอมีบต
ั รภายใน 60 วัน นับแต่วน
ั ทีได้รบ

สัญชาติไทย หากเกินกําหนดมีโทษปรับไม่เกิน
100 บาท

หลักฐานทีต้องใช้
1.กรณีได้ได้รบ
ั อนุมต
ั ิให้มส
ี ญ
ั ชาติไทยโดยการ
แปลงสัญชาติ หรือได้กลับคืนสัญชาติไทย ใช้
หนังสือสําคัญการแปลงสัญชาติเปนไทย หรือ
หนังสือสําคัญแสดงการได้กลับคืนสัญชาติ
เปนไทยแล้วแต่กรณี
2.หลักฐานอืนๆ ทีทางราชการออกให้ และ
สอบสวนเจ้าบ้านหรือบุคคลผูน ้ ่าเชือถือ

อ้างอิง
การทําบัตรประจําตัวประชาชน. (n.d.). Retrieved November 27, 2020, from http://www.bangkok.go.th/vadhana/page/sub/4052/การทํา
บัตรประจําตัวประชาชน

ข้อมูลจากพระราชกิจจาฯ เกียวกับการทําบัตรประชาชน ฉบับล่าสุด (พ.ศ.2554). (n.d.). Retrieved November 27, 2020, from
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/A/034/64.PDF

ว่าด้วยถึงการทําบัตรประจําตัวประชาชน ฉบับที 3 2561 (n.d.). Retrieved November 27, 2020, from


https://www.bic.moe.go.th/images/stories/rabeabkomkanprokkong.PDF
กฎหมาย 13

สัญญาจํานําและจํานอง
จํานําในโรงรับจํานํา จํานองกับผูร้ บั จํานอง
จํานํากับจํานองต่างกันอย่างไร?
การจํานํา การจํานอง
ตามมาตรา 747 “จํานํา” คือ สัญญาซึงผูจ้ าํ นํา ส่งมอบ ตามมาตรา 702 แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่ง
สังหาริมทรัพย์สงให้
ิ หนึงให้แก่บุคคลอีกคนหนึง เรียกว่าผูร้ บั และพาณิชย์ “จํานอง” คือ สัญญาซึงผูจ ้ าํ นอง
จํานํา เพือเปนประกันการชําระหนี ทรัพย์สน ิ ทีจะสามารถจํานําได้ เอาทรัพย์สน ิ ตราไว้กับผูร้ บ
ั จํานอง เปนประกัน
คือ สังหาริมทรัพย์เท่านัน การชําระหนี โดยไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สน ิ นัน
ให้แก่ผรู้ บั จํานอง ทรัพย์สน ิ ทีสามารถนํามา
สิทธิและหน้าทีของผูจ้ าํ นํา จํานองได้คือ อสังหาริมทรัพย์ และ
สังหาริมทรัพย์
ผูร้ บ
ั จํานํายึดของจํานําไว้ ปพพ. มาตรา 758 ผูร้ บ ั จํานําจะยึด

สิทธิและหน้าทีของ
ของจํานําไว้ได้ทังหมดจนกว่าจะได้รบ ั ชําระหนีและค่า
อุ ปกรณ์ครบถ้วน
ผูร้ บ
ผูร้ บ
ั จํานําต้องรักษาทรัพย์ทีจํานําไว้ ตามภ.พ. มาตรา 759
ั จํานําต้องรักษาทรัพย์สน ิ จํานําไว้ให้ปลอดภัยและต้อง
ผูร้ บั จํานอง
หลังจากการจดทะเบียนจํานอง หากมีการจด
สงวนทรัพย์สน ิ จํานํานัน อย่างวิญ ูชนจะพึงสงวน
ทะเบียนภาระจํายอมหรือทรัพย์สท ิ ธิอย่างอืนที
ทรัพย์สน ิ ของตนเอง
ผูร้ บ
ั จํานองไม่ได้ยน ิ ยอมเเละสามารถส่งผล
ผูร้ บ ั จํานําต้องรับผิดเมือทรัพย์สน ิ ทีจํานํานันสูญหายหรือ
เสียเเก่ผรู้ บ ั จํานองได้ ผูร้ บ
ั จํานองสามารถขอ
บุบสลาย ตาม ปพพ. มาตรา 760 ถ้าผูร้ บ ั จํานําเอาทรัพย์สน ิ
ลบสิทธินันได้หลังการจดทะเบียนจํานอง หาก
ออกไปใช้เองหรือนําไปเก็บไว้โดยไม่ได้รบ ั การยินยอม ผูร้ บ ั
มีทรัพย์สน ิ ซึงจํานองสูญหายหรือบุบสลาย
จํานําต้องรับผิดชอบแม้วา่ จะเปนเหตุสด ุ วิสย ั เว้นแต่พส ิ จ
ู น์
หรือไม่เพียงพอต่อการจํานอง ผูร้ บ ั จํานอง
ได้วา่ ถึงอย่างไรก็คงต้องสูญหายหรือบุบสลาย
สามารถบังคับจํานองได้ทันที เเต่หากความ
กฎหมายการจํานํา เสียหายของทรัพย์สน
ผูจ
ิ ไม่ได้เกิดจากผูจ
้ าํ นองสามารถเสนอทรัพย์สน
้ าํ นอง
ิ อืนเพือ
มาตรา ๗๔๙ คู่สญ ั ญาจํานําจะตกลงกันให้บุคคลภายนอกเปนผู้
จํานอง หรือนําทรัพย์สน ิ นันไปซ่อมเเซมได้
เก็บรักษาทรัพย์สน ิ จํานําไว้ก็ได้
มาตรา ๗๕๐ ถ้าทรัพย์สน ิ ทีจํานําเปนสิทธิซงมี ึ ตราสาร และมิได้
ส่งมอบตราสารนันให้แก่ผรู้ บ ั จํานํา ทังมิได้บอกกล่าวเปน
หนังสือแจ้งการจํานําแก่ลก ู หนีแห่งสิทธินันด้วยไซร้ ท่านว่าการ
จํานําย่อมเปนโมฆะ
มาตรา ๗๕๑ ถ้าจํานําตราสารชนิดออกให้แก่บุคคลเพือเขาสัง
ท่านห้ามมิให้ยกขึนเปนข้อต่อสูบ ้ ุคคลภายนอก เว้นแต่จะได้
สลักหลังไว้ทีตราสารให้ปรากฏการจํานําเช่นนันอนึง ในการนีไม่
จําเปนต้องบอกกล่าวแก่ลก ู หนีแห่งตราสาร
มาตรา๗๕๒ ถ้าจํานําตราสารชนิดออกให้แก่บุคคลโดยนามและ
จะโอนกันด้วยสลักหลังไม่ได้ ท่านว่าต้องจดข้อความแสดงการ
จํานําไว้ให้ปรากฏในตราสารนันเอง และท่านห้ามมิให้ยกขึนเปน
ข้อต่อสูล ้ ก
ู หนีแห่งตราสารหรือบุคคลภายนอกเว้นแต่จะได้บอก
กล่าวการจํานํานันให้ทราบถึงลูกหนีแห่งตราสาร
มาตรา ๗๕๕ ถ้าจํานําสิทธิ ท่านห้ามมิให้ทําสิทธินันให้สนไปหรื ิ อ
แก้ไขสิทธินันให้เสียหายแก่ผรู้ บ ั จํานําโดยผูร้ บ
ั จํานํามิได้ยน
ิ ยอม
เชอร์ร ี รวงข้าว เอิรท
์ อาร์ท
14
สิทธิเเละหน้าทีของผูจ้ าํ นอง การบังคับจํานอง
1) ตามปพพ. มาตรา 724 วรรค1 ผูจ ้ าํ นองทีจํานอง การทีเจ้าหนีบังคับชําระหนีจากทรัพย์สน
ิ ทีนํามา
ทรัพย์สน ิ ของตนไว้เพือประกันหนีบุคคลอืนจะต้องชําระแล้ว จํานอง อาจเกิดขึนได้หากไม่จา่ ยหนีภายในระยะ
จะเข้าชําระหนีเสียเอง เเละถ่ายรูปไว้เปนหลักฐานว่าตนได้รบ ั เวลาทีตกลงกันไว้ในสัญญามี 2 แบบคือ ขายทอด
เงินไปเท่าไหร่เเละต้องจ่ายคืนเท่าไหร่ ตลาด และ ยึดสินทรัพย์เปนของผูร้ บ ั จํานอง
2) ถ้าต้องบังคับจํานอง ผูจ ้ าํ นองจะได้รบ ั เงินคืนจากลูกหนี
ตามจํานวนทีผูร้ บ ั จํานองจะได้รบ ั จากการบังคับจํานอง
3) ในกรณีทีมีผจ ู้ าํ นองหลายคนและไม่ได้ระบุลําดับการ
จํานองไว้ ผูจ ้ าํ นองคนทีถูกบังคับจํานองไม่มส ี ท
ิ ธิไล่เบียจาก
ผูจ
้ าํ นองรายอืน
4) ในกรณีทีมีการจํานองร่วมกันโดยระบุอันดับไว้ สิทธิของ
ผูจ้ าํ นองมีอยูด ่ ังบัญญัติไว้ในปพพ. มาตรา 726 คือเมือ
บุคคลต่างด้าวจํานองทรัพย์สน ิ เพือประกันหนี แต่เซ็นลาย
เซ็นเดียวกัน บุคคลอืนจะต้องชําระและได้ระบุลําดับไว้ด้วย
การทีผูร้ บ ั จํานองยอดปลดหนีให้แก่ผจ ู้ าํ นองคนหนึง ย่อม
ทําให้ผจ ู้ าํ นองคนหลังหลุดพ้นด้วย ความแตกต่างระหว่างการ
กฎหมายการจํานอง จํานําและการจํานอง
มาตรา ๗๐๔ สัญญาจํานองต้องระบุทรัพย์สน ิ ซึงจํานอง ทรัพย์สน
ิ ทีนํามาเปนประกัน
มาตรา ๗๐๕ การจํานองทรัพย์สน ิ นัน นอกจากผูเ้ ปน การส่งมอบทรัพย์สน ิ ทีเปนประกัน โดยการ
เจ้าของในขณะนันแล้ว ท่านว่าใครอืนจะจํานองหาได้ไม่ จํานองไม่ต้องมีการส่งมอบทรัพย์ให้แก่ผรู้ บ ั
มาตรา ๗๐๖ บุคคลมีกรรมสิทธิในทรัพย์สน ิ แต่ภายใน จํานอง แต่จาํ นําต้องส่งมอบทรัพย์ทีจํานําให้
บังคับเงือนไขเช่นใดจะจํานองทรัพย์สนิ นันได้แต่ภายใน แก่ผรู้ บ
ั จํานํา
บังคับเงือนไขเช่นนัน ผูร้ บ
ั จํานองจะต้องมีการบอกกล่าวแก่ผู้
มาตรา ๗๐๘ สัญญาจํานองนันต้องมีจาํ นวนเงินระบุไว้เปน จํานองเปนหนังสือก่อนว่าจะบังคับจํานอง
เรือนเงินไทยเปนจํานวนแน่ตรงตัว หรือจํานวนขันสูงสุดที แต่กรณีการบังคับจํานํานัน ไม่จาํ ต้องแจ้ง
ได้เอาทรัพย์สน
ิ จํานองนันตราไว้เปนประกัน การบังคับจํานําก่อน
มาตรา ๗๐๙ บุคคลคนหนึงจะจํานองทรัพย์สน ิ ของตนไว้ การจํานองสามารถนําไปจํานองเพือประกัน
เพือประกันหนีอันบุคคลอืนจะต้องชําระ ก็ให้ทําได้ การชําระหนีได้หลายราย แต่การจํานําจะนํามา
มาตรา ๗๑๔ อันสัญญาจํานองนัน ท่านว่าต้องทําเปน เปนประกันการชําระหนีได้เพียงรายเดียว
หนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที
CASE STUDY
ทรัพย์สน ิ สิงเดียว เมือผูจ้ าํ นอง มอบ โฉนดทีดิน และ รถให้กับผูร้ บ ั

เเต่มผ
ี รู้ บั จํานองหลายคน
จํานองเพือคําประกันการใช้หนี หากรถคันนันพัง
หรือบ้านทรุดโทรม ถือว่าผูจ ้ าํ นองจะต้องเสนอ
ผูจ
้ าํ นองจะจ่ายหนีเรียงลําดับตามวันเเละเวลาทีจดทะเบียน ซ่อมแซมหรือเสนอทรัพย์อืนมาจํานองแทน ไม่
หากทรัพย์สน ิ นําไปขายทอดตลาด หลังจากได้จาํ นวนเงินสุทธิ เช่นนัน ผูร้ บ ั จํานองสามารถบังคับจํานองได้
ก็จดั ให้เเก่ผรู้ บั จํานองตามลําดับเเละหากมีเงินเหลือก็ต้อง ยกเว้นถ้าการทีทรัพย์นันเสือมโทรมเปนเพราะ
มอบให้ผจ ู้ าํ นอง ผูร้ บ
ั จํานองนําทรัพย์นันไปใช้โดย ไม่ได้รบั

ทรัพย์สน ิ หลายอย่าง อนุญาติจากผูจ ้ าํ นอง ตาม ปพพ. ป 2535

เเต่มผ
ี รู้ บั จํานองคนเดียว
บทที 1 สัญญาจํานองและสัญญาจํานํา - maiper. (n.d.). Retrieved November 27, 2020, from
https://sites.google.com/site/maipercom/home/04
สัญญาจํานอง - Commercial law2200-1008. (n.d.). Retrieved November 27, 2020, from
https://sites.google.com/site/ccommerciallaw22001008/2-sayya-canxng
หากมีการระบุลําดับของทรัพย์สน ิ ทีจํานองไว้ ผูร้ บ
ั จํานองจะใช้ จํานอง (บททัวไป). (n.d.). Retrieved November 27, 2020, from https://thai-civil-
code.blogspot.com/2009/09/blog-post_1763.htm
สิทธิจาํ นองเเก่ทรัพย์สนิ ตามลําดับเเละผูร้ บ
ั จํานองไม่มส ี ท
ิ ธิที 3.สัญญาจํานํา - Commercial law2200-1008. (n.d.). Retrieved November 27, 2020, from
https://sites.google.com/site/ccommerciallaw22001008/3-sayya-cana
จะนําทรัพย์สน ิ จํานองไปใช้หนีของตน การจํานํา (บททัวไป). (n.d.). Retrieved November 27, 2020, from https://thai-civil-
code.blogspot.com/2009/09/blog-post_1666.html
เมือผูร้ บ
ั จํานองจะบังคับจํานอง จะต้องมีจดหมายเเจ้งผู้ User, S. (n.d.). Retrieved November 27, 2020, from

จํานองก่อนล่วงหน้าหนึงเดือน
http://www.cpao.go.th/%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%
B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89/74-
%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B3.html
กฎหมาย 15

รับราชการทหาร
การรับราชการทหาร ความสําคัญ
1. การรับราชการทหารเปนการช่วยะรักษา 1. ทุกประเทศจะมีดินแดนซึงมีอาณาเขต
ความมันคงของประเทศ แน่นอน และมีความจําเปนทีจะต้องปองกัน
2. กฎหมายเกียวกับการรับราชการทหารได้ รักษาดินแดนนันไว้ให้คงอยู่ รอดพ้นจากการ
กําหนดไว้วา่ ชายสัญชาติไทยมีหน้าทีรับราช ถูกศัตรูรุกราน
การทหาร คือเมืออายุ18ปต้องไปลงบัญชี 2. ในสภาพบ้านเมืองจะเปนปกติ ทหารก็ยง ั มี
ทหารกองเกิน และเมืออายุยา่ งเข้าปที 21 จะ ส่วนช่วยเหลือในด้านการพัฒนาประเทศและ
ต้องปฏิบต ั ิตามหลักเกณฑ์การเรียกคนเข้า ช่วยเหลือราษฎรเช่นการช่วยเหลือและบริการ
กองประจําการ ประชาชทีได้รบั ความเดือดร้อนจากภัยต่างๆ
3. บุคคลบางประเภทได้รบ ั การยกและผ่อนผัน เช่นอุ ทกภัย
การเข้ารับราชการทหารบางคนได้รต้องรับ
ราชการทหารกองประจําการ

การลงบัญชีทหาร กองเกิน
ทหารกองเกิน หมายถึง ชายซึงมีอายุตังแต่ 18 ปบริบูรณ์และยังไม่ถึง 30 ปบริบูรณ์ ซึงได้ลงบัญชีทหาร
กองเกินแล้ว
1. บรรดาชายทีมีสญ ั ชาติไทย เมือมีอายุยา่ งเข้าปที 18 ใน พ.ศ.ใด ให้ไปแสดงตนเพือลงบัญชีทหารกอง
เกินภายใน พ.ศ.นัน ผูท ้ ีไม่สามารถไปลงบัญชีทหารกองเกินด้วยตนเองได้ ต้องให้บุคคลซึงบรรลุนิติภาวะ
และเชือถือได้ไปแจ้งแทนให้นายอําเภอสอบสวนหรือผูอ ้ ํานวยการเขตสอบสวนถ้าไม่มผ ี ม
ู้ าแจ้งแทนให้ถือว่า
ผูน
้ ันหลีกเลียงขัดขืนไม่มาลงบัญชีทหารกองเกิน ผูท ้ ีจะลงบัญชีทหารกองเกินจะต้องยืนแบบแสดงตน
เพือลงบัญชีทหารกองเกิน คือ แบบสด.44 และเมือได้ลงบัญชีทหารกองเกินเสร็จแล้วนายอําเภอ หรือผู้
อํานวยการเขตจะออกใบสําคัญทีเรียกว่า แบบสด.9 ให้ผน ู้ ันไว้เปนหลักฐานแสดงว่า บุคคลนันเปนทหาร
กองเกินแล้ว ดังนัน แบบ สด.9 จึงมีความสําคัญสําหรับผูท ้ ีลงบัญชีทหารกองเกินว่าได้ปฏิบต ั ิตนตาม
กฎหมายแล้วผูซ ้ งได้
ึ ลงบัญชีทหารกองเกินแล้วให้ถือว่าเปนทหารกองเกินตังแต่วน ั ที1มกราคมของ
พ.ศ.ถัดไป
2. บุคคลซึงยังไม่ได้ลงบัญชีทหารกองเกินเพราเหตุใดๆ ก็ดี ถ้าอายุยง ั ไม่ถึง 26 ปบริบูรณ์ ให้ปฏิบต ั ิใน
ทํานองเดียวกับข้อ 1 ภายใน 30 วันนับแต่วน ั ทีสามารถจะปฏิบต ั ิได้ แต่จะให้ผอู้ ืนแจ้งแทนไม่ได้
3. บุคคลต่อไปนีได้รบ ั การยกเว้นไม่ต้องไปแสดงตน ต่อนายอําเภอในการลงบัญชีทหารกองเกิน
1) สามเณรเปรียญ 2) ผูซ
้ งถู
ึ กคุมขัง

บุคคลทีได้รบ
ั การยกไม่ต้องรับราชการ
ทหารกองประจําการ
1) พระภิกษุ ทีมีสมณศํกดิหรือทีเปนเปรียญและ นักบวชในพระพุ ทธศาสนาแห่งนิกายญวนหรือจีนทีมี
สมณศักดิ
2) คนพิการทุพพลภาพซึงไม่สามารถเปนทหารได้ เช่น ตาบอด หูหนวก หัวใจพิการ วัณโรค ไตอักเสบ
เรือรัง โรคเท้าช้าง กะเทย มะเร็ง ตับแข็ง จมูกโหว่ เพดานโหว่ หรือคนเผือก ฯลฯ
3) คนในบางท้องทีทีกระทรวงกลาโหมประกาศว่า ไม่มค ี ณ
ุ วุ ฒจิ ะเปนทหารได้
ดรณ์ ปุน เน็กซัส ลอย
16

การเรียกคนเข้า กองประจําการ
1) ทหารกองประจําการ หมายถึง ชายซึงขึนทะเบียนกองประจําการและได้เข้ารับราชการทหารในกองประจํา
การจนกว่าจะได้ปลดบุคคลทีอยูใ่ นกําหนดออกหมายเรียกมาตรวจเลือกเข้าเปนทหารกองประจําการนัน
คือผูท ้ ีเปนทหารกองเกิน1.ในเดือนตุลาคม ทุกป นายอําเภอจะประกาศให้ทหารกองเกินทีมีอายุยา่ งเข้า 21
ปใน พ.ศ.นันไปแสดงตนเพือรับหมายเรียกทีอําเภอ
2) ทหารกองเกินทีมีอายุยา่ งเข้า 21 ใน พ.ศ.ใด ต้องไปแสดงตนเพือรับหมายเรียก ณ อําเภอท้องที
ภูมลิ ําเนาทหารของตนใน พ.ศ.นัน ผูท ้ ีไม่สามารถไปด้วยตนเองได้ ต้องให้ผท
ู้ ีบรรลุนิติภาวะและพอเชือถือ
ได้ไปรับหมายเรียกแทน ถ้าไม่มผ ี แ
ู้ ทนให้ถือว่าผูน
้ ันหลีกเลียงขัดขืน
3) ทหารกองเกินซึงถูกเรียก ต้องมาให้คณะกรรมการตรวจเลือกทําการตรวจเลือกตามกําหนดให้หมาย
เรียกนัน

การยกและการผ่อน ผันการเข้ารับราชการทหาร
บุคคลทีต้องไปลงบัญชีทหารกองเกินไว้ แต่ได้รบ ั การยกเว้นไม่ถก ู เรียกมารับการตรวจเลือกเข้ารับราชการ
ทหารกองประจํา การในยามปกติ
1) พระภิกษุ สามเณร และนักบวชในพระพุ ทธศาสนาแห่งนิกายจีนหรือญวนซึงเปนนักธรรมตามที
กระทรวง ศึกษาธิการรับรอง
2) นักบวชศาสนาอืนซึงมีหน้าทีประจําในกิจของ ศาสนาตามทีกําหนดในกฎกระทรวงและผูว้ า่ ราชการ
จังหวัดออกใบสําคัญให้ไว้
3) บุคคลซึงอยูใ่ นระหว่างฝกวิชาทหารตามหลักสูตร ทีกระทรวงกลาโหมกําหนดตามกฎหมายว่าด้วยการ
ส่งเสริมการฝกวิชาทหาร
4) นักเรียนโรงเรียนเตรียมทหารของกระทรวงกลาโหม
5) ครูซงประจํ
ึ าทําการสอนหนังสือหรือวิชาการต่างๆ ทีอยูใ่ นความควบคุมของกระทรวงทบวง กรม หรือ
ราชการส่วนท้องถิน ทังนีตามทีกําหนดในกฎกระทรวง และผูว้ า่ ราชการจังหวัดออกใบสําคัญให้
6) นักศึกษาของ ศูนย์กลางอบรมการศึกษาผูใ้ หญ่ของกระทรวงศึกษาธิการ
7) นักศึกษาของศูนย์ฝกการบินพลเรือนของกระทรวง คมนาคม
8) บุคคลซึงได้สญ ั ชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ
9) บุคคลซึงได้รบ ั โทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงทีสุด ให้จาํ คุกครังเดียวตังแต่ 10 ปขึนไป หรือเคยได้รบ

โทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงทีสุดหลายครังรวมกันตังแต่ 10 ปขึน หรือเคยถูกศาลพิพากษาให้กักกัน

สรุปสาระสําคัญ
1. ชายทีมีสญ
ั ชาติไทย มีหน้าทีต้องรับราชการทหารตามกฎหมาย
2. ชายทีมีสญั ชาติไทย เมืออายุยา่ งเข้าปที 18 ในป พ.ศ. ใด ต้องไปขึนบัญชีทหารกองเกินภายใน พ.ศ.นัน
3. ทหารกองเกินเมืออายุ ย่างเข้าปที 21 ต้องไปรับหมายเรียกตรวจเลือกเข้าเปนทหารกองประจําการ
4. บุคคลทีได้รบ
ั การยก ไม่ต้องรับราชการทหารกองประจําการ ได้แก่ พระภิกษุ ทีมีสมณศักดิทีเปนเปรียญ
และนักบวชในพุ ทธศาสนาแห่งนิกายญวนหรือจีนทีมีสมณศักดิ คนพิการซึงไม่สามารถเปนทหารได้ คนใน
บางท้องทีกระทรวงกลาโหมประกาศว่าไม่มค ี ณ
ุ วุ ฒจิ ะเปนทหารได้

อ้างอิง: (n.d.). Retrieved November 28, 2020, from


https://www.baanjomyut.com/library_3/extension-4/knowledge_of_the_law/08.html

You might also like