You are on page 1of 10

ทุกข์ของชาวนา

ในบทกวี
Group A

นาย นพณัฐ อําพาส


นางสาว กันต์กมล บงกชโอฬาร
นางสาว ญาณิศา จันทร์โิอธาร
นาย ธัชพล เดชอนันต์
นางสาว พรนัฐชา เพ็ชร์ดี
นางสาว นลพรรณ รุ่งโรจน์พนาวัลย์
นาย ปัณณวิชญ์ ต่อเศวตพงศ์
2834921
คําศัพท์:
● กําซาบ - อาบ, ทา, ซึมเข้าไป
○ Permeate

● เขียวคาว - สีเขียวของข้าว ซึง


่ น่าจะหอมสดชืน
่ กลับมีกลิน

เหม็นคาวเพราะข้าวนีเ้ กิดจากหยาดเหงื่อ ซึง
่ แสดงถึงความ
ทุกข์ยากและความชมชืน
่ ของชาวนา

● จิตร ภูมิศักดิ์ - นักเขียนชื่อดังของไทยทีมผลงานสําคัญ


ในด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี ภาษา เเละวรรณคดี
คําศัพท์:
● ประกันราคา - การทีอ
่ งค์กรต่างๆไม่ว่ารัฐหรือเอกชน รบประกันที่จะ
รับซื้อผลผลิจตามราคาที่กําหนดไว้ไม่ว่าในอนาคตราคาจะเปลีย
่ นไป
เเบบไหนก็ตาม

● ภาคบริการ - อาชีพทีม
่ ีหน้าทีใ่ ห้บริการผู้อน
ื่
○ Service Sector

● สู - สรรพนามบุรุษที่ 2 เป็ นคําโบราณ

● อาจิณ - เป็ นปรกติ, ติดเป็ นนิสัย, เสมอ ๆ


ผู้แต่ง: สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ประวัติผู้แต่ง
● สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็ นพระราชธิดา
สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริ กิติ์

พระราชธิดา
ลักษณะคําประพั นธ์: ร้อยแก้ว ประเภทบทความ
● ร้อยเเก้ว คือ ถ้อยคําทีเ่ รียบเรียงโดยทีไ่ ม่มีข้อบังคับหรือข้อเเท้ต่างๆ
(สัมผัส เอก โท ตรี ต่างๆ) ถึงเเม้ร้อยเเก้วจะไม่บังคับสัมผัส
ร้อยเเก้วทีม
่ ีสัมผัสจะมีความไพเราะพิถีพิถัน

● ในร้อยเเก้วนีผ
้ ู้เเต่งได้ใช้บรรยายโวหารและสาธกโวหารเพื่อแสดง
ความคิดเห็น เกีย
่ วกับบทกวีของไทยและจีนทีก
่ ล่าวถึงชีวิตและความ
ทุกข์ของชาวนา
จุดมุ่งหมายในการแต่ง: เพื่อแสดงพระราชดําริเกีย
่ วกับบทกวีของ
ไทยและบทกวีของจีนซึง
่ กล่าวถึงชีวิตและความทุกข์ของชาวนา
ความเป็นมา:
● ทุกข์ของชาวนาในบทกวี เป็ นพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระ
เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทแ
ี่ ปลจากบทกวีของจีนของ
หลี่เชิน

● บทกวีนเี้ ป็ นบทกวีทม
ี่ าจากหนังสือมณีพลอยร้อยแสง ตีพิมพ์โดย
นิสิตอักษรจุฬาฯ รุ่นที่ 41 เมือ
่ ปี พ.ศ. 2533 เนื่องในโอกาสเฉลิม
ฉลองพระชนมายุครบ 3 รอบของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
คุณค่า:
● คุณค่าด้านภาษา
○ ในบทความนีไ้ ด้เล่าเรือ่ งอย่างชัดเจน และตามลําดับทําให้เป็ นบท
กวีทอี่ ่านแล้วเข้าใจ ง่าย และในบางจุดถึงแม้จะเป็นเพียงประโยค
สัน
้ ๆ แต่มค ี วามหมายลึกซึ้ง

○ ทัง
้ นี้ “ทุกข์ชาวนาในบทกวี” ทําให้เห็นและเข้าใจ สภาพชีวิตของ
ชาวนาในทุกๆที่ และในทุกๆสมัย
คุณค่า:

● คุณค่าด้านสังคม
○ แสดงในเห็นความเข้าพระทัยและเอาพระทัยของสมเด็จพระ
เทพรัตนราชสุดาฯ ทีม
่ ีแก่ชาวนา

○ และในฐานะทีเ่ ป็ นผู้บริโภคควรเห็นคุณค่าในเม็ดข้าวแต่ละเม็ด
กว่าจะได้มาชาวนาต้องเนือ ่ ยและยากลําบากแค่ไหน และทําให้รับรู้
ว่า “ข้าว” เป็ นวัตุดิบหลักเพื่อการมีชิวิตรอดของคนไทยและชาว
นา
เรื่องย่อ:

You might also like