09 D 383 Aa 1 D 6 Ca 06 F 3 F 67

You might also like

You are on page 1of 13

ทุกขของ

ชาวนาในบทกวี
Facts !
ผูแตง : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

จุดมุงหมายในการแตง : เพื่อแสดงพระราชดําริเกี่ยวกับบทกวีของ
ไทยและบทกวีจีน ซึ่งกลาวถึงชีวิตและความทุกขของชาวนา

ลักษณะคําประพันธ : รอยแกวประเภทบทความ
VOCABS

01 02 03

กําซาบ เขียวคาว จํานําพืชผลเกษตร


ซึมเขาไป สีเขียวของขาว นําผลผลิตทางการเกษตรไปฝากกับ
หนวยงาน
เพื่อเอาเงินในอนาคตมาใช
VOCABS

04 05 06

ฎีกา นิสิต ประกันราคา


คํารองทุกข ผูที่ศึกษาอยูใน การที่องคกรตาง ๆ รับประกันจะ
การรองทุกข มหาวิทยาลัย รับซื้อผลผลิตตามราคาที่กําหนด
ไวในอนาคต ไมวาราคาใน
อนาคตจะเปลี่ยนแปลงไปก็ตาม
VOCABS

07 08 09

เปบ ภาคบริการ วรรณศิลป


วิธีการใชปลายนิ้ว อาชีพที่ใหบริการผูอื่น ศิลปะในการประพันธ
ขยุมขาวใสปากตน เชน พนักงานในราน หนังสือ
เอง อาหาร ชางเสริมสวย
VOCABS

10 11 12 13

สู อาจิณ อุทธรณ ลําเลิก


สรรพนามบุรุษที่ 2 ประจํา รองเรียน กลาวทวงบุญคุณ
(เปนคําโบราณ) รองทุกข
เรื่องยอ
● เนื้อความในตอนแรกของบทความเรื่อง ทุกขของชาวนาในบทกวีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ-
สยามบรมราชกุมารีไดทรงยกบทกวีของจิตร ภูมิศักดิ์ ไดกลาวถึงชีวิตและความทุกขยากของชาวนา

● ตอมาทรงแปลบทกวีจีนของหลี่เชินเปนภาษาไทยทําใหมองเห็นภาพของชาวนาจีน เมื่อเปรียบเทียบ
กับชาวนาไทยวาไมไดมีความแตกตางกัน แมในฤดูกาลเพาะปลูก ภูมิอากาศจะเอื้ออํานวยใหพืชพันธุ
ธัญญาหารบริบูรณดี แตผลผลิตไมไดตกเปนของผูผลิต คือ ชาวนาเทาที่ควร สวนที่สําคัญที่สุดคือ
ทรงชี้ใหเห็นวาแมจิตร ภูมิศักดิ์ และหลี่เชินจะมีกลวิธีการนําเสนอบทกวีที่แตกตางกัน แตทั้งสองทาน
มีแนวความคิดที่คลายกัน คือมุงที่จะกลาวถึงความทุกขยากของชาวนาและทําใหเห็นวาชาวนาใน
ทุกแหงและทุกยุคทุกสมัยลวนประสบแตความทุกขยากไมแตกตางกันเลย
#
ขอคิดที่ไดรับ
1 2

ทําใหผูอานไดเขาใจความรูสึกของ ทําใหไดรูถึงความทุกขยาก
ชาวนาที่ตองประสบปญหาความ ความลําบากของชาวนาใน
ยากลําบากตางๆ การปลูกขาว

ทําใหไดเห็นถึงคุณคาของ
ขาวที่ไดรับประทานเปน
อาหารหลักในการดํารงชีวิต
อยูของมนุษย
คุณคาดานภาษา
แสดงใหเห็นความคิดที่ชัดเจน เรียงลําดับเรื่องราวใหเขาใจงาย
และมีสวนประกอบของงานเขียนประเภทบทความอยางครบถวน คือ

- สวนนํา กลาวถึงบทกวีของจิตร ภูมิศักดิ์ ที่ทรงไดยินไดฟงมา


จากอดีต
- เนื้อเรื่อง วิจารณเกี่ยวกับกลวิธีการนําเสนอบทกวีของจิตร
ภูมิศักดิ์ และหลี่เชิน โดยบอกเหตุผลตาง ๆ และแสดงทัศนะ
ประกอบ เชน

“...ชวนใหคิดวาเรื่องจริง ๆ นั้น ชาวนาจะมีโอกาสไหมที่จะ


“ลําเลิก” กับใคร ๆ วา ถาไมมีคนคอยเหนื่อยยากตรากตรํา
อยางพวกเขา คนอื่น ๆ จะเอาอะไรกิน...”
- สวนสรุป สั้นแตลึกซึ้ง ตอกยํ้าความทุกขยากของชาวนา ไมวายุคสมัยใด ๆ ดังความที่วา

“...ฉะนั้นกอนที่ทุกคนจะหันไปกินอาหารเม็ดเหมือนนักบินอวกาศ เรื่องความทุกขของชาวนาก็คงยังเปน
แรงสรางความสะเทือนใจใหแกกวียุคคอมพิวเตอรรุนตอไป...”

กลวิธีการอธิบาย ใหความรูดวยการเปรียบเทียบวิธีการนําเสนอของบทกวีไทยและจีน

- หลี่เชิน บรรยายภาพที่เห็นเปนเหมือนจิตรกรวาดภาพใหคนชม
- จิตร ใชวิธีเสมือนกับนําชาวนามาบรรยายเรื่องของตนใหผูอานฟงดวยตนเอง”

ทั้งคูมีแนวคิดเหมือนกัน คือ ตองการสื่อใหผูอานไดเห็นถึงความทุกขยากของชาวนาในทุกแหง


และทุกสมัย
คุณคาดานสังคม
คุณคาดานสังคม

สมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงยกบทกวี ของ จิตร ภูมิศักดิ์ ซึ่งมี


เนื้อหาเกี่ยวกับความลําบากของชาวนาที่ตองเจอตอนที่ทํานาปลูกขาวเพื่อประชาชนทุกที่
นอกจากนี้พระองคยังสอดคลองบทกวีของจิตร ภูมิศักดิ์สอดคลองกับบทกวีของหลี่เชิน กวีชาวจีน
แสดงใหเห็นวา ไมวาจะเปนชาวนาที่แหงไหนของโลก ทุกคนพบกับความลําบากเชนเดียวกัน

แนวคิดของบทกวีสามารถพบไดตามความที่กลาวไววา

“...แมวาในฤดูกาลนั้นภูมิอากาศจะอํานวยใหพืชพันธุธัญญาหารบริบูรณดี แตผลผลิตมิได
เปนของผูผลิต คือชาวนาหรือเกษตรกรเทาที่ควร...”

ความดังกลาวสงผลใหสังคมและหนวยงานตระกหนักถึงความสําคัญของชาวนาและอาจนําไปสู
การแกไขปญหาอื่นในทายที่สุด

You might also like