You are on page 1of 2

สนท.

040019-2550

สำนักนิเทศและถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาทีด่ น
ิ กรมพัฒนาทีด่ น
ิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

การปลูกไม้ผลในดินเปรีย้ ว
การใช้ประโยชน์ในดินเปรี้ยวนี้โดยทั่วๆไป
ใช้ทำนาปลูกข้าวซึง่ ส่วนใหญ่เป็นนาหว่าน สำหรับ

ด้วยพระบารมี ฟื้นฟูปฐพีไทย
บริเวณที่มีแหล่งน้ำชลประทาน เกษตรกรจะปลูก
ไม้ผลยืนต้น เช่น ส้ม มะม่วง ฝรัง่ ทีเ่ ป็นพืชทีท่ น
ต่อสภาพดินเปรีย้ ว การปลูกไม้ผลในพืน้ ทีด่ นิ เปรีย้ ว
นี้ จำเป็นต้องมีการจัดการที่ถูกต้องและมีการ
ปรับปรุงดินให้เหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์ของดิน

 นเปรี้ยว คือ ดินทีม่ คี วามเป็นกรดสูง


ดินบนมีสีดำหรือเทาดำ ถัดลงไปจะพบ
สีสนิมเหล็กปะปนอยูแ่ ละมีจดุ ประสีเหลือง
อ่อนเหมือนฟางข้าว (Jarosite) ในดินชัน้ ล่าง
โดยลดความเป็นกรด ป้องกันการเกิดกรดเพิม่ ขึน้
ควบคู่ไปกับเพิ่มธาตุอาหารพืชในดินให้เหมาะสม
ต่อชนิดของพืชทีป่ ลูกด้วย

ลึกจากผิวดินประมาณ 25-150 เซนติเมตร


พืน้ ทีด่ นิ เปรีย้ วทีม่ ปี ญ
ั หามากทีส่ ดุ บริเวณภาค
กลาง ได้แก่ จังหวัดปทุมธานี อยุธยา สระบุรี
นครนายก อ่างทอง และสุพรรณบุรี ซึง่ พืน้ ที่
ส่วนใหญ่จะเป็นที่ลุ่มน้ำขัง ใช้ทำนาเป็นหลัก
แต่ผลผลิตทีไ่ ด้ยงั ต่ำอยู่ เนือ่ งจากมีปญ ั หาใน
ด้านเคมีของดินความเป็นกรดที่สูงมาก มี
www.ldd.go.th

ธาตุอาหารพืชบางชนิด เช่น อลูมนิ มั และเหล็ก


อยู่ในระดับค่อนข้างสูงละลายออกมาจนเป็น การจัดการดินที่ถูกต้องและเหมาะสม
พิษต่อพืชทีป่ ลูก ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำ แก่การปลูกไม้ผล
และความเป็นประโยชน์ของธาตุฟอสฟอรัส 1. คัดเลือกพืชทีม่ คี วามทนทานต่อสภาพดิน
จะลดลง มีปัญหาทางกายภาพของดิน คือ เปรีย้ ว เช่น ส้ม มะพร้าว ฝรัง่ ละมุด มะกอก เป็นต้น
เมือ่ ดินเป็นดินเหนียวจับตัวกันแน่นระบายน้ำ
2. เป็นทำเลทีอ่ ยูใ่ กล้แหล่งน้ำ และสามารถ
แล้วเมื่อแห้งดินจะแข็ง ยังมีปัญหาทางด้าน
นำน้ำมาใช้ได้ตลอดปี
ชีวภาพด้วย เพราะความเป็นกรดสูงจุลนิ ทรีย์
ที่สร้างอาหารให้แก่พืชไม่สามารถทำงานได้ 3. สร้างคันดินกั้นน้ำขนาดใหญ่ล้อมรอบ
แปลง เพือ่ ป้องกันน้ำท่วมขังในฤดูฝน

ร่วมคืนชีวติ คืนความอุดมสมบูรณ์ ให้กบั ดิน


ดินมีปญั หา ปรึกษา หมอดินอาสาหมูบ่ า้ น-ตำบล ทีใ่ กล้บา้ น
การปลูกไม้ผลในดินเปรีย้ ว

4. ขุดยกร่องสวนโดยปาดเอาหน้าดินมาพูน 7. กำหนดระยะปลู ก ตามความเหมาะสม

ด้วยพระบารมี ฟื้นฟูปฐพีไทย
เป็นสันร่องไว้ตรงกลาง ดินทีอ่ ยูล่ กึ ลงไปนำมาพอก ของแต่ละชนิดพืช
ไว้ดา้ นข้าง โดยทำการขุดยกร่องแบบเดียวกันนีจ้ น 8. ขุดหลุมปลูกขนาด กว้าง ยาว และลึก 50
ทัว่ ทัง้ แปลงเพือ่ เพิม่ ความลึกของหน้าดิน เซนติเมตร แยกดินชัน้ บนและดินชัน้ ล่างไว้ตา่ งหาก
ตากผึง่ ดินไว้เพือ่ ฆ่าเชือ้ โรค แล้วเอาส่วนทีเ่ ป็นหน้า
ดินผสมกับปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก และบางส่วนของ
ดินล่าง ผสมปูนมาร์ลหรือหินฝุน่ อัตรา 2.5 กิโลกรัม/
หลุม แล้วกลบลงไปในหลุมให้เต็ม

5. ท้ อ งร่ อ งที ่ ข ุ ด เอาหน้ า ดิ น ออกไปแล้ ว


กลายเป็นร่องน้ำ น้ำในส่วนนี้จะเป็นน้ำเปรี้ยวจะ
ระบายออกเมือ่ เริม่ เปรีย้ วจัด แล้วจึงระบายน้ำจืด
เข้ามาแทนใหม่

9. ควรปลูกพืชใน
ต้นฤดูฝน เนื่องจาก
อากาศชุ ่ ม ชื ้ น พื ช
ตั้งตัวได้เร็ว พร้อม
6. ใส่หินปูนฝุ่นหรือปูนมาร์ลเพื่อลดความ ใส่ปุ๋ยเคมีตามความ
เป็นกรดของดิน โดยหว่านทัง้ ร่องทีป่ ลูกอัตรา 3 ตัน/ ต้องการของพืชชนิด
ไร่ หรือตามผลวิเคราะห์ดนิ นั้น

„ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ หรือที่
z สำนักวิจย
ั และพัฒนาการจัดการทีด่ นิ โทร 0-2579-1970
z สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1-12

z กรมพัฒนาทีด ่ นิ ถนนพหลโยธิน เขตจตุจกั ร กทม 10900


โทร 0-2579-8515

You might also like