You are on page 1of 15

1

คัมภีร์กรองหุน้
ฉบับอ่านง่าย

วิธีคำนวณ
2

แบบที่ 1 หาค่ าของเปอร์ เซ็นต์


เช่ น 12% ของ 20 ล้านบาท
โจทย์ กำไร 12% ของ 20 ล้านบาท เป็ นเท่าไร?
12
วิธีทำ 20 x 100 = 2.4

ตอบ กำไร 12% ของ 20 ล้าน คือ 2 ล้าน 4 แสนบาท

แบบที่ 2 หาเป็ นเปอร์ เซ็นต์


เช่ น 60 เป็ นกี่เปอร์เซ็นต์ของ 80
โจทย์ ต้นทุน 60 ล้าน เป็ นกี่เปอร์เซ็นต์ของยอดขาย 80 ล้าน
60
วิธีทำ 80
x 100 = 75

ตอบ ต้นทุน 60 ล้าน เป็ น 75% ของยอดขาย 80 ล้าน

เช่ น 18 เป็ นกี่เปอร์เซ็นต์ของ 28


โจทย์ กำไร 18 ล้าน เป็ นกี่เปอร์เซ็นต์ของรายได้ 28 ล้าน
18
วิธีทำ 28
x 100 = 64.28

ตอบ กำไร 18 ล้าน เป็ น 64% ของรายได้ 28 ล้าน

งบกำไรขาดทุน
1. กำไรขั้นต้น
คือ รายได้จากการขาย – ต้นทุนการผลิตสิ นค้า
เช่น รายได้ 10,000 บาท – ต้นทุนการผลิตสิ นค้า 3,000 บาท = กำไรขั้นต้น 7,000 บาท
หรื อ
3

คือ รายได้จากการบริ การ – ต้นทุนการบริ การ


เช่น รายได้ 10,000 บาท – ต้นทุนการบริ การ 3,000 บาท = กำไรขั้นต้น 7,000 บาท

2. ส่ วนต่างกำไรขั้นต้น
คือ กำไรขั้นต้น  รายได้
เช่น (กำไรขั้นต้น) 7,000  (รายได้) 10,000 = ส่ วนต่างกำไรขั้นต้น 70%
สรุ ป กำไรขั้นต้นควรจะไม่ต ่ำกว่า 50%

3. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขาย, บริ หาร, ทัว่ ไป


ต้ องสม่ำเสมอ “เทียบกำไรขั้นต้ น”
เช่น Coca Cola มีค่าโฆษณาสูงถึง 59% ของกำไรขั้นต้น แต่สม่ำเสมอ
ถ้าค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการขายสูงขึ้นเรื่ อย ๆ ในแต่ละปี แสดงว่า “ใช้ไม่ได้”
แต่ ถ้าสม่ำเสมอ แล้ ว % สู งมากก็ไม่ ไหว (สู ง = ใกล้ 100% ของกำไรขั้นต้ น)

4. วิจยั และพัฒนา
คือ บริ ษทั ที่มีการแข่งขันสูง ต้องคอยประดิษฐ์สิ่งใหม่ ๆ ไม่ให้ตกรุ่ น
ควรสนใจบริ ษทั ที่ไม่ตอ้ งคอยคิดค้นของใหม่ เช่น Coca Cola, หมากฝรั่งริ กลี่ย ์

5. ดอกเบี้ยจ่าย
เมื่อนำไปเปรี ยบเทียบกับกำไรจากการดำเนินงาน แล้วมีค่าสูงกว่า 15% ถือว่าเยอะเกินไป
หมายถึง อยูใ่ นอุตสาหกรรมที่มีการแข่งขันสูง ต้องคอยกูเ้ งินไปลงทุนเพื่อแข่งขัน
(ดอกเบีย้ จ่ าย อาจจะเรียกว่ า “ต้ นทุนทางการเงิน”)

6. กำไร (ขาดทุน) จากการขายสิ นทรัพย์


หากอาคาร 1 ล้าน หลังหักค่าเสื่ อม เหลือ 5 หมื่น
ถ้าขายได้ 8 หมื่น จะมีกำไรจากการขายสิ นทรัพย์ 3 หมื่น
ถ้าขายได้ 4 หมื่น จะ (ขาดทุน) จากการขายสิ นทรัพย์ 1 หมื่น
7. กำไรสุ ทธิ
เมื่อนำไปเทียบกับรายได้แล้วได้ประมาณ 20% จึงจะดี
กำไรสุ ทธิ 2,000 จากรายได้ 10,000 ดีกว่ า กำไรสุ ทธิ 5,000 จากรายได้ 100,000
2,000  10,000 5,000  100,000
= 20% = 5%
4

กำไรสุ ทธิ เมื่อเทียบกับรายได้ หากมีแนวโน้ มสู งขึน้ ทุกปี ถือว่ า เยีย่ ม


(แต่ไม่จำเป็ นต้องเพิ่มขึ้นทุกปี ตลอดไป)

เพิม่ เติม : ควรไปตรวจดูประวัติการปันผลย้อนหลังด้วยว่า มีการงดจ่ายเงินปันผลหรื อไม่

ภาพรวม
กำไรขั้นต้น 100% แบ่งเป็ น กำไรจากการดำเนินงาน แบ่งเป็ น

ระวัง!!! สั ดส่ วนของ 3 กับ 4 ให้ ดี

งบดุล (หัวข้ อสิ นทรัพย์ )


เงินสดและการลงทุนระยะสั้ น
กิจการมีวิธีพ้ืนฐาน 3 วิธีในการสร้างเงินสด คือ
1. ออกหุน้ เพิ่ม
2. ขายสิ นทรัพย์
3. กำไรจากการดำเนินงาน (การมีเงินจากวิธีที่ 3 เป็ นตัวบ่งบอกว่ากิจการมีประสิ ทธิภาพ)
ดูงบดุลย้อนหลังไป 7 ปี แล้วดูวา่ เงินก้อนโตที่มีอยูน่ ้ นั มาจากสิ่ งที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว เช่น
การออกหุน้ ใหม่ หรื อ ขายสิ นทรัพย์ หรื อ เป็ นกำไรสะสมจากการดำเนินงาน
เงินสดสะสมและสิ นทรัพย์ ที่ขายได้จะทำให้ผา่ นพ้นปัญหาระยะสั้นได้ ในขณะที่นกั เก็ง
กำไรในตลาดหุน้ พากันทิ้งหุน้ เหล่านั้น
5

สิ นค้ าคงคลัง หลายธุรกิจมีความเสี่ ยงกับการล้าสมัยของสิ นค้าคงคลัง กิจการที่มีความได้


เปรี ยบจะผลิตสิ นค้าที่ไม่มีวนั ล้าสมัย สิ นค้าที่ไม่มีปัญหาเรื่ องล้าสมัย จะไม่ตอ้ งเสี่ ยงวิจยั และงบพัฒนา
อีกด้วย
สิ นค้าคงคลังที่พุง่ สูงเพียงสองสามปี แล้วลดฮวบอย่างรวดเร็วนั้น อาจจะเป็ นธุรกิจที่อยูใ่ น
อุตสาหกรรมที่มีความเสี่ ยงสูง
ลูกหนี้ (ลูกหนี้การค้า – หนี้เสี ย = ลูกหนี้การค้าสุ ทธิ )
ตัวเลขลูกหนี้ บอกอะไรเราเกี่ยวกับความได้เปรี ยบในการแข่งขันระยะยาวได้นอ้ ยมาก เราจะ
ใช้ลูกหนี้การค้าสุ ทธิ บ่งบอกความได้เปรี ยบของแต่ละบริ ษทั ที่อยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกัน
หากยอดลูกหนี้ การค้าสุ ทธิต ่ำกว่าคู่แข่ง เมื่อคิดเป็ นร้ อยละต่ อยอดขายเบือ้ งต้ น แสดงว่ามี
ความได้เปรี ยบเหนือคู่แข่ง
อาคาร-ที่ดนิ /โรงงาน/เครื่องจักร บริ ษทั ที่ไม่ มีความได้เปรี ยบในการแข่งขันที่ยงั่ ยืน จะต้อง
เผชิญกับการแข่งขันเสมอ ต้องสร้างสิ นค้าแบบใหม่ออกมาเสมอ นอกจากจะเปลืองงบวิจยั และพัฒนา
แล้ว ยังจะต้องปรับปรุ งโรงงานอยูบ่ ่อย ๆ ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายอย่างต่อเนื่อง บริษัทที่มีความได้ เปรียบใน
การแข่ งขันจะเปลีย่ นเครื่องจักรเมื่อหมดสภาพแล้ วเท่ านั้น เช่น บริ ษทั ผูผ้ ลิตหมากฝรั่งริ กลี่ยไ์ ด้สร้าง
โรงงานผลิตหมากฝรั่ง และไม่เคยต้องปรับปรุ งโรงงานหรื อเครื่ องจักรเลย จนกระทัง่ มันหมดอายุการ
ใช้งาน

งบดุล (หัวข้ อหนีส้ ิ น)

หนี้สินระยะยาว (อยูใ่ นหมวดหนี้สินไม่หมุนเวียน)


บริ ษทั ที่มีความได้เปรี ยบในการแข่งขันที่ยงั่ ยืน มักจะมีหนี้ ระยะยาวน้อย หรื อไม่มีเลยใน
งบดุล เพราะบริ ษทั เหล่านี้ทำกำไรได้มหาศาลและสามารถระดมเงินตัวเองเมื่อต้องการขยายบริ ษทั
หรื อซื้อกิจการได้ โดยไม่ตอ้ งกูเ้ งินก้อนโตจากธนาคาร ไม่ใช่เพียงสนใจแต่หนี้ในปี ปัจจุบนั เท่านั้น ควร
ตรวจดูยอ้ นหลังในช่วง 10 ปี ที่ผา่ นมาด้วย
บริ ษทั ที่ดีควรทำกำไรสุ ทธิได้มากพอที่จะชำระหนี้ระยะยาวทั้งหมดได้ จากกำไรสุ ทธิที่
บริ ษทั ทำได้ในช่วง 3-4 ปี ที่มีการกูย้ มื เกิดขึ้น
บริ ษทั ที่ทำกำไรได้มาก มีหนี้ สินน้อยหรื อไม่มีเลย มักจะตกเป็ นเป้ าหมายในการถูกซื้ อกิจการ
โดยบริ ษทั ที่ตอ้ งการซื้ อ อาจจะใช้วิธีกเู้ งินจำนวนมหาศาลเพื่อนำเงินมาซื้ อกิจการ โดยมีกระแสเงินสด
เป็ นหลักประกัน หรื อ เอาสิ นทรัพย์ของบริ ษทั เป็ นหลักประกัน หลังจากเข้าซื้ อกิจการด้วยเงินกูก้ อ้ นโต
แล้ว บริ ษทั ผูซ้ ้ื อจะกลายเป็ นบริ ษทั ที่ใหญ่โต แต่กจ็ ะมีหนี้กอ้ นโตเกิดขึ้นในงบดุล ส่ งผลให้เกิดความยุง่
ยากในภายหลังตามมาหลังจากที่ซ้ื อมาแล้ว
6

หากทุกอย่างบ่งบอกว่าบริ ษทั ใดมีความได้เปรี ยบในการแข่งขันที่ยงั่ ยืน แต่มีหนี้กอ้ นโตใน


งบดุล เป็ นไปได้วา่ หนี้น้ นั อาจเกิดจากการซื้ อกิจการด้วยเงินกู้ จงหลีกเลี่ยงบริ ษทั เหล่านั้น เนื่องจาก
บริษัทมุ่งใช้ กำไรเพือ่ ชำระหนี้ ไม่ ใช่ เพือ่ การเจริญเติบโตของบริษัท

งบดุล (หัวข้ อส่ วนของผู้ถอื หุ้น)


ประเภทของหุ้น
บริ ษทั สามารถระดมทุนได้ดว้ ยการออกหุน้ คือ หุน้ กู ้ และหุน้ ทุน
หุ้นกู้
ผูท้ ี่ซ้ือหุน้ กูจ้ ะมีฐานะเป็ นเจ้าหนี้ ของบริ ษทั ผลตอบแทนที่ได้จากหุน้ กู ้ คือ ดอกเบี้ยคงที่ที่ได้
รับแน่นอน ไม่ตอ้ งมาเสี่ ยงว่าจะอดได้ผลตอบแทนในบางปี เหมือนกับหุน้ ทุนที่อดได้เงินปันผลในบาง
ปี และได้เงินต้นคืนเมื่อครบกำหนด

หุ้นทุน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ


- หุ้นสามัญ
ในขณะที่หุน้ กูม้ ีฐานะเป็ นเจ้าหนี้ ของบริ ษทั หุน้ สามัญจะเปรี ยบได้กบั การเป็ นเจ้าของ, เป็ น
หุน้ ส่ วนของบริ ษทั ซึ่งสามารถออกเสี ยง ลงคะแนนได้ แต่กต็ อ้ งยอมรับความเสี่ ยงของกิจการในฐานะ
เจ้าของด้วย
- หุ้นบุริมสิ ทธิ
เป็ นหุน้ ทุนที่ให้สิทธิพิเศษบางอย่างต่อผูถ้ ือหุน้ (เนื่องจากบางครั้งการระดมทุนด้วยหุน้ สามัญ
อาจจะทำได้ลำบาก) สิ ทธิพิเศษต่าง ๆ เช่น
- ได้เงินปันผลก่อนหุน้ สามัญ
- มีสิทธิออกเสี ยงได้เหมือนหุน้ สามัญ
- ปันผลตามเปอร์เซ็นต์ที่แน่นอน
- เงินปันผลที่ได้อาจจะสะสมข้ามปี หากปี ก่อนไม่มีการจ่ายปันผล
- หรื ออื่น ๆ อ่านได้จากเนื้ อหาในสัญญา
7

บริ ษทั ที่มีความได้เปรี ยบอย่างยัง่ ยืน มักจะไม่ มีห้ ุนบุริมสิ ทธิ หุน้ บุริมสิ ทธิอาจจะจัดเป็ นหุน้
ทุน เนื่องจากไม่มีการ “คืนเงินต้น” ถ้าอยากได้เงินต้องขายหุน้ (หุน้ กูม้ ีกำหนดเวลาคืนเงินต้น) แต่สิทธิ
พิเศษบางข้ออาจจะทำให้มนั กลายเป็ นหนี้ สิน เช่น กำหนดจ่ายปันผลทุกงวดแน่นอน จนผูถ้ ือหุน้ ไม่
ต้องรับความเสี่ ยงในฐานะเจ้าของ
ที่สำคัญ ดอกเบีย้ ที่ต้องจ่ ายจากการกู้น้ัน นำไปหักภาษีได้ ยิง่ มีมาก ยิง่ หักภาษีได้มาก
แต่ เงินปันผลที่ต้องจ่ ายเพราะหุ้นทุนนั้น นำไปหักภาษีไม่ ได้ และโดยมากเงินปันผล มักจะมีอตั ราที่สูง
กว่าดอกเบี้ยที่ตอ้ งจ่ายให้หุน้ กู้ ดังนั้นบริ ษทั ที่มีความได้เปรี ยบที่ยงั่ ยืนจะไม่มีหุน้ บุริมสิ ทธิ เพราะถือว่า
เป็ นเงินที่มีตน้ ทุนแพง
ส่ วนของผู้ถือหุ้น
หุน้ บุริมสิ ทธิ 0
หุน้ สามัญ 1,296
ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ 7,378
กำไรที่ยงั ไม่ได้จดั สรร 36,235
หัก หุ้นซื้อคืน – หุ้นสามัญ (23,375)
รวม ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ 21,534

หมายเหตุ ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ เกิดจากการขายหุน้ บุริมสิ ทธิหรื อหุน้ สามัญ สูงกว่าราคาพาร์


(ราคาพาร์ คือ ราคาของหุน้ ทุนที่บริ ษทั กำหนดเองเมื่อจดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั หรื อจดทะเบียนเพิม่ ทุน)
ราคาซื้ อขายหุน้ จะสูงหรื อต่ำตามผลประกอบการ หากบริ ษทั มีกำไร บริ ษทั ก็สามารถออกหุน้
เพิ่มทุนด้วย ราคาที่สูงกว่าราคาพาร์ เงินที่เป็ นส่ วนเกินจากราคาพาร์น้ ี เรี ยกว่า “ส่วนเกินมูลค่าหุน้ ” ใน
ทางกลับกัน ถ้าบริ ษทั ขาดทุน ราคาที่ซ้ื อขายกันอาจจะต่ำกว่าราคาพาร์ เงินที่ได้รับต่ำกว่าราคาพาร์น้ ี
เรี ยกว่า “ส่วนต่ำกว่ามูลค่าหุน้ ”
เช่น ราคาพาร์ที่บริ ษทั กำหนดไว้ คือ 100$ ต่อหุน้ แต่ขายให้สาธารณชน 120$ ต่อหุน้ ราคาที่
บันทึกในบัญชีหุน้ สามัญหรื อหุน้ บุริมสิ ทธิคือ 100$ ส่ วนอีก 20$ จะอยูใ่ นบัญชี ส่ วนเกินมูลค่าหุน้

ส่ วนของผู้ถือหุ้น
“ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ = ยอดรวมสิ นทรัพย์ของบริ ษทั – ยอดรวมหนี้ สิน”
หรื อ “ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ = (หุน้ บุริมสิ ทธิ + หุน้ สามัญ + ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ + กำไรที่ยงั ไม่ได้จดั สรร)
- หุน้ ซื้อคืน”

ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ มีแหล่งที่มา 3 แหล่ง คือ


1. ทุนที่จดั หามาตั้งแต่ตน้ จากการจำหน่ายหุน้ ทุนแก่สาธารณชน
2. การจำหน่ายหุน้ ทุนหลังจากที่บริ ษทั ก่อตั้งและดำเนินธุรกิจแล้ว
3. การสะสมของกำไรที่ไม่ได้จดั สรร
8

กำไรที่ยงั ไม่ ได้ จัดสรร เมื่อบริ ษทั ทำกำไรได้ บริ ษทั สามารถนำกำไรนั้นออกมาจ่ายเป็ น
เงินปันผล ,ใช้ซ้ือหุน้ คืน หรื อนำมาลงทุนขยายธุรกิจ และกฎหมายกำหนดให้บริ ษทั ต้องนำกำไรส่ วน
หนึ่ง เก็บสำรองเอาไว้ดว้ ย (สำรองตามกฎหมาย)
สรุ ปได้วา่ กำไรที่จดั สรรแล้ว คือ เงินที่จะจ่ายปันผล, ซื้อหุน้ คืน, สำรอง, ขยายงาน
ส่ วนกำไรที่ยงั ไม่ได้จดั สรรจะถูกสะสมไว้ทุกปี กำไรที่ยงั ไม่ได้จดั สรรในแต่ละปี จะถูกสะสมรวมเข้า
กับกำไรที่ยงั ไม่ได้จดั สรรที่มาจากปี ก่อนหน้าทั้งหมด
บริ ษทั เบิร์คเชียร์ แฮทธาเวย์ ประกาศหยุดการปันผล และนำกำไรสุ ทธิ 100% เข้าไปเก็บ
สะสมไว้ในคลัง เมื่อใดก็ตามที่โอกาสมาถึง บริ ษทั เบิร์คเชียร์ แฮทธาเวย์จะนำกำไรที่ไม่ได้จดั สรรนี้ ไป
ลงทุนในธุรกิจที่ทำเงินได้มากกว่า และนำเงินที่ได้มาเก็บสะสมเพิ่มในคลังกำไรอีก คลังกำไรของ
บริ ษทั เบิร์คเชียร์ แฮทธาเวย์เพิ่มขึ้นปี แล้วปี เล่า ทำให้กำไรก่อนหักภาษีจาก $4 เหรี ยญต่อหุน้ ในปี 1965
เพิ่มเป็ น $13,023 เหรี ยญต่อหุน้ ในปี 2007
หุ้นซื้อคืน – หุ้นสามัญ เมื่อบริ ษทั ซื้ อหุน้ ตนเองคืน บริ ษทั สามารถทำได้ 2 อย่าง คือ ยกเลิก
หรื อเก็บไว้ใช้ในโอกาสอื่น ๆ (เช่น แจกให้พนักงานในบริ ษทั หรื อนำมาจ่ายเป็ นหุน้ ปันผลแทนการ
จ่ายเงินปันผล เป็ นต้น)
หากยกเลิก หุน้ เหล่านั้นก็จะหมดไป แต่ถา้ ซื้อคืนมาเก็บไว้ หุน้ เหล่านี้จะถูกบันทึกในงบดุล
ในหมวดของผูถ้ ือหุน้ ในบัญชี “หุน้ ซื้ อคืน”
หุน้ ที่ซ้ื อคืน จะไม่มีสิทธิ์ ออกเสี ยง และไม่ได้รับเงินปันผล หุน้ ซื้ อคืนจะมีค่าติดลบในงบดุล
เนื่องจากมันจะไปหักลบกับส่ วนของผูถ้ ือหุน้
บริษัทที่มีความได้ เปรียบที่ยงั่ ยืน มักจะมีเงินเย็นไว้ ซื้อหุ้นคืน
เมื่อบริ ษทั ซื้ อหุน้ ของตนเองคืน จะทำให้จำนวนหุน้ ในมือผูถ้ ือหุน้ ลดลง ทำให้ผลประโยชน์
ของผูถ้ ือหุน้ ที่เหลือเพิ่มขึ้น และกำไรต่อหุน้ ที่เพิม่ ขึ้นจะทำให้ราคาหุน้ สูงขึ้นด้วย
ยกตัวอย่าง
หากบริ ษทั ทำกำไรได้ 10 ล้านเหรี ยญ และมีหุน้ ทั้งหมด 1 ล้านหุน้ กำไรต่อหุน้ จะเท่ากับ 10
เหรี ยญ หากเราเพิ่มหุน้ ทุนเป็ น 2 ล้านหุน้ กำไรต่อหุน้ จะลดลงเหลือ 5 เหรี ยญ
ในทำนองเดียวกันหากเราลดจำนวนหุน้ ในมือผูถ้ ือหุน้ ให้เหลือเพียง 5 แสนหุน้ กำไรต่อหุน้
จะเพิ่มเป็ น 20 เหรี ยญ
เพราะฉะนั้น หากบริ ษทั ซื้ อหุน้ คืน กำไรต่อหุน้ ก็จะเพิ่มขึ้น แม้วา่ กำไรสุ ทธิจะไม่เพิ่มขึ้น
ก็ตาม เมื่อกำไรต่อหุน้ สูงขึ้น ราคาหุน้ ก็จะสูงขึ้นเช่นกัน

ผลตอบแทนสำหรับส่ วนของผู้ถือหุ้น
9

ผลตอบแทนสำหรับส่ วนของผูถ้ ือหุน้ = กำไรสุ ทธิ  ส่ วนของผูถ้ ือหุน้


เช่น บริ ษทั แจ้งกำไรสุ ทธิในงบประจำปี ว่ามี 40 ล้าน และคำนวณส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ได้ท้ งั หมด 200 ล้าน
40
ผลตอบแทนสำหรับส่ วนของผูถ้ ือหุน้ คือ 20% ( 200 x 100 )

โคคาโคล่าบริ ษทั คู่ใจของวอร์เรน มีผลตอบแทนสำหรับผูถ้ ือหุน้ สูง 30% ริ กลี่ย ์ 24%


เฮอร์ชีย ์ 33% เป๊ ปซี่ 34%
ส่ วนบริ ษทั ที่อยูใ่ นธุรกิจที่มีการแข่งขันสูง ซึ่งไม่มีบริ ษทั ใดมีความได้เปรี ยบในการแข่งขัน
ผลตอบแทนสำหรับส่ วนของผูถ้ ือหุน้ จะน้อย เช่น สายการบินยูไนเต็ด มีผลตอบแทน 15% (ในบางปี ที่
มีกำไร) และอเมริ กนั แอร์ไลนส์มีผลตอบแทน 4% สายการบินเดลต้าและนอร์ทเวสท์ไม่ได้กำไรเลย
ข้ อควรระวัง
จากสูตร
ผลตอบแทนสำหรับผูถ้ ือหุน้ = กำไรสุ ทธิ  ส่ วนของผูถ้ ือหุน้
สามารถทำให้บริ ษทั ที่ ขาดทุนสุ ทธิ 316.636 ล้าน และส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ติดลบ 17.485
มีค่าเท่ากับ 18% ได้
(316.636)
(17.485) x 100 = 18.109

อย่าด่วนสรุ ปว่า บริ ษทั นี้ มีผลตอบแทนที่ดี 18%


เพราะการที่บริ ษทั ขาดทุนสิ ทธิ และมีส่วนของผูถ้ ือหุน้ ติดลบ (เพราะไม่มีใครสนใจ) เป็ น
สัญญาณที่บ่งบอกว่าบริ ษทั นี้ ย ่ำแย่

บางบริ ษทั ทำกำไรได้มากอีกทั้งเศรษฐกิจของบริ ษทั แข็งแกร่ งจนไม่ตอ้ งเก็บกำไรสะสมไว้


และนำไปซื้ อหุน้ คืน รวมถึงจ่ายปันผลให้ผถู้ ือหุน้
ทำให้ตวั เลขของกำไรสะสมมีนอ้ ยลง ในกรณี น้ี อาจจะเห็นตัวเลขของ ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ มีค่า
ติดลบ
สิ่ งที่อนั ตรายก็คือ บริ ษทั ที่จะล้มละลายนั้น ก็มีส่วนของผูถ้ ือหุน้ ติดลบเช่นกัน
10

บริ ษทั ใดที่มีกำไรสุ ทธิที่แข็งแกร่ ง แต่มีส่วนของผูถ้ ือหุน้ ที่ติดลบ เป็ นไปได้วา่ บริ ษทั นั้นมี
ความได้เปรี ยบในการแข่งขันที่ยงั่ ยืน
แต่บริ ษทั ใดมีส่วนของผูถ้ ือหุน้ ที่ติดลบและประวัติขาดทุนสุ ทธิ เป็ นไปได้ว า่ บริ ษทั นั้นใกล้
จะถึงวาระสุ ดท้าย

รู้ ที่มาของรายได้
ยกตัวอย่างการลงทุนด้วยหนี้
การที่บริ ษทั ยืมเงิน 100 ล้าน ในอัตรา 7% เพือ่ นำมาลงทุนเพื่อให้ได้กำไร 12% ฟังดูแล้วเข้า
ท่า แต่ให้ดูแหล่งที่มาของรายได้ดว้ ย
ธนาคารในวอลล์สตรี ท จะกูเ้ งิน ในอัตราดอกเบี้ย 6% เพื่อปล่อยกูใ้ นอัตรา 7% ซึ่งหมายความ
ว่าได้กำไร 1%
หากกูเ้ งิน 100,000 ล้าน จะได้กำไร 1% คือ 1,000 ล้าน ซึ่งกำไร 1,000 บ้าน ปรากฏขึ้นหลายปี
มันจะทำให้รู้สึกว่าเป็ นความได้เปรี ยบที่ยงั่ ยืน แม้วา่ ความจริ งจะไม่ใช่กต็ าม
การเกิดวิกฤตเมื่อเร็ ว ๆ นี้ ทำให้วงการธนาคารต้องสูญเงินนับพันบ้าน ด้วยการกูเ้ งิน 6% ไป
ปล่อยกูใ้ ห้ผซู้ ้ือบ้านในอัตรา 8% เมื่อเศรษฐกิจเริ่ มตก ผูท้ ี่ซ้ื อบ้านด้วยเงินกูเ้ ริ่ มหยุดผ่อนชำระหนี้ และ
เนื่องจากผูท้ ี่ซ้ื อบ้านด้วยเงินกูไ้ ม่มีแหล่งรายได้ที่ยงั่ ยืน ดังนั้นเหล่าธนาคารที่ปล่อยกูก้ ไ็ ม่มีดว้ ย

งบกระแสเงินสด
เนื่องจากการซื้ อขายบางครั้ง จะถูกบันทึกว่าได้กำไรทั้งที่ยงั ไม่ได้รับเงินมา เพราะมีการ
เครดิตขายเงินเชื่อให้ลูกค้า บริ ษทั จะต้องจัดทำงบที่แสดงการไหลเข้าออกของเงินสดตามความเป็ นจริ ง
แยกออกมาต่างหากอีกหนึ่งงบ นัน่ คือ งบกระแสเงินสด
งบกระแสเงินสด แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ
1. กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน คือ เงินสดที่ได้มาและใช้ไปในการดำเนินงาน
2. กระแสเงินสดจากการลงทุน คือ ส่ วนที่เกี่ยวกับการนำไปลงทุน ซึ่งมีท้ งั ลงทุนในการผลิต
เช่น ที่ดิน โรงงาน เครื่ องจักร รวมไปถึง ลงทุนในตราสารทางการเงิน เช่น หุน้ ทุน หุน้ กู้ พันธบัตร และ
การลงทุนในการฝากเงินระยะยาวด้วย
11

กระแสเงินสดจากการลงทุน มักจะติดลบ เนื่องจากเป็ นเงินที่จ่ายออกไป (มีค่าลบ เช่น ลงทุน


ซื้อที่ดิน เครื่ องจักร ฯลฯ ,มีค่าบวก เช่น เงินสดรับจากการขายโรงงาน ที่ดิน)
3. กระแสเงินสดจากกิจกรรมทางการเงิน คือ งบที่บ่งบอกว่า เงินสดที่ได้มานั้นมาจากการกู้
ยืมเท่าไหร่ มาจากเงินลงทุนของผูถ้ ือหุน้ เท่าไหร่ รวมถึงเงินสดที่ไหลออกจากการจ่ายปันผล
การซื้ อขายหุน้ ของบริ ษทั เช่น เมื่อบริ ษทั ขายหุน้ เพือ่ จะนำเงินมาสร้างโรงงาน เงินสดจะไหลเข้าบริ ษทั
เมื่อบริ ษทั ซื้ อหุน้ คืน เงินจะไหลออก

งบกระแสเงินสด : กระแสเงินสดจากการลงทุน
เราจะเริ่ มพิจารณาจากส่ วนนี้ก่อน งบกระแสเงินสดจากการลงทุน คือ การจ่ายเงินสำหรับ
สิ นทรัพย์ถาวรที่อายุมากกว่า 1 ปี เช่น ที่ดิน เครื่ องจักร โรงงาน รวมทั้งค่าใช้จ่ายสำหรับสิ่ งที่ไม่มีตวั
ตน เช่น สิ ทธิบตั ร เป็ นต้น สิ นทรัพย์เหล่านี้จะผ่านการจัดค่าเสื่ อมราคาตลอดอายุการใช้งาน เงินที่จ่าย
ไปกับสิ นทรัพย์เหล่านี้ จะถูกบันทึกในงบกระแสเงินสด หมวดกระแสเงินสดจากการลงทุน
การซื้ อรถบรรทุกใหม่ จัดเป็ นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับทุน เนื่องจากมูลค่าของรถบรรทุกจะตัดเป็ น
ค่าเสื่ อมตลอดอายุการใช้งาน ส่ วนค่าน้ำมันที่ใช้เติมนั้น จัดเป็ นค่าใช้จ่ายที่จะถูกหักออกจากรายได้
วอร์เรน กล่าวว่า เขาไม่ลงทุนในบริ ษทั โทรศัพท์ ซึ่งมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับทุนมหาศาลในการ
สร้างเครื อข่ายสื่ อสาร ที่จะส่ งผลต่อเศรษฐกิจระยะยาวของธุรกิจ
ในช่วง 10 ปี ที่ผา่ นมา โคคา โคล่า มีค่าใช้จ่ายในส่ วนนี้เพียง 19% ของกำไรรวม บริ ษทั มูด้ีส์
ในช่วง 10 ปี ที่ผา่ นมามีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับทุนเพียง 5% ของกำไรรวมเท่านั้น
ในขณะที่ จีเอ็ม ในช่วง 10 ปี ที่ผา่ นมาทำกำไรได้ 31.64$ ต่อหุน้ แต่ผลาญไปกับค่าใช้จ่ายที่
เกี่ยวกับทุนถึง 140.42$ ต่อหุน้ หรื อ กู๊ดเยียร์ ซึ่งมีกำไรรวม $3.67 ในช่วง 10 ปี ที่ผา่ นมา แต่มีค่าใช้จ่าย
เกี่ยวกับทุนรวม $34.68 ต่อหุน้
12

จีเอ็มมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับทุน สูงกว่ากำไรที่ทำได้ 444% และกู๊ดเยียร์ 950% เงินเหล่านั้นนำมา


จากไหน คำตอบก็คือ จากการกูธ้ นาคาร และการออกหุน้ กู้ การทำแบบนี้ ยงิ่ ทำให้บริ ษทั มีหนี้ สินเพิ่มใน
งบดุล และทำให้ตอ้ งจ่ายดอกเบี้ยมากขึ้น
แต่โค้กกับมูด้ ีส์มีกำไรมากพอที่จะซื้ อหุน้ คืน ซึ่งจะไปลดจำนวนหุน้ ในมือผูถ้ ือหุน้ ทำให้มี
กำไรต่อหุน้ มากขึ้น อีกทั้งยังนำกำไรไปลดหนี้ระยะยาวอีกด้วย ทั้ง 2 สิ่ งนี้บ่งบอกให้รู้วา่ โคคา โคล่า
และมูด้ ีส์ เป็ นธุรกิจที่มีความได้เปรี ยบที่ยงั่ ยืนเหนือคู่แข่ง
ให้เปรี ยบเทียบค่ าใช้ จ่ายที่เกีย่ วกับทุนทั้งหมด กับ กำไรสุ ทธิ ตลอดช่วง 10 ปี ที่ผา่ นมา เพื่อจะ
ได้เห็นภาพในระยะยาวว่าเกิดอะไรขึ้นบ้างกับธุรกิจ
จากประวัติที่ผา่ นมา บริ ษทั ที่มีความได้เปรี ยบในการแข่งขันจะมีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับทุนต่อ
กำไรสุ ทธิต ่ำกว่าคู่แข่ง เช่น ริ กลี่ยม์ ีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับทุนต่อกำไรสุ ทธิ 49% เป๊ ปซี่ 36%
อเมริ กนั เอ็กเพรส 23% โคคา โคล่า 19% มูด้ ีส์ 5%
หากบริ ษทั ใดมีประวัติค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับทุนต่อกำไรสุ ทธิ 50% หรื อน้อยว่า ถือว่าเป็ นบริ ษทั ที่
ดี แต่ถา้ ต่ำกว่า 25% อย่างสม่ำเสมอ หมายถึงบริ ษทั นั้นน่าจะมีความได้เปรี ยบในการแข่งขันที่ยงั่ ยืน
เหนือคู่แข่งค่อนข้างแน่นอน

งบกระแสเงินสด : กระแสเงินสดที่เกีย่ วกับกิจกรรมทางการเงิน


เมื่อบริ ษทั ทำเงินได้มาก หากไม่คิดจะสะสมเอาไว้ หรื อ นำไปลงทุน (ขยายงาน หรื อลงทุนใน
ธุรกิจใหม่) บริ ษทั สามารถนำเงินไปจ่ายเป็ นเงินปันผลให้ผถู้ ือหุน้ หรื อนำไปซื้ อหุน้ คืน
เนื่องจากผูถ้ ือหุน้ ต้องเสี ยภาษีสำหรับเงินปันผล วอร์เรนจึงไม่ชอบใช้เงินปันผลเป็ นตัวเพิ่ม
ความมัง่ คัง่ ให้ผถู้ ือหุน้ (ทำให้หลายคนไม่ค่อยสบายใจ)
วอร์เรนชอบนำเงินไปซื้ อหุน้ คืน ซึ่งจะลดจำนวนหุน้ ในมือผูถ้ ือหุน้ ให้นอ้ ยลง ทำให้กำไรต่อ
หุน้ สูงขึ้น และราคาหุน้ ก็จะสูงขึ้นในที่สุดด้วย
การที่จะดูวา่ บริ ษทั มีการซื้ อหุน้ คืนหรื อไม่ ให้ดูที่งบกระแสเงินสด ใต้หมวด เงินสดจาก
กิจกรรมทางการเงิน จะพบกับบัญชี “การออก(ซื้อคืน)หุน้ -สุ ทธิ” หากตัวเลขจากบัญชีน้ี มีค่าติดลบ
หมายถึง มีการจ่ายเงินซื้ อหุน้ คืน
หากบริ ษทั มีการซื้ อหุน้ คืนทุกปี ย่อมหมายถึง บริ ษทั นั้นมีโอกาสสูงที่จะมีความได้เปรี ยบที่
ยัง่ ยืน
13

เมื่อไหร่ จึงควรจะเข้ าซื้อ


การจ่ายในราคาต้นทุนที่ยงิ่ ต่ำเท่าใด อัตราผลตอบแทนก็ยงิ่ สูงเท่านั้น แล้วเมื่อไหร่ จึงจะเป็ น
จังหวะเข้าซื้อ ในบางคราวบริ ษทั ที่มีความได้เปรี ยบที่ยงั่ ยืนก็อาจมีข่าวที่ทำให้หุน้ ราคาตก เช่น สิ นค้า
ตัวใหม่ไม่เป็ นที่นิยมตามที่คาดการณ์ไว้ ช่วงที่ราคาหุน้ ตกต่ำนี้จะเป็ นโอกาสเหมาะที่จะได้หุน้ ดีราคา
ถูก
ควรหลีกเลี่ยงการเข้าซื้ อในช่วงตลาดขาขึ้น เพราะราคาหุน้ จะพุง่ ขึ้นสูง หากเข้าซื้ อในช่วงนี้
จะทำให้ตน้ ทุนของหุน้ สูง และอัตราผลตอบแทนก็ยงิ่ น้อยลง
แม้แต่บริ ษทั ที่มีความได้เปรี ยบที่ยงั่ ยืน อาจจะให้ผลตอบแทนในระดับที่ธรรมดา ถ้ามีราคา
ต้นทุนที่สูงเกินไป
ให้ดูที่อตั ราส่ วนราคาต่อกำไร หรื อ P/E หากมีตวั เลขสูงเป็ นประวัติการณ์ จะรั้งรอการลงทุน
เอาไว้ก่อน
อะไรคือ P/E
P/E เป็ นอัตราส่ วนของราคาปัจจุบนั ต่อกำไรต่อหุน้

P/E = ราคาปัจจุบนั
กำไรต่อหุน้

- บางคนใช้ P/E วัดค่ าความแพง-ความถูก ของราคาหุน้ “เบนจามิน เกรแฮม” คิดว่าการหา


มูลค่า จากผลกำไรนั้นดูเขลา เนื่องจากกำไรนั้นเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
- บางคนใช้ P/E เพื่อหาระยะเวลาคืนทุน เช่น บริ ษทั มีกำไรต่อหุน้ 2 บาท ถ้าตอนนี้ หุน้ ราคา
10 บาท จะคืนทุนได้ใน 5 ปี แต่ค่า P/E ไม่ใช่ตวั เลขตายตัว P/E นั้น เปลี่ยนแปลงได้เสมอ
P/E บอกได้ แค่ เรื่องราคา ไม่ ได้ บอกถึง คุณภาพ อย่ าตัดสิ นซื้อหุ้นโดยดูจากค่ า P/E เพียงอย่ าง
เดียว หุ้น P/E ต่ำใช่ ว่าจะดีทุกตัว
14

เมื่อไหร่ ที่ควรขาย
นักลงทุนแบบเน้นคุณค่า เข้าซื้อหุน้ ด้วยความตั้งใจที่จะถือหุน้ ไว้ให้นานที่สุดเท่าที่จะนานได้
หากบริ ษทั ยังมีการเติบโตอยู่ เราจะไปเสี ยค่าคอมมิชชัน่ และภาษีจากการซื้ อขายหุน้ บ่อย ๆ ไปทำไม
วอร์เรน บัฟเฟตต์ กล่าวว่า “ระยะเวลาถือครองหุน้ สุ ดโปรดของผม คือ ตลอดไป” แต่บางครั้ง
บัฟเฟตต์ ก็มีการขายหุน้ ที่เขาชอบ เพื่อนำเงินไปซื้ อหุน้ ที่เขาชอบมากกว่า
มี 3 กรณี ที่ทำให้การขายธุรกิจชั้นดี อาจจะให้ประโยชน์มากกว่า
1. เมื่อต้องการเงินไปลงทุนในบริ ษทั ที่ดีกว่า ในราคาที่ดีกว่า
2. เมื่อบริ ษทั กำลังจะสูญเสี ยความได้เปรี ยบในการแข่งขันที่ยงั่ ยืน เช่น หนังสื อพิมพ์และ
สถานีโทรทัศน์เคยเป็ นธุรกิจที่ดีมาก แต่เมื่ออินเตอร์เน็ตเข้ามา ความได้เปรี ยบที่ยงั่ ยืนก็เริ่ มน่าสงสัย
3. ในภาวะตลาดขาขึ้น อาจจะทำให้ราคาหุน้ พุง่ สูงเกินเป้ าหมาย และความเป็ นจริ งของกิจการ
ราคาหุน้ ที่ข้ ึนสูงนั้นในที่สุดก็ตอ้ งตกลงมาตามกลไกของตลาด (ราคาสูงเพราะมีการซื้ อ-ขายอย่างบ้า
คลัง่ ) เมื่อหุน้ ไต่สูง การขายและนำเงินไปลงทุนที่อื่น อาจให้ผลที่ดีกว่าการครอบครองธุรกิจต่อไป
สำหรับในข้อ 3 นี้คำว่า ราคาสูงเกินเป้ าหมายนั้น แต่ ละคนมี ราคาเป้าหมายที่แตกต่ างกัน
เช่น “เบนจามิน เกรแฮม” กำหนดว่าราคาสูงขึ้นกว่า 50% แต่ หนังสื อ “วอร์เรน บัฟเฟตต์
และการตีความงบการเงิน” กำหนดว่า อัตรา P/E ที่ 40 หรื อมากกว่า
ยกตัวอย่าง
หุน้ ตัวหนึ่งมีกำไรต่อหุน้ 0.8 บาท ราคาปัจจุบนั คือ 10 บาท ค่า P/E เท่ากับ 12.5
(12.5 = 10  0.8) ถ้า P/E กลายเป็ น 40 ราคาเป้ าหมายคือ 32 บาท (40 = 32  0.8) โดยสมมติวา่ กำไร
ต่อหุน้ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
อย่างไรก็ตาม เมื่อเราขายหุน้ ออกไปในตลาดขาขึ้นแล้ว ก็ไม่ควรจะไปซื้ อธุรกิจอื่นที่ซ้ื อขาย
กันอยูท่ ี่ P/E เท่ากับ 40 อีก ควรพักการลงทุนหรื อนำเงินไปซื้ อพันธบัตร เพื่อรอให้ตลาดกลับมาอยูใ่ น
ขาลงอีกครั้ง
15

“I look for businesses in which I think


I can predict what they’re going to look like
in ten to fifteen years’ time.
Take Wrigley’s chewing gum.
I don’t think the Internet is going to
change how people chew gum.”
- Warren Buffett -

“ผมมองหาธุรกิจที่ผมคิดว่าสามารถทำนายได้วา่ มันจะเป็ น
อย่างไรในอีกสิ บถึงสิ บห้าปี ดูริกลี่ย ์ เป็ นตัวอย่าง
ผมไม่คิดว่าอินเตอร์เน็ตจะเปลี่ยนวิธีการเคี้ยวหมากฝรั่งของคน”
- วอร์เรน บัฟเฟ็ ตต์ -

You might also like