You are on page 1of 32

1

คู่มือการใช้
เครื่ องตรวจวัด HbA1C ชนิดอัตโนมัติ

รุ่ น LD-600
Automate HbA1c Analyzer

บริษัทไอเมดลาบอราทอรี่จากัด

240/2,240/41 ชั้น 1,20 อาคาร อโยธยาทาวเวอร์ แขวงห้ วยขวาง

เขตห้ วยขวาง กรุงเทพ 10310


2

สารบัญ
เรื่ อง หน้ า

บทนา 3

หลักการตรวจวัด 4

การคานวณค่า %Hb 5

คุณสมบัติทวั่ ไปของเครื่ อง 6

น้ ายาและองค์ประกอบของเครื่ อง 7

การเปิ ดเครื่ อง 9

การสั่ง Calibrate 11

การสั่ง Control 13

การสัง่ งานคนไข้ 15

การเรี ยกดูผล 18

การเปลี่ยนน้ ายา 19

การเปลี่ยน Chromatography Column 21

การเปลี่ยน Pre-column Filter 23

การปิ ดเครื่ อง 25

การบารุ งรักษา 26

ความสาคัญทางคลินิก %HbA1c 27

ความผิดปกติของกราฟและการแก้ไขเบื้องต้น 28
3

บทนา

Glycosylated hemoglobin (GHb) ที่เราทราบกันดีในชื่ อ HbA1 เกิดจากการรวมกันระหว่างสาร


Hemoglobin กับCarbohydrate ใน Cell เม็ดเลือดแดง ซึ่ง HbA1 ยังจาแนกได้อีก 3 ชนิด แบ่งตามชนิดของ
Carbohydrate ที่มาเกาะ ได้แก่ HbA1a, HbA1b, และ HbA1c ซึ่ง 80% จะเป็ น HbA1c

HbA1c คือ Glycosylated hemoglobin ที่เกิดจากการรวมกันระหว่างโมเลกุลของน้ าตาล Glucose


กับส่ วนที่เป็ น amino-terminal (ß chain) ของ Hemoglobin เนื่องจาก HbA1c มีความคงตัวและปริ มาณของ
HbA1c มีความสัมพันธ์แบบแปรผันตรงกับระดับน้ าตาลในเลือด ทางการแพทย์จึงนามาใช้เป็ นตัวสะท้อนถึง
ระดับน้ าตาลที่แท้จริ งในเลือดได้ 1-3 เดือนย้อนหลัง (ตามอายุของเม็ดเลือดแดง 120วัน) ซึ่งการติดตามระดับ
HbA1c จะช่วยให้แพทย์ประเมินการรักษาผูป้ ่ วยเบาหวานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น

ในปี 2010 American Diabetes Association®(ADA)ได้กาหนดระดับ A1cไว้ดงั นี้


HbA1c ≥6.5% คือระดับที่บ่งชี้ว่าเป็ นคนไข้ เบาหวาน
HbA1c 5.7%- 6.4% คือกลุ่มทีม่ ีความเสี่ ยงสู งต่ อการเป็ นโรคเบาหวาน
ซึ่ง International Federation of Clinical Chemistry (IFCC) ได้แนะนาให้รายงานผลทั้ง 2 แบบคือทั้งแบบที่
เป็ น % และ mmol/mol.
ซึ่งค่ าปกติ NGSP คือ 4% - 6% และ 20 - 42 mmol/mol สาหรับ IFCC
ส่ วนกลุ่มคนไข้ เบาหวานควบคุม NGSP ควร <7% และ <53mmol/mol สาหรับ IFCC
เครื่ อง LD600 เป็ นเครื่ องตรวจวิเคราะห์ Hb อัตโนมัติแบบตั้งโต๊ะที่สามารถแยกชนิดของ Hb แต่ละชนิด
รวมถึง Hb ที่ผิดปกติออกจากกันได้จาก Hemolysed Whole blood ซึ่งกระบวนการใช้งานของเครื่ องง่ายและ
ไม่ซบั ซ้อน
4

หลักการการตรวจวัด Hemoglobin
LD600 Automated HbA1c analyzer ใช้หลักการ HPLC (Cation exchange chromatography
method) โดยใช้ตวั ชะ 2 ชนิดสาหรับแยกชนิดของ Hemoglobin สาหรับแยกชนิดของ Hemoglobin ออกจาก
กัน เมื่อมีน้ าตาลมาเกาะบนสาย Hemoglobin ( Glycosylation) จะทาให้ Hemoglobin เกิดการสู ญเสี ยประจุ
บวกที่บริ เวณผิวหน้า จึงส่ งผลให้ Glycated Hemoglobin และ non-glycate Hemoglobin มีความแรงของ
ประจุบวกที่แตกต่างกัน จากปัจจัยข้างต้น Glycated Hemoglobin จึงมีความแรงของประจุบวกน้อยกว่า non-
glycate Hemoglobin ทาให้แรงในการยึดเกาะกับ Cation-Exchanger (เฟสนิ่ง)ใน Column น้อยกว่า Non-
glycate Hemoglobin

Cation Exchanger Chromatography Column

ดังนั้นเมื่อสิ่ งส่ งตรวจผ่านเข้าไปใน Chromatography Column สาร Hemoglobin แต่ละชนิดก็จะไป


เกาะกับตัวแลกเปลี่ยนประจุบวก (Cation-Exchanger) เมื่อผ่านตัวชะ Eluent A, Eluent B และ Eluent C (เฟส
เคลื่อนที่) ซึ่งมีคุณสมบัติของ PH และความแรงของประจุที่แตกต่างกันเข้าไปใน Column จะทาให้สามารถ
แยก Hemoglobinได้ 4 ชนิ ดได้แก่ HbA1(a+b), HbA1c และ HbA0 (Non-glycated Hb ต้องใช้ความแรงของ
ประจุที่สูงที่สุดในการชะซึ่ง Hemoglobin จะถูกชะแยกออกมาจาก columnในอัตราเร็ วที่แตกต่างกันขึ้นอยู่
กับจานวนประจุและความแรงของประจุที่จบั กับเฟสนิ่งแล้วผ่านเข้ามาที่บริ เวณ Colorimetric cell ของเครื่ อง
และวัดค่าการดูดกลืนแสงโดยใช้ 2 ความยาวคลื่นคือ 420 และ 600 nm. ซึ่งรู ปแบบของการรายงานผลจะ
5

แสดงในรู ปของ % โดยคานวณจากพื้นที่ใต้กราฟของ Hemoglobin แต่ละชนิด เทียบกับพื้นที่ใต้กราฟ


Hemoglobin ทั้งหมด (NGSP unit)
การคานวณค่ า % Hemoglobin
1. Total Peak aerea (STotal )
a. Stotal= SHbA1a+ SHbA1b+SHbF+SL-A1c +SS-A1c +SHbA0
2. % HbA1a
a. %HbA1a = (SHbA1a/ Stotal) x100
3. %HbA1b
a. %HbA1b = (SHbA1b/ Stotal) x100
4. %HbF
a. %HbF = (SHbF/ Stotal) x100
5. %L-A1c
a. %L-A1c = (SL-A1c/ Stotal) x100
6. % HbA1c:NGSP unit
a. %HbA1c = S – A1c = (SS-A1c/ Stotal) x100
7. % HbA0
a. %HbA0 = (SHbA0/ Stotal) x100
8. IFCC unit (mmol/mol Hb)
a. HbA1c(mmol/mol)=(%HbA1c-2.15) x10.929
9. Average blood glucose concentration(eAG)
a. eAG(mmol/L)=(1.59 x %HbA1c) -2.59 <mmol/Lx18=mg/dL>

ตัวอย่าง Diagram
6

คุณสมบัติทวั่ ไปของเครื่ อง
Weight: ≤50 Kg
Operating Temp: 10 ถึง 30๐C
Autoloader capacity: 110 tubes (11 rack continue)
Principle: HPLC (High Performance Liquid Chromatography)
Test mode: Whole blood mode และ Pre-dilute mode
Specimen: Whole blood (EDTA-K2) ไม่ตอ้ งเตรี ยม Lysate ก่อนเข้าเครื่ อง
Volume in sample tube: >1.0mL
Specimen: Whole blood (EDTA-K2 หรื อ EDTA-Na2 ปริ มาตร 1.5-2.2 mg/ml) โดยที่ตอ้ ง
เป็ น vacuum tube เท่านั้น เก็บที่ 2-8๐C ได้นาน 7วัน และที่อุณหภูมิห้องได้นาน 30
นาที
Tube size: 12×75 mm ถึง 13×75 mm
Micro-cup size: 14×36 mm สาหรับ calibrator และ control
ปริ มาตร cup 2 ml สาหรับ pre-dilute sample
Sample volume: 10uL สาหรับ Whole blood mode (ต้องเจาะเลือดให้อย่างน้อย 1 mL)
: 10uL สาหรับ Pre-dilute Mode
(whole blood : Hemolysis =1:200 ใช้whole blood 10uL+Hemolysis 2000uL และ
ต้องเตรี ยมให้ได้ปริ มาตรรวมมากว่า 0.5 mL)
Wavelength: 420 และ 660 nm.
Analysis time: ประมาณ 65 วินาทีต่อราย (รายแรกที่ออกผลหลังสั่งเริ่ มทางาน ใช้เวลา 3 นาที)
Linearity for HbA1c: 3%-18% (Correlation coefficient: r>0.99)
Reference Interval: 4%-6% (NGSP unit)
Reproducibility: %CV<2.0%
Throughput : 50 samples/hour
Storage capacity : 10,000 results
7

นา้ ยาและองค์ ประกอบของเครื่ อง

Serial # Name หน้าที่


1 Thermal printer ใช้สาหรับพิมพ์ผลคนไข้และกราฟ
2 Touch screen เป็ นหน้าจอแอลซีดี ใช้สาหรับแสดงผลและสั่งการเครื่ อง
3 Piercing assembly ใช้สาหรับแทงผ่าน vacuum tube และดูดสิ่ งส่ งตรวจ
4 Analysis switch ใช้สาหรับเปิ ดเครื่ อง
5 Sample feeding ใช้สาหรับโหลด rack เพื่อนาสิ่ งส่ งตรวจเข้าตรวจแบบอัตโนมัติ

Reagent
น้ ายา ปริ มาตร หน้าที่
1. Eluent A 900 mLx2 (600 test) ทางานร่ วมกันกับEluent B,C เพื่อปรับค่าPH ในColumn แยกชนิดHb
2. Eluent B 500 mL (600 test) ทางานร่ วมกันกับEluent A,C เพื่อปรับค่าPH ในColumn แยกชนิดHb
3. Eluent C ทางานร่ วมกันกับEluent A,B เพื่อปรับค่าPH ในColumn แยกชนิดHb
4. Hemolysis 1300 mLx3 (600 test) สลายเม็ดเลือดแดง เพื่อให้ได้Hemoglobinออกมาในสารละลาย

Accessories
เครื่ องมือ Total test หน้าที่
1.Pretreatment Column 600 tests ใช้สาหรับกรอง Particle ในตัวอย่างทดสอบ
2.Chromatography Column 3000 tests ประกอบด้วย Cation resins สาหรับแยกชนิดHb
3.Pump Tubing 800 tests เป็ นVale 6ทาง ใช้สาหรับควบคุมการไหลของSample และEluent
8

Life of Key part


เครื่ องมือ Total test หน้าที่
1. 6-Way valve 80,000 test เป็ นVale 6ทาง ใช้สาหรับควบคุมการไหลของSample และEluent
2. Sample probe 30,000test สาหรับเจาะฝา และดูดSample
3.Syring 3,000,000 cycle ควบคุมปริ มาตรการดูดSample
9

การใช้ งานเครื่ อง
ก่อนทาการเปิ ดเครื่ องควรทาการตรวจสอบความพร้ อมของเครื่ องดังนี้
1. ก่อนเริ่ มใช้งานเครื่ องในแต่ละต้องทา Self-test เสมอ เพื่อตรวจสอบระบบเครื่ องว่าสามารถใช้งาน
ได้ปกติ
2. ตรวจสอบปริ มาณ Eluent A, Eluent B, Eluent C และ Hemolysis reagent (Lyse) ให้เพียงพอต่อการ
ใช้งาน
3. ตรวจสอบถังน้ าทิ้ง
4. ตรวจสอบระบบสายน้ ายาว่าไม่มีการรั่วซึ ม
5. ตรวจสอบ Printer
การเปิ ดเครื่ อง
1. เปิ ด Switch ที่ดา้ นหลังเครื่ องและด้านหน้าเครื่ องตามลาดับเครื่ องจะทาการบูทระบบ ดังรู ป
10

2. หลังจากนั้นจะแสดงหน้าจอให้เรา Login ดังรู ป

3. ป้อน “User” และ “Password” หลังจากกด “Login” แล้วเครื่ องจะเข้าสู่ โปรแกรมล้างเครื่ องอัตโนมัติ ซึ่ง
จะใช้เวลาประมาณ 900 วินาที เมื่อเสร็ จสิ้ นจะเข้าหน้าจอแสดงผลในการสั่งงานดังรู ปด้านล่าง
11

4. การสั่ งงาน Calibration


ทาการ Calibrateเมื่อ
1. ติดตั้งเครื่ องครั้งแรก
2. เมื่อมีการเปลี่ยน Pre-column หรื อ Column chromatography
3. เมื่อมีการเปลี่ยน Pump tubing
4. เมื่อมีการเปลี่ยนน้ ายา Lotใหม่
5. เมื่อมีการปิ ดเครื่ องเป็ นระยะเวลานาน
6. เมื่อทดสอบ Precision เครื่ องแล้วพบว่าเครื่ องไม่นิ่ง โดยมีค่า %CV ที่สูง
4.1. เลือกเมนู “Calib” จะปรากฏเมนูดงั ภาพ

4.2. ป้อน ID หรื อ Lot และ Exp. Date ให้ตรงตาม Lot ที่ใช้
4.3. เลือก “Edit”ใส่ ค่า Target Cal 2 ระดับ โดย CAL-1 เป็ น Low level และ CAL-2 เป็ น High level
ตามลาดับ
4.4. ละลาย Calibrator ด้วย distilled water ปริ มาตร 100 µL ทั้ง Low level และ High level
4.5. เตรี ยม Special micro-cup เปล่า 5 cups ใส่ ใน Rack และเติมน้ ายา Hemolysis reagent ไว้ cup ละ
2000 µL
4.6. ใส่ เลือดคนไข้ 10 µL ใน cup ที่ 1-3 แล้วผสมให้เข้ากันดี (ใช้สาหรับ Activate column)
4.7. ใส่ ตวั Cal 10 µL ใน tubeที่ 4-5 (Low และ High ตามลาดับ) แล้วผสมให้เข้ากันดี
12

4.8. นา micro-cup ทั้ง 5 cups วางบน Rack โดยเทินบน adapter ดังรู ปด้านล่าง แล้ววางลงใน rack load
ด้านขวามือจากนั้นกด “Start”

4.9. หากค่า cal. ที่ได้แตกต่างจาก Target เกิน 20% ของ Low level และ/หรื อ High level เครื่ องจะฟ้อง
“Fail calibration”
4.10.หากค่า cal. ที่ได้คานวณ %CV ได้ค่า >10% เครื่ องจะฟ้อง “Fail calibration”
13

5. การสั่ งงาน Control


5.1. เลือกเมนู “QC” จะปรากฏเมนูดงั ภาพ

5.2. ละลาย Control ด้วย distilled water ปริ มาตร 100 µL ทั้ง Low level และ High level แล้วผสมให้เข้า
กันดี ระวังอย่าให้มีฟองอากาศ
5.3. ป้อนข้อมูล File No., Level, Target value type, Lot No., Exp. Date, Target และ Limit ให้ถูกต้อง
ตาม Lot ที่ใช้
5.4. ใส่ Cup เปล่า 2 cups ใน rack ตาแหน่ งที่ 4 และ 5 ตามลาดับ โดยวางเทินบน Adapter

5.5. เติม Hemolysis reagent 2000 µL ลงใน cup ที่เตรี ยมไว้


5.6. เติม Control Level 1 และ 2 ปริ มาตร 10 µL ทั้ง 2 cups ตามลาดับ แล้วผสมให้เข้ากัน
5.7. วาง Rack Control ที่เตรี ยมไว้ ลงในเครื่ อง แล้วเลือก Strat QC
14

5.8. การดูผล Control เลือกที่เมนู “QC” จะปรากฏดังรู ป

5.9. ทาการเลือกข้อมูลที่ตอ้ งการดูที่หมายเลข 1 แล้วเครื่ องจะแสดงผลในรู ปแบบกราฟที่หมายเลข 2 ดัง


รู ปด้านบน (กรณี มีการ run control เกิน 3 ครั้งใน level เดียวกันใน 1 วันเครื่ องจะหาค่าเฉลี่ยให้และ
plot graph เป็ น 1 จุด)
15

6. การสั่ งงานคนไข้
6.1. เลือกเมนู “RUN” จะปรากฏตามภาพด้านล่าง

6.2. ขั้นตอนการวิเคราะห์ตวั อย่างแบบอัตโนมัติ ต้องตรวจสอบให้แน่ใจวาเครื่ องพร้อมที่จะทาการ


ทดสอบ โดยสังเกตที่แถบสถานะที่มุมบนขวาจะแสดงข้อความว่า “Idle”
6.3. ป้ อน Sample ID. เริ่ มต้นของตัวอย่างที่จะทดสอบ แต่หากไม่ตอ้ งการให้ขา้ มขั้นตอนนี้ เครื่ องจะเริ่ ม
หมายเลขอัตโนมัติจาก 0001 ทุกวัน จากนั้นจะเพิ่มขึ้นตามลาดับเลข
6.4. วางตัวอย่างที่เตรี ยมไว้ใน rack ตามลาดับ กรณี เป็ นเลือดครบส่ วนสามารถวางบน rack ได้เลย แต่
กรณี เป็ นตัวอย่างที่เจือจาง (pre-dilute sample) ต้องใช้ adapter ก่อนที่จะวางบน rack
6.4.1. โหมด whole blood (WB) ต้องเจาะเลือดให้ได้มากว่า 1 ml สามารถวาง tube ที่ sample rack
และสัง่ run ได้ทนั ที
6.4.2. กรณี ที่เป็ นการสั่งงานผ่านระบบ LIS สามารถวาง Sampleใน Rack แล้ว สั่ง RUN เพื่อตรวจ
วิเคราะห์ได้เลย
6.4.3. โหมด pre-dilute mode (กรณี เจาะเลือดได้นอ้ ยกว่า 1 ml) ต้องเตรี ยมตัวอย่างก่อนตรวจ โดย
ใช้ whole blood 10uL+Hemolysis 2000uL ต้องเตรี ยมให้ได้ปริ มาตรรวมมากว่า 0.5 mL
6.5. วาง rack ที่ใส่ ตวั อย่างเลือดแล้วลงบน sample loading ด้านขวาดังรู ปด้านล่าง กรณี ที่เป็ นบาร์ โค้ดให้
หันบาร์ โค้ดออกทางด้านที่เป็ นช่องว่างของ sample rack
16

วาง sample rack ฝั่งขวาของเครื่ อง

กรณีบาร์ โค้ ดให้ หันออกมาฝั่ งที่มีสัญลักษณ์ วงกลม

6.6. คลิกที่ปุ่ม “RUN” ที่ตวั เครื่ องเพื่อเริ่ มวิเคราะห์ตวั อย่างโดยอัตโนมัติ แถบสถานะมุมบนขวาจะ


เปลี่ยนเป็ น “analysis” และไฟสี เขียวจะกระพริ บ
6.7. ผลรายที่ตรวจล่าสุ ดจะแสดงที่หน้าจอ
6.8. หลังจากการวิเคราะห์ตวั อย่างเสร็ จสิ้ น แถบสถานะมุมบนขวาจะเปลี่ยนกับมาเป็ น “Idle” ซึ่ง
สามารถนา sample rack และหลอดเลือดตัวอย่างออกจากเครื่ องได้
6.9. ในหระหว่างที่เครื่ องทาการวิเคาะห์อยู่ หากต้องการหยุดการทางานเครื่ องให้กดปุ่ ม “STOP” ที่
ตัวเครื่ อง หลังจากที่เครื่ องตรวจตัวอย่างปั จจุบนั เสร็ จก็จะทาการล้างเครื่ องอัตโนมัติและจะหยุดการ
ทางาน สถานะมุมขวาจะเปลี่ยนจาก “analysis” เป็ น “Idle” และ sample rack ปั จจุบนั ที่กาลังตรวจ
จะถูกผลักออกมาจากเครื่ อง และตัวอย่างที่เหลือจะไม่ถูกทาการวิเคราะห์ หากกดปุ่ ม “STOP” นาน
กว่า 3 วินาที เครื่ องจะหยุดทาการตรวจวิเคราะห์ทนั ทีและแถบสถานะมุมขวาบนจะเปลี่ยนเป็ น
“Idle”
6.10. หากต้องการแทรกตรวจแบบด่วน (STAT/Emergency) ในระหว่างการวิเคราะห์หากมีตวั อย่างที่
ต้องทาการทดสอบก่อน ให้คลิกปุ่ ม “STAT” ที่ตวั เครื่ อง และวางหลอดเลือดที่ตอ้ งการตรวจก่อน
ลงบนตาแหน่งวางแบบ STAT แสดงดังรู ปด้านล่าง
17

ที่หน้าจอเครื่ องจะแสดงข้อความดังรู ปด้านล่าง คลิกที่ปุ่ม “OK” เพื่อยืนยัน หรื อ “Cancel” หาก


ต้องการยกเลิก

เมื่อเครื่ องตรวจตัวอย่าง STAT เสร็ จสิ้ น ก็จะกลับไปตรวจตัวอย่างก่อนหน้าที่มีการสั่งการไว้แล้ว


18

7. การเรี ยกดูผล
7.1. เข้า Menu Data จากหน้าจอหลัก จะปรากฏดังภาพด้านล่าง

7.2. เลือกเงื่อนไขที่เราต้องการค้นหา เช่น ช่วงวันที่ หรื อ Sample ID แล้ว เลือก Search ตามลาดับ
19

8. การเปลีย่ นนา้ ยา
8.1. กรณี ตอ้ งการเปลี่ยนน้ ายา จากหน้าจอหลัก เลือก “Maintenance” จะปรากฏดังภาพด้านล่าง

8.2. ทาการเปลี่ยน น้ ายา Eluent A, B, C หรื อ Hemolysis โดยกดที่เมนู “Change” ในรายการที่ตอ้ งการ
เปลี่ยน จะมีกล่องข้อความให้ป้อนข้อมูล ตัวอย่างดังรู ป
20

8.3. ป้อนข้อมูลให้ถูกต้องตามกล่องข้อความจากนั้นกด “Yes” หากต้องการยืนยัน หรื อกด “No” หาก


ต้องการยกเลิก
8.4. เลือก Prime เครื่ องจะทาการ Prime และ Reset Volume น้ ายา โดยไปที่ “Menu” – “Prime and
pack” (ควร Prime อย่างน้อย 3ครั้งเมื่อเปลี่ยนชุดน้ ายาใหม่)
8.5. หลัง Prime เสร็ จ ให้กลับไปที่หน้าจอหลัก แล้วเลือก RUN แล้วให้สังเกตค่า AD valve โดยไปที่
"Menu" > "Debug" > "Optical Debug"> Start Reading ค่าต้องอยูร่ ะหว่าง 3100000-3400000 ถ้า
ค่าต่ากว่าเกณฑ์ดงั กล่าวให้ดาเนินการ Prime น้ ายาซ้ าอีกรอบ
21

9. การเปลีย่ น Chromatography Columns


9.1. ก่อนทาการเปลี่ยนตรวจสอบให้แน่ใจว่าเครื่ องไม่ได้กาลังทางาน
9.2. เปิ ดฝาด้านหน้าเครื่ องฝั่งซ้ายออกจะเจอชุด Chromatography Columns ดังรู ปด้านล่าง

9.3. ถอด Chromatography Columns เดิมโดยหมุน Joint ซ้าย-ขวา ออกแล้วทาการเปลี่ยน Columns ใหม่
เข้าไปแทนที่ โดยสายที่อยูใ่ น Joint ซ้าย-ขวา ยืน่ เข้ามาด้านในอย่างน้อย 3 mm ดังรู ปด้านล่าง

9.4. หมุน Joint ซ้าย-ขวา กลับเข้าไปใน Columns ใหม่ โดยหัน Columns ให้ถูกทางตามลูกศร ดังรู ป
ด้านล่าง
22

9.5. หลังจากเปลี่ยน Columns เสร็ จ ให้ไปที่ “Menu” – “Perfuse and Pack”—“Combined Perfusion”
เพื่อตรวจสอบว่ามีการรั่วซึ มหรื อไม่หลังจากเปลี่ยน Columns ใหม่
9.6. เมื่อไม่พบว่ามีการรั่วซึ มให้ประกอบกลับไปที่ตาแหน่งเดิม โดยทาความสะอาดโดยรอบบริ เวณด้วย
ผ้าสะอาด
9.7. หลังจากนั้นไปที่ “Maintenance” – click “Change” ที่ดา้ นหลัง Column ดังรู ปด้านล่าง

9.8. หลังจากกด “Change” จะแสดงกล่องข้อความดังรู ปด้านล่าง

9.9. ป้อน Serial No. จากนั้นกด “Yes” หากต้องการยืนยัน หรื อกด “No” หากต้องการยกเลิก
23

10. การเปลีย่ น Pre-column Filter


10.1.ก่อนทาการเปลี่ยนตรวจสอบให้แน่ใจว่าเครื่ องไม่ได้กาลังทางาน
10.2.เปิ ดฝาด้านหน้าเครื่ องฝั่งขวา จะพบ Pre-column Filter ดังรู ปด้านล่าง

10.3.ถอด Filter อันเดิมที่ใช้แล้วออกแทนที่ดว้ ย Filter ใหม่


10.4.เมื่อเปลี่ยน Filter เสร็ จ ให้ไปที่ “Menu” – “Perfuse and Pack”—“Combined Perfusion” เพื่อ
ตรวจสอบว่ามีการรั่วซึ มหรื อไม่หลังจากเปลี่ยน Columns ใหม่
10.5.เมื่อไม่พบว่ามีการรั่วซึ มให้ประกอบกลับไปที่ตาแหน่งเดิม โดยทาความสะอาดโดยรอบบริ เวณ
ด้วยผ้าสะอาด
10.6.หลังจากนั้นไปที่ “Maintenance” – click “Change” ที่ดา้ นหลัง Filter ดังรู ปด้านล่าง

10.7.หลังจากกด “Change” จะแสดงกล่องข้อความดังรู ปด้านล่าง


24

10.8.กด “Yes” หากต้องการยืนยันโดยเครื่ องจะป้อนวันที่เปลี่ยนให้โดยอัตโนมัติ หรื อกด “No” หาก


ต้องการยกเลิก
25

11. การปิ ดเครื่ อง


11.1.กรณีปิดเครื่ องประจาวัน
เลือก “Menu” -- “Shutdown” เครื่ องจะแสดงกล่องข้อความยืนยันดังรู ปด้านล่าง

กด “Yes” หากต้องการยืนยันปิ ดเครื่ อง หรื อกด “No” หากต้องการยกเลิกเพื่อกลับไปหน้าจอสัง่


การ หลังจากนั้นปิ ดสวิซว์ดา้ นหลังเครื่ อง
26

12. การบารุ งรักษา


12.1.Daily Maintenance
12.1.1. หลังจากเปิ ดเครื่ อง ให้สังเกตด้วยตาขณะที่เครื่ องทา Self-test ว่ามีการรั่วซึ มของระบบหรื อ
เปล่า หากพบว่ามีการรั่วซึ มให้ติดฝ่ ายบริ การเพื่อเข้าซ่อม
12.1.2. ตรวจสอบกระดาษปริ้ นว่าใกล้หมดหรื อไม่ โดยสังเกตที่สถานะเครื่ องปริ้ นที่มุมขวาบน
เปลี่ยนเป็ นสี แดงให้ทาการเปลี่ยนกระดาษปริ้ นเตอร์
12.1.3. ตรวจสอบน้ ายาว่าหมดหรื อไม่ และถังบรรจุของเสี ยเต็มหรื อไม่
12.2. Weekly Maintenance
12.2.1. ทาความสะอาดโพรบดูดตัวอย่างโดยใช้ผา้ ก๊อตชุบแอลกอฮอร์
12.3. Monthly Maintenance
12.3.1. ทาความสะอาดตัวเครื่ องภายนอก
12.3.2. ทาความสะอาด Sample rack
12.3.3. ทาความสะอาดพื้นที่ที่โหลด sample rack
12.4. กรณีปิดเครื่ องเป็ นเวลานาน
12.4.1. แทนที่ Chromatography column และปิ ดด้วย blocker ทั้งสองด้านและแทนที่ดว้ ย dummy
column
12.4.2. นาสายน้ ายาทั้งหมดแทนที่ดว้ ยน้ า DI และคลิกที่ “Menu” --- “Perfuse and Pack” ทาตาม
คาแนะนาที่เครื่ องแสดงจนเสร็ จสมบูรณ์ ตรวจสอบว่าไม่มีของเสี ยค้างที่ท่อ waste หลังจาก
นั้นคลิกที่ “Menu” --- “Shutdown” ปิ ดสวิซว์ดา้ นหลังเครื่ องและเก็บเครื่ องให้พน้ แสงที่ 2-8
องศาเซลเซียส
27

ความสาคัญทางคลินิก
1. %HbA1C มีความสาคัญในการติดตามค่าประมาณน้ าตาลในเลือด 2-3เดือนย้อนหลัง ดังนี้
Result (%) Clinical significant
4%-6% ค่าคนปกติ
6%-7% มีการควบคุมระดับน้ าตาลอยูใ่ นเกณฑ์ดี
7%-8% มีการควบคุมระดับน้ าตาลอยูใ่ นเกณฑ์ที่ยอมรับได้
8%-9% มีการควบคุมระดับน้ าตาลในเกณฑ์ที่แย่
>9% มีความเสี่ ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนสู ง
2. %HbA1c สู ง อาจพบได้ในกลุ่มผูป้ ่ วย chronic renal failure ที่ได้รับการ dialysis ที่มี Glucoseเป็ น
ส่ วนประกอบ หรื อในกลุ่มผูป้ ่ วย Thalassemia และ Leukemia
3. %HbA1c ต่า อาจพบได้ในกลุ่มผูป้ ่ วย hemolytic/hemorrhagic anemia, chronic renal failure, and
chronic persistent hypoglycemia.
4. %HbA1c นามาใช้ประเมินและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ในหญิงตั้งครรภ์ซ่ ึ งอาจส่ งผลให้
เด็กในครรภ์ตวั ใหญ่ผดิ ปกติ และเสี ยชีวติ ตั้งแต่ในครรภ์มารดา
5. ในคนไข้โรค Hemolytic anemia ซึ่งอายุของเม็ดเลือดแดงจะสั้นลงกว่าปกติ จะส่ งผลให้ตรวจ
Glycosylate Hemoglobin(GHb) ได้ค่าที่ต่ากว่าความเป็ นจริ ง ซึ่ งพบในโรคดังต่อไปนี้
Cirrhosis, Splenomegaly, EPO therapy of diabetic nephropathy patients, Transfusion therapy of
extreme anemia patients
6. กลุ่มคนไข้ Nephrotic syndrome ที่มีค่า Ureaสู งๆ ส่ งผลให้ตรวจวัดค่า GHb สู งกว่าความเป็ นจริ งได้
เนื่องจากผลผลิตจากการ Metabolite ของ Urea จะไปจับกับส่ วน N-terminal amino group ของสาย
ß chain และ α Chain บน Hb (carbamyl Hb) ส่ งผลให้ ช่วงของกราฟที่แยกออกมาอยูใ่ นช่วงของ
HbA1a+b,HbA1c จึงทาให้ค่าGHbที่ได้สูงกว่าความเป็ นจริ ง
28

ความผิดปกติของกราฟ และการแก้ปัญหาเบื้องต้ น
Abnormal graph
1. Normal peak graph
29

2. กราฟทีม่ พี คี ขึน้ ทีด่ ้ านหน้ าและเป็ นเส้ นตรงขนานแกน X

สาเหตุทเี่ ป็ นไปได้ ขั้นตอนแก้ปัญหา


เป็ นข้อผิดพลาดของซอฟแวร์ เปลี่ยน main control board และอัพเดท
ซอฟแวร์
30

3. Postponed peak graph

สาเหตุทเี่ ป็ นไปได้ ขั้นตอนแก้ปัญหา


- แรงดัน column สู งมากเกินไป อาจ - ตรวจสอบท่อที่ต่อกับ column
เป็ นเป็ นท่อสายที่ต่อก่อนและหลัง - เปลี่ยนสายที่ต่อกับ column
column ตัน - เปลี่ยน column หรื อ pre-column
- น้ ายาหมดหรื อเชื่อมต่อสายผิด - ตรวจสอบสายที่ต่อกับ Eluent
- เป็ นความผิดพลาดของ - ตรวจสอบอุณหภูมิขอ Heating plate
Chromatography column เอง (>45๐C ) และเปลี่ยน Column
31

4. กราฟผิดปกติทเี่ ป็ นเส้ นตรงขนานแกน X ในช่ วงเริ่มต้ นและเป็ นพีคช่ วงหลัง

สาเหตุทเี่ ป็ นไปได้ ขั้นตอนแก้ปัญหา


- แรงดัน column สู งมากเกินไป อาจ - ตรวจสอบท่อที่ต่อกับ column
เป็ นเป็ นท่อสายที่ต่อก่อนและหลัง - เปลี่ยนสายที่ต่อกับ column
column ตัน - เปลี่ยน column หรื อ pre-column
- น้ ายาหมดหรื อเชื่อมต่อสายผิด - ตรวจสอบสายที่ต่อกับ Eluent
- เป็ นความผิดพลาดของ - ตรวจสอบอุณหภูมิขอ Heating plate
Chromatography column เอง (>45๐C ) และเปลี่ยน Column
32

You might also like