You are on page 1of 6

Guido d' Arezzo

Guido d' Arezzo (กีโด้ ดี อาเรสโซ่) c.990–1050 เป็ นนักบวช ครู และนัก


ทฤษฎีดนตรี ที่สำคัญคนหนึ่งในยุคกลาง เป็ นผูร้ ิ เริ่ มการบันทึกทำนองโดยใช้
สัญลักษณ์บรรทัดเพื่อกำหนดระดับเสี ยง และใช้คำแทนระดับเสี ยงเช่น โด เร
มี ฟา โซ ลา เพื่อบันทึกบทเพลงสวด นอกจากนี้ เขายังได้แต่งแบบฝึ กหัดฝึ ก
ทักษะการร้องสำหรับไว้เป็ นจำนวนมาก Guido เริ่ มเรี ยนที่
โบสถ์ Benedictine แห่งเมือง Pompasa เขาได้ศึกษาการร้องอย่างรวดเร็ ว และ
ได้เริ่ มคิดค้นวิธีการบันทึกแบบใหม่ ต่อมาในช่วงปี ค.ศ. 1025 ได้ยา้ ยไปที่
เมือง Arezzo (เป็ นที่มาของคำว่า d' Arezzo) และได้รับการอุปถัมภ์
จาก Theodaldus ซึ่ งเป็ น Bishop of Arezzo เขาได้เขียน Micrologus ส่ งให้กบั
Theodaldus ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการฝึ กร้องสำหรับนักร้อง รวมทั้งวิธี
การอ่านโน้ต ขั้นคู่ บันไดเสี ยง โมด วิธีการประพันธ์ทำนอง และการด้นสด
ไม่นานนักเขาถูกเรี ยกไปที่กรุ งโรมโดย สมเด็จพระสันตปาปา John XIX เพื่อ
สอนวิธีการบันทึกในแบบของเขา แต่ดว้ ยปัญหาสุ ขภาพและความชื้นใน
อากาศสู งเขาจึงจำต้องกลับไปที่ Arezzo และได้สญ ั ญากับพระสันตะปาปาว่า
จะกลับมาหาท่านในฤดูหนาว จึงทำให้วธิ ีการบันทึกแบบนี้ เป็ นที่แพร่ หลาย
ก่อนถึงยุคของ Guido d'Arezzo นั้น ได้มีการพัฒนาวิธีการบันทึกบทสวด
ในแบบต่างๆ แรกเริ่ มการบันทึกบทสวดจะใช้วธิ ีการบันทึกเป็ นคำสวดภาษา
ละตินแล้วใช้ Neumes ซึ่ งเป็ นเครื่ องหมายที่แสดงการขึ้นลงของเสี ยงร้อง
ไม่มีการใช้เครื่ องหมายกำหนดจังหวะ ในช่วงประมาณศตวรรษที่ 12 มีกลุ่ม
ของนักทฤษฎีสองกลุ่มที่มีความคิดเรื่ องจังหวะ กลุ่มแรกคือ Mensuralist 
กลุ่มที่สองคือ Accentualist พวกเขาได้เสนอว่า จังหวะควรควบคุมโดยการ
เน้นจากการพูดแบ่งได้ 3 แบบคือ Sillabic (หนึ่งคำต่อหนึ่งโน้ต) Neumatic (2-
4 โน้ตต่อหนึ่งคำ) และ Melismatic (การเอื้อนโดยจะเน้นที่ตวั แรกของ
Neumes)
ผลงานที่สำคัญของ Guido คือ การบันทึกบทสวดโดยการใช้สญ ั ลักษณ์
กำหนดทิศทางของทำนอง คำสวดจะอยูใ่ ต้สญ ั ลักษณ์ของทำนองและบรรทัด
ที่ใช้ มีท้ งั หมด 4 บรรทัด ใช้กญ
ุ แจ (Clef) 2 กุญแจคือ กุญแจโด (C Clef) และ
กุญแจฟา (Bass Clef) ใช้คำแทนระดับเสี ยง คือ ut re mi fa sol la แต่ยงั ไม่ใช้
Ti(Si) เพราะจะทำให้เกิดขั้นคู่เสี ยงกระด้างคือขั้นคู่ Tritone ซึ่ งเป็ นข้อห้ามใน
สมัยนั้น แต่แก้ดว้ ยการใส่ เครื่ องหมายแฟลตแทน นอกจากนี้ ยงั ได้ประพันธ์
แบบฝึ กหัดสำหรับการฝึ กร้องอีกด้วย หนึ่งในแบบฝึ กหัดที่ สำคัญคือเพลง
สวด Hymn Ut Queant laxis ซึ่ งในบทสวดนี้ ในพยางค์แรกของในแต่ละวลีจะ
ขึ้นด้วย ut re mi fa sol la (โด เร มี ฟา ซอล ลา) จึงเป็ นต้นกำเนิดของคำที่ใช้
แทนระดับเสี ยงที่เรี ยกว่า Solmization และทำให้เกิดระบบ Solfegio ขึ้น

You might also like