You are on page 1of 36

1121501401

AIR CONDITIONER (MULTI TYPE)


Installation Manual

Outdoor Unit
Model name:
สําหรับใชงานเชิงพาณิชย
<Cooling Only Model>

MMY-MAP0807T8P-T
MMY-MAP1007T8P-T
MMY-MAP1207T8P-T
MMY-MAP1407T8P-T
MMY-MAP14A7T8P-T
MMY-MAP1607T8P-T
MMY-MAP1807T8P-T
MMY-MAP2007T8P-T
MMY-MAP2207T8P-T
MMY-MAP2407T8P-T

MMY-MAP0807T8JP-T
MMY-MAP1007T8JP-T
MMY-MAP1207T8JP-T
MMY-MAP1407T8JP-T
MMY-MAP14A7T8JP-T
MMY-MAP1607T8JP-T
MMY-MAP1807T8JP-T
MMY-MAP2007T8JP-T
MMY-MAP2207T8JP-T
MMY-MAP2407T8JP-T
คูมือการติดตั้ง Thai

1121501401 TH.indd 1 1/18/2561 BE 17:00


–1–

การเลือกใชสารทําความเย็นชนิดใหม ขอบคุณที่เลือกซื้อเครองปรับอากาศ TOSHIBA


คูมือการติดตั้งเลมนี้อธิบายเกี่ยวกับวิธีการติดตั้งตัวเครองภายนอก สําหรับการติดตั้งตัวเครองภายใน ใหปฏิบัติตามคูมือการติดตั้งที่ให
เครองปรับอากาศนี้ใชนํ้ายา R410A ซึ่งเปนสารทําความเย็นซึ่งเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มาพรอมกับตัวเครองภายใน
นอกจากนี้ เนองจากคูมือการติดตั้งเลมนี้ประกอบดวยบทความที่เกี่ยวของกับขอกําหนดของ “เครองจักรกล” (Directive 2006/42/EC)
โปรดอานคูมือโดยละเอียดและทําความเขาใจอยางทั่วถึง หลังจากการติดตั้ง ควรนําคูมือการติดตั้งที่มีคูมือผู ใชงานนี้ คูมือผู ใชงานและ
สารบัญ คูมือการติดตั้งที่ใหมาพรอมกับเครองภายในมอบใหแกลูกคา และแจงใหลูกคาเก็บคูมือดังกลาวไว ใหจัดหาแหลงจายไฟเฉพาะสําหรับ
ตัวเครองภายใน โดยแยกกันอยางอิสระจากตัวเครองภายนอก จําเปนตองใชขอตอแยกรูปตัววาย (Y) หรือขอตอรวม (แยกจําหนาย)
เพอตอทอตางๆ ระหวางตัวเครองภายในกับตัวเครองภายนอก ทั้งนี้ใหเลือกใชขอตอโดยพิจารณาจากการตอทอทางที่ใชกับความจุ
1 ขอควรระวังเพื่อความปลอดภัย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 ของระบบ สําหรับการติดตั้งทอแยก ใหดูที่คูมือการติดตั้งชุดขอตอแยกรูปตัววาย (Y) หรือขอตอรวม (แยกจําหนาย) ในการเชอมตอ
2 ชิ้นสวนอุปกรณเสริม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4 ภายนอกจําเปนตองใชขอตอแยกสําหรับการเชอมตอตัวเครองภายนอก
3 การติดตั้งเครื่องปรับอากาศพรอมสารทําความเย็นใหม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5 ชอสามัญ : เครองปรับอากาศ
4 การเลือกสถานที่ติดตั้ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5 คําจํากัดความของผูติดตั้งที่มีความชํานาญหรือชางบริการที่มีความชํานาญ
5 การเคลื่อนยายตัวเครื่องภายนอก . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7 เครองปรับอากาศตองไดรับการติดตั้ง บํารุงรักษา ซอมแซม และถอดรื้อโดยผูติดตั้งที่มีความชํานาญหรือชางบริการที่มีความ
ชํานาญ ผูติดตั้งที่มีความชํานาญหรือชางบริการที่มีความชํานาญเปนตัวแทนซึ่งมีความชํานาญและความรูดังที่ไดอธิบายในตาราง
6 การติดตั้งตัวเครื่องภายนอก. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8 ดานลาง
7 การวางทอสารทําความเย็น . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 10 ตัวแทน ความชํานาญและความรูที่ตัวแทนจะตองมี
ผูติดตั้งที่มีความชํานาญ คือ บุคคลที่ทําการติดตั้ง ดูแลรักษา ยายตําแหนง และถอดเครื่องปรับอากาศโดยใชเครื่องมือของโตชิบา
8 สายไฟ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 19 •
ผูติดตั้งจะตองไดรับการฝกอบรมเพื่อติดตั้ง ดูแลรักษา ยายตําแหนง และถอดเครื่องปรับอากาศที่ผลิตโดยโตชิบา แคเรียร
คอรปอเรชั่น หรืออีกประการหนึ่ง ผูติดตั้งนั้นไดรับคําแนะนําในการปฏิบัติงานดังกลาวจากบุคคลที่ไดรับการอบรมและมีความรูความ
9 การตั้งคาที่อยู . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 23 เขาใจเปนอยางดีเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเหลานี้
ผูติดตั้งที่มีความชํานาญซึ่งไดรับอนุญาตใหปฏิบัติงานทางดานไฟฟาที่เกี่ยวกับการติดตั้ง การยายตําแหนง และการถอดจะมีความ
10 การทดสอบการทํางาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 29 •
เชี่ยวชาญเกี่ยวกับงานดานไฟฟาตามที่กําหนดไวโดยขอกําหนดและกฎหมายทองถิ่น และเปนบุคคลที่ไดรับการฝกอบรมงานทางดาน
ไฟฟาเกี่ยวกับเครื่องปรับอากาศที่ผลิตโดยโตชิบา แคเรียร คอรปอเรชั่น หรืออีกประการหนึ่ง ผูติดตั้งนั้นไดรับคําแนะนําในการปฏิบัติ
11 การแกไขปญหา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 31 งานดังกลาวจากบุคคลที่ไดรับการอบรมและมีความรูความเขาใจเปนอยางดีเกี่ยวกับการปฏิบัติงานนี้
ผูติดตั้งที่มีความชํานาญ
ผูติดตั้งที่มีความชํานาญซึ่งไดรับอนุญาตใหปฏิบัติงานกับสารทําความเย็นและทอทางในการติดตั้ง การยายตําแหนง และการถอด จะมี
12 การดเครื่องปรับอากาศและสมุดบันทึกการทํางาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 32 •
ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการปฏิบัติงานกับสารทําความเย็นและการตอทอทางตามที่กําหนดไวโดยขอกําหนดและกฎหมายทองถิ่น และ
เปนบุคคลที่ไดรับการฝกอบรมทางดานการปฏิบัติงานกับสารทําความเย็นและทอทางของเครื่องปรับอากาศที่ผลิตโดยโตชิบา แคเรียร
คอรปอเรชั่น หรืออีกประการหนึ่ง ผูติดตั้งนั้นไดรับคําแนะนําในการปฏิบัติงานดังกลาวจากบุคคลที่ไดรับการอบรมและมีความรูความ
เขาใจเปนอยางดีเกี่ยวกับการปฏิบัติงานนี้
• ผูติดตั้งที่มีความชํานาญซึ่งไดรับอนุญาตใหปฏิบัติงานที่ความสูงไดรับการฝกอบรมในการปฏิบัติงานที่ความสูงกับเครื่องปรับอากาศที่
ผลิตโดยโตชิบา แคเรียร คอรปอเรชั่น หรืออีกประการหนึ่ง ผูติดตั้งนั้นไดรับคําแนะนําในการปฏิบัติงานดังกลาวจากบุคคลที่ไดรับการ
อบรมและมีความรูความเขาใจเปนอยางดีเกี่ยวกับการปฏิบัติงานนี้
• ชางบริการที่มีความชํานาญ คือ บุคคลที่ทําการติดตั้ง ซอมแซม บํารุงรักษา ยายตําแหนง และถอดเครื่องปรับอากาศโดยใชเครื่องมือ
ของโตชิบา ชางบริการจะตองไดรับการฝกอบรมเพื่อติดตั้ง ซอมแซม บํารุงรักษา ยายตําแหนง และถอดเครื่องปรับอากาศที่ผลิตโดย
โตชิบา แคเรียร คอรปอเรชั่น หรืออีกประการหนึ่ง ชางบริการนั้นไดรับคําแนะนําในการปฏิบัติงานดังกลาวจากบุคคลที่ไดรับการอบรม
และมีความรูความเขาใจเปนอยางดีเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเหลานี้
• ชางบริการที่มีความชํานาญซึ่งไดรับอนุญาตใหปฏิบัติงานทางดานไฟฟาที่เกี่ยวกับการติดตั้ง การซอมแซม การยายตําแหนง และการ
ถอดจะมีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับงานดานไฟฟาตามที่กําหนดไวโดยขอกําหนดและกฎหมายทองถิ่น และเปนบุคคลที่ไดรับการฝกอบรม
งานทางดานไฟฟาเกี่ยวกับเครื่องปรับอากาศที่ผลิตโดยโตชิบา แคเรียร คอรปอเรชั่น หรืออีกประการหนึ่ง ชางบริการนั้นไดรับ
ชางบริการที่มีความ คําแนะนําในการปฏิบัติงานดังกลาวจากบุคคลที่ไดรับการอบรมและมีความรูความเขาใจเปนอยางดีเกี่ยวกับการปฏิบัติงานนี้
ชํานาญ • ชางบริการที่มีความชํานาญซึ่งไดรับอนุญาตใหปฏิบัติงานกับสารทําความเย็นและทอทางที่เกี่ยวกับการติดตั้ง การซอมแซม การยาย
ตําแหนง และการถอดจะมีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการปฏิบัติงานกับสารทําความเย็นและทอทางตามที่กําหนดไวโดยขอกําหนดและ
กฎหมายทองถิ่น และเปนบุคคลที่ไดรับการฝกอบรมทางดานการปฏิบัติงานกับสารทําความเย็นและทอทางของเครื่องปรับอากาศที่ผลิต
โดยโตชิบา แคเรียร คอรปอเรชั่น หรืออีกประการหนึ่ง ชางบริการนั้นไดรับคําแนะนําในการปฏิบัติงานดังกลาวจากบุคคลที่ไดรับการ
อบรมและมีความรูความเขาใจเปนอยางดีเกี่ยวกับการปฏิบัติงานนี้
• ชางบริการที่มีความชํานาญซึ่งไดรับอนุญาตใหปฏิบัติงานบนที่สูงไดรับการฝกอบรมในการปฏิบัติงานบนที่สูงกับเครื่องปรับอากาศที่ผลิต
โดยโตชิบา แคเรียร คอรปอเรชั่น หรืออีกประการหนึ่ง ชางบริการที่มีความชํานาญนั้นไดรับคําแนะนําในการปฏิบัติงานดังกลาวจาก
บุคคลที่ไดรับการอบรมและมีความรูความเขาใจเปนอยางดีเกี่ยวกับการปฏิบัติงานนี้

1-TH 2-TH

1121501401 TH.indd 1 1/18/2561 BE 17:00


คําอธิบายอุปกรณปองกัน n สัญลักษณคําเตือนบนชุดเครื่องปรับอากาศ
สวมถุงมือปองกันและชุดที่ปลอดภัยสําหรับการทํางาน เมอเคลอนยาย ติดตั้ง บํารุงรักษา ซอมแซม หรือถอดชิ้นสวน
เครองปรับอากาศ สัญลักษณคําเตือน คําอธิบาย
นอกเหนือจากอุปกรณปองกันพื้นฐานดังกลาว คุณควรสวมใสอุปกรณปองกันตามที่อธิบายไวดานลางเมอตองปฏิบัติงานพิเศษตาม
คําเตือน
ที่กลาวไว ในตารางตอไปนี้ WARNING

การไมสวมใสอุปกรณปองกันที่เหมาะสมอาจกอใหเกิดอันตรายไดเนองจากคุณอาจไดรับบาดเจ็บ แผลไหม ไฟฟาช็อต และอาการ Moving parts. ชิ้นสวนกําลังเคลื่อนที่


Do not operate unit with grille
บาดเจ็บอนๆ removed. อยาใชงานเครื่องปรับอากาศขณะที่ถอดตะแกรงออก
Stop the unit before the servicing. ใหปดเครื่องปรับอากาศกอนทําการซอม
งานที่ทํา อุปกรณปองกันที่ควรสวมใส
ถุงมือปองกัน
ทุกประเภทงาน CAUTION ขอควรระวัง
ชุดที่ปลอดภัยสําหรับการทํางาน
ถุงมือปองกันความรอนสําหรับชางไฟฟา
Do not touch the aluminum
fins of the unit.
อยาสัมผัสครีบอะลูมิเนียมของเครื่องปรับอากาศ
งานที่เกี่ยวของกับไฟฟา รองเทาที่เปนฉนวน Doing so may result in injury. มิฉะนั้นอาจไดรับบาดเจ็บได
เสื้อผาที่ปองกันไฟฟาช็อต
งานที่ตองทําในที่สูง
หมวกนิรภัย CAUTION ขอควรระวัง
(50 เซนติเมตรหรือสูงกวา)
Do not step on
งานเคลอนยายของหนัก รองเทาที่เสริมการปองกันบริเวณนิ้วเทา fan guard. อยาเหยียบแผงครอบพัดลม
งานซอมแซมตัวเครองภายนอก ถุงมือปองกันความรอนสําหรับชางไฟฟา Doing so may result in injury.
มิฉะนั้นอาจทําใหไดรับบาดเจ็บได

EN

EN

EN

TH

3-TH 4-TH
–2–

1121501401 TH.indd 2 1/18/2561 BE 17:00


–3–

1 ขอควรระวังเพื่อความปลอดภัย •

อยาวางอุปกรณที่มีการเผาไหมใดๆ ไวในทิศทางที่สัมผัสกับลมจากเครื่องปรับอากาศโดยตรง มิฉะนั้นอาจเกิดการเผาไหมที่ไมสมบูรณ
อยาติดตั้งเครื่องภายนอกในสถานที่ซึ่งเสียงจากการทํางานของเครื่องภายนอกอาจสรางการรบกวน (โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณที่ใกล
ผูผลิตไมขอรับผิดชอบตอความเสียหายที่มีสาเหตุมาจากการละเลยไมปฏิบัติตามคําแนะนําในคูมือเลมนี้ กับเสนขอบตัวเครื่อง โปรดติดตั้งเครื่องปรับอากาศโดยคํานึงถึงเสียงรบกวน)
การติดตั้ง
คําเตือน • ปฏิบัติตามคําแนะนําในคูมือการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ หากไมปฏิบัติตามคําแนะนําเหลานี้ ตัวเครื่องอาจจะรวงหลนลงมา พลิกควํ่า
ทั่วไป หรือเกิดเสียงรบกวน เกิดการสั่นสะเทือน นํ้ารั่วซึม หรือปญหาอื่นๆ ได
• อานคูมือการติดตั้งอยางละเอียดกอนทําการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ และปฏิบัติตามคําแนะนําในการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ มิฉะนั้น • ตองใชโบลต (M12) และ น็อต (M12) สําหรับติดตั้งเครื่องภายนอก
• โปรดติดตั้งเครื่องภายนอกในตําแหนงที่แข็งแรงและเพียงพอที่จะสามารถรองรับนํ้าหนักของตัวเครื่องได หากความแข็งแรงไมเพียง
เครื่องปรับอากาศอาจตกหลน หรือเกิดเสียงรบกวน สั่นสะเทือนหรือมีนํ้ารั่วไหล พออาจทําใหตัวเครื่องตกลง ซึ่งอาจเกิดการบาดเจ็บได
• เฉพาะผูติดตั้งที่มีความชํานาญ (*1) หรือชางบริการที่มีความชํานาญ (*1) เทานั้นที่ไดรับอนุญาตใหปฏิบัติงานเกี่ยวกับการติดตั้ง ถามี • ดําเนินการติดตั้งตามที่ระบุไวเพื่อปองกันสภาวะลมแรงและแผนดินไหว การติดตั้งเครื่องที่ผิดวิธีอาจทําใหเครื่องปรับอากาศตกหลน
การติดตั้งโดยบุคคลที่ขาดความชํานาญ อาจทําใหเกิดการลุกไหม ไฟฟาช็อต บาดเจ็บ นํ้ารั่ว เสียงรบกวน และ/หรือการสั่นสะเทือนได หรือเกิดอุบัติเหตุอื่นๆ
• ถาใชผลิตภัณฑที่แยกจําหนายตางหาก ใหแนใจวาไดใชเฉพาะผลิตภัณฑของโตชิบาเทานั้น การใชผลิตภัณฑอื่นๆ อาจทําใหเกิดการ • โปรดแนใจวาไดขันสกรูกลับเขาที่เดิมอยางแนนหนา เมื่อขันสกรูออกเพื่อทําการติดตั้งหรือเพื่อจุดประสงคอื่นๆ
ลุกไหม ไฟฟาช็อต นํ้ารั่ว หรือความบกพรองอื่นๆ ได
• อยาใชสารทําความเย็นที่แตกตางจากที่ระบุไวเพื่อเติมหรือเปลี่ยนถาย มิฉะนั้น อาจเกิดแรงดันสูงผิดปกติในวงจรสารทําความเย็น การตอทอสงสารทําความเย็น
ซึ่งอาจทําใหเกิดความบกพรองหรือการระเบิดของผลิตภัณฑหรือเกิดการบาดเจ็บตอรางกาย • ติดตั้งทอสารทําความเย็นระหวางทําการติดตั้งใหเรียบรอยกอนที่จะเปดเครื่องปรับอากาศ หากคอมเพรสเซอรทํางานขณะที่วาลวยัง
• กอนเปดแผงปดชองบริการของตัวเครื่องภายนอก ใหปดเครื่องตัดกระแสไฟฟา มิฉะนั้นอาจทําใหเกิดไฟฟาช็อตเมื่อสัมผัสกับชิ้นสวน เปดอยู และไมมีทอสารทําความเย็น คอมเพรสเซอรจะดูดอากาศเขาไปและทําใหวงจรการทําความเย็นมีแรงดันเกินซึ่งอาจจะสงผลให
ภายใน เฉพาะผูติดตั้งที่มีความชํานาญ (*1) หรือชางบริการที่มีความชํานาญ (*1) เทานั้นที่ไดรับอนุญาตใหถอดแผงปดชองบริการ เกิดการบาดเจ็บตอผูใชได
ของตัวเครื่องภายนอกและปฏิบัติงานที่จําเปน • ขันแฟลรนัตใหแนนดวยประแจวัดแรงบิดตามวิธีที่กําหนดไว หากขันแฟลรนัตแนนเกินไปอาจทําใหเกิดรอยราวที่แฟลรนัตหลังการ
• กอนทําการติดตั้ง บํารุงรักษา ซอมแซม หรือถอด ใหแนใจวาไดปดเครื่องตัดกระแสไฟฟาแลว มิฉะนั้น อาจทําใหเกิดไฟฟาช็อตได ใชงานเปนระยะเวลานาน ซึ่งอาจกอใหเกิดการรั่วซึมของสารทําความเย็น
• ใหวางปายสัญลักษณ “กําลังปฏิบัติงาน” ไวใกลกับเครื่องตัดกระแสไฟฟาในขณะทําการติดตั้ง บํารุงรักษา ซอมแซม หรือถอด • ใหทําการระบายอากาศหากกาซสารทําความเย็นเกิดรั่วไหลในระหวางการติดตั้ง ถากาซสารทําความเย็นที่รั่วออกมานั้นสัมผัสเขากับไฟ
อันตรายจากไฟฟาช็อตอาจเกิดขึ้นถาเปดเครื่องตัดกระแสไฟฟาโดยไมไดตั้งใจ อาจทําใหเกิดกาซที่เปนพิษได
• เฉพาะผูต ดิ ตัง้ ทีม่ คี วามชํานาญ (*1) หรือชางบริการทีม่ คี วามชํานาญ (*1) เทานัน้ ทีไ่ ดรบั อนุญาตใหปฏิบตั งิ านทีค่ วามสูงมากกวา 50 ซม. • หลังทําการติดตั้ง ควรตรวจสอบใหแนใจวากาซสารทําความเย็นไมมีการรั่วซึม หากกาซสารทําความเย็นรั่วซึมออกมาในหองและสัมผัส
โดยใชบันไดหรือเพื่อถอดตะแกรงชองลมเขาของตัวเครื่องภายใน ถูกตนเพลิง เชน เตาทําอาหาร อาจกอใหเกิดกาซที่เปนพิษได
• สวมถุงมือปองกันและชุดนิรภัยในระหวางทําการติดตั้ง ซอมแซม และถอด • เมื่อทําการติดตั้งหรือเคลื่อนยายเครื่องปรับอากาศ ใหปฏิบัติตามคําแนะนําในคูมือการติดตั้งและไลอากาศทั้งหมด เพื่อจะไดไมมีกาซ
• อยาสัมผัสครีบอะลูมิเนียมของตัวเครื่องภายนอก มิฉะนั้น ทานอาจไดรับบาดเจ็บ หากจําเปนตองสัมผัสครีบดวยเหตุผลบางประการ อื่นผสมอยูในวงจรการทําความเย็นนอกเหนือจากสารทําความเย็น เครื่องปรับอากาศอาจทํางานผิดปกติหากไมมีการไลอากาศทั้งหมด
อันดับแรกใหสวมถุงมือปองกันและชุดนิรภัยกอน แลวจึงลงมือปฏิบัติงาน เสียกอน
• หามปนขึ้นหรือวางสิ่งของที่ดานบนตัวเครื่องภายนอก ทานอาจตกลงมาหรือสิ่งของอาจตกหลนจากตัวเครื่อง และไดรับบาดเจ็บได • ควรตองใชกาซไนโตรเจนเพื่อทดสอบการผนึกแนนไมใหอากาศเขา
• เมื่อปฏิบัติงานบนที่สูง ใหนําปายสัญญาณมาวางไวกอนที่จะปฏิบัติงาน เพื่อปองกันไมใหผูใดเขาใกลบริเวณที่ปฏิบัติงาน ชิ้นสวนหรือ • ควรเชื่อมตอทอเติมนํ้ายาตามวิธีการดังกลาวเพื่อไมใหทอหลุดออกจากกัน
สิ่งของอื่นๆ อาจหลนลงมา ซึ่งผูที่อยูดานลางไดรับบาดเจ็บ ดังนั้นผูปฏิบัติงานดานลางควรสวมหมวกนิรภัย • หากกาซสารทําความเย็นเกิดรั่วระหวางที่ดําเนินการติดตั้ง ใหระบายอากาศหองดังกลาวในทันที ถากาซสารทําความเย็นที่รั่วออกมานั้น
• เมือ่ ทําความสะอาดแผนกรองอากาศหรือชิน้ สวนอืน่ ๆ ของเครือ่ งภายนอก ควรปดเครือ่ งตัดกระแสไฟฟา และแขวนปาย “กําลังทํางาน” สัมผัสเขากับไฟ อาจทําใหเกิดกาซที่เปนอันตรายได
ใกลเครือ่ งตัดกระแสไฟฟากอนลงปฏิบตั งิ าน การเดินสายไฟ
• สารทําความเย็นที่ใชในเครื่องปรับอากาศ คือ R410A • การดําเนินการเกี่ยวกับไฟฟากับเครื่องปรับอากาศตองกระทําโดยผูติดตั้งที่ชํานาญ (*1) หรือชางบริการที่ชํานาญเทานั้น (*1) ผูที่ไมมี
• เครื่องปรับอากาศตองเคลื่อนยายในสภาพสมบูรณ หากสวนใดสวนหนึ่งของผลิตภัณฑเสียหาย โปรดติดตอผูแทนจําหนาย ความชํานาญไมสามารถดําเนินการเองได เพราะการดําเนินการที่ไมเหมาะสมอาจกอใหเกิดไฟฟาดูดและ/หรือไฟฟารั่วได
• หามถอดชิน้ สวน ดัดแปลง หรือเคลือ่ นยายเครือ่ งปรับอากาศดวยตนเอง มิฉะนัน้ อาจทําใหเกิดไฟไหม ไฟช็อต บาดเจ็บ หรือมีนาํ้ รัว่ ไหล • เมื่อทําการเชื่อมตอสายไฟ ซอมแซมสวนที่เกี่ยวกับกระแสไฟฟา หรืองานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับไฟฟา ใหสวมถุงมือปองกันความรอน
• เครือ่ งปรับอากาศนีม้ วี ตั ถุประสงคในการใชงานกับรานคาและอุตสาหกรรมเบาเทานัน้ และตองใหผเู ชีย่ วชาญหรือผูใ ชงานทีผ่ า นการ สําหรับชางไฟฟา รองเทาและเสื้อผาที่เปนฉนวนเพื่อปองกันไฟฟาช็อต หากไมไดสวมใสเครื่องปองกันดังกลาวอาจทําใหถูกไฟฟาช็อต
อบรมเปนผูด าํ เนินการ แตหากเปนการใชงานเชิงพาณิชย บุคคลทัว่ ไปก็สามารถดําเนินการได • เมื่อดําเนินการตั้งคาระบบ ทดลองระบบ หรือการแกไขปญหาผานหนาตางการตรวจสอบบนกลองควบคุมไฟฟา ใหสวมถุงมือแบบ
• โตชิบาจะไมรบั ผิดชอบใด ๆ หากมีการดัดแปลงเครือ่ งปรับอากาศในพืน้ ทีท่ ตี่ ดิ ตัง้ ฉนวนกันความรอน รองเทาหรือเสื้อผาอื่นๆ ที่เปนฉนวนเพื่อปองกันไฟฟาช็อต มิฉะนั้นทานอาจถูกไฟฟาช็อต
• อยาจายกระแสไฟฟาจากเครือ่ งภายนอกไปยังอุปกรณเครือ่ งใชอนื่ เชน ปม สุญญากาศ • ใชงานสายทีไ่ ดมาตรฐานตามขอมูลจําเพาะทีร่ ะบุในคูม อื การติดตัง้ และตามขอกําหนดใบบทบัญญัตแิ ละกฎหมายทองที่ การใชงานไมได
มิฉะนัน้ อาจทําใหเกิดเพลิงไหม หรือเครือ่ งปรับอากาศทํางานผิดปกติได คุณภาพตามขอมูลจําเพาะอาจทําใหเกิดไฟฟาช็อต การรั่วไหลของไฟฟา มีควันหรือเพลิงไหมไดโดยงาย
• ตรวจสอบผลิตภัณฑวาไดทําการตอสายดินอยางถูกตอง (งานสายกราวนด)
การเลือกสถานที่เพื่อทําการติดตั้ง หากไมติดตั้งสายดินใหสมบูรณอาจเกิดไฟฟาช็อตได
• หากติดตั้งเครื่องปรับอากาศในหองขนาดเล็ก ปฏิบัติตามมาตรการที่เหมาะสมเพื่อใหแนใจวาความเขมขนของสารทําความเย็นที่รั่วไหล • หามตอสายดินกับทอกาซ ทอนํ้า และสายลอฟา หรือสายดินของโทรศัพท
ภายในหองจะไมเกินระดับที่เปนอันตราย สอบถามผูแทนจําหนายที่ทานซื้อเครื่องปรับอากาศเมื่อทานดําเนินการตามมาตรการ การ • หลังซอมแซมหรือยายที่ติดตั้ง ควรตรวจสอบใหแนใจวาไดเชื่อมตอสายดินอยางถูกตองแลว
สะสมของสารทําความเย็นเขมขนอาจทําใหเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากออกซิเจนไมเพียงพอได • ติดตั้งเครื่องตัดกระแสไฟฟาที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กําหนดไวในคูมือการติดตั้ง ขอบังคับในทองถิ่น และขอกําหนดทางกฎหมาย
• หามติดตั้งในสถานที่ที่อาจเสี่ยงตอการสัมผัสกับกาซไวไฟ หากกาซรั่วซึมออกมาเปนจํานวนมากบริเวณตัวเครื่อง อาจกอใหเกิดเพลิง • ติดตั้งเครื่องตัดกระแสไฟฟาในที่ที่ผูตรวจสอบสามารถเขาถึงไดโดยสะดวก
ไหมได • เมื่อติดตั้งเครื่องตัดกระแสไฟฟาที่ตัวเครื่องภายนอก ใหติดตั้งเครื่องที่ออกแบบมาสําหรับการใชงานภายนอก
• หากตองการเคลื่อนยายเครื่องปรับอากาศ ควรสวมรองเทาที่เสริมการปองกันบริเวณนิ้วเทา ถุงมือปองกันและเสื้อผาที่ปลอดภัย • หามเชื่อมตอสายไฟไมวาในสถานการณใดก็ตาม ปญหาการเชื่อมตอที่บริเวณเชื่อมตอสายไฟอาจทําใหเกิดควันไฟและ/หรือไฟไหมไดโดยงาย
สําหรับการทํางาน • การทํางานที่เกี่ยวของกับไฟฟาควรปฏิบัติตามขอกําหนดและกฎหมายของชุมชนดังกลาวและคูมือการติดตั้ง
• ในการเคลื่อนยายเครื่อง หามจับถือที่สายรัดกลองผลิตภัณฑ ทานอาจบาดเจ็บไดหากสายขาด หากไมปฏิบัติตามขอกําหนดดังกลาวอาจถูกไฟฟาช็อต หรือจนถึงแกชีวิต
• ยกเวนเครื่องปรับอากาศแบบตูตั้งและแบบคอนโซล ควรติดตั้งตัวเครื่องภายในใหสูงจากพื้นอยางนอย 2.5 ม. มิเชนนั้นผูใชอาจไดรับ • หามจายไฟฟาจากบล็อกขัว้ กระแสไฟฟาทีต่ ดิ ตัง้ ทีเ่ ครือ่ งภายนอกไปยังเครือ่ งภายนอกเครือ่ งอืน่ การไหลเวียนของไฟฟาทีบ่ ล็อกขัว้ ไฟฟา
บาดเจ็บหรือถูกไฟฟาช็อตหากแหยนิ้วหรือวัตถุอื่นเขาไปในตัวเครื่องภายในขณะที่เครื่องกําลังทํางานอยู อาจกอใหเกิดเพลิงไหม
5-TH 6-TH

1121501401 TH.indd 3 1/18/2561 BE 17:00


• เมื่อดําเนินการเชื่อมตอไฟฟา ใหใชสายไฟที่ระบุตามคูมือการติดตั้ง รวมถึงเชื่อมตอและติดตั้งสายไฟอยางหนาแนนเพื่อปองกันแรง
กระทําตอขั้วสายไฟ การเชื่อมตอหรือการติดตั้งที่ไมถูกตองอาจกอใหเกิดเพลิงไหม 2 ชิ้นสวนอุปกรณเสริม
การทดสอบการทํางาน
• กอนเปดใชงานเครื่องปรับอากาศภายหลังการติดตั้ง ควรตรวจสอบใหแนใจวาฝาครอบกลองควบคุมไฟของตัวเครื่องภายในและ ชื่อชิ้นสวน จํานวน รูปราง การใชงาน
แผงบริการของตัวเครื่องภายนอกปดสนิท และเปดเครื่องตัดกระแสไฟฟาแลว คุณอาจโดนไฟฟาช็อตไดหากเปดเครื่องปรับอากาศ คูมือการใชงาน 1 – (ควรตรวจสอบแนใจวาลูกคาไดรับคูมือนี้)
โดยไมไดตรวจสอบสิ่งเหลานี้เสียกอน
• หากเกิดปญหาใดๆ กับเครื่องปรับอากาศ (เชน ขอความผิดพลาดปรากฏบนหนาจอ กลิ่นไหม เสียงผิดปกติ เครื่องปรับอากาศไม คูมือการติดตั้ง 1 – สําหรับผูติดตั้งใชอางอิง
สามารถทําความเย็นหรือทําใหอากาศอุนขึ้น หรือมีนํ้ารั่วซึมออกมา) อยาแตะตองเครื่องปรับอากาศ แตใหปดเครื่องตัดกระแสไฟฟา ทอที่ติดตั้งไว การเชื่อมตอการวางทอกาซดานนอก
1
แลวติดตอชางผูชํานาญการ ตรวจสอบใหแนใจวาจะไมมีใครเปดเครื่องปรับอากาศจนกระทั่งชางมาถึง (โดยการติดปาย “ชํารุด” ใกลๆ (สําหรับ Ø19.1) (ประเภท MAP080)
กับเครื่องตัดกระแสไฟฟา เปนตน) หากยังใชเครื่องปรับอากาศในขณะที่มีความผิดปกติ อาจทําใหกลไกการทํางานเกิดปญหาและเพิ่ม
ความเสี่ยงหรือสงผลใหเกิดไฟฟาช็อตหรือปญหาอื่นๆ ได ทอที่ติดตั้งไว 1
การเชื่อมตอการวางทอกาซดานนอก
(สําหรับ Ø22.2) (ประเภท MAP100)
• หลังจากเสร็จงานแลว ใหใชชุดอุปกรณทดสอบฉนวน (แรงดันไฟฟา 500 V) ตรวจสอบวาความตานทานระหวางสวนที่มีประจุกับสวน
โลหะที่ไมมีประจุ (สวนดิน) อยูที่ 1 MΩ หรือมากกวาหรือไม หากคาความตานทานตํ่า อาจทําใหเกิดการรั่วไหลหรือเกิดไฟฟาช็อตได การเชื่อมตอการวางทอกาซดานนอก
ทอที่ติดตั้งไว
• เมื่อติดตั้งเสร็จสมบูรณแลว ควรตรวจหาการรั่วไหลของสารทําความเย็นและตรวจสอบความตานทานของฉนวนและการระบายนํ้า 1 (ประเภท MAP120, MAP140, MAP14A, MAP160, MAP180,
(สําหรับ Ø28.6)
จากนั้นทําการทดสอบการทํางาน เพื่อตรวจสอบวาเครื่องปรับอากาศทํางานไดอยางถูกตอง MAP200, MAP220)

คําอธิบายสําหรับผูใช ทอที่ติดตั้งไว 1
การเชื่อมตอการวางทอกาซดานนอก
• เมื่อติดตั้งเสร็จสมบูรณแลว ใหแจงผูใชวาเครื่องตัดกระแสไฟฟาติดตั้งอยูที่ใด หากผูใชไมทราบวาเครื่องตัดกระแสไฟฟาอยูที่ใด ผูใช (สําหรับ Ø34.9) (ประเภท MAP240)
จะไมสามารถปดเครื่องตัดกระแสไฟฟาไดเมื่อมีปญหาใดๆ เกิดขึ้นกับเครื่องปรับอากาศ ทอที่ติดตั้งไว การเชื่อมตอการวางทอของเหลว
• หากชองพัดลมเสียหาย อยาเขาใกลตัวเครื่องภายนอก ใหโยกสวิตชของเครื่องตัดไฟฟาไปที่ตําแหนง OFF แลวติดตอใหชางบริการที่ (สําหรับ Ø19.1)
1
(ประเภท MAP220, MAP240)
มีความชํานาญ (*1) มาซอม อยาโยกสวิตชของเครื่องตัดไฟฟาไปที่ตําแหนง ON จนกวาจะซอมเรียบรอยแลว
• ภายหลังการติดตั้ง ควรอธิบายใหลูกคาทราบถึงวิธีการใชงานรวมทั้งการบํารุงรักษาเครื่องตามคูมือผูใชงาน ทอที่ติดตั้งไว 1
การเชื่อมตอการวางทอของเหลว
(สําหรับ Ø15.9) (ประเภท MAP140)
การยายที่ติดตั้ง
• ควรใหชา งผูช าํ นาญการ (*1) หรือชางบริการทีช่ าํ นาญ (*1) เปนผูด าํ เนินการยายทีต่ ดิ ตัง้ เครือ่ งปรับอากาศเทานัน้ หากใหผทู ไี่ มมคี วาม
ชํานาญเปนผูด าํ เนินการอาจเกิดเพลิงไหม ไฟฟาช็อต ไดรบั บาดเจ็บ เกิดการรัว่ ไหลของนํา้ เสียงรบกวน และ/หรือการสัน่ สะเทือนได
• เมื่อกระทําการปมดาวน ใหปดคอมเพรสเซอรกอนที่จะถอดทอสารทําความเย็นการถอดทอสารทําความเย็นขณะที่เปดวาลวทิ้งไวและ
คอมเพรสเซอรยังทํางานอยูจะทําใหอากาศและกาซอื่นถูกดูดเขาไปเปนการเพิ่มแรงดันภายในวงจรการทําความเย็นใหสูงขึ้น และอาจ
กอใหเกิดการแตกออก ทําใหไดรับบาดเจ็บ และเกิดปญหาอื่นๆ ตามมาได
• หามเติมสารทําความเย็นลงในตัวเครื่องภายนอก โปรดใชงานอุปกรณในการเติมสารทําความเย็นเมื่อเคลื่อนยายหรือซอมบํารุงเครื่อง
สารทําความเย็นไมสามารถใชรวมกับตัวเครื่องภายนอกได หากเติมสารทําความเย็นลงในเครื่องดังกลาวอาจทําใหเกิดอุบัติเหตุรายแรง
เชน ตัวเครื่องระเบิด การบาดเจ็บ หรืออุบัติเหตุอื่นๆ
(*1) ใหอางอิงจาก “ดําเนินการโดยผูติดตั้งที่มีความชํานาญหรือชางบริการที่มีความชํานาญเทานั้น”

ขอควรระวัง
การติดตั้งสารทําความเย็นรุนใหมในเครื่องปรับอากาศ
• เครื่องปรับอากาศเครื่องนี้ใชสารทําความเย็นแบบ HFC (R410A) ซึ่งไมทําลายชั้นโอโซน
• คุณลักษณะของสารทําความเย็นรุน R410A คือ จะดูดซึมนํ้าไดงาย จับตัวกับเมมเบรนหรือนํ้ามันไดงาย และแรงดันจะสูงกวาสาร
ทําความเย็นรุน R22 ถึง 1.6 เทา สารทําความเย็นรุนใหมนี้ยังมาพรอมกับการเปลี่ยนแปลงของนํ้ามันทําความเย็น ดังนั้นจึงไมควร
ใหนํ้า ฝุนผง สารทําความเย็นรุนเกา หรือนํ้ามันทําความเย็นเขาไปในวงจรการทําความเย็นในระหวางการติดตั้ง EN
• เพื่อปองกันไมใหบรรจุสารทําความเย็นและนํ้ามันทําความเย็นผิดชนิด ขนาดของสวนเชื่อมตอของพอรตถายเทประจุของตัวเครื่อง
กับอุปกรณการติดตั้งจึงเปลี่ยนไปจากเดิมที่เคยใชกับสารทําความเย็นรุนเกาดวย
• ดังนั้น เครื่องมือที่ใชสําหรับสารทําความเย็นรุนใหม (R410A) จึงทํามาใหใชโดยเฉพาะ EN
• สําหรับทอเชื่อม ใหใชทอใหมที่สะอาดซึ่งออกแบบมาสําหรับ R410A และโปรดตรวจสอบใหแนใจวาไมมีนํ้าหรือฝุนผงเขาไปได
ถอดปลั๊กอุปกรณจากแหลงจายไฟหลัก
• อุปกรณนี้ตองตอกับแหลงจายไฟหลักดวยสวิตชซึ่งมีระยะหางหนาสัมผัสขั้วตอ อยางนอย 3 มม. EN
หามทําความสะอาดเครื่องปรับอากาศดวยสายฉีดที่มีแรงดัน
• กระแสไฟฟารั่วไหลอาจกอใหเกิดไฟฟาชอตหรือไฟไหม
TH

7-TH 8-TH
–4–

1121501401 TH.indd 4 1/18/2561 BE 17:00


–5–

3 การติดตั้งเครื่องปรับอากาศพรอมสารทําความเย็นใหม 4 การเลือกสถานที่ติดตั้ง
เครื่องปรับอากาศเครื่องนี้ใชสารทําความเย็นแบบ HFC (R410A) ซึ่งไมทําลายชั้นโอโซน ควรติดตั้งเครื่องปรับอากาศในบริเวณที่มีสภาพดังตอไปนี้ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการอนุมัติจากลูกคา:
Ÿ คุณลักษณะของสารทําความเย็นรุน R410A คือ จะดูดซึมนํ้าไดงาย จับตัวกับเมมเบรนหรือนํ้ามันไดงาย และแรงดันจะสูงกวา Ÿ สถานที่ที่สามารถติดตั้งไดในแนวนอน
สารทําความเย็นรุนเกาถึง 1.6 เทา สารทําความเย็นรุนใหมนี้ยังมาพรอมกับการเปลี่ยนแปลงของนํ้ามันทําความเย็น ดังนั้นจึงไม Ÿ บริเวณที่มีพื้นที่เอื้ออํานวยตอการซอมบํารุง เพื่อใหสามารถทําการบํารุงรักษาและตรวจสอบไดอยางปลอดภัย
ควรใหนํ้า ฝุนผง สารทําความเย็นรุนเกา หรือนํ้ามันทําความเย็นเขาไปในวงจรการทําความเย็นในระหวางการติดตั้ง Ÿ บริเวณที่จะไมเกิดปญหาจากนํ้าทิ้ง
Ÿ เพื่อปองกันไมใหบรรจุสารทําความเย็นและนํ้ามันทําความเย็นผิดชนิด ขนาดของสวนเชื่อมตอของพอรตถายเทประจุของ
หลีกเลี่ยงสถานที่ดังตอไปนี้:
ตัวเครื่องกับอุปกรณการติดตั้งจึงเปลี่ยนไปจากเดิมที่เคยใชกับสารทําความเย็นรุนเกาดวย ดังนั้น จึงจําเปนตองใชเครื่องมือ Ÿ บริเวณที่มีปริมาณเกลือในมวลอากาศสูง (บริเวณใกลชายฝง) หรือที่ที่มีกาซซัลไฟดอยูเปนจํานวนมาก (บริเวณนํ้าพุรอน)
เฉพาะสําหรับสารทําความเย็นแบบใหม (R410A) ดังแสดงดานลาง (จําเปนอยางยิ่งที่ตองมีมาตรการปองกันเปนพิเศษ หากติดตั้งตัวเครื่องในบริเวณดังกลาว)
Ÿ สําหรับการเชื่อมตอทอเชื่อม ใหใชวัสดุทอเชื่อมที่สะอาดและใหมเพื่อไมใหนํ้าหรือฝุนเขาไปขางใน
Ÿ บริเวณที่มีนํ้ามัน (รวมถึงนํ้ามันเครื่องจักร) ไอนํ้า ไอนํ้ามันหรือแกสกัดกรอน
Ÿ บริเวณที่มีเหล็กหรือผงโลหะตางๆ หากมีเหล็กหรือผงโลหะติดอยูหรือสะสมภายในเครื่องปรับอากาศ อาจกอใหเกิดเพลิงไหม
n เครื่องมือที่จําเปนและขอควรระวังในการปฏิบัติงาน ขึ้นเองได
Ÿ บริเวณที่มีการใชสารละลายอินทรีย
จําเปนตองจัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณสําหรับติดตั้งดังที่อธิบายดานลาง เครื่องมือและอุปกรณที่เตรียมขึ้นใหมดังรายการ Ÿ โรงงานผลิตสารเคมีที่มีระบบระบายความรอนโดยใชคารบอนไดออกไซดเหลว
ตอไปนี้จะกําหนดมาใหเฉพาะ Ÿ บริเวณที่มีการตั้งอุปกรณใหกําเนิดความถี่สูง (อินเวอรเตอร เจเนเรเตอรขนาดใหญ อุปกรณทางการแพทย หรืออุปกรณการ

คําอธิบายสัญลักษณ สื่อสาร) (การควบคุมความบกพรองหรือความผิดปกติของเครื่องปรับอากาศ หรืออาจเกิดการขัดขวางการทํางานตออุปกรณ


ดังที่อธิบายไวดานบน)
: เครื่องมือที่จัดเตรียมใหม (ตองใชเฉพาะกับ R410A โดยแยกจาก R22 หรือ R407C) Ÿ บริเวณที่มีอากาศระบายออกจากตัวเครื่องภายนอกพัดไปทางหนาตางของที่พักอาศัยใกลเคียง
: เครื่องมือแบบเดิมที่ใชได Ÿ บริเวณที่ไมสามารถแบกรับนํ้าหนักของตัวเครื่องได
เครื่องมือที่ใช การใชงาน ความเหมาะสมในการใชงานเครื่องมือ/อุปกรณ Ÿ บริเวณที่มีการระบายอากาศไมดี
เกจวัดนํ้ายาแบบคู การเติมนํ้ายาไลความชื้นดวย ใชเฉพาะกับ R410A
ทอเติมสารทําความเย็น สุญญากาศและตรวจสอบการทํางาน ใชเฉพาะกับ R410A
กระบอกเติมสารทําความเย็น การเติมสารทําความเย็น ไมสามารถใชได (ใหใชตวั ปรับสมดุลการเติมสารทําความเย็น)
เครื่องตรวจจับกาซรั่ว การตรวจเช็คกาซรั่ว ใชเฉพาะกับ R410A
ปมสุญญากาศ การไลความชื้นดวยสุญญากาศ สามารถใชไดหากติดตั้งตัวปองกันการไหลยอนกลับ
ปมสุญญากาศที่มีการไหลยอนกลับ การไลความชื้นดวยสุญญากาศ R22 (เครื่องมือที่มีอยู)
เครื่องมือบานทอ กระบวนการขยายทอเชื่อม สามารถใชไดโดยปรับขนาด
เครื่องมือดัดทอ กระบวนการดัดทอเชื่อม R22 (เครื่องมือที่มีอยู)
อุปกรณฟนฟูสารทําความเย็น การฟนฟูสารทําความเย็น ใชเฉพาะกับ R410A
ประแจทอรก การขันแฟลรนัต ใชเฉพาะกับขนาด Ø12.7 มม. และ Ø15.9 มม.
เครื่องมือตัดทอ การตัดทอเชื่อม R22 (เครื่องมือที่มีอยู)
ถังบรรจุสารทําความเย็น การเติมสารทําความเย็น ใชเฉพาะกับ R410A
ใสชื่อสารทําความเย็นเพื่อระบุ
เครื่องมือเชื่อมประสาน/หลอดบรรจุ การเชื่อมประสานทอ R22 (เครื่องมือที่มีอยู)
กาซไนโตรเจน
ตัวปรับสมดุลการเติมสารทําความเย็น การเติมสารทําความเย็น R22 (เครื่องมือที่มีอยู)

9-TH 10-TH

1121501401 TH.indd 5 1/18/2561 BE 17:00


n สถานที่ติดตั้ง q ประเภทของตัวเครื่องภายนอก (* : T8P-T, T8JP-T)
ชื่อรุน ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องรอง
ใหเวนที่วางเพื่อการเดินเขาออก การติดตั้ง และการบริการ (MMY-) (A) (B) (C)
มาตรฐาน
อากาศระบายออก MAP0807* MAP0807* - -
MAP1007* MAP1007* - -
อากาศเขา MAP1207* MAP1207* - -
MAP1407* MAP1407* - -
MAP1607* MAP1607* - -
อากาศเขา MAP1807* MAP1807* - -
อากาศเขา อากาศเขา MAP2007* MAP2007* - -
MAP2207* MAP2207* - -
MAP2407* MAP2407* - -
AP2617* MAP1407* MAP1207* -
AP2817* MAP1407* MAP1407* -
AP3017* MAP1607* MAP1407* -
AP3217* MAP1607* MAP1607* -
พื้นผิวการติดตั้ง/ AP3417* MAP1807* MAP1607* -
การบริการ AP3617* MAP1807* MAP1807* -
AP3817* MAP2007* MAP1807* -
ชองสี่เหลี่ยม AP4017* MAP2007* MAP2007* -
สําหรับจับ AP4217* MAP1407* MAP1407* MAP1407*
AP4417* MAP1607* MAP1407* MAP1407*
มุมมองดานบนของตัวเครื่องภายนอก AP4617* MAP1807* MAP1407* MAP1407*
AP4817* MAP2007* MAP1407* MAP1407*
500 มม. หรือมากกวา AP5017* MAP2007* MAP1607* MAP1407*
(ดานหลัง) AP5217* MAP2007* MAP1807* MAP1407*
AP5417* MAP2007* MAP2007* MAP1407*
AP5617* MAP2007* MAP2007* MAP1607*
10 มม. หรือมากกวา AP5817* MAP2007* MAP2007* MAP1807*
AP6017* MAP2007* MAP2007* MAP2007*
500 มม. หรือมากกวา 10 มม. หรือมากกวา
(ดานหนา) 20 มม. หรือมากกวา 20 มม. หรือมากกวา ชื่อรุน ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องรอง
(MMY-)
ประสิทธิภาพสูง (A) (B) (C)
MAP14A7* MAP14A7* - -
หมายเหตุ AP1627* MAP0807* MAP0807* -
AP1827* MAP1007* MAP0807* -
Ÿ ถามีสิ่งกีดขวางอยูเหนือตัวเครื่องภายนอก ใหเวนที่วางไว 2000 มม. หรือมากกวาจากขอบดานบนของตัวเครื่องภายนอก AP2027* MAP1007* MAP1007* -
AP2227* MAP1207* MAP1007* -
Ÿ ถามีผนังกั้นรอบตัวเครื่องภายนอก ใหแนใจวาความสูงไมเกิน 800 มม. AP2427* MAP0807* MAP0807* MAP0807*
AP2627* MAP14A7* MAP1207* -
AP2827* MAP14A7* MAP14A7* -
AP3027* MAP1007* MAP1007* MAP1007*
AP3227* MAP1207* MAP1007* MAP1007*
AP3427* MAP1207* MAP1207* MAP1007*
AP3627* MAP1207* MAP1207* MAP1207*
AP3827* MAP14A7* MAP1207* MAP1207*
AP4027* MAP14A7* MAP14A7* MAP1207*
AP4227* MAP14A7* MAP14A7* MAP14A7*
EN
AP4427* MAP1607* MAP14A7* MAP14A7*
AP4627* MAP1807* MAP14A7* MAP14A7*
AP4827* MAP1607* MAP1607* MAP1607* EN
AP5027* MAP1807* MAP1607* MAP1607*
AP5227* MAP1807* MAP1807* MAP1607*
AP5427* MAP1807* MAP1807* MAP1807*
EN

TH

11-TH 12-TH
–6–

1121501401 TH.indd 6 1/18/2561 BE 17:00


–7–

5 การเคลือ่ นยายตัวเครือ่ งภายนอก n นํ้าหนักและจุดศูนยกลางนํ้าหนัก


ขอควรระวัง u จุดศูนยกลางนํ้าหนักของตัวเครื่องภายนอก
ปฏิบัติงานกับตัวเครื่องภายนอกอยางระมัดระวัง โดยปฏิบัติตามหัวขอดังตอไปนี้
A. ตําแหนงโบลทยึด B. ตําแหนงโบลทยึด C. ตําแหนงโบลทยึด
Ÿ เมื่อใชรถยกหรือเครื่องจักรอื่นๆ เพื่อยกขึ้น/ยกลงเมื่อขนสงใหสอดงาของรถยกเขาไปในชองสี่เหลี่ยมสําหรับการยก ดังภาพที่ 920 1310
700
แสดงดานลาง
Ÿ เมื่อยกตัวเครื่องขึ้น ใหสอดสายยึดเพื่อชวยรองรับนํ้าหนักของตัวเครื่องใหอยูในชองสี่เหลี่ยมสําหรับปฏิบัติงาน และมัด

ตําแหนงโบลทยึด

ตําแหนงโบลทยึด

ตําแหนงโบลทยึด
ตัวเครื่องทั้ง 4 ดาน

755

755

755
(ใหใสแผนรองในตําแหนงที่สายรัดจะสัมผัสกับตัวเครื่องภายนอกเพื่อไมใหเกิดความเสียหายตอพื้นผิวภายนอกของตัวเครื่อง
ภายนอก)

Y
Y

Y
(มีแผนรองรับอยูที่พื้นผิวดานขาง เพื่อไมใหสายรัดผานเขาไปได)
ถูกตอง ไมถูกตอง ไมถูกตอง
แผนปูน
ปลาสเตอร

สายยึด

ชองสี่เหลี่ยม แผนปูน
สําหรับการ ดานขาง ปลาสเตอร X X X
ปฏิบัติงาน

Z
Z
Z
หนา/หลัง ไมถูกตอง
ชองสี่เหลี่ยม แผนรองรับ
สําหรับการยก (หนวย : มม.)
ถูกตอง งาของรถยก
หมายเลข ประเภทรุน X (มม.) Y (มม.) Z (มม.) นํ้าหนัก (กก.)
MMY-MAP080*
MMY-MAP100*
A 510 345 645 200
MMY-MAP120*
MMY-MAP140*
MMY-MAP14A*
MMY-MAP160*
B 605 345 710 281
MMY-MAP180*
MMY-MAP200*
MMY-MAP220*
C 785 340 745 340
MMY-MAP240*

13-TH 14-TH

1121501401 TH.indd 7 1/18/2561 BE 17:00


6 การติดตัง้ ตัวเครือ่ งภายนอก Ÿ ตําแหนงโบลทยึดแสดงไวดังดานลาง:

คําเตือน รูสลักยึด 310 หรือ 310 หรือ


(รูยาว 15 x 20) A มากกวา A มากกวา A
C*
A
Ÿ ใหแนใจวาติดตั้งตัวเครื่องภายนอกไวในบริเวณที่สามารถรองรับนํ้าหนักตัวเครื่องได
ถาไมมีความแข็งแรงเพียงพอ อาจทําใหตัวเครื่องตกหลนซึ่งทําใหเกิดการบาดเจ็บขึ้นได

755

790
Ÿ ทําการติดตั้งตามขอกําหนดเพื่อปองกันลมแรงปะทะและแผนดินไหว
ถาติดตั้งตัวเครื่องภายนอกไดไมเสร็จสมบูรณ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุจากการตกลงหรือหลนใส B B

* เฉพาะรุน MAP220,
MAP240 จะมีรูไวสําหรับ
ขอควรระวัง เสริมความแข็งแรง
Ÿ นํ้าทิ้งจะถูกปลอยออกจากตัวเครื่องภายนอก (หนวย : มม.)
ใหติดตั้งตัวเครื่องภายนอกไวในบริเวณที่มีการระบายนํ้าที่ดี ประเภทรุน A B C
Ÿ สําหรับการติดตั้ง ใหระมัดระวังเกี่ยวกับความแข็งแรงและระดับของฐานติดตั้งเพื่อไมใหเกิดเสียงผิดปกติ (การสั่นสะเทือน MAP080*, MAP100*, MAP120*, MAP140* 700 990 –
หรือเสียงรบกวน) MAP14A*, MAP160*, MAP180*, MAP200* 920 1210 –
MAP220*, MAP240* 1310 1600 1500

ขอกําหนด
2. เมื่อนําทอสารทําความเย็นออกจากดานลาง ใหกําหนด 3. อยาใชขาตั้ง 4 ตัวที่มุมเพื่อรองรับตัวเครื่องภายนอก
การติดตั้งในบริเวณที่มีหิมะตก ความสูงของขาตั้งไวที่ 500 มม. หรือมากกวา
1. ติดตั้งตัวเครื่องภายนอกไวบนฐานที่สูงกวาระดับหิมะตก หรือใชขาตั้งเพื่อติดตั้งตัวเครื่องโดยไมใหหิมะตกใส ไมถูกตอง ถูกตอง
Ÿ ใชขาตั้งสูงกวาระดับหิมะ
Ÿ ใชขาตั้งที่มีมุมที่สามารถระบายนํ้าไดเปนอยางดี (หลีกเลี่ยงการใชขาตั้งที่มีพื้นผิวเรียบ)

500 มม. หรือมากกวา


2. ติดตั้งฝาครอบกันหิมะที่ชองอากาศเขาและชองอากาศออก
Ÿ ใหเหลือพื้นที่วางไวสําหรับฝาครอบกันหิมะเพื่อไมใหกีดขวางชองอากาศเขาและชองอากาศออก

ฝาครอบกันหิมะสําหรับ
ชองอากาศออก (หาซื้อได
ในพื้นที่)
ฝาครอบกันหิมะสําหรับ
ชองอากาศออก (4 ทิศทาง) 4. ติดตั้งยางปองกันการสั่นสะเทือน (รวมถึงแทนปองกันการสั่นสะเทือน) โดยใหแนบกับดานลางขายึดทั้งหมด
(หาซื้อไดในพื้นที่)
ถูกตอง ถูกตอง

ขาตั้ง (หาซื้อไดในพื้นที่)
โบลทยึด ติดตั้งยางปองกันการสั่นสะเทือน
โดยไมใหสวนที่งอของขายึดติดกับพื้น
ยางปองกันการสั่นสะเทือน
1. การติดตัง้ ตัวเครือ่ งภายนอกแบบใชกบั เครือ่ งภายในหลายตัว ใหจดั เรียงตัวเครือ่ งภายนอกโดยเวนระยะหาง 20 มม. หรือ
มากกวา ติดตัง้ ตัวเครือ่ งภายนอกแตละตัวดวยโบลทยดึ M12 ทัง้ 4 ตําแหนง ระยะโผลทเี่ หมาะสมสําหรับโบลทยดึ คือ 20 มม. EN
20 มม. หรือมากกวา 20 มม. หรือมากกวา ไมถูกตอง ไมถูกตอง ไมถูกตอง
20

EN
สวนที่งอของขายึด
ไมติดกับพื้น
EN

โบลทยึด M12 TH
ทั้ง 4 ตําแหนง/ตัวเครื่อง
15-TH 16-TH
–8–

1121501401 TH.indd 8 1/18/2561 BE 17:00


–9–

5. ระมัดระวังลําดับการเชื่อมตอของตัวเครื่องหลักและตัวเครื่องรอง ใหวางตําแหนงตัวเครื่องภายนอกตามความจุจากมากสุด เมื่อวางทอลงดานลาง


(A (ตัวเครื่องนํา) ≥ B ≥ C)
[การตอขอตอแยกแนวตั้ง]
Ÿ ใหแนใจวาใชตัวเครื่องนําเพื่อเปนตัวเครื่องสวนหนาเพื่อเชื่อมตอเขากับทอหลัก (รูปภาพ 1, 3 และ 5)
q รูปภาพที่ 5 q รูปภาพที่ 6
Ÿ ใหแนใจวาใชชุดทอที่เชื่อมตอตัวเครื่องภายนอก (RBM-BT14E/RBM-BT24E: แยกจําหนายตางหาก) เพื่อเชื่อมตอตัวเครื่อง
แตละตัว ถูกตอง ไมถูกตอง
Ÿ ระมัดระวังทิศทางของขอตอแยกรูปตัวที (T) สําหรับดานของเหลว (ดังที่แสดงในรูปภาพ 2 ขอตอแยกรูปตัวที (T) ไมสามารถ ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องรอง
A B C
ติดตั้งโดยใหสารทําความเย็นของทอหลักไหลเขาไปในตัวเครื่องนําไดโดยตรง)
การตอทอของเหลว
q รูปภาพที่ 1 q รูปภาพที่ 2
ถูกตอง ไมถูกตอง
ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องรอง
A B C A B C

ทอรูปตัวแอล (L)
ขอตอแยกรูป ขอตอแยกรูป
ตัววาย (Y) ตัววาย (Y)
ทอกาซ ขอตอแยกรูปตัววาย (Y)

ทอหลัก ไมถูกตอง
ไปยังตัวเครื่องภายใน ทอหลัก Ÿ หากตองการขยายเพิ่มในอนาคต สามารถเพิ่มตัวเครื่องตามไดเพียงตัวเดียวเทานั้น ใหติดตั้งตัวเครื่องเพิ่มเติมโดยใหตําแหนง
ขอตอแยกรูปตัวที (T) ไปยังตัวเครื่องภายใน ขอตอแยกรูปตัวที (T)
อยูตรงขามกับตัวเครื่องนํา
ใหวาลวขยายเพื่อติดตั้ง (ดูรูปภาพที่ 7)
การตอทอกาซ ระบุขนาดเสนผาศูนยกลางทอไวลวงหนาเพื่อใหสามารถติดตั้งตัวเครื่องเพิ่มไดอีก
[การตอขอตอแยกดานกาซตรงขามกัน]
q รูปภาพที่ 3 q รูปภาพที่ 4 q รูปภาพที่ 7
ถูกตอง ไมถูกตอง ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง
ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องรอง
A B C A B C A B

ทอหลัก
ทอหลัก ทอหลัก
ไปยังตัวเครื่องภายใน
ไปยังตัวเครื่องภายใน ไปยังตัวเครื่องภายใน
ขอตอแยกรูปตัววาย (Y) ขอตอแยกรูปตัววาย (Y)

Ÿ เมื่อติดตั้งขอตอแยกรูปตัววาย (Y) สําหรับดานกาซ ใหติดตั้งในแนวราบไปกับพื้น (ใหแนใจวามุมไมเกิน ±15 องศา) โดยไมให


ขอตอแยกรูปตัวที (T) สําหรับดานของเหลวถูกยึดไวตายตัว
(เสนแนวนอน) (เสนแนวนอน)
ภายใน ±15 องศา ภายใน ±15 องศา อยาตอขอตอแยก
A ในแนวตั้ง
B
(ภาพแสดงลูกศร A) (ภาพแสดงลูกศร B)

ที่ตําแหนงแนวราบ
รือ
Ÿ ในกรณีที่ใชขอตอทอรูปตัว Y เชื่อมตอระหวางเครื่องภายนอก 500 มมา. ห
(ขอตอกาซดานปลอยและขอตอกาซดานดูด) ควรใหยืดตรงอยางนอย 500 มม. มากกว
ตรงทอทางเขา
17-TH 18-TH

1121501401 TH.indd 9 1/18/2561 BE 17:00


7 การวางทอสารทําความเย็น ขอกําหนด
Ÿ ในการเชื่อมประสานทอสารทําความเย็น โปรดใชกาซไนโตรเจนเพื่อปองกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นภายในทอ
คําเตือน มิฉะนั้นการไหลของสารทําความเย็นอาจติดขัดเนื่องมาจากสะเก็ดที่จากการรวมตัวของออกซิเจน
Ÿ ใชทอที่สะอาดและใหมสําหรับทอสารทําความเย็นและทําการวางทอ เพื่อไมใหมีนํ้าหรือฝุนปนเปอนกับสารทําความเย็น
Ÿ หากกาซสารทําความเย็นรั่วไหลระหวางการติดตั้ง ใหระบายอากาศในหองดังกลาว Ÿ ใหแนใจวาไดใชประแจปากตายคูคลายหรือขันแฟลรนัต หากใชประแจปากตายแบบดานเดียว อาจไมไดระดับในการขันที่
หากกาซสารทําความเย็นที่รั่วออกมาสัมผัสเขากับไฟ อาจกอใหเกิดกาซที่เปนอันตรายได ตองการ ขันแฟลรนัตดวยแรงขันที่กําหนดไว (หากใชประแจปากตายคูคลายหรือขันแฟลรนัตของวาลวรวมของดานของเหลวได
Ÿ หลังจากการติดตั้ง ใหตรวจสอบวาไมมีการรั่วไหลของสารทําความเย็น ยาก ใหคลายหรือขันแฟลรนัตในขณะที่ยึดวาลวติดตั้งฐานดวยประแจ)
หากมีการรั่วไหลของกาซสารทําความเย็นภายในหองที่ติดตั้ง และสัมผัสเขากับไฟ เชน ฮีตเตอรพัดลมรอน เตา หรือ
เตาหุงตม อาจกอใหเกิดกาซที่เปนอันตรายได อยาใชนํ้ามันทําความเย็นทาหนาสัมผัสตรง
บริเวณที่ขยายทอ
เสนผานศูนยกลาง แรงในการขัน (นิวตันเมตร) บอลวาลวดานของเหลว
ของทอทองแดง
n การเชื่อมตอทอสารทําความเย็น 6.4 มม. 14 ถึง 18 ( 1.4 ถึง 1.8 kgf•m) อยาใชประแจปากตายแบบสอง
ทางหนีบชองบริการ มิฉะนั้นชอง
9.5 มม. 33 ถึง 42 (3.3 ถึง 4.2 kgf•m) ดังกลาวอาจชํารุดได
Ÿ บริเวณที่เชื่อมตอทอสารทําความเย็นจะอยูที่ตัวเครื่องภายนอก
ใหถอดแผงดานหนาและแผงสายไฟ/ทอออก 12.7 มม. 50 ถึง 62 (5.0 ถึง 6.2 kgf•m)
ตะขอ 15.9 มม. 68 ถึง 82 (6.8 ถึง 8.2 kgf•m)
Ÿ ตะขอจะอยูทางขวาและซายมือของแผงดานหนา
ตามภาพประกอบที่แสดงอยูทางขวามือ ใหยกแผงขึ้น 19.1 มม. 100 ถึง 120 (10 ถึง 12 kgf•m)
จากนั้นจึงถอดออก
Ÿ ทอสามารถวางไวไดทั้งดานหนา หรือดานหลังของเครื่อง แผงดานหนา
ภายนอก แผงสายไฟ/การวางทอ วิธีการเชื่อมตอทอของวาลวดานกาซ (ตัวอยาง)
ือ

Ÿ เมื่อวางทอไปดานหนา ใหดึงทอออกทางแผงสายไฟ/วางทอ
กวา . หร

(วางทอไปดานหลัง)
มาก00 มม

และเวนชองวางประมาณ 500 มม. หรือมากกวาจากทอหลัก (วางทอไป (วางทอ เสนผานศูนยกลางทอ


ประเภท ทางดานหนา ทางดานหลัง
ที่เชื่อมตอระหวางตัวเครื่องดานนอกและเครื่องดานใน เพื่อ ทางซาย) ไปทางขวา)
5

กาซ ของเหลว
ใหสะดวกตอการใชงานตัวเครื่องหรือการดําเนินการอื่นๆ ดึงทอมาทางดานหนา
ตัดทอรูปตัว L ตรงสวนที่เปนแนวนอน จากนั้น ตัดทอรูปตัว L ตรงสวนที่เปนแนวตั้ง จากนั้นให
(สําหรับการเปลี่ยนคอมเพรสเซอร จําเปนตองมีพื้นที่วาง (วางทอไปทางซาย) (วางทอไปทางขวา) ใหเชื่อมประสานทอที่มีใหมาเขากับขอตอ และ เชื่อมประสานทอที่มีใหมาเขากับขอตอ และทอ
(ดึงทอลงมา MAP080 Ø19.1 Ø12.7
500 มม. หรือมากกวา) ดานลาง) ทอทองแดง ทองแดง
Ÿ เมื่อวางทอไปทางดานหลัง ใหถอดตัวล็อกที่ฐานรองหลัก
ของตัวเครื่องภายนอกออก ดึงทอออกจากตัวเครื่องภายนอก และดําเนินการวางทอไวทางดานขวา/ซาย หรือดานหลัง วาลวดานของเหลว วาลวดานกาซ ทอ วาลวดานของเหลว วาลวดานกาซ
MAP100 Ø22.2 Ø12.7 กาซ
ทอกาซ
ทอประกอบ ทอประกอบ
ขอตอ
ทอ ขอตอ ตําแหนง
บอลวาลวดานกาซ บอลวาลวดานกาซ MAP120 Ø28.6 Ø12.7
ทอ ตําแหนงตัด ทอ ตัด
ทอ
วาลวบริการดานของเหลว บอลวาลวดานของเหลว ตัดทอรูปตัว L ตรงสวนที่เปนแนวนอน จากนั้น ตัดทอรูปตัว L ตรงสวนที่เปนแนวตั้ง จากนั้นให
ใหเชื่อมประสานทอที่มีใหมาเขากับขอตอ และ เชื่อมประสานทอที่มีใหมาเขากับขอตอ และทอ
ทอทองแดง ทองแดง
EN
วาลวดานของเหลว วาลวดานกาซ วาลวดานของเหลว วาลวดานกาซ
(MAP080, MAP100, MAP120, (MAP14A, MAP160, MAP180, ทอ
MAP140) MAP200, MAP220, MAP240) MAP140 Ø28.6 Ø15.9 กาซ
ทอประกอบ ทอประกอบ EN
ทอประกอบ ทอกาซ
ขอตอ ทอประกอบ ขอตอ
ขอตอ ขอตอ
ทอ ตําแหนง
ทอ
ทอ ตําแหนงตัด ทอ
ตัด EN

TH

19-TH 20-TH
– 10 –

1121501401 TH.indd 10 1/18/2561 BE 17:00


– 11 –

ประเภท
เสนผานศูนยกลางทอ
ทางดานหนา ทางดานหลัง
ขอบที่ยื่นออกมาของทอทองแดงกับชุดบานทอ: A (หนวย: มม.)
กาซ ของเหลว เสนผานศูนยกลาง A +0
ตัดทอรูปตัว L ตรงสวนที่เปนแนวนอน จากนั้น ตัดทอรูปตัว L ตรงสวนที่เปนแนวตั้ง จากนั้นให ภายนอกทอทองแดง −0.4

ใหเชื่อมประสานทอที่มีใหมาเขากับขอตอ และ เชื่อมประสานทอที่มีใหมาเขากับขอตอ และทอ 9.5 13.2


ทอทองแดง ทองแดง 12.7 16.6
MAP14A 15.9 19.7
วาลวดานกาซ ทอ วาลวดานกาซ
MAP160 วาลวดานของเหลว วาลวดานของเหลว 19.1 24.0
MAP180 Ø28.6 Ø15.9 กาซ
MAP200
ทอกาซ
* เมื่อใชงานเครื่องมือบานทอทั่วไปสําหรับการเชื่อมตอทอ R410A ที่มีการบานทอ ใหเวนขอบไวประมาณ 0.5 มม. ซึ่งยาวกวาทอ
ทอประกอบ
ขอตอ ทอประกอบ R22 เพื่อใหขนาดของการบานทอตรงตามที่กําหนดไว โปรดใชเกจทอทองแดงสําหรับการปรับขนาดขอบที่ยื่นออกมา
ทอ ขอตอ
ตําแหนง • ตองใชทอที่มีมาใหซึ่งทําการบานปลายเรียบรอยแลว (Ø19.1) ตอเขากับวาลวของทอของเหลว (Ø19.1) (MAP220, MAP240)
ทอ ตําแหนงตัด ทอ ตัด อยาใชวัสดุแข็งหรือกึ่งแข็งแทนทอที่มีมาให
ทอ • วัสดุแข็งหรือกึ่งแข็งดังกลาวอาจแตกหรือราว จนทําใหสารทําความเย็นรั่วซึมเมื่อทําการบานปลายทอ
ตัดทอรูปตัว L ตรงสวนที่เปนแนวนอน จากนั้น ตัดทอรูปตัว L ตรงสวนที่เปนแนวตั้ง จากนั้นให • หลังจากบานปลายทอเชื่อมตอแลว ใหแนใจวาสวนที่บานปลายไมมีรอยแตก ไมมีตําหนิ ไมขรุขระ หรือไมเรียบแบน และไมมี
ใหเชื่อมประสานทอที่มีใหมาเขากับขอตอ ของอ เชื่อมประสานทอที่มีใหมาเขากับขอตอ และทอ เศษตัดหลงอยูในทอดังกลาว
และทอทองแดง ทองแดง

วาลวดานของเหลว
วาลวดานกาซ ทอ วาลวดานของเหลว วาลวดานกาซ ขอควรระวัง ขนาดของทอรวมที่จะเชื่อมประสาน
MAP220 Ø28.6 Ø19.1 กาซ
หอบอลวาลวดวยผาเปยกเพื่อ สวนที่เชื่อมตอ
ทอประกอบ ทอกาซ
ทอประกอบ ขนาดภายนอก ขนาดภายใน
ทอประกอบ ทอประกอบ
ขอตอ
รักษาความเย็นและปองกันความ
ขอตอ ขอตอ ตําแหนง รอนจากหัวเชื่อม เมื่อเชื่อมตอทอ
ของอ ทอ ทอ K G
ตําแหนงตัด ตัด เขากับบอลวาลวบนทอกาซ
ทอ ทอ ผา

ØC

ØF
หัวเชื่อม
ตัดทอรูปตัว L ตรงสวนที่เปนแนวนอน จากนั้น ตัดทอรูปตัว L ตรงสวนที่เปนแนวตั้ง จากนั้นให
ใหเชื่อมประสานทอที่มีใหมาเขากับขอตอ ของอ เชื่อมประสานทอที่มีใหมาเขากับขอตอ และทอ
และทอทองแดง ทองแดง
วาลวดานกาซ วาลวดานกาซ
วาลวดานของเหลว ทอ วาลวดานของเหลว
MAP240 Ø34.9 Ø19.1 กาซ
(หนวย : มม.)
ทอประกอบ ทอกาซ
ทอประกอบ ทอประกอบ สวนในการเชื่อมตอ
ทอประกอบ เสนผานศูนยกลาง
ขอตอ ขอตอ
ของอ ทอ ขอตอ ทอ
ตําแหนง
ภายนอกตามมาตรฐาน ขนาดภายนอก ขนาดภายใน ความหนานอยสุด
ตัด ความลึกนอยสุด
ทอ
ตําแหนงตัด ทอ ของทอทองแดง เสนผานศูนยกลางภายนอกตามมาตรฐาน ของการใสเขาไป ความโคงมน ของการประกบกัน
ที่เชื่อมตอ (คาแตกตางของการเผื่อที่ยอมรับได)
C F K G
ขอบที่ยื่นออกมาของทอทองแดงกับเครื่องบานทอ: B (หนวย: มม.) 6.35 6.35 (±0.03) 6.45 ( +0.04
−0.02 ) 7 6 0.06 หรือนอยกวา 0.50
9.52 9.52 (±0.03) 9.62 ( +0.04
−0.02 ) 8 7 0.08 หรือนอยกวา 0.60
เสนผานศูนยกลาง เมื่อใชงานเครื่องมือ เมื่อใชงานเครื่องมือ 12.70 12.70 (±0.03) 12.81 ( +0.04
−0.02 ) 9 8 0.10 หรือนอยกวา 0.70
ภายนอกทอทองแดง R410A ทั่วไป 15.88 15.88 (±0.03) 16.00 ( +0.04
−0.02 ) 9 8 0.13 หรือนอยกวา 0.80
19.05 19.05 (±0.03) 19.19 ( +0.03
−0.03 ) 11 10 0.15 หรือนอยกวา 0.80
9.5
12.7
22.22 22.22 (±0.03) 22.36 ( +0.03
−0.03 ) 11 10 0.16 หรือนอยกวา 0.82
15.9 0 ถึง 0.5 1.0 ถึง 1.5 28.58 28.58 (±0.04) 28.75 ( +0.06
−0.02 ) 13 12 0.20 หรือนอยกวา 1.00
19.1 34.92 34.92 (±0.04) 35.11 ( +0.04
−0.04 ) 14 13 0.25 หรือนอยกวา 1.20
41.28 41.28 (±0.05) 41.50 ( +0.08
−0.02 ) 15 14 0.28 หรือนอยกวา 1.40

21-TH 22-TH

1121501401 TH.indd 11 1/18/2561 BE 17:00


n การเลือกวัสดุและขนาดของทอ ตารางที่ 2 (* : T8P-T, T8JP-T)
ชื่อรุน ตัวเลขความจุ จํานวน ความจุ ชื่อรุน ตัวเลขความจุ จํานวน ความจุ
¿ การเลือกวัสดุทอ (MMY-) เทียบเทากับ เทียบเทากับ
สูงสุดของ โดยรวม
เครื่อง ของเครื่อง (MMY-) เทียบเทากับ เทียบเทากับ
สูงสุดของ โดยรวม
เครื่อง ของเครื่อง
มาตรฐาน HP ความจุ ประสิทธิภาพสูง HP ความจุ
วัสดุ: ทอไรรอยตอฟอสฟอรัสออกซิเดชั่น ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน
ความหนาสูงสุดของผนังสําหรับการใชสารทําความเย็น R410A MAP0807*
MAP1007*
8
10
22.4
28.0
17
18
170%
150%
MAP14A7*
AP1627*
14
16
40.0
44.8
25
34
145%
170%
นุม กึ่งแข็งหรือแข็ง เสนผานศูนยกลางภายนอก (นิ้ว) เสนผานศูนยกลางภายนอก (มม.) ความหนาสูงสุดของผนัง (มม.) MAP1207* 12 33.5 20 135% AP1827* 18 50.4 35 160%
MAP1407* 14 40.0 20 130% AP2027* 20 56.0 36 150%
ใชได ใชได 1/4” 6.35 0.80 MAP1607* 16 45.0 27 140% AP2227* 22 61.5 38 140%
ใชได ใชได 3/8” 9.52 0.80 MAP1807* 18 50.4 27 135% AP2427* 24 67.2 40 170%
MAP2007* 20 56.0 33 130% AP2627* 26 73.5 45 140%
ใชได ใชได 1/2” 12.70 0.80 MAP2207* 22 61.5 37 135% AP2827* 28 80.0 50 145%
ใชได ใชได 5/8” 15.88 1.00 MAP2407* 24 67.0 39 130% AP3027* 30 84.0 54 150%
AP2617* 26 73.5 40 130% AP3227* 32 89.5 56 145%
ใชไมได ใชได 3/4” 19.05 1.00
AP2817* 28 80.0 40 130% AP3427* 34 95.0 58 140%
ใชไมได ใชได 7/8” 22.22 1.00 AP3017* 30 85.0 47 130% AP3627* 36 100.5 60 135%
ใชไมได ใชได 1-1/8” 28.58 1.00 AP3217* 32 90.0 54 135% AP3827* 38 107.0 64 140%
AP3417* 34 95.4 54 135% AP4027* 40 113.5 64 140%
ใชไมได ใชได 1-3/8” 34.92 1.20 AP3617* 36 100.8 54 140% AP4227* 42 120.0 64 145%
ใชไมได ใชได 1-5/8” 41.28 1.40 AP3817* 38 106.4 64 140% AP4427* 44 125.0 64 140%
AP4017* 40 112.0 64 130% AP4627* 46 130.4 64 140%
AP4217* 42 120.0 64 130% AP4827* 48 135.0 64 135%
u ตัวเลขความจุของเครื่องภายในและเครื่องภายนอก AP4417* 44 125.0 64 130% AP5027* 50 140.4 64 135%
Ÿ สําหรับเครื่องภายนอก ตองเลือกหมายเลขความจุจากระดับความจุ (ตารางที่ 1) AP4617*
AP4817*
46
48
130.4
136.0
64
64
130%
130%
AP5227*
AP5427*
52
54
145.8
151.2
64
64
135%
140%
Ÿ หมายเลขความจุของเครื่องภายนอกกําหนดตามระดับความจุ หมายเลขสูงสุดของเครื่องภายในที่สามารถเชื่อมตอไดและคา AP5017* 50 141.0 64 130%
AP5217* 52 146.4 64 130%
โดยรวมของตัวเลขความจุสําหรับเครื่องภายในไดถูกกําหนดไวแลว (ตารางที่ 2) AP5417* 54 152.0 64 130%
AP5617* 56 157.0 64 135%
AP5817* 58 162.4 64 140%
หมายเหตุ ตารางที่ 1 AP6017* 60 168.0 64 140%

ระดับความจุของ ตัวเลขความจุ * สําหรับการประกอบเครื่องภายนอก ใหอางอิงจาก “การประกอบตัวเครื่องภายนอก”


หากเปรียบเทียบกับตัวเลขความจุของเครื่องภายนอก
เครื่องภายใน เทียบเทากับ HP เทียบเทากับความจุ
คาโดยรวมของตัวเลขความจุของเครื่องภายในที่สามารถ ¿ การลดจํานวนสูงสุดของเครื่องภายในสามารถเพิ่มความจุโดยรวมได
เชื่อมตอไดจะแตกตางกันตามความสูงของเครื่องภายใน 007 0.8 2.2
ตัวเลขความจุ จํานวน ความจุ ตัวเลขความจุ จํานวน ความจุ
008 0.9 2.5 ชื่อรุน ชื่อรุน
Ÿ ความสูงที่ตางกันระหวางเครื่องภายใน คือ 15 ม. สูงสุดของ โดยรวม สูงสุดของ โดยรวม
009 1 2.8 (MMY-) เทียบเทากับ เทียบเทากับ เครื่อง ของเครื่อง (MMY-) เทียบเทากับ เทียบเทากับ เครื่อง ของเครื่อง
หรือนอยกวา : สูงสุดถึง 200% ของตัวเลขความจุ 010 1.1 3.2 มาตรฐาน HP ความจุ ประสิทธิภาพสูง HP ความจุ
ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน
(เทียบเทากับ HP) ของเครื่องภายนอก 012 1.25 3.6
MAP0807* 8 22.4 13 200% MAP14A7* 14 40.0 18 200%
Ÿ เมื่อคาความตางของความสูงระหวางเครื่องภายในเกินกวา 014 1.5 4 MAP1007* 10 28.0 13 200% AP1627* 16 44.8 30 180%
15 ม. : สูงถึง 105% ของตัวเลขความจุ 015 1.7 4.5 MAP1207*
MAP1407*
12
14
33.5
40.0
13
13
200%
200%
AP1827*
AP2027*
18
20
50.4
56.0
30
30
180%
180%
017 1.85 5
MAP1607* 16 45.0 18 200% AP2227* 22 61.5 30 180%
018 2 5.6 MAP1807* 18 50.4 18 200% AP2427* 24 67.2 35 150%
020 2.25 6.3 MAP2007* 20 56.0 21 200% AP2627* 26 73.5 35 180%
024 2.5 7.1 MAP2207* 22 61.5 24 200% AP2827* 28 80.0 40 180%
MAP2407* 24 67.0 25 200% AP3027* 30 84.0 54 150%
027 3 8 AP2617* 26 73.5 28 180% AP3227* 32 89.5 54 150%
030 3.2 9 AP2817* 28 80.0 28 180% AP3427* 34 95.0 54 150%
036 4 11.2 AP3017* 30 85.0 33 180% AP3627* 36 100.5 54 150%
AP3217* 32 90.0 40 180% AP3827* 38 107.0 57 150%
048 5 14
AP3417* 34 95.4 40 180% AP4027* 40 113.5 57 150%
056 6 16 AP3617* 36 100.8 42 180% AP4227* 42 120.0 57 150% EN
072 8 22.4 AP3817* 38 106.4 49 180% AP4427* 44 125.0 57 150%
AP4017* 40 112.0 46 180% AP4627* 46 130.4 57 150%
096 10 28
AP4217* 42 120.0 55 150% AP4827* 48 135.0 57 150%
AP4417* 44 125.0 55 150% AP5027* 50 140.4 57 150% EN
AP4617* 46 130.4 55 150% AP5227* 52 145.8 57 150%
AP4817* 48 136.0 55 150% AP5427* 54 151.2 57 150%
AP5017* 50 141.0 55 150%
AP5217* 52 146.4 55 150%
AP5417* 54 152.0 55 150%
EN
AP5617* 56 157.0 57 150%
AP5817* 58 162.4 59 150%
AP6017* 60 168.0 59 150%
TH
* สําหรับการประกอบเครื่องภายนอก ใหอางอิงจาก “การประกอบตัวเครื่องภายนอก”
23-TH 24-TH
– 12 –

1121501401 TH.indd 12 1/18/2561 BE 17:00


– 13 –

ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง


หลัก A รอง B รอง C หมายเลข สการวางท
วนประกอบ
อ ชื่อ การเลือกขนาดทอ หมายเหตุ
ขนาดทอเชื่อมตอของเครื่องภายนอก
เครื่องภายนอก ประเภท ดานกาซ ดานของเหลว
MMY-MAP0807* Ø19.1 Ø12.7
เครื่องภายนอก MMY-MAP1007* Ø22.2 Ø12.7
Ô การวางทอ MMY-MAP1207* Ø28.6 Ø12.7 เทากันกับขนาดทอ
(1) ชุดทอเชื่อมตอ เชื่อมตอกับ MMY-MAP1407* Ø28.6 Ø15.9 เชื่อมตอของเครื่อง
MMY-MAP14A7* Ø28.6 Ø15.9
(1) (1)
กับเครื่อง เครื่องภายนอก MMY-MAP1607* Ø28.6 Ø15.9
ภายนอก
(8) ภายนอก MMY-MAP1807* Ø28.6 Ø15.9
(1) ทอเชื่อมตอเครื่องภายนอก MMY-MAP2007* Ø28.6 Ø15.9
MMY-MAP2207* Ø28.6 Ø19.1
(8) MMY-MAP2407* Ø34.9 Ø19.1

(2) ขนาดของทอเชื่อมตอระหวางเครื่องภายนอก
ตัวเลขความจุโดยรวมของเครื่องภายนอก
(3) การ (8) ชุดทอเชื่อมตอกับเครื่องภายนอก (สําหรับเชื่อมตอเครื่องภายนอก) ทั้งหมดตามทิศทางของการไหล ดาน
วางทอ ดานกาซ ของเหลว
เทียบเทากับ เทียบเทากับคาความจุ
หลัก การวางทอ คา HP ขนาดของทอจะแตกตาง
(6) (7) ตัวแบงทอรวม ชุดทอเชื่อมตอ เชื่อมตอหลัก กันตามตัวเลขความจุ
(4) ตัวแยกทอ (2) กับเครื่อง ตํ่ากวา 16 ถึง 22 ตํ่ากวา 45.0 ถึง 61.5 Ø28.6 Ø15.9
ภายนอก ระหวางเครื่อง ของเครื่องภายนอกตาม
ภายนอก ตํ่ากวา 22 ถึง 24 ตํ่ากวา 61.5 ถึง 67.0 Ø28.6 Ø19.1 ทิศทางของการไหล
ทอแรก ตํ่ากวา 24 ถึง 26 ตํ่ากวา 67.0 ถึง 73.5 Ø34.9 Ø19.1
ขอตอทอรูปตัว Y (5) ทอเชื่อมตอเครื่องภายใน (4) (6) ขอตอทอรูปตัว Y ตํ่ากวา 26 ถึง 36 ตํ่ากวา 73.5 ถึง 100.8 Ø34.9 Ø19.1

(5) (5) (5) (5) 36 หรือมากกวา 100.8 หรือมากกวา Ø41.3 Ø22.2


(4)
เครื่องภายใน
ขนาดของทอหลัก
ตัวเลขความจุโดยรวมของเครื่องภายนอก
ทั้งหมด ดาน
ดานกาซ ของเหลว
(6) (6)
(6) (4)
(6) (4) (4) เทียบเทากับคา HP เทียบเทากับคาความจุ
ชุดทอเชื่อมตอ ตํ่ากวา 8 ถึง 10 ตํ่ากวา 22.4 ถึง 28.0 Ø19.1 Ø12.7
กับเครื่อง ขนาดของทอจะ
ภายนอกของ ตํ่ากวา 10 ถึง 12 ตํ่ากวา 28.0 ถึง 33.5 Ø22.2 Ø12.7
(5) (5) (5) (5) (5) (3) การวางทอหลัก แตกตางกันตามคา
เครื่องตัวแรก ตํ่ากวา 12 ถึง 14 ตํ่ากวา 33.5 ถึง 40.0 Ø28.6 Ø12.7 ตัวเลขตัวจุทั้งหมด
Ô
สวนเชื่อมตอ ตํ่ากวา 14 ถึง 22 ตํ่ากวา 40.0 ถึง 61.5 Ø28.6 Ø15.9 ของเครื่องภายนอก
เครื่องภายใน ทอสวนแรก ตํ่ากวา 22 ถึง 24 ตํ่ากวา 61.5 ถึง 67.0 Ø28.6 Ø19.1

ตํ่ากวา 24 ถึง 26 ตํ่ากวา 67.0 ถึง 73.5 Ø34.9 Ø19.1

เนื่องจากรุนนี้ไมมีทอรวม ดังนั้นจึงไมตองใชขอตอของทอรวมที่อยูใน “ชุดทอที่เชื่อมตอตัวเครื่องภายนอก” ตํ่ากวา 26 ถึง 36 ตํ่ากวา 73.5 ถึง 100.8 Ø34.9 Ø19.1

36 หรือมากกวา 100.8 หรือมากกวา Ø41.3 Ø22.2

ขนาดของทอระหวางสวนเชื่อมตอทอ
ตัวเลขความจุโดยรวมของเครื่องภายใน ใชขนาดเดียวกับทอหลัก
ตามทิศทางของการไหล ดาน
ดานกาซ ของเหลว หากใหญกวาทอหลัก
เทียบเทากับคา HP เทียบเทากับคาความจุ ขนาดของทอจะแตกตาง
ตํ่ากวา 2.4 ตํ่ากวา 6.6 Ø12.7 Ø9.5 กันตามตัวเลขความจุ
สวนเชื่อมตอ ของเครื่องภายใน
ทอแยก ตํ่ากวา 2.4 ถึง 6.4 ตํ่ากวา 6.6 ถึง 18.0 Ø15.9 Ø9.5
ตามทิศทางของการไหล
(4) Ô ทอแยก ตํ่ากวา 6.4 ถึง 12.2 ตํ่ากวา 18.0 ถึง 34.0 Ø22.2 Ø12.7 หากคาตัวเลขความจุ
สวนเชื่อมตอ
ทอแยก ตํ่ากวา 12.2 ถึง 20.2 ตํ่ากวา 34.0 ถึง 56.5 Ø28.6 Ø15.9 โดยรวมของเครื่อง
ตํ่ากวา 20.2 ถึง 22.4 ตํ่ากวา 56.5 ถึง 62.5 Ø28.6 Ø19.1 ภายในมากกวาคาของ
เครื่องภายนอก ใหใช
ตํ่ากวา 22.4 ถึง 25.2 ตํ่ากวา 62.5 ถึง 70.5 Ø34.9 Ø19.1 ตัวเลขความจุของ
ตํ่ากวา 25.2 ถึง 35.2 ตํ่ากวา 70.5 ถึง 98.5 Ø34.9 Ø19.1 เครื่องภายนอก
35.2 หรือมากกวา 98.5 หรือมากกวา Ø41.3 Ø22.2

25-TH 26-TH

1121501401 TH.indd 13 1/18/2561 BE 17:00


หมายเลข สการวางท
วนประกอบ
อ ชื่อ การเลือกขนาดทอ หมายเหตุ n ความยาวของทอสารทําความเย็นที่ไดรับอนุญาตและความแตกตางของ
ขนาดทอเชื่อมตอของเครื่องภายใน ความสูงระหวางตัวเครื่องที่ไดรับอนุญาต
ระดับความจุ ดานกาซ ดาน
ของเหลว ตัวเครื่องรอง
สวนเชื่อมตอทอ 15 ม. หรือนอยกวาความจริง Ø9.5 Ø6.4 C
(5) ทอตอ ประเภท 007 ถึง 012 เครื่องภายนอก
Ô
เครื่องภายใน ความยาวจริงมากกวา 15 ม. Ø12.7 Ø6.4
เครื่องภายใน ประเภท 014 ถึง 018 ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง
Ø12.7 Ø6.4 คาตางของ หลัก รอง
ประเภท 020 ถึง 056 Ø15.9 Ø9.5 ความสูง A B
ระหวาง
ประเภท 072 ถึง 096

ทอเชื่อมตอเครื่องภายนอก
Ø22.2 Ø12.7
ตัวเครื่อง
ภายนอก Lc
การเลือกสวนเชื่อมตอทอ (ขอตอทอรูปตัว Y) H3 ≤ 5 ม.
ตัวเลขความจุโดยรวมของเครื่องภายใน La Lb
ชื่อรุน
เทียบเทากับคา HP เทียบเทากับคาความจุ
(6) สวนเชื่อมตอทอ ขอตอทอ ตํ่ากวา 6.4 ตํ่ากวา 18.0 RBM-BY55E
รูปตัว Y LA
*1, *2 ตํ่ากวา 6.4 ถึง 14.2 ตํ่ากวา 18.0 ถึง 40.0 RBM-BY105E
ขอตอทอรูปตัว Y ชุดทอเชื่อมตอกับเครื่องภายนอก
ตํ่ากวา 14.2 ถึง 25.2 ตํ่ากวา 40.0 ถึง 70.5 RBM-BY205E
(สําหรับการเชื่อมตอเครื่องภายนอก)
25.2 หรือมากกวา 70.5 หรือมากกวา

การวางทอหลัก L1
RBM-BY305E
ความยาวทอที่ยาวที่สุดระหวางเครื่องภายนอก :
คาตางของ LO ≤ 25 ม.
การเลือกสวนเชื่อมตอทอ (ทอรวมสําหรับเชื่อมตอ) ความสูง
ตัวเลขความจุโดยรวมของเครื่องภายใน ระหวาง
ชื่อรุน ตัวเครื่อง
เทียบเทากับคา HP เทียบเทากับคาความจุ ภายนอก
(7) สวนเชื่อมตอทอ ทอรวมสําหรับ แบบ ตํ่ากวา 14.2 ตํ่ากวา 40.0 RBM-HY1043E และภายใน
เชื่อมตอ *1, *2, *3 4 สาย ตํ่ากวา 14.2 ถึง 25.2 ตํ่ากวา 40.0 ถึง 70.5 H1 ≤ 70 ม.
ทอรวมสําหรับ
RBM-HY2043E
L2 ทอรวมแบบแยกทอ
เชื่อมตอ แบบ ตํ่ากวา 14.2 ตํ่ากวา 40.0 RBM-HY1083E
ทอเชื่อมตอเครื่องภายใน
8 สาย ตํ่ากวา 14.2 ถึง 25.2 ตํ่ากวา 40.0 ถึง 70.5 สวนเชื่อมตอ L7 ขอตอรูปตัว Y
RBM-HY2083E
ทอสวนแรก เครื่องภายใน
a b c d e
ชุดทอเชื่อมตอเครื่องภายนอก (สําหรับการเชื่อมตอเครื่องภายนอก)
ตัวเลขความจุโดยรวมของเครื่องภายนอก*4
ชื่อรุน L3 ความยาวของการวางทอที่ยาวที่สุด: L ≤ 235 ม.
เทียบเทากับคา HP เทียบเทากับคาความจุ
ชุดทอเชื่อมตอ
เครื่องภายนอก ความยาวของการวางทอที่ยาวที่สุดจากจุดเชื่อมตอแรก Li ≤ 90 ม.
คาตางของ
(8) สวนเชื่อมตอทอ (สําหรับการ ตํ่ากวา 26.0 ตํ่ากวา 73.0 RBM-BT14E *5 ขอตอรูปตัว Y L5 L6 ความสูง
เชื่อมตอ ชุดทอเชื่อมตอเครื่อง L4
ภายนอก (สําหรับการ ระหวาง
เครื่องภายนอก) h i เครื่องภายใน:
เชื่อมตอเครื่องภายนอก) f g j
26.0 หรือมากกวา สูงกวา 73.0 RBM-BT24E *5
H2 ≤ 40 ม.

เครื่องภายใน
(j)
*1: เลือกทอแยกของทอแรกตามรหัสความจุของเครื่องภายนอก
EN
*2: เลือกตามรหัสความจุของเครื่องภายนอก หากจํานวนรวมทั้งหมดของรหัสความจุของเครื่องภายในมากกวารหัสความจุของเครื่องภายนอก
*3: ตรงกับคาโดยรวมที่ 6.0 ซึ่งเทียบเทาตัวเลขความจุ HP สูงสุด จะสามารถเชื่อมตอกับทอไดหนึ่งทอหลังจากที่ไดแยกทอรวมออกแลว u ขอจํากัดของระบบ
เมื่อตัวเลขความจุโดยรวมของ ตัวเครื่องภายนอกทั้งหมดเทากับ 12 หรือนอยกวา 26 (โดยเทียบกับ HP) และทานใชทอรวมสําหรับเชื่อมตอเปนสวนเชื่อม EN
ตอทอสวนแรก จะสามารถใช RBM-HY2043E หรือ RBM-HY2083E โดยที่ไมตองคํานึงถึงตัวเลขความจุของเครื่องภายนอกตามทิศทางของการไหล การรวมเครื่องภายนอก สูงสุดที่ 3 เครื่อง
นอกจากนี้ ทานจะไมสามารถใชทอรวมสําหรับเชื่อมตอเปนสวนเชื่อมตอทอสวนแรกได หากตัวเลขความจุของเครื่องภายนอก ทั้งหมดเกินกวา 26
(โดยเทียบกับ HP) ความจุโดยรวมของเครื่องภายนอก สูงสุดที่ 60 HP
*4: ตามทิศทางของการไหลเมื่อใชการวางทอหลักเปนจุดเริ่มตน การเชื่อมตอเครื่องภายใน สูงสุดที่ 64 เครื่อง EN
*5: เนื่องจากรุนนี้ไมมีทอรวม ดังนั้นจึงไมตองใชขอตอของทอรวมที่อยูใน “ชุดทอที่เชื่อมตอตัวเครื่องภายนอก” ความจุโดยรวมของเครื่องภายใน (*1) H2 ≤ 15 ม. สูงสุด 200% ของความจุเครื่องภายนอก
(ซึ่งแตกตางกันตามความสูงที่ตางกันของเครื่องภายใน) 15 ม. < H2 105% ของความจุเครื่องภายนอก TH
(*1) : ดูรายละเอียดจากหนา 12 ยอหนา “ตัวเลขความจุของเครื่องภายในและเครื่องภายนอก (ตารางที่ 2)”
27-TH 28-TH
– 14 –

1121501401 TH.indd 14 1/18/2561 BE 17:00


– 15 –

(*5) : หากความสูงระหวางเครื่องภายใน (H2) แตกตางกันมากกวา 3 ม. ใหใชคาไมเกิน 30 ม.


u ขอควรระวังสําหรับการติดตั้ง (*6) : สารทําความเย็นที่เติมเขาไปทั้งหมดไมเกิน 131 กก.
Ÿ ติดตั้งเครื่องภายนอกที่เชื่อมตอเปนเครื่องแรกกับทอที่เชื่อมตอไปยังเครื่องภายในแบบเดียวกับเครื่องหลัก (*7) : เพิ่มขึ้นจนกวาจะถึง 90 ม. โดยตองปฏิบัติตามเงื่อนไขดังนี้
Ÿ ติดตั้งเครื่องภายนอกตามลําดับของตัวเลขความจุเครื่อง: A (ตัวเครื่องหลัก) ≥ B ≥ C - อุณหภูมิภายนอก : 10 °C ถึง 52 °C (อุณหภูมิกระเปาะแหง)
Ÿ เมื่อติดตั้งขอตอแยกรูปตัววาย (Y) สําหรับดานกาซ ใหติดตั้งในแนวราบไปกับพื้น (ใหแนใจวามุมไมเกิน ±15 องศา) - ความยาวเทียบเทาของทอที่อยูไกลที่สุดจากทอแยกที่ 1 Li ไมเกิน 50 ม.
Ÿ ระมัดระวังทิศทางของขอตอแยกรูปตัวที (T) สําหรับดานของเหลว (ดังทีแ ่ สดงในรูปภาพ 2 “การติดตัง้ เครือ่ งภายนอก” ขอตอ - ความยาวตามจริงของทอหลัก L1 ไมเกิน 100 ม.
แยกรูปตัวที (T) ไมสามารถติดตัง้ โดยใหสารทําความเย็นของทอหลักไหลเขาไปในตัวเครือ่ งนําไดโดยตรง) - ความสูงระหวางเครื่องภายใน H2 ไมเกิน 3 ม.
- ความจุของรวมของเครื่องภายนอกที่ทํางานรวมกัน : 90%-105%
Ÿ สําหรับเครื่องภายใน ควรใหมีระยะหางอยางนอย 500 มม. ระหวางสวนที่บัดกรีของขอตอแยกรูปตัววาย (Y) ทั้งหมดและสวน
- คอยลรอน (Condenser Unit, CDU) 1 ตัว และไมเกิน 24HP
บัดกรีของตัวเครื่องหลัก (หรือสวนที่งอ) มิฉะนั้นอาจลดประสิทธิภาพการทํางานของเครื่อง หรือทําใหเกิดเสียงรบกวนได - ความจุตํ่าสุดของเครื่องภายในที่เชื่อมตอได : ตั้งแต 4HP ขึ้นไป
เครื่องภายใน เครื่องภายใน เครื่องภายใน

ฺ 500 มม. ฺ 500 มม. ฺ 500 มม. n การทดสอบระบบปดรอยกันอากาศ (Airtightness)


หลังจากที่วางทอสารทําความเย็นเสร็จเรียบรอยแลว ใหทดสอบระบบปดรอยกันอากาศ
ขอตอแยกรูปตัววาย (Y) ฺ 500
  มม. ฺ 500
  มม. ทอรวมแบบแยกทอ ในการทดสอบระบบปดรอยกันอากาศ ใหเชื่อมตอถังกาซไนโตรเจนดังภาพที่แสดงในหนานี้ แลวจึงปลอยแรงดัน
Ÿ โปรดแนใจวาไดจายแรงดันจากทอใหบริการของวาลวบริการ (หรือบอลวาลว) ที่ดานของเหลวและดานกาซ
ขอตอแยกรูปตัววาย (Y) Ÿ การทดสอบระบบปดรอยกันอากาศจะสามารถดําเนินการไดที่ชองบริการดานของเหลวและดานกาซบนเครื่องหลักเทานั้น
Ÿ ติดตั้งและวางทิศทางระบบทอใหถูกตองเพื่อไมใหทอหยอน Ÿ ปดวาลวดานกาซและดานของเหลวใหสนิท เนื่องจากกาซไนโตรเจนอาจจะไหลเขาสูภายในวงจรของเครื่องภายนอกได ใหปด
(หากทอหยอนลงมาอาจทําใหนํ้ามันและสารทําความเย็นติดคางอยู ซึ่งจะทําใหอุปกรณทํางานผิดปกติ หรือเกิดเสียงดัง) กานวาลวที่ดานของเหลวอีกครั้งกอนปลอยแรงดัน
(หากใชงานรุน MAP14A, MAP160, MAP180, MAP200, MAP220 หรือ MAP240 ไมจําเปนตองปดกานวาลวดานของเหลว
u ความยาวที่ไดรับอนุญาตและความแตกตางของความสูงที่ไดรับอนุญาตสําหรับการวางทอ เนื่องจากวาลวที่ดานของเหลวเปนวาลวประเภทบอลวาลว)
Ÿ สําหรับทอสารทําความเย็นแตละทอ คอยๆ ปลอยแรงดันที่ดานของเหลวและดานกาซตามขั้นตอน
สารทําความเย็น โปรดแนใจวาไดจายแรงดันที่ดานของเหลวและดานกาซ
รายการ คาที่สามารถ สวนการวางทอ คําเตือน
ใชได
นอยกวา 34HP 300 ม. LA + La + Lb + Lc + L1 + L2 + L3 + L4 + หามใชออกซิเจน กาซไวไฟ และกาซที่เปนพิษสําหรับการทดสอบระบบปดรอยกันอากาศ
สวนเพิ่มเติมโดยของทอ L5 + L6 + L7 + a + b + c + d + e + f + g +
(ความยาวจริงของทอของเหลว) 34 HP หรือมากกวา 1000 ม. (*6) h + i + j เชื่อมตอกับเครื่องภายใน เกจแรงดันตํ่า เกจแรงดันสูง

ความยาวการวางทอที่ไกลที่สุด ความยาวเทียบเทา 235 ม. การวางทอหลัก วาลวดานกาซปดสนิท


Lc + LA + L1 + L3 + L4 + L5 + L6 + j VL VH เกจวัดระดับ
L (*1) ความยาวจริง 190 ม. เชื่อม ตัวเครื่องหลักภายนอก นํ้ายาแอร
ประสาน ชองบริการ
ความยาวเทียบเทาของทอที่อยูไกลที่สุดจากทอแยก 90 ม. (*2) L3 + L4 + L5 + L6 + j ทองแดง
ที่ 1 Li (*1) สวนประกอบของวาลวบริการ
ความยาวเทียบเทาของทอที่อยูไกลที่สุดระหวาง ไปยังเกจวัดระดับนํ้ายาแอร ทอทองแดง วาลวลดระดับ
25 ม. LA + Lc(LA + Lb) ไปยังเครื่องภายนอก
ความยาวทอ เครื่องนอก LO ชองบริการดานของเหลว วาลวดานกาซ ปดสนิท
ความยาวเทียบเทาสูงสุดของ ความยาวเทียบเทา 120 ม. (*3) วาลวดานของเหลว
L1 ทอทองแดง
ทอหลัก ความยาวตามจริง 100 ม. (*3) ชองบริการ
ไปยัง ชองบริการ
ความยาวเทียบเทาสูงสุดของเครื่องภายนอกที่เชื่อมตอ 10 ม.
เครื่อง วาลวดานของเหลวปดสนิท
กับทอ
Lc(La, Lb)
ภายนอก ดานกาซ กาซไนโตรเจน
ตําแหนงติดตั้ง ตําแหนงติดตั้ง
ความยาวตามจริงสูงสุดของเครื่องภายในที่เชื่อมตอ 30 ม. a, b, c, d, e, f, g, h, i, j การวางทอ การวางทอ
กับทอ
ความยาวเทียบเทาสูงสุดระหวางทอแยกตาง ๆ 50 ม. L2, L3, L4, L5, L6, L7

ความสูงระหวางเครื่องภายใน เครื อ
่ งภายนอกด า นบน 70 ม. (*4,*7) –

ความแตกตาง และเครื อ
่ งภายนอก H1 เครื อ
่ งภายในด า นล า ง 40 ม. (*5) –
ของความสูง ความสูงระหวางเครื่องภายใน H2 40 ม. – เชื่อมตอไปยังตัวเครื่องรอง
สามารถตรวจพบการรั่วไหลที่รุนแรงได
ความสูงระหวางเครื่องภายนอก H3 5 ม. –
1. ใหใชแรงดันที่ 0.3MPa (3.0kg/cm2G) เปนเวลา 5 นาทีหรือนานกวานั้น
(*1) : (C) คือเครื่องภายนอกที่อยูไกลที่สุดจากทอแยกที่ 1 และ (j) คือ เครื่องภายในที่อยูไกลที่สุดจากทอแยกที่ 1 2. ใหใชแรงดันที่ 1.5MPa (15kg/cm2G) เปนเวลา 5 นาทีหรือนานกวานั้น
(*2) : หากความสูงระหวางเครื่องภายในและเครื่องภายนอก (H1) แตกตางกันมากกวา 3 ม. ใหใชคาไมเกิน 65 ม.
(*3) : หากความจุสูงสุดของเครื่องภายนอกที่ทํางานรวมกันเทากับ 46HP ขึ้นไป ความยาวเทียบเทาสูงสุดจะไมเกิน 70 ม. สําหรับการตรวจพบการรั่วไหลเล็กนอย
(ความยาวจริง 50 ม. หรือนอยกวา) 3. ใหใชแรงดันที่ 4.15MPa (42.3kg/cm2G) เปนเวลาประมาณ 24 ชั่วโมง
(*4) : หากความสูงระหวางเครื่องภายใน (H2) แตกตางกันมากกวา 3 ม. ใหใชคาไมเกิน 50 ม. Ÿ หากแรงดันไมลดลงหลังจากผานไป 24 ชั่วโมง ถือวาผานการทดสอบ
29-TH 30-TH

1121501401 TH.indd 15 1/18/2561 BE 17:00


หมายเหตุ Ÿ ใชปมสุญญากาศที่มีระดับการไลอากาศสูง [-100.7kPa (5Torr, -755mmHg)] และกาซขับไลปริมาณมาก (40L/นาที หรือ
มากกวา)
อยางไรก็ตาม หากอุณหภูมิสภาพแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงหลังจากที่ปลอยแรงดันได 24 ชั่วโมง แรงดันจะเปลี่ยนแปลงที่ Ÿ ทําการไลอากาศ 2 หรือ 3 ชั่วโมง ซึ่งอาจใชเวลาที่แตกตางโดยขึ้นอยูกับความยาวของทอ ตรวจสอบใหแนใจวาวาลวทุกตัวที่
0.01MPa (0.1kg/cm2G) ตอ 1°C ใหพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของแรงดันเมื่อตรวจสอบผลการทดสอบ ดานของเหลวและดานกาซปดแนนสนิท
Ÿ หากแรงดันไมถึง -100.7kPa หรือนอยกวานั้น ใหทําการไลอากาศตอไปอีกประมาณ 2 ชั่วโมงหรือนานกวานั้น ถาแรงดันไมถึง
ขอกําหนด -100.7kPa หลังจากที่ไลอากาศเปนเวลา 3 ชั่วโมง ใหหยุดการทํางานเพื่อตรวจสอบหารอยรั่วซึม
Ÿ หากแรงดันถึงระดับ -100.7kPa หรือนอยกวา หลังจากที่ไลอากาศได 2 ชั่วโมงหรือนานกวา ใหปดวาลว VL และ VH ที่เกจวัด
หากตรวจพบวาแรงดันลดลงในขั้นตอนที่ 1-3 ใหตรวจสอบสวนการรั่วซึมที่จุดเชื่อมตอ
ตรวจสอบการรั่วซึมโดยใชสารกอฟอง หรือวัสดุอื่นๆ และปดรอยรั่วดวยการเชื่อมประสานทองแดงอีกครั้ง ขันแฟลรใหแนน ระดับนํ้ายาแอรจนสนิทแลวหยุดปมสุญญากาศ จากนั้นทิ้งไวในสภาพนี้ประมาณ 1 ชั่วโมงเพื่อยืนยันวาระดับสุญญากาศไมมีการ
อีกครั้ง หรือดวยวิธีการอื่นๆ หลังจากที่ปดรอยรั่วแลว ใหดําเนินการทดสอบปดรอยกันอากาศอีกครั้ง เปลี่ยนแปลง
หากสูญเสียระดับสุญญากาศเปนปริมาณมาก อาจมีความชื้นอยูในทอ ในกรณีนี้ ใหฉีดกาซไนโตรเจนและปลอยแรงดันที่ระดับ
0.05MPa แลวจึงทําการไลอากาศอีกครั้ง
Ÿ หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนการไลอากาศขางตนแลว ใหเปลี่ยนปมสุญญากาศเปนถังบรรจุสารทําความเย็น แลวจึงเติมสาร
n การไลอากาศแบบสุญญากาศ ทําความเย็นเพิ่มเขาไป
Ÿ ตรวจสอบแนใจวาไดไลอากาศทั้งดานของเหลวและกาซ
Ÿ ตรวจสอบแนใจวาไดใชปมสุญญากาศที่มีฟงกชันปองกันการไหลกลับ เพื่อไมใหนํ้ามันที่อยูปมนั้นไหลกลับเขาสูทอของเครื่อง
ปรับอากาศ (หากนํ้ามันในปมสุญญากาศเขาสูตัวเครื่องปรับอากาศที่ใชสารทําความเย็น R410A อาจจะเกิดปญหากับวงจรสาร n การเติมสารทําความเย็น
ทําความเย็นได) หลังจากไลอากาศเสร็จสมบูรณ ใหเปลี่ยนปมสุญญากาศเปนถังบรรจุสารทําความเย็น และเริ่มเติมสารทําความเย็น
หลังจากที่การทดสอบระบบกันรอยรั่วและการไลกาซไนโตรเจนเสร็จสมบูรณ ใหเชื่อมตอเกจวัดนํ้าแอรเขากับชองบริการของดาน การคํานวณปริมาณการเติมสารทําความเย็น
ของเหลวและดานกาซ แลวจึงเชื่อมตอปมสุญญากาศตามภาพประกอบดานลาง ปริมาณการเติมสารทําความเย็นที่ทางโรงงานมีมาใหนั้นไมไดรวมถึงสารทําความเย็นของทอที่จุดติดตั้งในพื้นที่
สําหรับปริมาณสารที่จะเติมในทอที่จุดติดตั้งในพื้นที่นั้น ใหคํานวณเพิ่มเติม
เชื่อมตอกับเครื่องภายใน เกจแรงดันตํ่า เกจแรงดันสูง

การวางทอหลัก
หมายเหตุ
วาลวดานกาซปดสนิท VL VH เกจวัดระดับ
เชื่อม
ตัวเครื่องหลักภายนอก
นํ้ายาแอร หากผลการคํานวณปริมาณสารทําความเย็นเพิ่มเติมบงบอกเปนคาลบ ใหใชงานเครื่องปรับอากาศโดยไมตองเติมสารทําความเย็น
ประสาน ชองบริการ เพิ่มลงเขาไป
ทองแดง
สวนประกอบของวาลวบริการ
ไปยังเกจวัดระดับนํ้ายาแอร ประเภทเครื่องภายนอก MAP080 MAP100 MAP120 MAP140 MAP14A MAP160 MAP180 MAP200 MAP220 MAP240
ไปยังเครื่องภายนอก
ไปยัง ปริมาณที่เติม (กก.) 6.0 8.0 10.0
ชองบริการดานของเหลว เครื่อง วาลวดานกาซ ปดสนิท
วาลวดานของเหลว ภายนอก ปริมาณการเติมสารทําความเย็นเพิ่มเติมที่จุดติดตั้ง = [1] + [2] + [3]
ชองบริการ P
[1]. การชดเชยจาก HP ของระบบ (ตารางที่ 1)
ชองบริการ วาลวดานของเหลวปดสนิท [2]. ความยาวจริงของทอของเหลว × ปริมาณการเติมสารทําความเย็นเพิ่มเติมตอทอของเหลว 1 เมตร (ตารางที่ 2)
ดานกาซ ปมสุญญากาศ
ตําแหนงติดตั้ง [3]. ปริมาณสารทําความเย็นที่ถูกตองขึ้นอยูกับเครื่องภายใน (ตารางที่ 3-1, 3-2)
ตําแหนงติดตั้ง ในกรณีที่เชื่อมตอ “อินเทอรเฟสคอยล DX” ใหอางอิงจากตารางที่ 3-2 และสําหรับเครื่องภายนอกอื่นๆ ใหอางอิงจาก
การวางทอ การวางทอ
ตารางที่ 3-1

EN

ตัวเครื่องรอง
EN

EN

TH

31-TH 32-TH
– 16 –

1121501401 TH.indd 16 1/18/2561 BE 17:00


– 17 –

ตารางที่ 1 ตารางที่ 2
การชดเชยจาก HP เสนผานศูนยกลางที่ดานของเหลว มม. Ø6.4 Ø9.5 Ø12.7 Ø15.9 Ø19.1 Ø22.2
ระบบ การรวม ของระบบ ปริมาณสารทําความเย็นที่เพิ่มขึ้น/1 เมตร กก./ม. 0.025 0.055 0.105 0.160 0.250 0.350
HP HP
(กก.)
8 8 - - 0.7 ตารางที่ 3-1
10 10 - - 0.7 คาปริมาณสารทําความเย็นที่ถูกตองซึ่งมีความแตกตางกันตามลําดับความจุของเครื่องภายใน (ไมรวมอินเทอรเฟสคอยล DX”)
12 12 - - 0.7 ลําดับความจุของเครื่องภายใน 007 008 009 010 012 014 015 017 018 020 024 027 030 036 048 056 072 096
14 14 - - 0.7
16 16 - - -0.2 รหัสความจุ (เทากับ HP) 0.8 0.9 1 1.1 1.25 1.5 1.7 1.85 2 2.25 2.5 3 3.2 4 5 6 8 10

18 18 - - -0.2 ปริมาณสารทําความเย็นที่ถูกตอง (กก.) 0.2 0.4 0.6 1.0


20 20 - - -0.2
22 22 - - 0.6 ตารางที่ 3-2
24 24 - - 1.5 คาปริมาณสารทําความเย็นที่ถูกตองซึ่งมีความแตกตางกันของ “อินเทอรเฟสคอยล DX”
26 14 12 - 1.4
28 14 14 - 1.4
ความจุของ AHU (HP) 8 10 16 18 20 32 36 40 48 54 60

30 16 14 - 0.5 ปริมาณสารทําความเย็นที่ถูกตอง (กก.) 1.4 1.8 2.9 3.2 3.6 5.8 6.5 7.2 8.6 9.7 10.8
32 16 16 - -0.4 AHU : คํายอของ Air Handling Unit (ชุดสงลม)
มาตรฐาน 34 18 16 - -0.4 ตัวอยาง (รุน 1407)
36 18 18 - -0.4
38 20 18 - -0.4
40 20 20 - -0.4
42 14 14 14 2.1
44 16 14 14 1.2
46 18 14 14 1.2 L3
L1 L2
48 20 14 14 1.2
L7
50 20 16 14 0.3 L5 L6
L4
52 20 18 14 0.3
54 20 20 14 0.3
56 20 20 16 -0.6
58 20 20 18 -0.6 A B C D
60 20 20 20 -0.6
14 14A - - -0.2 L1 Ø15.9 : 10 ม. L2 Ø12.7 : 10 ม. L3 Ø9.5 : 5 ม. L4 Ø9.5 : 3 ม.
16 8 8 - 1.4
18 10 8 - 1.4 L5 Ø9.5 : 3 ม. L6 Ø9.5 : 4 ม. L7 Ø6.4 : 5 ม.
20 10 10 - 1.4 A MMU-AP0364HP-E B MMU-AP0364HP-E C MMU-AP0364HP-E D MMD-AP0186HP-E
22 12 10 - 1.4
24 8 8 8 2.1 ปริมาณการเติมสารทําความเย็นเพิ่มเติมที่จุดติดตั้ง (กก.) = [1] + [2] + [3]
26 14A 12 - 0.5
28 14A 14A - -0.4
[1]. การชดเชยจาก HP ของระบบ (ตารางที่ 1)
30 10 10 10 2.1 = 0.7 กก.
32 12 10 10 2.1 [2]. ความยาวจริงของทอของเหลว x ปริมาณการเติมสารทําความเย็นเพิ่มเติมตอทอของเหลวที่ยาว 1 ม. (ตารางที่ 2)
ประสิทธิภาพสูง 34 12 12 10 2.1 = (La × 0.025 กก./ม.) + (Lb × 0.055 กก./ม.) + (Lc × 0.105 กก./ม.) + (Ld × 0.16 กก./ม.)
36 12 12 12 2.1 = (5 m × 0.025 กก./ม.) + (15 m × 0.055 กก./ม.) + (10 m × 0.105 กก./ม.) + (10 m × 0.16 กก./ม.)
38 14A 12 12 1.2 = 3.6 กก.
40 14A 14A 12 0.3 La: ความยาวจริงของทอของเหลว Ø6.4 (ม.) = L7
42 14A 14A 14A -0.6
Lb: ความยาวจริงของทอของเหลว Ø9.5 (ม.) = L3 + L4 + L5 + L6
44 16 14A 14A -0.6
46 18 14A 14A -0.6
Lc: ความยาวจริงของทอของเหลว Ø12.7 (ม.) = L2
48 16 16 16 -0.6 Ld: ความยาวจริงของทอของเหลว Ø15.9 (ม.) = L1
50 18 16 16 -0.6 [3]. ปริมาณสารทําความเย็นที่ถูกตองขึ้นอยูกับเครื่องภายใน (ตารางที่ 3)
52 18 18 16 -0.6 =a+b+c+d
54 18 18 18 -0.6 = 0.6 + 0.6 + 0.6 +0.4
= 2.2 กก.
a: ปริมาณสารทําควาามเย็นที่ถูกตองขึ้นอยูกับเครื่องภายใน A (กก.)
b: ปริมาณสารทําควาามเย็นที่ถูกตองขึ้นอยูกับเครื่องภายใน B (กก.)
c: ปริมาณสารทําควาามเย็นที่ถูกตองขึ้นอยูกับเครื่องภายใน C (กก.)
d: ปริมาณสารทําควาามเย็นที่ถูกตองขึ้นอยูกับเครื่องภายใน D (กก.)
ปริมาณการเติมสารทําความเย็นเพิ่มเติมที่จุดติดตั้ง = [1] + [2] + [3] = 0.7 + 3.6 + 2.2 = 6.5 กก.
33-TH 34-TH

1121501401 TH.indd 17 1/18/2561 BE 17:00


การเติมสารทําความเย็น
Ÿ ใหปดวาลวของเครื่องภายนอก โปรดแนใจวาไดเติมนํ้ายาสารทําความเย็นลงในชองบริการที่ดานของเหลว
n ฉนวนกันความรอนสําหรับทอ
Ÿ ไมสามารถเติมสารทําความเย็นตามปริมาณที่กําหนดได ใหเปดวาลวดานของเหลวและกาซของเครื่องภายนอกออกจนสุด Ÿ ใชฉนวนกันความรอนสําหรับทอที่ดานของเหลวและดานกาซ
ใหเครื่องปรับอากาศทํางานที่โหมด COOL จากนั้นเติมสารทําความเย็นลงในชองบริการที่ดานกาซ ในขั้นตอนนี้ ใหเขยาสาร Ÿ ตรวจสอบใหแนใจวาไดใชฉนวนที่ตานทานอุณหภูมิไดสูงถึง 120°C หรือสูงกวาสําหรับทอที่ดานกาซ
ทําความเย็นเล็กนอยโดยเปดใชงานวาลวถังบรรจุสารทําความเย็นเพื่อเติมนํ้ายาทําความเย็น
นํ้ายาทําความเย็นอาจไหลลงโดยไมไดตั้งใจ จึงควรเติมสารทําความเย็นอยางระมัดระวัง n การจบการทํางานหลังการเชื่อมตอทอ
Ÿ หลังจากการเชื่อมตอทอเสร็จสมบูรณ ใหคลุมชองของแผงสายไฟ/วางทอดวยฝาครอบทอ หรือปดดวยซิลิโคนหรืออุดดวยปูนที่
n การเปดวาลวจนสุด ชองวางระหวางทอ
เปดวาลวของเครื่องภายนอกออกจนสุด Ÿ ในกรณีที่วางทอไปทางดานลางหรือดานขาง ใหปดชองวางของฐานรองและแผงดานขางเชนกัน
Ÿ หากเปดทิ้งไว นํ้าหรือฝุนอาจเขาสูภายในซึ่งกอใหเกิดปญหาได
MAP14A
MAP080 MAP160
MAP100 MAP180 เมื่อปดดวยฝาครอบ เมื่อไมไดปดดวยฝาครอบทอ
MAP120 MAP200
MAP140 MAP220 แผงสายไฟ/วางทอ แผงสายไฟ/วางทอ
MAP240

วาลวบริการ บอลวาลว
ใหใชประแจหกเหลี่ยมขนาด 4 มม. ใชไขควงปากแบนหมุนทวนเข็มนาฬกาประมาณ 90° จนกระทั่งสุดเกลียว
เพื่อเปดกานวาลวออกจนสุด (เปดจนสุด) ดึงสายออกดานขาง ดึงสายออกดานขาง
ตําแหนงของชองไขควง
ชองบริการ ชุดวาลว ปดจนสุด เปดจนสุด ปดชองวางดวย ปดดวยซิลิโคนหรือปูน
ฝาครอบทอ ที่รอบๆ ทอ
ดานของเหลว
ใชไขควงปากแบน ดึงสายออก ดึงสายออก
หมุนทวนเข็มนาฬกา ทางดานหนา ดึงสายลงดานลาง ทางดานหนา ดึงสายลงดานลาง
ประมาณ 90°
(1)
จนกระทั่งสุดเกลียว ชอง
(เปดจนสุด) * เมื่อเปดออกจนสุดแลว หามใชแรงตานเกินกําลัง
(2)
เมื่อไขควงถึงจุดสุดเกลียว มิฉะนั้นอาจเกิดปญหา
แฟลรนัต
กับวาลวได (5 N•m หรือนอยกวา) u ตัวยึดทอ
ติดตั้งตัวยึดทอตามตารางดานลางนี้
บอลวาลว
ใหใชประแจ โดยหมุนทวนเข็มนาฬกาประมาณ 90° จนกระทั่งสุดเกลียว เสนผานศูนยกลางของทอ (มม.) ความยาว
(เปดจนสุด) Ø15.9 - Ø19.1 2 เมตร
Ø22.2 - Ø41.3 3 เมตร

ดานกาซ

EN
ปดจนสุด เปดจนสุด

EN

EN

TH

35-TH 36-TH
– 18 –

1121501401 TH.indd 18 1/18/2561 BE 17:00


– 19 –

8 สายไฟ u การเลือกสายไฟ
Ÿ เลือกการเดินสายแหลงจายไฟของเครื่องภายนอกแตละเครื่องตามขอกําหนดตอไปนี้:
สาย 5 เสน สอดคลองกับสายไฟประเภท H07 RN-F หรือ 60245 IEC 66
คําเตือน Ÿ หากตองการเลือกพื้นที่ตัดผานตามที่ระบุไวของตัวนําไฟฟา ใหอางอิงจากตารางเกี่ยวกับการปองกันสภาวะกระแสเกินสูงสุด

เครื่องปรับอากาศนี้ตองไดรับการติดตั้งตรงตามขอบังคับเกี่ยวกับการเดินสายไฟในประเทศ (แอมป) ดานลางนี้


หากกําลังไฟฟาที่ไมเพียงพอ หรือการติดตั้งที่ไมถูกตองอาจกอใหเกิดไฟฟาช็อตหรือเพลิงไหมได MCA: แอมปของวงจรตํ่าสุด
MOCP: การปองกันสภาวะกระแสเกินสูงสุด (แอมป)
ขอควรระวัง มาตรฐาน (*: T8P-T, T8JP-T)
Ÿ ใหเดินสายไฟตามกฎและขอบังคับของบริษัทการไฟฟาในพื้นที่ ชื่อรุน แหลงจายไฟ MCA MOCP
Ÿ หามเชื่อมตอกระแสไฟฟา 380 โวลต – 415 โวลต เขากับแผงตอสายสําหรับควบคุมสายไฟ (U1, U2, U3, U4, U5, U6, S); (MMY-) เฟสและความถี่ แรงดันไฟฟาที่ระบุ (A) (A)

มิฉะนั้น เครื่องปรับอากาศอาจชํารุดเสียหายได MAP0807* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 20 25


Ÿ ตรวจสอบใหแนใจวาสายไฟไมสัมผัสโดนบริเวณที่มีความรอนสูงของทอ มิฉะนั้น ปลอกหุมสายอาจละลายและกอใหเกิด MAP1007* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 22 25
อุบัติเหตุได MAP1207* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 24 32
Ÿ หลังจากที่เชื่อมตอสายไฟเขากับแผงตอสาย ใหดึงฝาครอบออกแลวยึดสายไฟดวยแคลมปยึดสายไฟ MAP1407* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 26 32
Ÿ ปฏิบัติตามขั้นตอนเดียวกันสําหรับการเดินสายไฟควบคุมและการวางทอสารทําความเย็น MAP1607* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 29 32
Ÿ หามเปดเครื่องภายในจนกวาการไลอากาศที่ทอสารทําความเย็นจะเสร็จสมบูรณ MAP1807* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 35 40
Ÿ การเดินสายไฟและสายไฟเชื่อมตอของเครื่องภายใน ใหอางอิงจากคูมือการติดตั้งของเครื่องภายใน MAP2007* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 42 50
MAP2207* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 48 63
MAP2407* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 49 63

n ขอมูลจําเพาะของแหลงจายไฟ AP2617* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 26 + 24 32 + 32


AP2817* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 26 + 26 32 + 32

หามเชื่อมสะพานไฟฟาระหวางเครื่องภายนอกโดยใช AP3017* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 29 + 26 32 + 32

แผงตอสาย (L1, L2, L3, N) ที่ติดตั้งอยู AP3217* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 29 + 29 32 + 32
AP3417* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 35 + 29 40 + 32
L1 L2 L L1 L2 L L1 L2 L

AP3617* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 35 + 35 40 + 40


3 N 3 N 3 N

แหลงจายไฟฟาสําหรับ
เครื่องภายนอก AP3817* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 42 + 35 50 + 40
AP4017* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 42 + 42 50 + 50
ไมถูกตอง AP4217* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 26 + 26 + 26 32 + 32 + 32
AP4417* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 29 + 26 + 26 32 + 32 + 32
AP4617* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 35 + 26 + 26 40 + 32 + 32
AP4817* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 42 + 26 + 26 50 + 32 + 32
AP5017* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 42 + 29 + 26 50 + 32 + 32
AP5217* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 42 + 35 + 26 50 + 40 + 32
AP5417* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 42 + 42 + 26 50 + 50 + 32
AP5617* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 42 + 42 + 29 50 + 50 + 32
AP5817* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 42 + 42 + 35 50 + 50 + 40
AP6017* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 42 + 42 + 42 50 + 50 + 50

37-TH 38-TH

1121501401 TH.indd 19 1/18/2561 BE 17:00


ประสิทธิภาพสูง (* : T8P-T, T8JP-T) n ขอมูลจําเพาะสําหรับการเดินสายไฟเชื่อมตอ
ชื่อรุน แหลงจายไฟ MCA MOCP
(MMY-) เฟสและความถี่ แรงดันไฟฟาที่ระบุ (A) (A) u รูปแบบของการเดินสายไฟเชื่อมตอ
MAP14A7* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 28 32
AP1627* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 20 + 20 25 + 25
การเดินสายไฟเชื่อมตอแบบยอ
AP1827* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 22 + 20 25 + 25
AP2027* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 22 + 22 25 + 25 ตัวเครื่องหลักภายนอก ตัวเครื่องรองภายนอก
AP2227* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 24 + 22 32 + 25
AP2427* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 20 + 20 + 20 25 + 25 + 25
AP2627* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 28 + 24 32 + 32
AP2827* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 28 + 28 32 + 32 ชุดควบคุม
AP3027* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 22 + 22 + 22 25 + 25 + 25 สวนกลาง U1 U2 S U3 U4 U5 U6 S U1 U2 S U3 U4 U5 U6 S

AP3227* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 24 + 22 + 22 32 + 25 + 25 U1 U2


U3 U4
AP3427* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 24 + 24 + 22 32 + 32 + 25
AP3627* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 24 + 24 + 24 32 + 32 + 32
การเดินสายไฟเชื่อมตอระหวางตัวเครื่องภายนอก (สายไฟหุมฉนวน)
AP3827* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 28 + 24 + 24 32 + 32 + 32 การเดินสายไฟเชื่อมตอระหวางตัวเครื่องภายในกับตัวเครื่องภายนอก (สายไฟหุมฉนวน)
AP4027* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 28 + 28 + 24 32 + 32 + 32 การเดินสายไฟเชื่อมตอระหวางตัวเครื่องภายใน (สายไฟหุมฉนวน)
AP4227* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 28 + 28 + 28 32 + 32 + 32
AP4427* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 29 + 28 + 28 32 + 32 + 32
AP4627* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 35 + 28 + 28 40 + 32 + 32 U1 U2 A B U1 U2 A B U1 U2 A B U1 U2 A B

AP4827* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 29 + 29 + 29 32 + 32 + 32


AP5027* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 35 + 29 + 29 40 + 32 + 32 ตัวเครื่องภายใน ตัวเครื่องภายใน ตัวเครื่องภายใน ตัวเครื่องภายใน
AP5227* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 35 + 35 + 29 40 + 40 + 32
AP5427* 3N~ 50Hz 380 - 400 - 415V 35 + 35 + 35 40 + 40 + 40 A B A B A B

รีโมทคอนโทรล รีโมทคอนโทรล รีโมทคอนโทรล


(การควบคุมแบบกลุม )

Ÿ การเดินสายไฟเชื่อมตอและการเดินสายไฟระบบควบคุมสวนกลางจะใชสายไฟแบบไมมีขั้ว 2 เสน
L1L2L3 N L 1 L2 L 3 N L1 L2 L 3 N
ใชสายไฟหุมฉนวน 2 เสนเพื่อปองกันเสียงรบกวน
ในกรณีนี้ ที่ปลายทั้งสองของสายไฟเชื่อมตอจะตองตอสายดิน
Ÿ ใชสายไฟแบบไมมีขั้ว 2 เสนสําหรับรีโมทคอนโทรล (ขั้ว A, B)
ใชสายไฟแบบไมมีขั้ว 2 เสนสําหรับระบบควบคุมแบบกลุม (ขั้ว A, B)

เครื่องตัดกระแสไฟฟา สวิตชหลัก EN
(เครื่องตัดกระแสไฟฟารั่วสูสายดิน) (ฟวส)

EN

EN

TH

39-TH 40-TH
– 20 –

1121501401 TH.indd 20 1/18/2561 BE 17:00


– 21 –

ตรวจสอบใหแนใจวาไดปฏิบัติตามขอกําหนดในตารางดานลางเกี่ยวกับขนาดและความยาวของการเดินสายไฟเชื่อมตอ u การควบคุมแบบกลุมผานทางรีโมทคอนโทรล
ชุดควบคุม การควบคุมแบบกลุมของตัวเครื่องภายในแบบมัลติ (8 เครื่อง) ผานสวิตชรีโมทคอนโทรลเดี่ยว
สวนกลาง เครื่องปรับอากาศแบบคอนเดนซิ่งหนึ่งตัว
จับคูกับแฟนคอยลหลายตัว ตัวเครื่องภายใน
U1 U2
U3 U4 No.1 No.2 No.3 No.4 No.7 No.8
L4
ตาราง-1
AB AB AB AB AB AB

ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง


หลัก หลัก รอง รอง หลัก รอง รีโมทคอนโทรล
(A.B)
U3 U4 U3 U4 U3 U4 U3 U4 U3 U4 U3 U4
ตัวเครื่องภายนอก
U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6

L1 L5 ตาราง-1 ตาราง-2 n การเชื่อมตอสายไฟฟาและสายไฟเชื่อมตอ


ตาราง-1 ตาราง-2 ถอดตัวล็อกบนแผงสายไฟ/วางทอที่ดานหนาของตัวเครื่องและแผงครอบที่ดานลางเพื่อนําสายไฟฟาและสายไฟเชื่อมตอออกผาน
ตาราง-1 L2 L3 ทางชอง
U1 U2 U1 U2 U1 U2 U1 U2 U1 U2 U1 U2 U1 U2 U1 U2
ตัวเครื่องภายใน A B A B A B A B A B A B A B A B

ตาราง-3 L7
ตาราง-3 L6

รีโมทคอนโทรล รีโมทคอนโทรล ตาราง-3


รีโมทคอนโทรล
แผงสายไฟ/วางทอ
ตารางที่ 1 การเดินสายไฟเชื่อมตอระหวางตัวเครื่องภายในกับตัวเครื่องภายนอก (L1, L2, L3), การเดินสายไฟระบบ
ควบคุมสวนกลาง (L4) ตัวล็อกสายไฟเชื่อมตอ ตัวล็อกสายไฟแหลงจายไฟ
สายไฟ 2 เสน, ไมมีขั้ว ตัวล็อกสายไฟฟา
ชนิด สายไฟแบบหุมฉนวน
ขนาด/ความยาว 1.25 มม.2 : ไมเกิน 1000 ม./2.0 มม.2 : ไมเกิน 2000 ม. (*1) หมายเหตุ
(*1): ความยาวทั้งหมดของการเดินสายไฟเชื่อมตอสําหรับวงจรระบบทําความเย็นทั้งหมด (L1 + L2 + L3 + L4) ตรวจสอบใหแนใจวาไดแยกสายไฟแหลงจายไฟและสายไฟเชื่อมตอออกจากกัน

ตารางที่ 2 การเดินสายไฟเชื่อมตอระหวางตัวเครื่องภายนอก (L5)


สายไฟ 2 เสน, ไมมีขั้ว
ชนิด สายไฟแบบหุมฉนวน
ขนาด/ความยาว 1.25 มม.2 ถึง 2.0 มม.2/ไมเกิน 100 ม. (L5)

ตารางที่ 3 การเดินสายไฟรีโมทคอนโทรล (L6, L7)


สายไฟ 2 เสน, ไมมีขั้ว
ชนิด 0.5 มม.2 ถึง 2.0 มม.2
Ÿ ไมเกิน 500 ม. (L6 + L7)
ความยาว Ÿ ไมเกิน 400 ม. ในกรณีที่รีโมทคอนโทรลแบบไรสายอยูในระบบควบคุมแบบกลุม
Ÿ ความยาวทั้งหมดของการเดินสายไฟเชื่อมตอระหวางตัวเครื่องภายในไมเกิน 200 ม. (L6)

41-TH 42-TH

1121501401 TH.indd 21 1/18/2561 BE 17:00


ขนาดสกรูและคาแรงขัน
คาแรงขัน
ขนาดสกรู
บล็อคขั้วแหลงจายไฟ (นิวตันเมตร)
ขั้วแหลงจายไฟ M6 2.5 ถึง 3.0
สกรูยึดสายดิน M8 5.5 ถึง 6.6
แคลมปยึดสายไฟ
u การตอสายไฟเชื่อมตอ
สอดสายไฟเชื่อมตอผานรองบากที่ดานขางของกลองควบคุมระบบไฟฟาและตอเขากับขั้วสายไฟเชื่อมตอ จากนั้น ติดตั้งเขากับ
บล็อคขั้วเชื่อมตอ
แคลมปยึดสายไฟเชื่อมตอ

สายไฟแหลงจายไฟ
JK0-B2F

แคลมปยึดสายไฟ

สกรูยึดสายดิน
สายไฟเชื่อมตอ
U1 U2 S U3 U4 U5 U6 S
ไปยังตัวเครื่อง ไปยังชุดควบคุม ไปยังตัวเครื่อง
ภายใน ที่ครอบ สวนกลาง ภายนอก ที่ครอบ

u การตอสายไฟแหลงจายไฟ
U5, U6: สายไฟเชื่อมตอระหวางตัวเครื่องภายนอก
1. สอดสายไฟแหลงจายไฟผานทางรองบากที่ดานขางของกลองควบคุมระบบไฟฟาและตอสายไฟแหลงจายไฟเขากับบล็อค U3, U4: อุปกรณควบคุมสวนกลาง
ขั้วแหลงจายไฟและสายดินเขากับสกรูยึดสายดิน หลังจากนั้น ใหติดตั้งสายไฟแหลงจายไฟดวยแคลมปยึดสายไฟ 2 ตัว S: ที่ครอบสายดิน
2. ตรวจสอบใหแนใจวาใชขั้วจีบชนิดหัวกลมในการเชื่อมตอไฟฟา U1, U2: สายไฟเชื่อมตอระหวางตัวเครื่องภายใน/ภายนอก
อีกทั้ง ใหใสปลอกฉนวนแกสวนที่เปนจีบ ใหใชไขควงที่มีขนาดเหมาะสมในการติดตั้งสกรูยึดขั้ว
ขนาดสกรูและคาแรงขัน
คาแรงขัน
L1 L2 L3 N ขนาดสกรู (นิวตันเมตร)
ขั้วสายไฟเชื่อมตอ M4 1.2 ถึง 1.4
L1 L2 L3 N

10 มม. หรือมากกวา
EN
สายดิน สายไฟแหลงจายไฟ
EN

EN

TH

43-TH 44-TH
– 22 –

1121501401 TH.indd 22 1/18/2561 BE 17:00


– 23 –

9 การตัง้ คาทีอ่ ยู u ขั้นตอนการตั้งคาที่อยู 1


สําหรับตัวเครื่องนี้ จําเปนตองตั้งคาที่อยูของตัวเครื่องภายในกอนเริ่มใชงานระบบปรับอากาศ 1 เปดตัวเครื่องภายในกอนเปนอันดับแรก จากนั้น เปดตัวเครื่องภายนอก
ใหตั้งคาที่อยูตามขั้นตอนดานลาง 2 หลังจากเปดเครื่องผานไปประมาณ 1 นาที ใหตรวจยืนยันวาจอแสดงผล 7 สวนบนแผงวงจร P.C ของ
ตัวเครื่องหลักภายนอกแสดงผลเปน U. 1. L08 (U. 1. flash)
ขอควรระวัง 3 กด SW15 เพื่อเริ่มการตั้งคาที่อยูอัตโนมัติ
Ÿ ตรวจสอบใหแนใจวาการเดินสายไฟฟาเสร็จสิ้นแลวกอนทําการตั้งคาที่อยู (อาจใชเวลาถึง 10 นาที (โดยปกติประมาณ 5 นาที) เพื่อทําการตั้งคาของทอหนึ่งทอใหเสร็จสิ้น)
Ÿ ถาทานเปดตัวเครื่องภายนอกกอนเปดตัวเครื่องภายใน CODE No. [E19] จะปรากฏขึ้นบนจอแสดงผล 7 สวนบนแผงวงจร 4 จอแสดงผล 7 สวนจะแสดง Auto 1 → Auto 2 → Auto 3
P.C ของตัวเครื่องภายนอกจนกระทั่งเปดตัวเครื่องภายใน ซึ่งไมใชอาการผิดปกติแตอยางใด หลังจากการแสดงผล U. 1. - - - (U. 1. flash) จะเริ่มกะพริบบนจอแสดงผล
Ÿ อาจตองใชเวลา 10 นาที (โดยปกติประมาณ 5 นาที) เพื่อระบุที่อยูทอสารทําความเย็นหนึ่งทอโดยอัตโนมัติ
Ÿ จําเปนตองตั้งคาที่ตัวเครื่องภายนอกเพื่อระบุที่อยูโดยอัตโนมัติ (การตั้งคาที่อยูจะไมเริ่มขึ้นโดยการเปดเครื่อง)
เมื่อหยุดการกะพริบและ U. 1. - - - (U. 1. light) ติดคางอยูบนจอแสดงผลแสดงวาการตั้งคาเสร็จสมบูรณ
Ÿ การเปดใชงานเครื่องไมจําเปนสําหรับการตั้งคาที่อยู
Ÿ สามารถตั้งคาที่อยูไดดวยตนเอง
แผงวงจร P.C ของตัวเครื่องหลักภายนอก
การระบุที่อยูอัตโนมัติ: การตั้งคาที่อยูโดยใช SW15 บนแผงวงจร P.C ของตัวเครื่องหลักภายนอก SW04 SW05 SW15
การระบุที่อยูดวยตนเอง: การตั้งคาที่อยูบนรีโมทคอนโทรลแบบใชสาย 3
* เมื่อตั้งคาที่อยูดวยตนเอง จะตองจับคูรีโมทคอนโทรลแบบใชสายกับตัวเครื่องภายในแบบหนึ่งตอหนึ่ง (เมื่อระบบถูกกําหนดไว
เปนการทํางานแบบกลุมหรือไมใชรีโมทคอนโทรล) D600 D601 D602 D603 D604

ขอกําหนด 2,4
Ÿ ชิ้นสวนแรงเคลื่อนไฟฟาสูงจะอยูในกลองควบคุมระบบ ฝาครอบ ฝาครอบกลองควบคุม SW01 SW02 SW03
ไฟฟา ถาทานตั้งคาที่อยูที่ตัวเครื่องภายนอก ใหใชงาน ชองบริการ ระบบไฟฟา สกรูยึดสําหรับฝาครอบ
ชองบริการ
ตัวเครื่องจนกระทั่งผานชองบริการที่แสดงบนภาพทาง
ดานขวาเพื่อหลีกเลี่ยงไมใหไฟฟาดูด อยาถอดฝาครอบ
กลองควบคุมระบบไฟฟาออก ขอกําหนด
* หลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานแลว ใหปดฝาครอบชอง
บริการและติดตั้งดวยสกรู Ÿ เมื่อทอสารทําความเย็น 2 ทอหรือมากกวาถูกควบคุมเปนกลุม ตรวจสอบใหแนใจวาไดเปดตัวเครื่องภายในทั้งหมดในการ
ควบคุมแบบกลุมกอนทําการตั้งคาที่อยู
Ÿ ถาทานตั้งที่อยูของตัวเครื่องของแตละทอโดยแยกกัน ตัวเครื่องหลักภายในของแตละทอจะถูกตั้งคาโดยแยกกันดวย

n การตั้งคาที่อยูอัตโนมัติ ในกรณีดังกลาว CODE No. “L03” (ตัวเครื่องหลักภายในซํ้าซอนกัน) จะแสดงเมื่อเริ่มทํางาน ใหเปลี่ยนที่อยูกลุมเพื่อ


แยกตัวเครื่องหลักเปนเครื่องเดียวโดยใชรีโมทคอนโทรลแบบใชสาย
ไมมีการควบคุมสวนกลาง: ไปที่ขั้นตอนการตั้งคาที่อยู 1
การควบคุมสวนกลางของทอสารทําความเย็น 2 ทอหรือมากกวา: ไปที่ขั้นตอนการตั้งคาที่อยู 2 (ตัวอยาง) การควบคุมทอสารทําความเย็น 2 ทอหรือมากกวาเปนกลุม
เมื่อควบคุมทอสารทําความเย็นตัวเดียว เมื่อควบคุมทอสารทําความเย็น 2 ทอหรือมากกวา
(ตัวอยาง) ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง
จากสวนกลาง จากสวนกลาง ภายนอก ภายนอก
ขั้นตอนการตั้ง ไปยังขั้นตอนที่ 1 ไปยังขั้นตอนที่ 2
คาที่อยู แผนผังวงจรไฟฟา ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง
ระบบ ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน
ตัวเครื่อง รีโมท ตัวเครื่อง รีโมท ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง รีโมท
ภายนอก
คอนโทรล ภายนอก
คอนโทรล ภายนอก ภายนอก
คอนโทรล (การควบคุมแบบกลุม)
รีโมท
สวนกลาง สวนกลาง สวนกลาง คอนโทรล
แผนผังวงจรไฟฟา ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง ตัวเครื่อง
ระบบ ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน

รีโมท รีโมท รีโมท รีโมท รีโมท รีโมท


คอนโทรล คอนโทรล คอนโทรล คอนโทรล คอนโทรล คอนโทรล

45-TH 46-TH

1121501401 TH.indd 23 1/18/2561 BE 17:00


u ขั้นตอนการตั้งคาที่อยู 2 SW13 SW14
ที่อยูทอ (ระบบ) 1 2 3 4 1 2 3 4
26 Í Í
1 ตั้งคาที่อยูระบบสําหรับแตละระบบโดยใช SW13 และ 14 บนแผงวงจร P.C. ของตัวเครื่องหลักภายนอกของ ™ ™ ™
― ― ―

27 ― ― ― ™ Í ™ Í ™
แตละระบบ (คาเดิมจากโรงงาน: ที่อยู 1) 28 ― ― ― ™ ™ ™ Í ™

“―”: ไมใชสําหรับการตั้งคาที่อยูระบบ (ไมเปลี่ยนตําแหนงของสวิตช)


หมายเหตุ
ตรวจสอบใหแนใจวาไดตั้งคาที่อยูเดียวกันสําหรับแตละระบบ อยาใชที่อยูเดียวกันกับอีกระบบหนึ่ง (ทอสารทําความเย็น) หรือดาน 2 ใหแนใจวาปลดขั้วตอรีเลยระหวางขั้ว [U1U2] กับ [U3U4] ของตัวเครื่องหลักภายนอกทั้งหมดที่จะเชื่อมตอเขา
ที่กําหนด กับระบบควบคุมสวนกลาง (คาเดิมจากโรงงาน: ปลด)
แผงวงจร P.C. ของตัวเครื่องหลักภายนอก
SW06 SW07 SW09 SW10

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 2
SW11 SW12 SW13 SW14

U1 U2 S U3 U4 U5 U6 S
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 ไปยังตัวเครื่อง ที่ครอบ ไปยังชุดควบคุม ไปยังตัวเครื่อง ที่ครอบ
ภายใน สวนกลาง ภายนอก

การเปลี่ยนการตั้งคาที่อยูทอ (ระบบ) ที่แผงวงจร P.C. ของตัวเครื่องภายนอก 3 เปดตัวเครื่องภายในกอนเปนอันดับแรก จากนั้น เปดตัวเครื่องภายนอก


(™: เปดสวิตช, Í: ปดสวิตช)
SW13 SW14
4 หลังจากเปดเครื่องแลวประมาณ 1 นาที ใหตรวจยืนยันวาจอแสดงผล 7 สวนของแผงวงจร P.C. ของ
ที่อยูทอ (ระบบ) 1 2 3 4 1 2 3 4 ตัวเครื่องหลักภายนอกแสดง U. 1. L08 (U. 1. flash)
1 Í Í Í Í Í
5
― ― ―

2 ― ― ― Í ™ Í Í Í
กด SW15 เพื่อเริ่มการตั้งคาที่อยูอัตโนมัติ
3 ― ― ― Í Í ™ Í Í (อาจใชเวลาถึง 10 นาที (โดยปกติประมาณ 5 นาที) เพื่อทําการตั้งคาของทอหนึ่งทอใหเสร็จสิ้น)
4
5




Í
Í Í
™ ™
Í
Í
™
Í
Í
6 จอแสดงผล 7 สวนจะแสดง Auto 1 → Auto 2 → Auto 3
6 ― ― ― Í ™ Í ™ Í
หลังจากการแสดงผล U. 1. - - - (U. 1. flash) จะเริ่มกะพริบบนจอแสดงผล
7 ― ― ― Í Í ™ ™ Í เมื่อหยุดกะพริบ และ U. 1. - - - (U. 1. light) ยังคงติดคางอยูบนจอแสดงผล แสดงวาการตั้งคาเสร็จสมบูรณ
8
9
― ― ― Í ™ ™ ™ Í
7 ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 4 ถึง 6 ซํ้าอีกสําหรับทอสารทําความเย็นอื่นๆ
― ― ― Í Í Í Í ™
10 ― ― ― Í ™ Í Í ™ 8 หลังจากเสร็จสิ้นการตั้งคาที่อยูของทุกระบบแลว ใหปดสวิตช DIP 2 ของ SW30 ของแผงวงจร P.C. ของ
11 ― ― ― Í Í ™ Í ™ ตัวเครื่องหลักภายนอกทั้งหมดที่เชื่อมตอกับระบบควบคุมสวนกลางเดียวกัน ยกเวนตัวเครื่องที่มีที่อยูระดับ
12 ― ― ― Í ™ ™ Í ™
ลางสุด
13 Í Í Í ™ ™
(สําหรับการรวมขั้วสายไฟสําหรับระบบควบคุมสวนกลางของตัวเครื่องภายในและตัวเครื่องภายนอกเขาดวยกัน)
― ― ―

14 ― ― ― Í ™ Í ™ ™
15 ― ― ― Í Í ™ ™ ™
EN
16 ― ― ― Í ™ ™ ™ ™
17 ― ― ― ™ Í Í Í Í
18 ― ― ― ™ ™ Í Í Í EN
19 ― ― ― ™ Í ™ Í Í
20 ― ― ― ™ ™ ™ Í Í
21 ― ― ― ™ Í Í ™ Í EN
22 ― ― ― ™ ™ Í ™ Í
23 ― ― ― ™ Í ™ ™ Í
24 ― ― ― ™ ™ ™ ™ Í TH
25 ― ― ― ™ Í Í Í ™

47-TH 48-TH
– 24 –

1121501401 TH.indd 24 1/18/2561 BE 17:00


– 25 –

9 ตอขั้วตอรีเลยระหวาง [U1, U2] กับ [U3, U4] ของตัวเครื่องหลักภายนอกของทอสารทําความเย็นแตละทอ การตั้งคาสวิตช (ตัวอยางการตั้งคาเมื่อควบคุมทอสารทําความเย็น 2 ทอหรือมากกวาจากสวนกลาง)
ตัวเครื่องภายนอก (การตั้งคาดวยตนเอง)
*รายการที่ระบุเปนตัวหนาจะตองตั้งคาดวยตนเอง
แผงวงจร P.C. ของ ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องหลัก คาเดิมจากโรงงาน
ตัวเครื่องภายนอก
SW13, 14 (ที่อยูทอ 1
(ไมจําเปน 2
(ไมจําเปน 3 1
9 (ระบบ)) ตองตัง้ คา) ตองตัง้ คา)
สวิตช DIP 2 ของ SW30 ตั้งคาไปที่ ตั้งคาไปที่
(ขั้วของสายไฟเชื่อมตอ (ไมจําเปน ตําแหนงปด (ไมจําเปน ตําแหนงปด
ตัวเครื่องภายใน/ภายนอก เปด เปด
U1 U2 S U3 U4 U5 U6 S ตองตั้งคา) หลังจากตัง้ ตองตั้งคา) หลังจากตัง้
และสายไฟควบคุมสวน
ไปยังตัวเครื่อง ที่ครอบ ไปยังชุดควบคุม ไปยังตัวเครื่อง ที่ครอบ ค า ที อ
่ ยู  คาที่อยู
ภายใน สวนกลาง ภายนอก กลาง)
เชื่อมตอ เชื่อมตอ เชื่อมตอ
10 ตั้งคาที่อยูระบบควบคุมสวนกลาง ขั้วตอรีเลย หลังจากตั้ง เปด หลังจากตั้ง เปด หลังจากตั้ง เปด
(สําหรับการตั้งคาที่อยูระบบควบคุมสวนกลาง ใหดูที่คูมือการติดตั้งของอุปกรณควบคุมสวนกลาง) คาที่อยู คาที่อยู คาที่อยู

แผงวงจร P.C. ของตัวเครื่องหลัก

SW15 ชุดควบคุม
ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องหลัก สวนกลาง
SW04 SW05
U3 U4 U3 U4 U3 U4 U3 U4 U3 U4

D600 D601 D602 D603 D604


จอแสดงผล U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6
7 สวน
SW13 SW14 SW01 SW02 SW03

ขั้วตอรีเลย ขั้วตอรีเลย ขั้วตอรีเลย

U1 U2 U1 U2 U1 U2 U1 U2 U1 U2
A B A B A B A B A B

รีโมท รีโมท รีโมท รีโมท


SW30 คอนโทรล คอนโทรล คอนโทรล คอนโทรล
1 2 แบบแยกตัวเดียว แบบกลุม

ตัวเครื่องภายใน
(การตั้งคาอัตโนมัติ)
ที่อยูทอ (ระบบ) 1 1 2 2 3

ที่อยูตัวเครื่องภายใน 1 2 1 2 1

ที่อยูกลุม 0 0 1 2 0

49-TH 50-TH

1121501401 TH.indd 25 1/18/2561 BE 17:00


ขอควรระวัง <ที่อยูทอ (ระบบ)> หมายเหตุ
การตอขั้วตอรีเลย 2 กดปุม TEMP. / ซํ้าๆ เพื่อตั้งคา 1. อยาใชหมายเลขที่อยู 29 หรือ 30 เมื่อทําการตั้งคาที่อยู
อยาตอขั้วตอรีเลยระหวางขั้ว [U1, U2] กับ [U3, U4] กอนทําการตั้งคาที่อยูของทอสารทําความเย็นทั้งหมดใหเสร็จสิ้น มิฉะนั้น CODE No. ไปที่ ระบบ โดยใชรีโมทคอนโทรล เนื่องจากหมายเลขที่อยู
2 ตัวนี้ไมสามารถใชกับตัวเครื่องภายนอกไดและ CODE
จะไมสามารถตั้งคาที่อยูไดอยางถูกตอง 3 กดปุม TIME / ซํ้าๆ เพื่อตั้งคาที่อยูระบบ No. [E04] (การเชื่อมตอของตัวเครื่องภายใน/ภายนอก
(จับคูที่อยูกับที่อยูบนแผงวงจร P.C. ของตัวเครื่องหลัก ผิดพลาด) จะปรากฏขึ้นถาหมายเลขเหลานี้ถูกใชงานอยาง
ภายนอกที่เชื่อมตอกับทอสารทําความเย็นเดียวกัน) ไมถูกตอง
n การตั้งคาที่อยูดวยตนเองโดยใชรีโมทคอนโทรล 4 กดปุม 2. ถาทานตั้งคาที่อยูลงในตัวเครื่องภายในที่มีทอสารทําความ
ขั้นตอนเมื่อทําการตั้งคาที่อยูของตัวเครื่องภายในกอนเปนอันดับแรกภายใตสภาวะที่การเดินสายไฟตัวเครื่องภายในเสร็จสิ้นแลว (จะถือวาปกติถาจอแสดงผลเปดขึ้น) เย็น 2 ทอหรือมากกวาดวยตนเองโดยใชรีโมทคอนโทรล
และการเดินสายไฟตัวเครื่องภายนอกยังไมไดเริ่มตนขึ้น (การตั้งคาดวยตนเองโดยใชรีโมทคอนโทรล) และจะควบคุมตัวเครื่องภายในเหลานั้นจากสวนกลาง
<ที่อยูตัวเครื่องภายใน> ใหตั้งคาตัวเครื่องหลักภายนอกของแตละทอดังดานลาง
q ตัวอยางการเดินสายไฟของทอสารทําความเย็น 2 ทอ Ÿ ตั้งคาที่อยูระบบสําหรับตัวเครื่องหลักภายนอกของแตละ
5 กดปุม TEMP. / ซํ้าๆ เพื่อตั้งคา ทอดวย SW13 และ 14 ของแผงวงจร P.C.
ทอสารทําความเย็น 1 ทอสารทําความเย็น 2 CODE No. ไปที่ Ÿ ปดสวิตช DIP 2 ของ SW30 บนแผงวงจร P.C. ของ
ตัวเครื่อง
ภายนอก
ตัวเครื่อง
ภายนอก 6 กดปุม TIME / ซํ้าๆ เพื่อตั้งคาที่อยูตัวเครื่อง ตัวเครื่องหลักภายนอกที่เชื่อมตอกับระบบควบคุม
ภายใน สวนกลางเดียวกัน ยกเวนตัวเครื่องที่มีที่อยูระดับลางสุด
(สําหรับการรวมขั้วสายไฟสําหรับระบบควบคุมสวนกลาง
7 กดปุม ของตัวเครื่องภายในและตัวเครื่องภายนอกเขาดวยกัน)
ตัวเครื่องภายใน 1 ตัวเครื่องภายใน 2 ตัวเครื่องภายใน 3 ตัวเครื่องภายใน 1 ตัวเครื่องภายใน 2 (จะถือวาปกติถาจอแสดงผลเปดขึ้น) Ÿ ตอขั้วตอรีเลยระหวางขั้ว [U1, U2] กับ [U3, U4] ของ
ตัวเครื่องหลักภายนอกของทอสารทําความเย็นแตละทอ
รีโมทคอนโทรล Ÿ หลังจากเสร็จสิ้นการตั้งคาทั้งหมดดังกลาวดานบน ใหตั้ง
<ที่อยูกลุม>
คาที่อยูของอุปกรณควบคุมสวนกลาง (สําหรับการตั้งคา
ที่อยูทอ (ระบบ) 1 1 1 2 2 8 กดปุม TEMP. / ซํ้าๆ เพื่อตั้งคา CODE ของที่อยูระบบควบคุมสวนกลาง ใหดูที่คูมือการติดตั้งของ
ที่อยูตัวเครื่องภายใน 1 2 3 1 2 No. ไปที่ อุปกรณควบคุมสวนกลาง)
ที่อยูกลุม
1 2
ตัวเครื่องหลัก ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องรอง
2 2
ตัวเครื่องรอง ตัวเครื่องรอง
2
9 กดปุม TIME / ซํ้าๆ เพื่อตั้งคาที่อยูกลุม
ถาตัวเครื่องภายในเปนแบบแยกตัวเดียว ใหตั้ง
ตัวอยางดานบน ใหปลดการเชื่อมตอของรีโมทคอนโทรลระหวางตัวเครื่องภายในและเชื่อมตอรีโมทคอนโทรลแบบใชสาย คาที่อยูไปที่ ; ตัวเครื่องหลักไปที่ ;
เขากับตัวเครื่องเปาหมายโดยตรงกอนทําการตั้งคาที่อยู ตัวเครื่องรองไปที่
แบบแยกตัวเดียว : 0000
ตัวเครื่องหลัก : 0001
SET DATA SETTING
UNIT No.
CODE No.

ตัวเครื่องรอง : 0002 } ในกรณี ของการ


ควบคุมแบบกลุม
R.C. No.

2, 5, 8
SET DATA CODE No.
10 กดปุม
(จะถือวาปกติถาจอแสดงผลเปดขึ้น)
TEMP. ON / OFF

4, 7, 10 TIMER SET
3, 6, 9 11 กดปุม
11
TIME

FILTER
RESET TEST SET CL การตั้งคาที่อยูเสร็จสิ้นแลว EN
( จะกะพริบ ทานสามารถควบคุมตัวเครื่องได
1 หลังจากที่ หายไป)
EN
จับคูตัวเครื่องภายในที่จะตั้งคากับรีโมทคอนโทรลในแบบหนึ่งตอหนึ่ง
เปดเครื่อง EN
1 กดปุม , และ คางไวพรอมกันเปนเวลานานกวา 4 วินาที
จอ LCD จะเริ่มกะพริบ
TH

51-TH 52-TH
– 26 –

1121501401 TH.indd 26 1/18/2561 BE 17:00


– 27 –

n การตรวจยืนยันที่อยูตัวเครื่องภายใน การคนหาตําแหนงของตัวเครื่องภายในจากที่อยู
CODE No.
n การเปลี่ยนที่อยูตัวเครื่องภายในโดย
และตําแหนงของตัวเครื่องภายใน q เมื่อทําการตรวจเช็คหมายเลขตัวเครื่องที่มีการ
SET DATA SETTING
UNIT No.
ใชรีโมทคอนโทรล
ควบคุมเปนกลุม
R.C. No.

โดยใชรีโมทคอนโทรล TEMP. ON / OFF


การเปลี่ยนที่อยูตัวเครื่องภายในโดยใชรีโมท
u การตรวจยืนยันหมายเลขและตําแหนง คอนโทรลแบบใชสาย
1
TIMER SET
CODE No.

SET DATA SETTING

ของตัวเครื่องภายใน
UNIT No. TIME

R.C. No. FILTER


RESET TEST SET CL
q วิธีการเปลี่ยนที่อยูของตัวเครื่องภายในแบบแยก
การตรวจดูที่อยูของตัวเครื่องภายในที่ทานทราบ ตัวเดียว (ตัวเครื่องภายในจะจับคูกับรีโมทคอนโทรล
ตําแหนงแลว
TEMP. ON / OFF

6 4 แบบใชสายในแบบหนึ่งตอหนึ่ง) หรือตัวเครื่องภายใน
3 2 ในกลุม
3 5
TIMER SET

q เมื่อตัวเครื่องเปนแบบแยกตัวเดียว
(ตัวเครื่องภายใน
จะจับคูกับรีโมทคอนโทรลแบบใชสายในแบบหนึ่งตอ หยุดการ FILTER
RESET TEST SET
TIME

CL 1 (วิธีการดังกลาวจะสามารถใชไดเมื่อตั้งคาที่อยูโดย
อัตโนมัติเรียบรอยแลว)
ทํางาน
หนึ่ง) หรือเปนแบบควบคุมแบบกลุม (ใหปฏิบัติงานในขณะที่ตัวเครื่องหยุดทํางาน)
1 2 ทานสามารถตรวจเช็คที่อยูตัวเครื่องภายในและตําแหนงของ
ตัวเครื่องภายในไดในรูปแบบทอสารทําความเย็นเดี่ยว CODE No.

SET DATA SETTING

CODE No.
เมื่อเลือกตัวเครื่องภายนอก หมายเลขตัวเครื่องภายในของ UNIT No.

(ใหปฏิบัติงานในขณะที่ตัวเครื่องหยุดทํางาน)
R.C. No.
UNIT No.

ทอสารทําความเย็นของตัวเครื่องที่เลือกไวจะปรากฏขึ้นทีละ
หมายเลขตัวเครื่องภายในของกลุมจะปรากฏขึ้นทีละหมายเลข หมายเลขเรียงตอกัน และพัดลมกับบานเกล็ดของตัวเครื่อง TEMP. ON / OFF

TEMP. ON / OFF

1 เรียงตอกัน พัดลมและบานเกล็ดของตัวเครื่องที่ปรากฏขึ้นจะ ภายในที่ปรากฏอยูจะทํางาน 3


ทํางาน
5 4
TIMER SET

TIMER SET
การเริ่ม 1 กดปุม TIME และ คางไวพรอมกันเปน TIME

ทํางาน 1 กดปุม และ คางไวพรอมกันเปนเวลา เวลานานกวา 4 วินาที อันดับแรก ทอ 1 และ


FILTER

8
TIME RESET TEST SET CL

FILTER
RESET TEST SET CL
นานกวา 4 วินาที CODE No. (การเปลี่ยนที่อยู) จะปรากฏขึ้น
Ÿ จะปรากฏขึ้นบน UNIT No. ของจอ LCD สิ้นสุด
2 Ÿ พัดลมและบานเกล็ดของตัวเครื่องภายในทั้งหมดใน
บนจอ LCD (เลือกตัวเครื่องภายนอก)
1 2, 6, 7
กลุมจะทํางาน 2 กดปุม (ดานซายของปุม) และ
ซํ้าๆ เพื่อเลือกที่อยูระบบ
(ใหปฏิบัติงานในขณะที่ตัวเครื่องกําลังทํางาน) 2 กดปุม (ดานซายของปุม) แตละครั้งที่กด (ใหปฏิบัติงานในขณะที่ตัวเครื่องหยุดทํางาน)
1 กดปุม ถาตัวเครื่องหยุดทํางาน ปุมหมายเลข ตัวเครื่องภายในจะปรากฏขึ้นทีละ 3 กดปุม เพื่อยืนยันการเลือกที่อยูระบบ
หมายเลขเรียงตอกัน Ÿ ที่อยูของตัวเครื่องภายในที่เชื่อมตอกับทอสารทํา 1 กดปุม , และ คางไวพรอมกันเปนเวลา
2 กดปุม (ดานซายของปุม) Ÿ หมายเลขตัวเครื่องที่ปรากฏขึ้นเปนอันดับแรกคือที่อยู ความเย็นที่เลือกจะปรากฏขึ้นบนจอ LCD และพัดลม นานกวา 4 วินาที
หมายเลขตัวเครื่อง จะแสดงบนจอ LCD (ซึ่งจะ ของตัวเครื่องหลัก กับบานเกล็ดของตัวเครื่องจะทํางาน (ถาตัวเครื่องภายใน 2 เครื่องหรือมากกวาถูกควบคุม
หายไปหลังจากผานไป 2-3 วินาที) หมายเลขที่ปรากฏ Ÿ พัดลมและบานเกล็ดของตัวเครื่องภายในที่ปรากฏอยู การทํางานแบบกลุม UNIT No. ที่ปรากฏขึ้นเปน
ขึ้นจะแสดงถึงที่อยูระบบและที่อยูตัวเครื่องภายในของ เทานั้นจะทํางาน
4 กดปุม (ดานซายของปุม) แตละครั้งที่ อันดับแรกจะเปนตัวเครื่องหลัก)
ตัวเครื่อง กดปุม หมายเลขตัวเครื่องภายในของทอสาร
3 กดปุม เพื่อสิ้นสุดขั้นตอน ทําความเย็นที่เลือกจะปรากฏขึ้นทีละหมายเลข 2 กดปุม (ดานซายของปุม) ซํ้าๆ เพื่อเลือก
เมื่อเชื่อมตอตัวเครื่องภายใน 2 เครื่องหรือมากกวาเขา หมายเลขตัวเครื่องภายในที่จะเปลี่ยนถามีการ
กับรีโมทคอนโทรล (ตัวเครื่องที่มีการควบคุมแบบกลุม) ตัวเครื่องภายในทั้งหมดในกลุมจะหยุดทํางาน เรียงตอกัน
Ÿ พัดลมและบานเกล็ดของตัวเครื่องภายในที่ปรากฏอยู ควบคุมตัวเครื่อง 2 เครื่องหรือมากกวาในแบบ
จํานวนของตัวเครื่องอื่นที่เชื่อมตออยูจะปรากฏขึ้นใน กลุม (พัดลมและบานเกล็ดของตัวเครื่องภายในที่
แตละครั้งที่ทานกดปุม (ดานซายของปุม) q การตรวจเช็คที่อยูตัวเครื่องภายในทั้งหมดโดยใช
เทานั้นจะทํางาน
เลือกจะทํางาน)
รีโมทคอนโทรลแบบใชสายตามความตองการ
(เมื่อการเดินสายไฟเชื่อมตอของทอสารทําความเย็น u เพื่อเลือกที่อยูระบบอื่น (พัดลมของตัวเครื่องภายในที่เลือกไวจะถูกเปดใชงาน)
2 ทอหรือมากกวาถูกเชื่อมตอเปนแบบระบบควบคุม 5 กดปุม เพื่อกลับไปยังขั้นตอนที่ 2 3 กดปุม TEMP. / ซํ้าๆ เพื่อเลือก
สวนกลาง) Ÿ หลังจากกลับสูขั้นตอนที่ 2 ใหเลือกที่อยูระบบอื่นและ สําหรับ CODE No.
ตรวจเช็คที่อยูตัวเครื่องภายในของทอ 4 กดปุม TIME / ซํ้าๆ เพื่อเปลี่ยนคาที่ปรากฏ
6 กดปุม เพื่อสิ้นสุดขั้นตอน ขึ้นในสวน SET DATA ไปยังคาที่ทานตองการ
5 กดปุม
53-TH 54-TH

1121501401 TH.indd 27 1/18/2561 BE 17:00


6 กดปุม (ดานซายของปุม) ซํ้าๆ เพื่อเลือก q การเปลี่ยนที่อยูตัวเครื่องภายในทั้งหมดโดยใช 3 กดปุม n การรีเซ็ตคาที่อยูใหม
(การรีเซ็ตคา
UNIT No. ตัวเครื่องภายในอื่นที่จะเปลี่ยน รีโมทคอนโทรลแบบใชสายตามความตองการ ที่อยูของตัวเครื่องภายในที่เชื่อมตออยูกับทอสาร
ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 4 ถึง 6 ซํ้าอีกครั้งเพื่อเปลี่ยนที่อยู (วิธีการดังกลาวจะสามารถใชไดเมื่อตั้งคาที่อยูโดย
Ÿ
ทําความเย็นที่เลือกจะปรากฏขึ้นจอ LCD และพัดลม ไปยังคาเดิมจากโรงงาน (ยังไมได
ตัวเครื่องสําหรับแตละตัวเครื่อง อัตโนมัติเรียบรอยแลว) กับบานเกล็ดของตัวเครื่องจะทํางาน อันดับแรก ที่อยู กําหนดที่อยู))
(เมื่อสายไฟเชื่อมตอของทอสารทําความเย็น 2 ทอ ตัวเครื่องภายในขณะนั้นจะปรากฏขึ้นใน SET DATA
7 กดปุม (ดานซายของปุม) เพื่อตรวจเช็ค (ไมมีที่อยูระบบปรากฏขึ้น) วิธีการที่ 1
ที่อยูที่เปลี่ยนแลว หรือมากกวาถูกเชื่อมตอกับการควบคุมสวนกลาง)
การลบที่อยูแตละรายการโดยแยกกันดวยรีโมทคอนโทรลแบบ
หมายเหตุ ถาไมมีหมายเลขปรากฏขึ้นบน UNIT No. แสดงวาไมมี
8 ถาเปลี่ยนแปลงที่อยูอยางถูกตองแลว ใหกดปุม ตัวเครื่องภายนอกตออยูกับทอ ใหกดปุม และเลือกทออื่น
ใชสาย
เพื่อสิ้นสุดขั้นตอน ทานสามารถเปลี่ยนที่อยูของตัวเครื่องภายในของทอสาร ตั้งคาที่อยูระบบ ที่อยูตัวเครื่องภายในและที่อยูกลุมไปยัง
โดยปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 2 “0099” โดยใชรีโมทคอนโทรลแบบใชสาย
ทําความเย็นแตละทอโดยใชรีโมทคอนโทรลแบบใชสายได
ตามตองการ (สําหรับขั้นตอนการตั้งคา ใหดูที่ขั้นตอนการตั้งคาที่อยูโดยใช
CODE No. รีโมทคอนโทรลแบบใชสายในหนาที่แลว)
* เขาสูโหมดเปลี่ยนแปลง/ตรวจสอบที่อยู แลวเปลี่ยนที่อยู
SET DATA SETTING

วิธีการที่ 2
UNIT No.

R.C. No.

การลบที่อยูตัวเครื่องภายในที่เชื่อมตอกับทอสารทําความเย็น
CODE No.
TEMP. ON / OFF
ทันทีจากตัวเครื่องภายนอก
1 ปดทอสารทําความเย็นเพื่อรีเซ็ตคาไปยังคาเดิม
SET DATA SETTING

4
UNIT No. TIMER SET

R.C. No.

จากโรงงานและตั้งคาตัวเครื่องหลักภายนอกของ
TIME

FILTER
RESET TEST SET CL

8 ทอดังดานลาง
TEMP. ON / OFF

1) ปลดขั้วตอรีเลยระหวางขั้ว [U1, U2] กับ [U3, U4]


TIMER SET
เสร็จสิ้น
5, 7 กดเพื 6 (ปลอยขั้วตอไวถาปลดออกเรียบรอยแลว)
1
TIME

FILTER
RESET TEST SET CL
่อเสร็จสิ้น 2) เปดสวิตช DIP 2 ของ SW30 บนแผงวงจร P.C.
การตั้งคา
ของตัวเครื่องหลักภายนอกถาสวิตชปดอยู
3 ยกเลิกการเลือกทอ
2 4 กดปุม TIME / ซํ้าๆ เพื่อเปลี่ยนคาของที่อยู
ตัวเครื่องภายในใน SET DATA
(ปลอยสวิตชไวถาเปดสวิตชเรียบรอยแลว)

เปลี่ยนคาใน SET DATA ใหเปนที่อยูใหม


(ใหปฏิบัติงานในขณะที่ตัวเครื่องหยุดทํางาน)
5 กดปุม เพื่อยืนยันที่อยูใหมใน SET DATA
1 กดปุม TIME และ คางไวพรอมกันเปน
เวลานานกวา 4 วินาที อันดับแรก ทอ 1 และ 6 กดปุม (ดานซายของปุม) ซํ้าๆ เพื่อเลือก
CODE No. (การเปลี่ยนที่อยู) จะปรากฏขึ้น ที่อยูอื่นที่จะเปลี่ยน แตละครั้งที่ทานกดปุม
บนจอ LCD หมายเลข ตัวเครื่องภายในของทอสารทําความเย็น
จะปรากฏขึ้นทีละหมายเลขเรียงตอกัน พัดลมและ
2 กด (ดานซายของปุม) และปุม บานเกล็ดของตัวเครื่องภายในที่เลือกไวเทานั้นจะ
ซํ้าๆ เพื่อเลือกที่อยูระบบ ทํางาน
ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 4 ถึง 6 เพื่อเปลี่ยนที่อยูตัวเครื่อง
ภายในสําหรับแตละตัวเครื่อง
EN
7 กดปุม
(ทุกสวนบนจอ LCD จะสวางขึ้น)
8 กดปุม เพื่อสิ้นสุดขั้นตอน EN

EN

TH

55-TH 56-TH
– 28 –

1121501401 TH.indd 28 1/18/2561 BE 17:00


– 29 –

ชุดควบคุม
สวนกลาง 10 การทดสอบการทํางาน TEMP. ON / OFF

2, 4
3
TIMER SET
U1 U2
U3 U4
n กอนการทดสอบการทํางาน TIME

เครื่องหลัก เครื่องรอง เครื่องหลัก เครื่องรอง เครื่องหลัก FILTER


RESET TEST SET CL

U3 U4 U3 U4 U3 U4 U3 U4 U3 U4 โปรดตรวจสอบใหแนใจวาวาลวทอสารทําความเย็นของเครื่อง
ภายนอกอยูที่ตําแหนง OPEN
Ÿ กอนการเปดเครื่อง โปรดตรวจดูแรงตานทานระหวาง
U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6 U1 U2 U5 U6
แผงตอสายของแหลงจายไฟและสายดินวาเกินกวา 1MΩ 1, 5
หรือไม โดยใชเครื่องวัดไฟฟาสถิตที่ 500 โวลต
หามเริ่มการทํางานเครื่องหากแรงตานทานตํ่ากวา 1MΩ 1 กดปุม และคางไวประมาณ 4 วินาที ขอความ
TEST จะปรากฏขึ้นบนจอมอนิเตอรและเครื่องจะ
U1 U2 U1 U2 U1 U2 U1 U2 U1 U2
ขอควรระวัง เขาสูโหมดการทดสอบ
A B A B A B A B A B
Ÿ เปดเครื่องปรับอากาศไวอยางนอย 12 ชั่วโมง กอนทดสอบ (ขอความ TEST จะแสดงขึ้นบนหนาจอ LCD ใน
การทํางาน เพื่อเปนการปองกันไมใหคอมเพรสเซอรขัดของ ระหวางการทดสอบการทํางาน)
รีโมท รีโมท รีโมท รีโมท
คอนโทรล คอนโทรล คอนโทรล คอนโทรล ระหวางเริ่มตนการทดสอบ TEST

เครื่องภายในจะไดรับการกําหนดที่อยูตัวเครื่อง
n ขั้นตอนการทดสอบการทํางาน
2 เปดเครื่องภายในและเครื่องภายนอกของทอสารทําความเย็นที่ทานตองการกําหนดที่อยูเครื่อง หลังจาก
เปดเครื่องประมาณหนึ่งนาที ใหยืนยันวาหนาจอแสดงผลแบบ 7 สวนของตัวเครื่องหลักนั้นแสดง “U.1. - - -” u เมื่อทดสอบการทํางานโดยใช
2 กดปุม
แลวเปดใชงานแผงวงจร P.C. บนเครื่องหลักภายนอกของทอสารทําความเย็นดังตอไปนี้ 3 กดปุม
รีโมทคอนโทรล เพื่อเปลี่ยนจากโหมดการทํางานเปน
SW01 SW02 SW03 SW04 การลบที่อยู ใชงานเครื่องปรับอากาศตามปกติเพื่อตรวจสอบสภาวะการ COOL
ยืนยันวา “A.d.buS” ปรากฏขึ้นบนหนาจอแสดงผล ทํางานโดยใชรีโมทคอนโทรลแบบมีสาย ปฏิบัติตามคําแนะนํา
2 1 2 ระบบ/เครื่องภายนอก/ที่อยูกลุม ในคูมือการใชงานที่ใหมาเมื่อเปดเครื่องปรับอากาศ หากทาน หมายเหตุ
7 สวน และเปด SW04 เปนเวลานานกวา 5 วินาที
ยืนยันวา “A.d.nEt” ปรากฏขึ้นบนหนาจอแสดงผล ใชรีโมทคอนโทรลไรสายในการทดสอบการทํางาน ใหปฏิบัติ Ÿ หามเปดเครื่องปรับอากาศในโหมดอื่นๆ นอกจากโหมด
2 2 2 แบบ 7 สวน และเปด SW04 เปนเวลานานกวา ที่อยูเครื่องควบคุมสวนกลาง ตามคําแนะนําในคูมือการติดตั้งที่ใหมาพรอมกับเครื่องภายใน COOL
5 วินาที หากตองการทดสอบการทํางานอยางเต็มกําลังเมื่อเครื่อง Ÿ ทานจะไมสามารถเปลี่ยนการตั้งคาอุณหภูมิในระหวางการ
ตัดกระแสไฟฟาตัดกําลังไฟของเครื่องปรับอากาศลงโดย ทดสอบการทํางานได
Ÿ การตรวจพบปญหาถือเปนสิ่งปกติ
3 ยืนยันวา “A.d. c.L.” ปรากฏขึ้นบนหนาจอแสดงผลแบบ 7 สวน และตั้งคา SW01, SW02 และ SW03 เปน อัตโนมัติเนื่องจากอุณหภูมิภายใน ใหปฏิบัติตามกระบวนการ
1, 1, 1 ตามลําดับ ดังนี้
การทดสอบการทํางานแบบเต็มกําลังจะเสร็จสิ้นลงภายใน TEST

4 หลังจากที่ “U.1.L08” ปรากฏขึ้นบนหนาจอแสดงผลแบบ 7 สวน ถาการลบที่อยูเครื่องเสร็จสมบูรณ 60 นาทีเพื่อปองกันการทํางานหนักเปนเวลานาน และกลับสู


หากหนาจอแสดงผลแบบ 7 สวนแสดง “A.d. n.G.” หมายถึงเครื่องภายนอกอาจยังคงเชื่อมตอกับทอสาร การทํางานปกติ
ทําความเย็น ใหตรวจสอบการเชื่อมตอของขั้วตอรีเลยระหวาง [U1, U2] และ [U3, U4]
หมายเหตุ
ขอควรระวัง 4 กดปุม เพื่อหยุดการทํางานเครื่องหลัก
หามใชงานเครื่องอยางเต็มกําลังนอกเสียจากการทดสอบการ จากที่ทดสอบการทํางาน
โปรดดําเนินการตามขั้นตอนขางตนอยางระมัดระวัง มิฉะนั้น ที่อยูของทอสารทําความเย็นอื่นๆ อาจถูกลบออกไป สัญลักษณบนหนาจอ LCD จะเปลี่ยนเปนสถานะ
ทํางาน เนื่องจากเครื่องปรับอากาศอาจรับภาระหนักเกินไป
ของกระบวนการที่ 1
5 กําหนดที่อยูอีกครั้งหลังจากที่เสร็จสิ้นขั้นตอนการลบ
5 กดปุม เพื่อออกจากโหมดการทดสอบ
(ขอความ TEST จะหายไปจากหนาจอ LCD และ
สถานะจะเปลี่ยนเปนโหมดหยุดทํางานปกติ)

57-TH 58-TH

1121501401 TH.indd 29 1/18/2561 BE 17:00


u เมื่อทําการทดสอบการทํางานโดยใชแผง หมายเหตุ <การทดสอบแบบหลายเครื่อง>
วงจร P.C. ของตัวเครื่องภายนอก Ÿ โหมดการทํางานจะตามดวยโหมดการตั้งคารีโมทคอนโทรล
q เริ่มการดําเนินการ
ทานสามารถทดสอบการทํางานไดโดยดําเนินการผานสวิตช ของเครื่องภายในที่ตองการทดสอบ
บนแผงวงจร P.C. อินเตอรเฟสของตัวเครื่องหลักภายนอก Ÿ ทานจะไมสามารถตั้งคาอุณหภูมิในระหวางการทดสอบการ 1 ปรับสวิตชหมุนบนแผงวงจร P.C. ของตัวเครื่องหลักภายนอกดังนี้
“การทดสอบแบบเครื่องเดียว” หมายถึงการทดสอบตัวเครื่อง ทํางานได เมื่ออยูในโหมด “COOL”: SW01=[2], SW02=[5], SW03=[1]
ภายในแบบแยกกันทีละเครื่อง และ “การทดสอบแบบหลาย Ÿ การตรวจพบขอผิดพลาดถือเปนสิ่งปกติ
หนาจอแสดงผล 7 สวน
เครื่อง” หมายถึงการทดสอบเครื่องภายในทั้งหมดที่เชื่อมตอ Ÿ เครื่องปรับอากาศจะไมทดสอบการทํางานไดเปนเวลา
กันอยูที่สามารถดําเนินการได 3 นาทีหลังจากที่เปดเครื่องหรือหยุดการทํางาน [C
[A]
] [
[B]
]

<การดําเนินการการทดสอบแบบเครื่องเดียว>
q การเสร็จสิ้นการดําเนินการ
q เริ่มตนการดําเนินการ
1 ปรับสวิตชหมุนบนแผงวงจร P.C. ที่ดานหลัง 2 กด SW04 คางไวเปนเวลา 2 วินาที
1 ตั้งโหมดการทํางานเปน COOL ดวยรีโมท ตัวเครื่องหลัก: SW01 เปน [1], SW02 เปน [1]
คอนโทรลของเครื่องภายในที่ตองการทดสอบ และ SW03 เปน [1] หมายเหตุ
(เครื่องปรับอากาศจะทํางานในโหมดปจจุบัน
หนาจอแสดงผล 7 สวน ทานไมสามารถตั้งคาอุณหภูมิไดในระหวางการทดสอบการทํางาน
เวนแตวาทานไมไดตั้งคาไวที่โหมดดังกลาว) Ÿ
หนาจอแสดงผล 7 สวน
[A]
[U1] [
[B]
]
Ÿ การตรวจพบปญหาตางๆ ถือเปนสิ่งปกติ
[A] [B]
Ÿ เครื่องปรับอากาศจะไมทดสอบการทํางานไดเปนเวลา 3 นาทีหลังจากที่เปดเครื่องหรือหยุดการทํางาน
[U1] [ ]
หนาจอแสดงผล 7 สวน
[A] [B]
[C ] [ -C ]

2 ปรับสวิตชหมุนที่แผงวงจร P.C. ของเครื่องหลัก


ภายนอกเปน: SW01 เปน [16], SW02 และ
SW03 เพื่อระบุเครื่องภายในที่ตองการทดสอบ
SW02 SW03 ที่อยูเครื่องภายใน q หยุดดําเนินการ

1 ถึง 16 1 1 ถึง 16 ระบุจํานวนของ SW02 1 ปรับสวิตชหมุนบนแผงวงจร P.C.ที่ดานหลังตัวเครื่องหลัก:


1 ถึง 16 2 17 ถึง 32 ระบุจํานวนของ SW02 + 16 SW01 เปน [1], SW02 เปน [1] และ SW03 เปน [1]
1 ถึง 16 3 33 ถึง 48 ระบุจํานวนของ SW02 + 32 หนาจอแสดงผล 7 สวน
1 ถึง 16 4 49 ถึง 64 ระบุจํานวนของ SW02 + 48 [A] [B]
[U1] [ ]

หนาจอแสดงผล 7 สวน
[A] [B]
[ ] [ ]
i
แสดงตําแหนงตามเครื่อง แผงวงจร P.C. EN
ภายใน
SW04 SW05 SW15
กดสวิตช
3 กด SW04 คางไวนานกวา 10 วินาที D600 D601 D602 D603 D604 EN
หนาจอแสดงผล 7 สวน หนาจอแสดงผล หนาจอแสดงผล
[A] [B]
7 สวน [A] 7 สวน [B]
SW01 SW02 SW03
[
i
] [
i
] EN
แสดงตําแหนงตามเครื่อง [FF] จะปรากฏขึ้นมา
ภายใน ประมาณ 5 วินาที
สวิตชหมุน TH

59-TH 60-TH
– 30 –

1121501401 TH.indd 30 1/18/2561 BE 17:00


– 31 –

11 การแกไขปญหา รหัสการตรวจสอบ
การแสดงบนหนาจอแสดงผลแบบ 7 สวนของเครื่องภายนอก อาการตามรหัสการตรวจสอบ
นอกจากที่อยู CODE บนรีโมทคอนโทรลของเครื่องภายในแลว ทานยังสามารถวินิจฉัยประเภทเหตุขัดของของเครื่องภายนอกได รหัสเสริม
โดยตรวจสอบจากหนาจอแสดงผล 7 สวนบนแผงวงจร P.C. F13 01: คอมเพรสเซอร 1 ปญหาจากเซ็นเซอร TH (ตัวรับความรอน)
ใชฟงกชันนี้สําหรับการตรวจสอบตางๆ 02: คอมเพรสเซอร 2
F15 — การเดินสายไฟของเซ็นเซอรอุณหภูมิภายนอกผิดพลาด
หนาจอแสดงผล 7 สวนและรหัสการตรวจสอบ (TE1, TL1)
F16 — การเดินสายไฟของเซ็นเซอรแรงดันผิดพลาด (Pd, Ps)
วาลวตั้งคาสวิตชหมุน D600 D601 D602 D603 D604
หนาจอ F23 — ปญหาจากเซ็นเซอร Ps
อาการ F24 — ปญหาจากเซ็นเซอร Pd
SW01 SW02 SW03 LED
A B F31 — ปญหาจาก EEPROM ภายนอก
หมายเลขเครื่องภายนอก H01 01: คอมเพรสเซอร 1 คอมเพรสเซอรชํารุด
A
(U ถึง U )
02: คอมเพรสเซอร 2
1 1 1 รหัสตรวจสอบเครื่องภายนอก 1 3

H02 01: คอมเพรสเซอร 1 ปญหาจากคอมเพรสเซอร (ล็อคไว)


B การแสดงรหัสตรวจสอบ* 02: คอมเพรสเซอร 2
* หากรหัสการตรวจสอบมีรหัสเสริม หนาจอจะแสดงรหัสการตรวจสอบประมาณ 3 วินาที และตามดวยรหัสเสริมประมาณ 1 วินาที H03 01: คอมเพรสเซอร 1 ปญหาจากวงจรตรวจสอบกระแสไฟ
02: คอมเพรสเซอร 2
รหัสการตรวจสอบ (ระบุไวที่หนาจอแสดงผลแบบ 7 สวนของเครื่องภายนอก) H05 — การเดินสายไฟของเซ็นเซอร TD1 ผิดพลาด
ระบุเมื่อ SW01 = [1], SW02 = [1] และ SW03 = [1] H06 — ดําเนินการปองกันสภาวะแรงดันตํ่า
รหัสการตรวจสอบ H07 — การตรวจสอบระดับนํ้ามันตํ่า
การแสดงบนหนาจอแสดงผลแบบ 7 สวนของเครื่องภายนอก อาการตามรหัสการตรวจสอบ 01: ปญหาจากเซ็นเซอร TK1
รหัสเสริม H08 02: ปญหาจากเซ็นเซอร TK2 ปญหาจากเซ็นเซอรระดับนํ้ามัน
E06 ที่อยูของเครื่องภายในที่เปนปกติ การลดลงของจํานวนเครื่องภายใน H15 — การเดินสายไฟของเซ็นเซอร TD2 ผิดพลาด
E07 — ปญหาจากวงจรการสื่อสารภายใน/ภายนอก 01: ปญหาจากวงจรของนํ้ามัน TK1
H16 02: ปญหาจากวงจรของนํ้ามัน TK2 ปญหาจากวงจรตรวจสอบระดับนํ้ามัน
E08 เลขที่ของเครื่องภายในซํ้า การซํ้ากันของเลขที่ตัวเครื่องภายใน
01: การสื่อสารระหวางเครื่องภายในและเครื่องภายนอก L02 รุนของเครื่องภายในและเครื่องภายนอกไมสัมพันธกัน ปญหาจากการปดการทํางานของระบบจากเครื่องภายใน
E12 02: การสื่อสารระหวางเครื่องภายนอก ปญหาจากการเริ่มตนระบุที่อยูเครื่องแบบอัตโนมัติ
L04 — การซํ้ากันของที่อยูเครื่องที่ระบบภายนอก
E15 — ไมมีเครื่องภายในระหวางการระบุที่อยูเครื่องแบบอัตโนมัติ L06 จํานวนเครื่องภายในที่ลําดับความสําคัญ ลําดับความสําคัญของเครื่องภายในซํ้ากัน
E16 00: ความจุ เ กิ น ความจุเกิน / จํานวนเครื่องภายในที่เชื่อมตออยู L08 — กลุมเครื่องภายใน/ไมไดตั้งที่อยูเครื่อง
01~: จํานวนเครื่องที่เชื่อมตอ
L10 — ไมไดตั้งความจุของเครื่องภายนอก
E19 00: ไมมีเครื่องหลัก ปญหาจากจํานวนของเครื่องหลักภายใน
02: เครื่องหลัก 2 เครื่องหรือมากกวา L17 — รุนของเครื่องภายนอกไมสอดคลองกัน
01: สายภายนอกอื่นๆ ที่เชื่อมตอ สายอื่นๆ ที่เชื่อมตออยูระหวางการระบุที่อยูเครื่องแบบ L28 — จํานวนเครื่องที่เชื่อมตอสูภายนอกเกิน
E20 02: สายภายในอื่นๆ ที่เชื่อมตอ อัตโนมัติ L29 ขอมูลตัวเลขของ IPDU(*1) ปญหาจากจํานวน IPDU
E23 — ปญหาจากการสงขอมูลการสื่อสารของเครื่องภายนอก L30 ตรวจพบที่อยูเครื่องภายใน การเชื่อมตอภายนอกของเครื่องภายใน
E25 — การตั้งคาที่อยูเครื่องรองภายนอกซํ้า L31 — ปญหาอื่นๆ จากคอมเพรสเซอร
E26 จํานวนเครื่องภายนอกที่เปนปกติ เครื่องภายนอกที่เชื่อมตออยูลดลง P03 — ปญหาจากการขับไลอุณหภูมิ TD1
E28 หมายเลขเครื่องภายนอกที่ตรวจพบ ปญหาจากเครื่องรองภายนอก P04 01: คอมเพรสเซอร 1 ดําเนินการระบบ SW แบบแรงดันสูง
E31 ขอมูลเชิงปริมาณของ IPDU(*1) ปญหาจากการสื่อสาร IPDU 02: คอมเพรสเซอร 2
E31 80 ปญหาจากการสื่อสารระหวาง MCU และ MCU ยอย 00: ตรวจพบการหายไปของเฟส/มีปญหาจากลําดับของเฟส
F04 — ปญหาจากเซ็นเซอร TD1 P05 01: คอมเพรสเซอร 1
02: คอมเพรสเซอร 2 มีปญหาจาก Vdc คอมเพรสเซอร
F05 — ปญหาจากเซ็นเซอร TD2
P07 01: คอมเพรสเซอร 1 ปญหาจากตัวรองรับความรอน
F06 01: เซ็นเซอร TE1 ปญหาจากเซ็นเซอร TE1 02: คอมเพรสเซอร 2
F07 01: เซ็นเซอร TL1 ปญหาจากเซ็นเซอร TL1 หรือ TL3 P10 ตรวจพบที่อยูเครื่องภายใน ปญหาจากวงจรการไหลภายใน
03: เซ็นเซอร TL3
P13 — ตรวจพบปญหาจากการไหลกลับที่เครื่องภายนอก
F08 — ปญหาจากเซ็นเซอร TO
01: สภาวะ TS
F12 01: เซ็ น เซอร TS1 ปญหาจากเซ็นเซอร TS1 หรือ TS3 P15 ตรวจพบการรั่วซึมของกาซ
03, 04: เซ็นเซอร TS3 02: สภาวะ TD

61-TH 62-TH

1121501401 TH.indd 31 1/18/2561 BE 17:00


รหัสการตรวจสอบ
การแสดงบนหนาจอแสดงผลแบบ 7 สวนของเครื่องภายนอก อาการตามรหัสการตรวจสอบ
12 การดเครื่องปรับอากาศและสมุดบันทึกการทํางาน
รหัสเสริม
P17 — ปญหาจากการขับไลอุณหภูมิ TD2 n การดเครื่องปรับอากาศ
P20 — ดําเนินการปองกันแรงดันสูง หลังที่ทดสอบการทํางานแลว ใหกรอกขอมูลในการดเครื่องปรับอากาศนี้และติดลงบนเครื่องปรับอากาศในที่ที่สามารถเขาถึงไดให
#0: การลัดวงจรของอุปกรณ แนนกอนที่จะสงใหลูกคา
#E: ปญหาจากแรงดันไฟฟา Vdc
#1: ปญหาจากวงจรการตรวจสอบตําแหนง อธิบายถึงรายการที่อยูในการดเครื่องปรับอากาศดังนี้:
#2: ปญหาจากเซนเซอรวัดกระแสเขา ชื่อ, ที่อยูและเบอรโทรศัพทของผูติดตั้ง, สวนที่ใหบริการ, สวนที่ใหบริการของบุคคลอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่อยูและเบอรโทรศัพท
#3: ปญหาจากการล็อกมอเตอร ของฝายดับเพลิง, สถานีตํารวจ, โรงพยาบาลและสถานีดับเพลิง
P22 #C: ปญหาจากอุณภูมิเซนเซอร (ไมมีเซนเซอร TH ) ปญหาจากพัดลม IPDU ภายนอก
#4: ปญหาจากกระแสมอเตอร
#D: ปญหาจากการลัดวงจร/การปลอยของเซนเซอร (ไมมี n สมุดบันทึกการทํางาน
เซนเซอร TH)
#5: ปญหาจากการปรับจังหวะ/ผิดจังหวะ อัพเดทขอมูลทุกครั้งที่ทําการซอมบํารุง
*แทรกหมายเลข IPDU ของพัดลมในเครื่องหมาย [#]
01: คอมเพรสเซอร 1 อธิบายถึงรายการที่อยูในสมุดบันทึกการทํางาน:
P26 02: คอมเพรสเซอร 2 ปญหาจากเซ็นเซอรตรวจจับตําแหนงคอมเพรสเซอร 1. รายละเอียดการซอมบํารุงหรืองานซอมแซม
01: คอมเพรสเซอร 1 2. ปริมาณ ประเภทของสารทําความเย็น (ใหม, ใชซํ้า, ปรับปรุงเพื่อใชซํ้า) ที่ใชไปในการดําเนินงานแตละครั้ง ปริมาณของสาร
P29 02: คอมเพรสเซอร 2 ปญหาจากวงจรตรวจจับตําแหนงคอมเพรสเซอร ทําความเย็นที่นําออกจากตัวเครื่องในการดําเนินงานแตละครั้ง
3. หากมีการวินิจฉัยสารทําความเย็นที่นํามาใชซํ้า ใหบันทึกผลลงในสมุดบันทึกการทํางาน
* ขอมูลตัวเลข IPDU 4. ที่มาของสารทําความเย็นที่นํามาใชซ้าํ
01: ปญหาจากคอมเพรสเซอร 1 11: ปญหาจากคอมเพรสเซอร 1, พัดลม 2 5. การเปลี่ยนหรือการแทนที่สวนประกอบของตัวเครื่อง
02: ปญหาจากคอมเพรสเซอร 2 12: ปญหาจากคอมเพรสเซอร 2, พัดลม 2 6. ผลการทดสอบตามระยะเวลาทั้งหมด
03: ปญหาจากคอมเพรสเซอร 1 และ 2 13: ปญหาจากคอมเพรสเซอร 1 และ 2, พัดลม 2 7. ชวงเวลาไมใชงานที่มีความสําคัญ
08: ปญหาจากพัดลม 1 18: ปญหาจากพัดลม 1 และ 2
09: ปญหาจากคอมเพรสเซอร 1, พัดลม 1 19: ปญหาจากคอมเพรสเซอร 1, พัดลม 1 และ 2
0A: ปญหาจากคอมเพรสเซอร 2, พัดลม 1 1A: ปญหาจากคอมเพรสเซอร 2, พัดลม 1 และ 2
0B: ปญหาจากคอมเพรสเซอร 1 และ 2, พัดลม 1 1B: ทั้งหมด

EN

EN

EN

TH

63-TH 64-TH
– 32 –

1121501401 TH.indd 32 1/18/2561 BE 17:00


– 33 –

คําเตือนเกี่ยวกับการรั่วไหลของสารทําความเย็น
ตรวจสอบคาจํากัดความเขมขน ขอมูลที่สําคัญ
หองที่จะติดตั้งเครื่องปรับอากาศควรเปนหองที่ไมมีผลตอ หมายเหตุ 2 :
คาจํากัดความเขมขนของนํ้ายาทําความเย็น ในกรณีที่กาซ ขนาดของหองที่เล็กที่สุดตามมาตรฐานมีดังตอไปนี้:
ทําความเย็นรั่วไหล (1) ไมมีแผงกั้น (สวนที่แรเงา)
นํ้ายาทําความเย็น R410A ที่ใชในเครื่องปรับอากาศรุนนี้เปน
สารที่มีความปลอดภัย ไมมีพิษหรือสารแอมโมเนียซึ่งเปนสาร
ที่ติดไฟไดงาย และไมถูกจํากัดดวยขอกําหนดตามกฎหมาย
เนื่องจากไมทําลายชั้นโอโซน อยางไรก็ตาม เนื่องจากสาร
ทําความเย็นมีสารประกอบที่นอกเหนือไปจากอากาศ จึงอาจมี
(2) หากหองที่อยูติดกันสามารถเปดระบายอากาศกาซ
ความเสี่ยงตออันตรายจากการขาดอากาศหายใจ สารทําความเย็นที่รั่วออกมาไดอยางมีประสิทธิภาพ
หากความเขมขนของนํ้ายาทําความเย็นเพิ่มขึ้นอยางมาก การ (ไมไดใชประตู หรือเปดประตูที่ดานบนและดานลาง
ขาดอากาศหายใจเนื่องจากการรั่วไหลของนํ้ายาทําความเย็น เพียง 0.15% หรือมากกวาของพื้นที่ในชั้นนั้น)
R410A แทบจะไมเคยปรากฏขึ้น
หากตองติดตั้งเครื่องปรับอากาศในหองความจุเล็ก ใหเลือก เครื่องภายนอก
การวางทอสารทําความเย็น
ติดตั้งรุนที่เหมาะสม และขั้นตอนการติดตั้งที่ถูกตองเพื่อ
ไมใหความเขมขนของนํ้ายาทําความเย็นเกินคาจํากัดหากมี เครื่องภายใน
การรั่วไหล (และควรมีมาตรการปองกันในกรณีฉุกเฉิน กอนที่
จะเกิดการบาดเจ็บ)
ในหองที่ความเขมขนของนํ้ายาทําความเย็นอาจเกินคาจํากัด ให (3) หากติดตั้งเครื่องปรับอากาศในหองที่มีผนังกั้นและมีการวาง
สรางประตูเชื่อมตอไปยังอีกหองหนึ่ง หรือติดตั้งเครื่องระบาย ทอสารทําความเย็นที่เชื่อมตอกัน หองที่เล็กที่สุดจะเปนหอง
อากาศที่มีอุปกรณตรวจจับกาซรั่วคาความเขมขนเทากับคาตอ ที่อันตรายที่สุดอยางแนนอน แตเมื่อติดตั้งอุปกรณระบาย
ไปนี้ อากาศที่เชื่อมตอกับเครื่องตรวจจับการรั่วซึมของกาซไวใน
หองที่เล็กที่สุดซึ่งเกินขีดจํากัดของความหนาแนน หองที่
ปริมาณทั้งหมดของสารทําความเย็น (กก.) เล็กที่สุดรองลงมาจะถือวาอันตรายที่สุด
ปริมาตรตํ่าสุดของหองที่ติดตั้งตัวเครื่องภายใน (ม.3) การวางทอสารทําความเย็น
≤ คาจํากัดความเขมขน (กก./ม. )
3

ขีดจํากัดความเขมขนของสารทําความเย็นตองเปนไปตามขอ เครื่องภายนอก
บังคับของทองถิ่น หองเล็ก
ที่สุด
เครื่องภายใน
หมายเหตุ 1 : หอง หอง หอง
หากมีระบบสารทําความเย็นตั้งแต 2 แบบขึ้นไปในอุปกรณ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ
สารทําความเย็นตัวเดียว ปริมาณสารทําความเย็นที่เติมลง ชิ้นสวนกลไกระบายอากาศ - อุปกรณตรวจจับกาซรั่ว
ในอุปกรณควรแตกตางกัน
เชน ปริมาณที่เติม เครื่องภายนอก
(10 กก.) เชน ปริมาณที่เติม (15 กก.)

หอง A หอง B หอง C หอง D หอง E หอง F


เครื่องภายใน

สําหรับปริมาณสารที่เติมในตัวอยางนี้:
ปริมาณกาซทําความเย็นลงที่อาจรั่วซึมไดในหอง A, B
และ C คือ 10 กก.
ปริมาณกาซทําความเย็นลงที่อาจรั่วซึมไดในหอง D, E
และ F คือ 15 กก.

1121501401 TH.indd 33 1/18/2561 BE 17:00


1121501401 TH.indd 34 1/18/2561 BE 17:00
144 / 9 Moo 5, Bangkadi Industrial Park, Tivanon Road, Tambol Bangkadi, Amphur Muang, Pathumthani 12000, Thailand

1121501401

1121501401 TH.indd 35 1/18/2561 BE 17:00

You might also like