You are on page 1of 100

หนังสืออนุสรณ์

ธัมมบท 100 บท จากพระไตรปิฎก

พิธีสมโภชและถวายพระไตรปิฎกสากล ชุด 40 เล่ม


แด่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
ในวโรกาสที่
องค์อุปถัมภ์พระไตรปิฎกสากลทรงจริญพระชันษา 96 ปี
หนังสืออนุสรณ์
ธัมมบท 100 บท จากพระไตรปิฎก

พิธีสมโภชและถวายพระไตรปิฎกสากล ชุด 40 เล่ม


แด่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
ในวโรกาส
ที่องค์อุปถัมภ์พระไตรปิฎกสากลทรงเจริญพระชันษา 96 ปี
พ.ศ. 2552 ในวาระครบรอบ 116 ปี

แห่งการพิมพ์พระไตรปิฎกปาฬิ อักษรสยาม

ฉบับจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช รัตนโกสินทรศก 112 (พ.ศ. 2436)

เป็นโอกาสที่ชาวไทยจักได้น้อมรำฦก

ถึงเหตุการณ์ยิ่งใหญ่แห่งประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาสูงสุดของมนุษยชาติ

ที่สมเด็จพระปิยมหาราช

ทรงนำสยามประเทศฝ่าวิกฤติได้สำเร็จงดงาม

ทรงนำเทคโนโลยีตะวันตกมาสร้างเป็น

เทคโนโลยีธัมมะ

เพื่อพิมพ์พระไตรปิฎกชุดแรกในพระพุทธศาสนา

พระราชทานเป็นพระธัมมทานล้ำค่าจากกรุงสยามแก่นานาประเทศทั่วโลก

เพื่อปัญญาและสันติสุขของมนุษยชาติทั้งปวง

พระไตรปิฎกสากล ฉบับอักษรโรมัน จัดพิมพ์ตามรอย ฉบับอักษรสยาม

พิธีบำเพ็ญกุศลและสมโภชพระไตรปิฎกสากล พ.ศ. 2552

จัดขึ้นถวายเป็นพระราชกุศลแด่

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ


3
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

4
พระดำรัส
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ข้าพเจ้ารู้สึกยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่มามอบพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน
40 เล่ม ชุดนี้แก่ 14 สถาบันสำคัญในประเทศญี่ปุ่นในวันนี้ โอกาสนี้มีความหมายพิเศษ
เนื่ อ งด้ ว ยพระไตรปิ ฎ ก อั ก ษรโรมั น ที่ จั ด พิ ม พ์ โ ดยกองทุ น สนทนาธั ม ม์ น ำสุ ข ใน
พระสังฆราชูปถัมภ์ฯ เป็นพระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับสากลชุดสมบูรณ์ชุดแรกของโลก ซึ่งเป็น
คลังอารยธรรมทางปัญญาสูงสุดของมนุษยชาติที่สืบทอดอย่างบริสุทธิ์มากว่า 2,500 ปี
เพราะเป็นผลมาจากการประชุมสังคายนาสากลของพระสงฆ์เถรวาท 2,500 รูป ในระดับ
นานาชาติเพียงครั้งเดียว เมื่อปีพุทธศักราช 2500
ในปีพุทธศักราช 2548 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง
นราธิวาสราชนครินทร์ ได้เสด็จจาริกไปพระราชทานพระไตรปิฎกสากลชุดปฐมฤกษ์แก่
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ในวันที่ 6 มีนาคม สำหรับ
ประดิษฐาน ณ ทำเนียบประธานาธิบดี กรุงโคลัมโบ ต่อมาได้พระราชทานพระไตรปิฏก
ชุดปฐมฤกษ์แก่ปวงชนชาวไทย ประดิษฐาน ณ ศาลรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
กรุงเทพมหานคร และพระราชทานพระไตรปิฎกชุดปฐมฤกษ์แก่ราชอาณาจักรสวีเดน
ประดิษฐาน ณ มหาวิทยาลัยอุปซาลา นครอุปซาลา
การมอบพระไตรปิ ฎ กสากลในประเทศญี่ ปุ่ น เป็ น การบำเพ็ ญ บุ ญ กิ ริ ย าตาม
การพระราชทานพระไตรปิฎกปาฬิ ร.ศ. 112 อักษรสยาม พระไตรปิฎกฉบับพิมพ์ชุดแรก
ของโลก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บรมธัมมิกมหาราช ผู้ทรงเป็น
สมเด็จพระบรมปัยกาธิราชของข้าพเจ้า ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์และได้พระราชทาน
ไปยังสถาบันสำคัญทัว่ โลกกว่า 260 สถาบัน และได้ประดิษฐานในประเทศญีป่ นุ่ ไม่นอ้ ยกว่า
30 สถาบัน เป็นเวลากว่า 112 ปี มาแล้ว

ขออานิสงส์บญ ุ กิรยิ าแห่งการพิมพ์และประดิษฐานพระไตรปิฎกสากลฉบับนี ้ จงนำมา


ซึง่ ปัญญาความรุง่ เรือง และสันติสขุ อันยืนยาวแก่ชาวโลกในปัจจุบนั และในอนาคตตลอดไป.

10 กันยายน พ.ศ. 2551


พุทธสถานชิเตนโนจิ นครโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น

5
พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ชุด 39 เล่ม พ.ศ. 2436

พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ชุด 40 เล่ม พ.ศ. 2548 - 2552

พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล ชุด 40 เล่ม พ.ศ. 2552

6
บทนำ
โดย พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร

มูลนิธริ ว่ มจิตต์นอ้ มเกล้าฯ เพือ่ เยาวชน ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ โดยโครงการสมทบ


กองทุนเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ได้สนับสนุน
กองทุนสนทนาธัมม์นำสุข ท่านผู้หญิง ม.ล. มณีรัตน์ บุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ตัง้ แต่ พ.ศ. 2550 ในการเผยแผ่
พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ตามรอย พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ให้แพร่หลาย
ในฐานะคลังอารยธรรมทางปัญญาของมนุษยชาติ ดังนัน้ ในปีนจี้ งึ ได้รว่ มกับกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ
จัดพิมพ์พระไตรปิฎก จปร. ฉบับประวัตศิ าสตร์ชดุ นี ้ เป็นฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั ชุด 40 เล่ม พ.ศ. 2552
เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ ชือ่ “พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112
อักษรสยาม ฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั ”
การดำเนินงานอนุรกั ษ์พระไตรปิฎกอักษรสยามนี ้ กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ใช้เวลา
ดำเนินงานตัง้ แต่ พ.ศ. 2542 โดยได้รบั ความร่วมมือจากบุคคลและสถาบันต่างๆ ทีส่ ำคัญคือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กระทรวงกลาโหม โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า และ
ราชบัณฑิตยสถาน ซึง่ จะประกาศการจัดพิมพ์อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2552 นี ้
สรุปเหตุผลทีอ่ ญั เชิญเนือ้ หาพระไตรปิฎกมาจัดพิมพ์ในโอกาสนี ้ 5 ประการ คือ
1. เพือ
่ เฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงโปรดให้จดั พิมพ์พระไตรปิฎก ภาษาปาฬิ
เป็นชุดหนังสือ 39 เล่ม สําเร็จใน ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) ปัจจุบนั “พระไตรปิฎกจุลจอมเกล้า
บรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม” ซึงี่ เป็นพระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับพิมพ์ชดุ แรกของโลก
ดังนัน้ การนำธัมมบทจากพระไตรปิฎกภาษาปาฬิมาแปลเป็นภาษาต่างๆ และจัดพิมพ์รวม 100
บท ใน พ.ศ. 2552 จึงเป็นการเฉลิมพระเกียรติในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
“พระปิยมหาราช” ของชาติไทย ผูท้ รงนําสยามประเทศผ่านพ้นวิกฤติการณ์สคู่ วามเจริญมัน่ คง
ของไทยนานัปการ และทีส่ ำคัญยิง่ คือทรงเป็น “พระบรมธัมมิกมหาราช” ของชาวโลกปัจจุบนั ด้วย
โดยทรงเป็นผูเ้ ผยแผ่พระไตรปิฎกไปสูน่ านาประเทศเช่นเดียวกับพระเจ้าอโศกบรมธัมมิกมหาราช
ในอดีต

7
2. เพือ่ ความร่วมมือระหว่างสถาบัน
การใช้สื่อผสมเทคโนโลยีสารสนเทศจัดพิมพ์พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม
ฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั พ.ศ. 2552 ดังตัวอย่างทีพ่ มิ พ์ในหนังสือธัมมบท 100 บทนี ้ เป็นความร่วมมือ
ระหว่างหลายสถาบัน คือ ข้อมูลต่างๆ จากพระไตรปิฎก ได้จากกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ใน
พระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ข้อมูลการแปลใหม่จากภาษาปาฬิเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้จาก
กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ และราชบัณฑิตยสถาน ข้อมูลเทคโนโลยีทางภาพ และการเรียงพิมพ์
อักษรโรมันได้จากกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และข้อมูลดัชนี
การแปลที่เป็นระบบอ้างอิงแบบอิเล็คทรอนิกส์ซึ่งได้จากการค้นคว้าของคณาจารย์ส่วนการ
ศึกษา รร. จปร. เป็นต้น
3. เพือ ่ เป็นผลงานภูมปิ ญ ั ญาไทยสากล
ในสัมโมทนียกถาทีน่ ายกราชบัณฑิตยสถานได้เขียนสำหรับการจัดพิมพ์หนังสือนีว้ า่
พระไตรปิฎกและภาษาปาฬิมีความสำคัญอย่างยิ่งในวัฒนธรรมไทย นอกจากนี้การที ่
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้จดั พิมพ์พระไตรปิฎก ฉบับอักษรสยามเมือ่ พ.ศ. 2436
และได้พระราชทานเป็นพระธัมมทานแก่สถาบันสําคัญทัว่ โลกนัน้ ยังได้เป็นแรงบันดาลใจให้ใน
ปัจจุบนั นีไ้ ด้มกี ารจัดพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นฉบับอักษรโรมันขึน้ ในประเทศไทย โดยดําเนินตาม
หลักการพิมพ์ฉบับอักษรสยามเพือ่ อนุรกั ษ์เสียงภาษาปาฬิทไี่ ด้สบื ทอดมาในพระพุทธศาสนา
เถรวาท กล่าวคือจากการทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงริเริม่ ใช้อกั ษรโรมัน
ซึง่ เป็นอักษรสากลของชาวโลกเทียบเสียงในภาษาปาฬิซงึี่ เป็นอักษรสยามกับอักษรโรมัน เช่น
เสียง /​ธ/​ -​ /​ dh​/ ในคำว่า ธัมม์ (ธัม-์ มะ) - dhamma และเสียง /พ/-/b/ ในคำว่า พุทธ์
(พุท-์ ธะ) - buddha เป็นต้น
ปัจจุบนั ผูเ้ ชีย่ วชาญจากราชบัณฑิตยสถานได้ทำการศึกษาการออกเสียงดังกล่าว
เพิม่ เติม และจัดทำเป็นระบบสัททอักษรสากลปาฬิ อันเป็นผลงานภูมปิ ญั ญาไทยทีส่ ำคัญต่อ
จากอดีตดังรายละเอียด ในหน้า 23
4. เพือ่ เผยแผ่พระราชปรีชาญาณด้านภูมปิ ญ ั ญาไปในนานาประเทศ
ในการศึกษาของคณาจารย์สว่ นการศึกษา รร. จปร. ทีไ่ ด้นำเสนอเมือ่ พ.ศ. 2551
เรื่องการบริหารจัดการองค์ความรู ้ KMLO ของสถาบันทหารในอดีต โดยใช้พระไตรปิฎก
อักษรสยามเป็นกรณีศกึ ษาได้พบว่า การพิมพ์และพระราชทานพระไตรปิฎกฉบับอักษรสยามไป
ทัว่ โลกในสมัยรัชกาลที ่ 5 เป็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทีส่ ำคัญยิง่ เพราะการพิมพ์พระไตรปิฎก
เป็นชุดหนังสือเป็นครัง้ แรกของโลกในยุคนัน้ เป็นการแสดงถึงความเป็นเลิศในการจัดการองค์
ความรูต้ า่ งๆ นานัปการ ได้แก่ ความรูภ้ าษาปาฬิ การเปลีย่ นจากอักษรขอมเป็นอักษรสยาม
การเปลีย่ นจากใช้ใบลานเป็นการใช้กระดาษ ตลอดจนการเรียงพิมพ์อกั ษรเป็นเล่มหนังสือชุด
39 เล่ม ประมาณ 15,000 หน้า นอกจากนีย ้ งั แสดงถึงการบริหารจัดการอย่างดียงิ่ ทีก่ รุงสยาม
สามารถจัดส่งหนังสือจํานวน ถึง 1,000 ชุด หรือ 39,000 เล่ม ไปพระราชทานทัว่ กรุงสยาม และ
พระราชทานไปอีกไม่นอ้ ยกว่า 30 ประเทศทัว่ โลก ปัจจุบนั สถาบันในประเทศต่างๆ ก็ยงั คงเก็บ
8
รักษาพระไตรปิฎกฉบับอักษรสยามเป็นอย่างดี อันเป็นการประกาศภูมปิ ญั ญาไทยไปยังสถาบัน
ทีส่ ำคัญต่างๆ ทัว้ โลก ในยุคทีส่ ยามกำลังเผชิญกับวิกฤตการณ์ของการล่าอาณานิคมทีร่ า้ ยแรง
จากมหาอำนาจตะวันตก
เป็นทีน่ า่ ยินดีวา่ เมือ่ เร็วๆ นี ้ ผูแ้ ทนจากราชบัณฑิตยสถานได้รว่ มมือกับโครงการ
พระไตรปิฎกสากลฯ เดินทางไปสำรวจพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ทีไ่ ด้พระราชทานไว้แก่
มหาวิทยาลัยแห่งออสโล ราชอาณาจักรนอรเวย์ และจากความสัมพันธ์ทางภููมิปัญญาใน
พระไตรปิฎกดังกล่าว ปัจจุบนั ได้รบั ทราบว่า ทัง้ ราชบัณฑิตชาวไทยและราชบัณฑิตชาวนอรเวย์
กำลังเริม่ ให้ความร่วมมือกันในด้านวิชาการต่างๆ โดยมีพระไตรปิฎกเป็นสือ่ สัมพันธ์ทางปัญญา
5. เพือ่ สืบทอดยุทธศาสตร์ความมัน่ คงของสถาบันสำคัญของชาติ
ดังทีป่ ลัดกระทรวงกลาโหมได้เขียนไว้ในอารัมภบทของหนังสือนีแ้ ล้วว่า การพิมพ์
พระไตรปิฎกอักษรสยามเป็นชุดหนังสือครั้งแรกของโลกถือเป็นงานสําคัญทางยุทธศาสตร์
ความมั่นคงแห่งชาติด้วย นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรงั ษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพนั ธุวงศ์วรเดช เสนาบดี
กระทรวงกลาโหม ทรงเป็นผูด้ าํ รงตําแหน่งประธานคณะกรรมการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกอักษร
สยาม และใช้สญ ั ลักษณ์ตราประจำแผ่นดิน “อาร์มทอง” ในสมัยรัชกาลที ่ 5 พิมพ์บนปกพระ
ไตรปิฎกอักษรสยามด้วย และยังทรงโปรดให้เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ร่วมกับเสนาบดี
กระทรวงธรรมการ และเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ ดำเนินการพระราชทานพระไตร
ปิฎกในกรุงสยามและในต่างประเทศ เพือ่ สร้างเครือข่ายแห่งภูมปิ ญั ญาและสันติสขุ จากพระไตร
ปิฎกในระดับนานาชาติในยุคนัน้
ในนามของมูลนิธริ ว่ มจิตต์นอ้ มเกล้าฯ เพือ่ เยาวชน ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ โดย
โครงการสมทบกองทุนเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึง่
มี คุณหญิงแสงเดือน ณ นคร เป็นประธาน รูส้ กึ เป็นเกียรติอย่างยิง่ ทีไ่ ด้มสี ว่ นในความร่วมมือ
ต่างๆ ครั้งนี ้ และขอน้อมถวายบุญกิริยาการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลเป็นพระราชกุศลแด่
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระปิยมหาราช ของชาวไทย ผูท้ รงเป็นพระบรมธัม
มิกมหาราชของชาวโลก พร้อมทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินนี าถ และขอกุศลประโยชน์อนั ไพบูลย์น ี้ ได้นาํ ปัญญา สันติสขุ และความเจริญรุง่
เรืองมาสูป่ ระเทศชาติ และสังคมโลกโดยส่วนรวมด้วย เทอญ

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร
ประธานมูลนิธริ ว่ มจิตต์นอ้ มเกล้าฯ เพือ่ เยาวชน ในพระบรมราชินปู ถัมภ์

9
พระไตรปิฎกปาฬิ
ฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2500 ชุด 40 เล่ม อักษรโรมัน

พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน

10
สัมโมทนียกถา

พระไตรปิ ฎ ก เป็ น ที่ ย อมรั บ ในนานาอารยประเทศว่ า เป็ น คลั ง อารยธรรมทาง


ปัญญาสูงสุดของมนุษยชาติ มีการสืบทอดด้วยการประชุมสังคายนาเพือ่ ทวนทาน สอบทาน
ดำรงรักษาพระพุทธพจน์ไว้ให้คงอยูบ่ ริสทุ ธิบ์ ริบรู ณ์ และมีการจัดพิมพ์เป็นภาษาปาฬิ หรือ
ภาษาพระธัมม์ มาโดยตลอดเป็นเวลากว่า 25 พุทธศตวรรษ
ด้วยพระกรุณาธิคณ ุ ในสมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธิวาส
ราชนครินทร์ จึงได้มกี ารจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากลอักษรโรมันขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2548 ส่วนพระธัมมบท
ที่นำมาจัดพิมพ์ในครั้งนี้ นำมาจากต้นฉบับพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมันฉบับดังกล่าว ใน
ฉบับนี้มีการแปลเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และมีดัชนี ในการแปลที่เป็นระบบอ้าง
อิงแบบอิเล็คทรอนิกส์ด้วย ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาค้นคว้าอ้างอิงยุคใหม่
อันจะเป็นกุศลบุญกิรยิ าและประโยชน์คณ ุ ปู การต่อการศึกษาพระไตรปิฎกต่อไป
อนึง่ ราชบัณฑิตเป็นผูไ้ ด้รบั พระมหากรุณาธิคณ
ุ โปรดเกล้าฯ ให้รบั ราชการทางด้าน
วิชาการในฐานะที่เป็นผู้ทรงความรู้ทางด้านภาษาปาฬิ และพระไตรปิฎกปาฬิ มาตั้งแต่ต้น
กรุงรัตนโกสินทร์ แม้ในปัจจุบนั ภาษาปาฬิกย็ งั เป็นรากฐานทีส่ ำคัญอย่างหนึง่ ในการบัญญัติ
ศัพท์ภาษาไทยในหลายสาขาวิชา ซึ่งเป็นงานหลักของราชบัณฑิตยสถาน ในปัจจุบัน
ราชบัณฑิตยสถานจึงรูส้ กึ เป็นเกียรติและยินดีเป็นอย่างยิง่ ทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญในสาขาวิชาต่างๆ
จากราชบัณฑิตยสถานได้มามีส่วนร่วมในการจัดทำหนังสือ “พระธัมมบท 100 บท จาก
พระไตรปิฎก” ครั้งนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบรมธัมมิกมหาราช ผู้ทรงโปรดให้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกปาฬิเป็นชุดหนังสือครั้งแรก
ของโลก เป็นอักษรสยาม เมือ่ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) และได้พระราชทานเป็นพระธัมมทาน
ไปยังสถาบันสำคัญในนานาประเทศทั่วโลกเป็นเวลากว่าหนึ่งศตวรษแล้ว

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. ปัญญา บริสุทธิ์


นายกราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552

11
พระไตรปิฎกปาฬิ
จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 (2436) อักษรสยาม
ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล พ.ศ. 2552

พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล

12
สัมโมทนียกถา

เป็นที่น่ายินดีอย่างยิ่งที ่ “พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน” ซึ่งจัดพิมพ์ในพระสังฆ


ราชูปถัมภ์ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และเป็นโครงการ
ทีจ่ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รว่ มสนับสนุนและได้จดั การประกาศผลงานทางวิชาการในการ
ประชุมพุทธศาสตร์ศกึ ษาระดับนานาชาติ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัง้ แต่ป ี พ.ศ. 2545
ปัจจุบนั เป็นทีร่ จู้ กั และยอมรับอย่างแพร่หลายในนานาประเทศ
บัดนี้โครงการพระไตรปิฎกสากลยังได้มีผลงานการจัดพิมพ์อีกชุดหนึ่ง โดยได้นำ
เทคโนโลยีทางภาพมาอนุรกั ษ์พระไตรปิฎกภาษาปาฬิอกั ษรสยาม อันเป็นชุดทีม่ คี า่ ยิง่ ในคลัง
พระไตรปิฎกนานาชาติ ซึง่ เก็บรักษาไว้ ณ หอพระไตรปิฎกนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มาจัดพิมพ์พเิ ศษเป็นชุดอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั ชือ่ “พระไตรปิฏกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช
ร.ศ. 112 อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล พ.ศ. 2552” อันเป็นการอนุรักษ์และจัดพิมพ์ด้วย
เทคโนโลยีสื่อผสมที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีความภาคภูมใิ จทีค่ ลังพระไตรปิฎกนานาชาติ ณ หอพระไตรปิฎก
นานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รบั การยอมรับว่าเป็นเสาหลักทีท่ ำให้การศึกษาค้นคว้า
พระไตรปิฎกในมิตใิ หม่น ี้ นำไปสูค่ วามสำเร็จในการจัดพิมพ์ พระไตรปิฎกสากล ฉบับอักษรโรมัน
ซึง่ เป็นฉบับมาตรฐานสากล ชุดสมบูรณ์ชดุ แรกของโลก และได้มกี ารพระราชทานเป็นพระธัมมทาน
ในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์จากประเทศไทยแก่สถาบันสำคัญในนานาประเทศ
อันเป็นการพระราชทานตามรอยการจัดพิมพ์และการพระราชทานพระไตรปิฎกปาฬิอกั ษรสยาม
ซึง่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงโปรดให้จดั พิมพ์เป็นชุดหนังสือครัง้ แรก
ของโลกเมือ่ พ.ศ.2436 และได้พระราชทานไว้แก่สถาบันต่างๆ ทัว่ โลกเมือ่ ศตวรรษทีแ่ ล้ว
ขออนุโมทนาสาธุการกับโครงการพระไตรปิฎกสากล พร้อมทัง้ ขอแสดงความชืน่ ชมกับ
คณาจารย์จากสถาบันต่างๆ ที่ได้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางปัญญาอันทรงคุณค่า
ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้ร่วมกันบูรณาการกับเทคโนโลยีสื่อผสมสหวิทยาการ
จนได้เป็นทีป่ ระจักษ์ในภูมปิ ญั ญาของคนไทยในการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกปาฬิ อักษรสยาม เป็น
ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล และพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน เป็นพระธัมมทานแก่สังคมทั้ง
ในระดับชาติและระดับนานาชาติ

ศาสตราจารย์ นายแพทย์ภิรมย์ กมลรัตนกุล


อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2552
13
พระไตรปิฎกปาฬิ
ฉบับจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 (2436) อักษรสยาม
พระไตรปิฎกภาษาปาฬิ ฉบับพิมพ์ 39 เล่ม ชุดแรกของโลก

พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม

14
อารัมภบทเฉลิมพระเกียรติ
พระราชปรีชาญาณในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั นัน้ เป็นทีป่ ระจักษ์เป็น
อย่างดีสำหรับปวงชนชาวไทย ดังทีม่ กี ารการถวายพระราชสมัญญาว่า “สมเด็จพระปิยมหาราช”
พระราชปรีชาญาณประการหนึง่ ในฐานะทีท่ รงเป็น “พระบรมธัมมิกมหาราชของโลก”
ได้มกี ารเฉลิมพระเกียรติในปี พ.ศ. 2546 เมือ่ สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวฒั นากรมหลวง
นราธิวาสราชนครินทร์ ได้เสด็จทรงเป็นประธานในงานปาฐกถาสำคัญเพือ่ เฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสครบรอบ 112 ปี แห่งการจัดพิมพ์
พระไตรปิฎกจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม : พระไตรปิฎกฉบับพิมพ์
เป็นชุดหนังสือเป็นครัง้ แรกของโลก ซึง่ ในปี พ.ศ. 2436 ได้พระราชทานเป็นพระธัมมทานใน
กรุงสยามและแก่สถาบันทีส่ ำคัญกว่า 30 ประเทศทัว่ โลก
การจัดพิมพ์พระไตรปิฎกภาษาปาฬิ หรือ ภาษาพระธัมม์ในพระไตรปิฎก ถือเป็นงาน
สำคัญของชาติในยุคนัน้ เพราะเป็นงานทีต่ อ้ งใช้ทงั้ ภูมปิ ญั ญาระดับสูงใน สาขาต่างๆ มาบูรณาการ
เพือ่ ดำเนินงานในช่วง ร.ศ. 112 ทีก่ รุงสยามเผชิญวิกฤตการณ์ การล่าอาณานิคมจากต่างชาติที่
สำคัญคือเป็นยุทธศาสตร์ทางภูมิปัญญาและความมั่นคงแห่งชาติไทยที่พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้โปรดให้นำเทคโนโลยีการพิมพ์และแนวความคิดด้านสารสนเทศที่
ก้าวล้ำนำสมัยมาประยุกต์ใช้ในการจัดทำพระไตรปิฎกได้สำเร็จ อาจกล่าวได้วา่ ผลงานดังกล่าว
เป็นยุทธศาสตร์ “ภูมิปัญญาไทยสากล” ที่ทำให้กรุงสยามดำรงรักษาเอกราชไว้ได้ อีกทั้ง
สามารถ จัดพิมพ์และพระราชทานพระไตรปิฎก จปร. ไปยังสถาบันทางภูมปิ ญ ั ญาในนานา
ประเทศทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันก็ยังได้รับการเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี เพื่อการศึกษาค้นคว้าใน
สถาบันต่างๆ เหล่านั้น อันจะเป็นส่วนหนึ่งของพันธมิตรและเครือข่ายของสถาบันทางภูมิ
ปัญญาทีส่ ำคัญของชาติไทยต่อไป ในอนาคต
ในสมัยรัชกาลที ่ 5 กระทรวงกลาโหมได้มีส่วนสำคัญในการจัดพิมพ์พระไตรปิฎก
จปร. อักษรสยาม ดังกล่าว จึงเป็นทีน่ า่ ยินดีอย่างยิง่ ทีบ่ ดั นีพ้ ระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ได้
รับการอนุรักษ์และจัดพิมพ์ใหม่เป็นชุด 40 เล่ม ชื่อ “พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรม
ธัมมิกมหาราช ฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั พ.ศ. 2552” ซึง่ เป็นความร่วมมือของบุคคลและสถาบันต่างๆ
อาทิ โครงการพระไตรปิฎกสากล มูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรม
ราชินปู ถัมภ์ ราชบัณฑิตยสถาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกระทรวงกลาโหมโดยโรงเรียน
นายร้อยพระจุลจอมเกล้า
การจัดพิมพ์พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม เผยแผ่ในครัง้ นีจ้ ะเป็นประโยชน์ทางการศึกษา
และทางยุทธศาสตร์ดา้ นภูมปิ ญ ั ญาจากชาติไทยแก่ชาวโลก และเป็นการสืบทอดปณิธานของ
สถาบันพระมหากษัตริย ์ รวมทั้งอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเผยแผ่หลักคำสอนในพระพุทธ
ศาสนาให้แพร่หลาย อันจะก่อให้เกิดความสามัคคีและความมัน่ คงในชาติและประเทศสืบไป
เพือ่ สันติสขุ ของโลกอย่างแท้จริง
พลเอก
พลเอก อภิชาติ เพ็ญกิตติ
ปลัดกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2552
15
ตัวอย่างการเทียบภาษาปาฬิ อักษรสยามกับอักษรโรมัน
ในพระไตรปิฎกจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม
16
สารบัญ
สารบัญ
คัดเลือกจากพระไตรปิฎกปาฬิ : ธัมมบท หรือ ธัมมปทะ (Dhammapada) และแปลเป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทย
ในวงเล็บ ( ) คือเลขลำดับธัมมบทเพื่ออ้างอิงสู่พระไตรปิฎกปาฬิ

แปลไทย ภาษาปาฬิ แปลอังกฤษ หน้า


ธัมมะทั้งหลาย dhammā (1) All Dhammas 29
ใจผ่องใส mana pasanna (2) Purity 31
สาระ sāra (12) Essence 33
ความเป็นผู้สงบ sāmañña (20) Holy Person 35
ทางแห่งอมตะ amatapada (21) Path to the Deathlessness 37
ทำลายล้างไม่ได้ nābhikīrati (25) Shall Not Destroy 39
ท่อนไม้ที่ไร้ประโยชน์ nirattha kaliṅgara (41) A Useless Log 41
การเลือกบทธัมมะ dhammapada (44) Dhammaverse 43
มุนี munī (49) The Sage 45
วาจาสุภาสิต subhāsitā vācā (51) A Well-Spoken Word 47
ทุกทิศ sabbā disā (54) Every Way 49
พระสัทธัมม์ saddhamma (60) Dhamma of the Virtuous 51
ความเป็นสหาย sahāyatā (61) Fellowship 53
ทัพพีไม่รู้รสแกง dabbī sūparasa (64) The Ladle & the Soup 55
ความรู้กับคนโง่ ñatta (72) Knowledge 57
ความไม่มี asanta (73) The Absence 59
บัณฑิต paṇḍita (80) The Wise 61
ธัมมะบทเดียว eka dhammapada (102) A Single Dhammaverse 63
ผู้ชนะตน seyyamatta (103) Victor of Oneself 65
มีชีวิตวันเดียว ekāha jīvita (115) A Single Day 67
บาปกัมม์ pāpakamma (127) Evil Deeds 69
สังสารวัฏ saṃsāra (153) Saṃsāra 71
ที่พึ่งของตน atta nātha (160) Your Own Refuge 73
พระพุทธเจ้าทั้งหลาย buddhā (183) The Buddhas 75
นิพพานเป็นบรมสุข nibbāna parama sukha (204) Foremost Bliss 77
พึงชนะ jina (223) Overcome 79
อนิจจา anicca (277) Impermanence 81
อนัตตา anattā (279) Non-self 83
ศรัทธา saddhā (303) Confidence 85
ชนะที่ล้วนเป็นเลิศ jināti (354) Excels 87
จงโจทฟ้องตนด้วยตน atta codaya (379) Should Reprove Yourself 89
ความเพียร yuñjati (382) Strives 91
พระพุทธเจ้า buddha (387) The Buddha 93

17
17
40-Volume Set Edition (Visual Details) 3
อะ a [a ]
Showing Piṭaka Sequences and Title Volumes
1
อา ā [ aː ]
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ]
Vinayapiṭa 5 Vols.

เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [ k ]
Abhidhammapiṭa 12 Vols.

ข์ kh [ kʰ ]
ค์ g [ g ]
ฆ์ gh [ gʱ ]
ง ṅ [ ŋ ]
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
Suttantapiṭa 23 Vols.

ช์ j [ ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ]
์ ñ [ ɲ ]

ฏ์ ṭ [ ʈ ]
์ ṭh [ ʈʰ ]
2
ฑ์ ḍ [ ɖ ]
Tipiṭaka Studies References by Dhamma Society 2009
ฒ์ ḍh [ ɖʱ ]
ณ์ ṇ [ ɳ ]
ต์ t [ t̪ ]
ถ์ th [ t̪ʰ ]
ท์ d [ d̪ ]
ธ์ dh [ d̪ʱ ]
น์ n [ n̪ ]

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ ]
พ์ b [b ]
ภ์ bh [ bʱ ]
ม์ m [ m]

ย ๎ y [ j ]
ร ๎ r [ ɻ ]
ล ๎ l [ l̪ ]
ว ๎ v [ ʋ ]
ส ๎ s [ s̪ ]
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. 2548 ห ๎ h [ ɦ ]
ฉายพระรูปกับคณะทูตานุทูตประเทศต่างๆ ที่เคยได้รับพระราชทานพระไตรปิฎกอักษรสยาม ฬ ๎ ḷ [ ɭ ]
จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อํ aṃ [ ã ]

18
คำอธิบายข้อมูลและการใช้หนังสือ
หนังสือเล่มนี้เป็นตัวอย่างข้อมูลพระไตรปิฎกสากล จัดพิมพ์เป็นธัมมทานเพื่อ
การศึกษาพระไตรปิฎก และเฉลิมพระเกียรติสถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ โดย
นำเสนอด้วยเทคโนโลยีสื่อผสมรูปแบบใหม่ต่างๆ ทั้งด้านสื่อการพิมพ์ สื่อสารสนเทศ
ฐานข้อมูลและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวม 7 ประเภท คือ
1 ฐานข้อมูลพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน (World Tipiṭaka Edition in
Roman Script) ข้อมูลนี้สร้างขึ้นโดยกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ
และเผยแผ่โดย โครงการสมทบกองทุนแผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จกรมหลวง
นราธิวาสราชนครินทร์ ดำเนินการโดยมูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรม
ราชินูปถัมภ์ ซึ่งนำเสนอพร้อมระบบบริการเว็บเซอร์วิส ชื่อ Tipiṭaka WebService และ
สามารถเทียบข้อมูลฉบับอักษรโรมันกับ ฉบับอักษรสยามจำนวน 16,248 ภาพ จำนวน
6.1 กิก
๊ กะไบ๊ท ์ ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของผลการศึกษาและพัฒนาข้อมูลในโครงการพระไตรปิฎกสากล
พ.ศ. 2552 ซึ่งสามารถสืบค้นได้ที่ www.worldtipitaka.org
ข้อมูลนี้แสดงความสำคัญของพระไตรปิฎกอักษรโรมันซึง่ เป็นคลังอารยธรรม
ทางปัญญา ซึง่ ปัจจุบนั สามารถศึกษาเชิงบูรณาการ ในรูปแบบดิจิทัลที่เป็นมาตรฐานสากล
และ เป็นระบบเปิด (open standard/opensource)
2 ข้อมูลภาพจดหมายเหตุพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน ข้อมูลนี้ กองทุน
สนทนาธั ม ม์ น ำสุ ข ฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ได้รวบรวมไว้ จ ากการดำเนิ น งานจั ด ทำ
โครงการพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน ตั้งแต่ พ.ศ. 2542 - ปัจจุบัน รวมทั้งการจัด
งานพระราชทานพระไตรปิฎกสากลชุดนี้แก่สถาบันต่างๆ ในนานาประเทศด้วย
ปัจจุบันมีไม่น้อยกว่า 37 สถาบันใน 17 ประเทศ ที่ได้รับพระไตรปิฎกสากล
เป็ น พระธั ม มทานในสมเด็ จ กรมหลวงนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ ซึ่ ง สามารถสื บ ค้ น ได้ ที่
www.tipitakahall.net

3 ข้อมูลการออกเสียงปาฬิ ข้อมูลนีค้ อื ปาฬิ (Pāḷi) หรือภาษาพระธัมม์ ทีบ่ นั ทึก


พระไตรปิฎก ซึ่งสมัยรัชกาลที ่ 5 ได้พมิ พ์เป็นอักษรสยาม (Siam script) และเปรียบเทียบ
โดยการปริวรรตอักษร (transliteration) เป็นอักษรโรมัน (Roman script)
ปัจจุบนั ได้ถา่ ยถอดเสียงปาฬิ (Pāḷi transcription) เป็นสัททอักษรสากลปาฬิ
( International Phonetic Alphabet Pāḷi , IPA Pāḷi ) โดยแสดงเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์
สัททอักษรสากลใน [ ] ซึ่งเป็นระบบการออกเสียงสากลที่ช่วยส่งเสริมการอ่านสังวัธยาย
พระไตรปิฎกปาฬิให้แพร่หลายยิ่งขึ้น พร้อมกับส่งเสริมการอ่านออกเสียงให้ถูกต้องทั้งตาม
ความหมายของศัพท์และเสียงปาฬิทสี่ บื ทอดมา ข้อมูล IPA Pāḷi ในหนังสือนี้ จัดทำโดย
ผู้เชี่ยวชาญแห่งราชบัณฑิตยสถาน ในด้านภาษา นิรุกติศาสตร์ และภาษาศาสตร์ ค้นได้ที่
www.tipitakaquotation.net

19
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] ธัมมะทั้งหลาย
อิ i [i]
อี ī
อุ u
[ iː ]
[u ]
4 มโนปุพ์พังคมา ธัม์มา...
อู ū [ uː ]
Manopubbaṅgamā dhammā,
เอ e [ eː ] 5
โอ o [ oː ] Manoseṭṭhā manomayā;
ก์ k [ k ] Manasā ce paduṭṭhena,
ข์ kh [ kʰ ] Bhāsati vā karoti vā;
ค์ g [ g ] Tato naṃ dukkhama‿ nveti,
ฆ์ gh [ gʱ ]
ง ṅ [ ŋ ] Cakkaṃva vahato padaṃ. (1)

จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ] 6 ธัมมะทั้งหลายเกิดจากใจก่อน,
ช์ j [ ɟ ] มีใจเป็นใหญ่ สําเร็จด้วยใจ;
ฌ์ jh [ ɟʱ ]
์ ñ [ ɲ ] ถ้าบุคคลมีใจประทุษร้าย,
กล่าวอยู่ก็ตาม ทําอยู่ก็ตาม;
ฏ์ ṭ [ ʈ ]
์ ṭh [ ʈʰ ] ความทุกข์ย่อมตามเขาไป,
ฑ์ ḍ [ ɖ ] เสมือนล้อหมุนตามรอยเท้าผู้ลากไป ฉะนั้น. (1)
ฒ์ ḍh [ ɖʱ ]
ณ์ ṇ [ ɳ ]
6 Mind precedes all Dhammas,
ต์ t [ t̪ ] Mind is their chief; they are mind-made;
ถ์ th [ t̪ʰ ]
If with an evil mind
ท์ d [ d̪ ]
ธ์ dh [ d̪ʱ ] A person speaks or acts;
น์ n [ n̪ ] Suffering thus follows him,
ป์ p [p ] As the wheels that follow the footstep of the drawer. (1)
ผ์ ph [ pʰ ]
พ์ b [b ]
ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
ถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
ภ์ bh [ bʱ ]
ม์ m [ m] 7 ขอให้ข้าพเจ้าและประเทศชาติ ปราศจากภยันตราย และเจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ย๎ y [ j ] ชื่อ : DHAMMAPADA 1/423 : Cakkhupālattheravatthu
ร ๎ r [ ɻ ] Story of Cakkhupāla เรื่องพระเถระ ชื่อจักขุปาละ
ล ๎ l [ l̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : dhammā → Dhamma ธัมมะ 29Dhs:542
ว ๎ v [ ʋ ] dukkhamanveti → Dukkha : suffering, ทุกขะ 29Dhs:1055;
ส ๎ s [ s̪ ] Manasā → Mana : mind, มนะ 29Dhs:385
ห ๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : Cakkhupāla 19Th1:214
ฬ ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : Manopubbaṅgamā dhammā... 27Ne:620; 27Pe:156
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ: cakka, wheel, ล้อ

29

คำอธิบายข้อมูลและวิธีใช้หนังสือ

20
20
4 ข้อมูลภาษาปาฬิ พระไตรปิฎกจุลจอมเกล้าบรมธัมั มิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม
(Chulachomklao Pāḷi Tipiṭaka Edition 1893 in Siam Script) เป็นข้อมูลภาษาปาฬิ อักษร
สยาม สืบค้นได้ท ี่ www.tipitakahall.net ซึง่ ได้นำมาจัดพิมพ์เฉพาะบรรทัดแรก เป็นตัวอย่าง
เพือ่ เทียบภาษาปาฬิอกั ษรสยามกับภาษาปาฬิอกั ษรโรมัน
ข้อมูลนีแ้ สดงความสำคัญของพระไตรปิฎกฉบับอักษรสยาม ซึง่ เป็นการจัดพิมพ์
พระไตรปิฎกปาฬิเป็นครัง้ แรกในโลก และเป็นเอกสารสำคัญในการศึกษาการออกเสียง ภาษาปาฬิ
และการจัดทำสัททอักษรสากลปาฬิ ในข้อ 3 และมีรายละเอียดทีห่ น้า 22-23
5 ข้อมูลการเรียงพิมพ์ภาษาปาฬิ พระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน (Pāḷi Tipiṭaka
in Roman Script : the World Edition 2005) เป็นข้อมูลดิจท ิ ลั ทีไ่ ด้พฒ
ั นาต่อจากการพิมพ์
พระไตรปิฎกในอดีต โดยสามารถเผยแผ่ในรูปแบบการพิมพ์ หรือเว็ปไซด์ เป็นต้น เป็นธัมมทาน
ตามรอยพระไตรปิฎกอักษรสยาม สืบค้นได้ท ี่ www.worldtipitaka.org
หมายเลขในวงเล็บท้ายบท (1) คือเลขลำดับธัมมบทเพือ่ อ้างอิงในพระไตรปิฎก
6 ข้อมูลภาคแปลพระไตรปิฎกสากล (World Tipiṭaka Translation) ซึ่ง
เป็นการแปลใหม่จากต้นฉบับปาฬิอกั ษรโรมันเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ
จากราชบัณฑิตยสถาน ร่วมกับโครงการพระไตรปิฎกสากล โดยแปลและพิมพ์เทียบบรรทัดต่อ
บรรทัดเพือ่ สะดวกในการอ่านสังวัธยายพร้อมกันเป็นภาษาต่างๆ การแปลนีเ้ รียกว่า “แปลโดย
พยั ญ ชนะและตามโครงสร้ า งพระไตรปิ ฎ ก” ในการจั ด พิ ม พ์ ค รั้ ง นี ้ ผู้ เชี่ ย วชาญจาก
ราชบัณฑิตยสถาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณาจารย์สว่ นการศึกษา รร.จปร. ได้รว่ มเป็น
บรรณาธิการด้วย ซึง่ สืบค้นได้ท ี่ www.tipitakahall.net
หมายเลขในวงเล็บท้ายบท (1) คือลำดับคาถาธัมมบทในพระไตรปิฎก
ข้อมูลนีแ้ สดงตัวอย่างวิธกี ารแปลพระไตรปิฎกปาฬิจากต้นฉบับสากลและแปล
จากฐานข้อมูลพระไตรปิฎกทีย่ งั ไม่เคยมีการจัดทำมาก่อน เป็นผลงานสหวิทยาการทีใ่ ช้ระบบ
ฐานข้อมูล ซึง่ จะส่งเสริมให้เกิดความรวดเร็วในการแปลและจัดพิมพ์ ทำให้การแปลจากต้นฉบับ
สากลถูกต้องยิง่ ขึน้ นอกจากนีย้ งั ได้ตรวจทานคำทีพ่ มิ พ์ตา่ ง (variant readings) ในเชิงอรรถ
ต้นฉบับพระไตรปิฎกสากลแล้วด้วย สืบค้นได้ท ี่ www.tipitakaquotation.net
7 ข้อมูลดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล (World Tipiṭaka Translation Index)
เป็นตัวอย่างการใช้ความรูท้ างวิศวกรรมศาสตร์คอมพิวเตอร์ (data mining) และความรูท้ าง
ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (computational linguistics) ไปบูรณาการกับพระไตรปิฎกศึกษา
(Tipiṭaka Studies) ดัชนีในการแปลมี 5 ประเภท คือ ดัชนีชอื่ (title), ดัชนีปฎ ิ กอ้างอิง (Tipiṭaka
references), ดัชนีศพ ั ท์ธมั มสังคณี (Dhammasaṅgaṇī teminology), ดัชนีคลังข้อมูลปาฬิ (Pāḷi
corpus), และดัชนีคำสำคัญ (key word) ผูต ้ อ้ งการศึกษาการอ้างอิงเล่มในพระไตรปิฎกสากล
ดูหน้า 26 พระไตรปิฎกระดับสูง สืบค้นได้ท ี่ www.tipitakaquotation.net
ข้อมูลนีแ้ สดงความสำคัญของฐานข้อมูลพระไตรปิฎกสากล (World Tipiṭaka
Database) ซึง่ ได้จด ั ทำสำเร็จในประเทศไทยและแสดงให้เห็นได้วา่ สามารถส่งเสริมการแปล
พระไตรปิฎกภาษาปาฬิเป็นภาษาต่างๆ และนำไปบูรณาการในเชิงสหวิทยาการเพื่อสร้าง
องค์ความรูใ้ หม่ๆ ได้ตอ่ ไปด้วย
21
ปริวรรตอักษร : อักษรสยามเทียบอักษรโรมัน
พระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436)

22
ปริวรรตอักษรและถ่ายถอดเสียง : อักษรสยาม/โรมัน และสัททอักษรสากลปาฬิ
พระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2548
1 อักษรสยามกับอักษรโรมันจากการเทียบเสียงในพระไตรปิฎกฉบับรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2436) พระไตรปิฎกฉบับพิมพ์ชุดแรกของโลก
2 เป็นคำที่ใช้ในคัมภีร์สัททนีติ ซึ่งได้พิมพ์เปรียบเทียบไว้กับคำที่ใช้ในทางสัททศาสตร์

a อ ā อา i อิ ī อี u อุ ū อู e เอ o โอ
[a] [aː] [i] [iː] [u] [uː] [eː] [oː]

a อ1 ลักษณะการเปล่งเสียง
ā อา (Manner of Articulation)
i อิ เสียงกัก เสียงเปิด
ī อี
u อุ ฐานที่เกิดเสียง (Stops) (Approximant)
ū อู อโฆสะ 2 โฆสะ 2
e เอ (Places of
(Voiceless ) (Voiced)
o โอ Articulation)

ไม่ใช่เสียงข้างลิ้น
(Unaspirated)

(Unaspirated)

เสียงเสียดแทรก
(Non-lateral)
(Aspirated)

(Aspirated)
k ก์

เสียงข้างลิ้น

(Fricative)
(Lateral)
kh ข์
(Nasal)
ธนิต 2

ธนิต 2
สิถิล 2

สิถิล 2

g ค์ นาสิก
gh ฆ์
ṅ ง กัณฐะ 2 h ห๎
c จ์ (Glottal) [ɦ]
ch ฉ์
j ช์ กัณฐะ 2 k ก์ kh ข์ g ค์ gh ฆ์ ṅ ง
jh ฌ์ (Velar) [k] [kʰ] [ɡ] [ɡʱ] [ŋ]
ñ ์
ตาลุ 2 c จ์ ch ฉ์ j ช์ jh ฌ์ ñ ์ y ย๎
ṭ ฏ์ (Palatal) [c] [cʰ] [ ɟ] [ ɟʱ] [ ɲ] [ j]
ṭh ์
ḍ ฑ์ ṭ ฎ์ ṭh ์ ḍ ฑ์ ḍh ฒ์ ṇ ณ์ r ร๎ ḷ ฬ๎
ḍh ฒ์ มุทธะ 2
ṇ ณ์ (Retroflex) [ʈ ] [ʈʰ] [ɖ ] [ɖʱ] [ɳ ] [ɻ ] [ɭ ]

t ต์ ทันตะ 2 t ต์ th ถ์ d ท์ dh ธ์ n น์ l ล๎ s ส๎
th ถ์ (Dental) [ t̪] [ t̪ʰ] [d̪] [d̪ʱ] [n̪] [ l ̪] [ s̪ ]
d ท์
dh ธ์ โอฏฐะ 2 p ป์ ph ผ์ b พ์ bh ภ์ m ม์
n น์
(Bilabial) [p] [pʰ] [b] [bʱ] [m]
p ป์
ph ผ์ ทันโตฏฐะ 2 v ว๎
b พ์ (Labio-dental) [ʋ]
bh ภ์
m ม์ (a)ṃ อํ
y ย๎ [ã]
r ร๎ นาสิกา 2
l ล๎ (i)ṃ อิํ
(Nasal Cavity)
v ว๎ [ĩ]
s ส๎
h ห๎ (u)ṃ อุํ
ḷ ฬ๎ [ũ]
aṃ อํ
วิจินตน์ ภาณุพงศ์ 2552

23
ธัมมบท 100 บท จากพระไตรปิฎก
พิมพ์ภาษาปาฬิ อักษรสยาม และอักษรโรมัน
แปลเป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
และดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิฎกสากล
พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ชุดปฐมฤกษ์ 40 เล่ม พ.ศ.​2548
จัดพิมพ์เป็นพระธัมมทานตามรอยพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม
ร.ศ. 112 (2436)

พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ชุดที่พระราชทานแก่มหาวิทยาลัยแห่งออสโล นอรเวย์


มีการสำรวจอย่างเป็นทางการโดยผู้ทรงคุณวุฒิจากราชบัณฑิตยสถาน
และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 18 สิงหาคม 2552
26
อะอะa a[ a[ a] ] คำอธิคำอธิ
บคำอธิ
ายเนืบายเนื
บ้อายเนื
้อหาการพิ
้อหาการพิ
หาการพิ มพ์ มพ์มพ์
อาอา
ā ā[ aː [ aː
] ]
อิ อิi i [ i[ ]i ]
อี อี ī ī [ iː
[ ]iː ]
อุ อุu u[ u[ u] ] นโม
นโมตัสตั์ส์สภควโต
ภควโตอรหโต
อรหโตสัมสั์มาสั
์มาสัม์พม์พุทุท์ธัส์ธ์สั ์ส
อู อู ū ū[ uː
[ uː
] ] ภาษาปาฬิ
ภาษาปาฬิอักอัษรสยาม
กษรสยามตามที
ตามที่พิม่พพ์ิมใพ์นพระไตรปิ
ในพระไตรปิ
ฎกสมั
ฎกสมั
ยรัยชรักาลที
ชกาลที่ 5่ 5
เอเอe e [ eː [ eː
] ]
โอโอo o[ oː [ oː
] ]

ก์ ก์k k[ k[ k] ]
ข์ ข์khkh[ kʰ
[ kʰ
] ] Namo
Namotassa
tassaBhagavato
Bhagavato
ค์ ค์g g[ g[ g] ] Arahato
ArahatoSammāsambuddhassa.
Sammāsambuddhassa.
ฆ์ ฆ์ghgh[ gʱ
[ gʱ
] ]
ง ง ṅ ṅ[ ŋ ]
[ ŋ ] ภาษาปาฬิ
ภาษาปาฬิอักอัษรโรมั
กษรโรมัน นจากพระไตรปิ
จากพระไตรปิ
ฎกฉบั
ฎกฉบั
บสากล
บสากล
จ์ จ์c c [ c[ c] ]
ฉ์ ฉ์chch[ cʰ
[ cʰ
] ]
ช์ ช์j j [ ɟ [ ]ɟ ]
ฌ์ ฌ์jhjh[ ɟʱ ]
[ ɟʱ ]
์ ์ñ ñ[ ɲ ]
[ ɲ ] ขอนอบน้
ขอนอบน้อมแด่ อมแด่พพระผู
ระผู้มีพ้มีพระภาคพระองค์
ระภาคพระองค์นั้นั้น
ฏ์ ฏ์ ṭ ṭ [ ʈ ]
[ ʈ ] ผู้เผูป็้เนป็พระอรหั
นพระอรหันตสั
นตสัมมาสั
มมาสัมพุมพุทธเจ้
ทธเจ้า า
์ ์ ṭh ṭh[ ʈʰ
[ ]ʈʰ ] ภาคแปลพระไตรปิ
ภาคแปลพระไตรปิฎกภาษาไทย
ฎกภาษาไทยพ.ศ.
พ.ศ.2552
2552
ฑ์ ฑ์ ḍ ḍ[ ɖ ][ ɖ ]
ฒ์ ฒ์ ḍh
ḍh [ ɖʱ
[ ɖʱ
] ]
ณ์ณ์ ṇ ṇ[ ɳ ] [ ɳ ]

ต์ ต์t t [ t̪[ ]t̪ ]


ถ์ ถ์thth[ t̪[ʰ ]t̪ʰ ] Homage
Homagetotothe
theBlessed
BlessedTeacher
Teacher
ท์ ท์d d[ d̪[ d̪
] ]
ธ์ ธ์ dhdh[ d̪[ d̪
ʱ ] ʱ ] The
ThePerfected
Perfectedand
andFully
FullySelf-awakened
Self-awakenedOne.
One.
น์ น์n n[ n̪[ n̪
] ] ภาคแปลพระไตรปิ
ภาคแปลพระไตรปิฎกภาษาอั
ฎกภาษาอังกฤษ
งกฤษพ.ศ.
พ.ศ.2552
2552

ป์ ป์p p[ p[ p] ]
ผ์ ผ์phph[ pʰ
[ pʰ
] ]
พ์ พ์b b[ b[ b] ]
ภ์ ภ์bhbh[ bʱ
[ bʱ
] ]
ม์ ม์mm[ m[ m ] ]

ย ๎ ยy๎ y[ j[ ]j ] ดัชดันีชตนี่าตงๆ ่างๆในการแปลพระไตรปิ


ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล
ฎกสากล: World
: WorldTipiṭaka
TipiṭakaTranslation
TranslationIndex
Index
ร ๎ ร ๎r r [ ɻ ] [ ɻ ] ชื่อชื่อ: : --
ล ๎ ลl๎ l [ l[̪ ]l ̪ ] ศัพศัท์พธท์มั ธมสั
มั มสั
งคณี
งคณี: -: -
ว ๎ ว v๎ v[ ʋ ] [ ʋ ] ปิฎปิกอ้ฎกอ้
างอิางอิ ง :ง : Paramatthadīpanī
Paramatthadīpanī (Khuddakanikāya)
(Khuddakanikāya)
ส ๎ สs๎ s [ s̪[ ]s̪ ] คลัคลั
งข้งอข้มูอลมูปาฬิ
ลปาฬิ: Namo
: Namotassa
tassaBhagavato
Bhagavato Arahato
Arahato Sammāsambuddhassa
Sammāsambuddhassa
ห ๎ หh๎ h[ ɦ ] [ ɦ ] มีใมีนพระไตรปิ
ในพระไตรปิ
ฎกทุ
ฎกทุ
กเล่กเล่
มม
ฬ ๎ ฬ ḷ๎ ḷ [ ɭ ]
[ ɭ ]
คำสำคั
คำสำคั ญ:ญ: Bhagavato, Bhagavato,the
theBlessed
Blessed Teacher, พระผู
Teacher, พระผู้มีพ้มระภาค;
ีพระภาค;
อํ อํaṃaṃ[ ã[ ã] ] Arahato,
Arahato,
The
The Perfected,
Perfected, พระอรหั
พระอรหั
นต์นต์
27
2727
[23]

Plate 2Volume Abbreviations


: Volume of Pāḷi
Abbreviations ofTipiṭaka
Pāḷi Tipiṭaka
Showing Tipiṭaka
Showing Tipiṭaka Volume
Volume Abbreviations,
Abbreviations, Division
Division Number
Number References
References and
and Volume
Volume Titles
Titles
Note : [Sn] Section No. [Dn] Division No. e.g. 22J5.100 (Volume 22 Jātaka. Section No.5 Division No.100)
Note : [Sn] Section
A No. [Dn] Division No.
Aṭṭhakathā e.g. 22J5.100
e.g. 15A2.A.50 (Volume
(Volume 22 Jātaka. Section
15 Aṅguttaranikāya No.5 DivisionAṭṭhakathā.
Dukanipātapāḷi No.100) Division No.50)
A Aṭṭhakathā e.g. 15A2.A.50 (Volume 15 Aṅguttaranikāya Dukanipātapāḷi Aṭṭhakathā. Division No.50)

Abbr. Division No. Volume Title Pages Abbr. Division No. Volume Title Pages

Vinayapiṭaka (V) Suttantapiṭaka (Sutta)


1V 1V.1-662 Pārājikapāḷi 326 Khuddakanikāya (Khu)
2V 2V.1-1242 Pācittiyapāḷi 407 27Ne.1-125 Nettipāḷi
27Ne, Pe 303
3V 3V.1-477 Mahāvaggapāḷi 451 27Pe.1-120 Peṭakopadesapāḷi
4V 4V.1-458 Cūḷavaggapāḷi 444 28Mi 28Mi.1-294 Milindapañhapāḷi 348
5V 5V.1-501 Parivārapāḷi 354

Abhidhammapiṭaka (Abhi)
Suttantapiṭaka (Sutta)
29Dhs 29Dhs.[Sn].[Dn] Dhammasaṅgaṇīpāḷi 281
Dīkhanikāya (D) 30Vbh 30Vbh.1-1044 Vibhaṅgapāḷi 416
6D 6D.1-559 Sīlakkhandhavaggapāḷi 200 31Dht.1-518 Dhātukathāpāḷi
31Dht, Pu 162
7D 7D.1-441 Mahāvaggapāḷi 242 31Pu.[Sn].[Dn] Puggalapaññattipāḷi
8D 8D.1-360 Pāthikavaggapāḷi 222 32Kv 32Kv.1-918 Kathāvatthupāḷi 386
Majjhimanikāya (M) Yamaka (Y)
9M 9M.1-513 Mūlapaṇṇāsapāḷi 364 33Y1.1-99 M๊๊ūlayamakapāḷi
10M 10M.1-486 Majjhimapaṇṇāsapāḷi 381 33Y2.1-211 Khandhayamakapāḷi
11M 11M.1-463 Uparipaṇṇāsapāḷi 306 33Y1-5 33Y3.1-254 Āyatanayamakapāḷi 317
Saṃyuttanikāya (S) 33Y4.1-19 Dhātuyamakapāḷi
12S1.1-271 Sagāthāvaggasaṃyuttapāḷi 33Y5.1-170 Saccayamakapāḷi
12S1-2 440
12S2.1-246 Nidānavaggasaṃyuttapāḷi 34Y6.1-159 Saṅkhārayamakapāḷi
13S3.1-716 Khandhavaggasaṃyuttapāḷi 34Y6-8 34Y7.1-349 Anusayayamakapāḷi 319
13S3-4 549
13S4.1-420 Saḷāyatanavaggasaṃyuttapāḷi 34Y8.1-116 Cittayamakapāḷi
14S5 14S5.1-1201 Mahāvaggasaṃyuttapāḷi 402 35Y9.1-229 Dhammayamakapāḷi
35Y9-10 385
Aṅguttaranikāya (A) 35Y10.1-482 Indriyayamakapāḷi
15A1.1-611 Ekakanipātapāḷi Paṭṭhāna (P)
15A2.1-246 Dukanipātapāḷi Anuloma
15A1-4 552
15A3.1-184 Tikanipātapāḷi 36P1 36P1.[Sn].[Dn] Tikapaṭṭhānapāḷi 437
15A4.1-783 Catukkanipātapāḷi 37P1 37P1.[Sn].[Dn] Tikapaṭṭhānapāḷi 477
16A5.1-1152 Pañcakanipātapāḷi 38P2 38P2.[Sn].[Dn] Dukapaṭṭhānapāḷi 773
16A5-7 16A6.1-649 Chakkanipātapāḷi 467 39P3.[Sn].[Dn] Dukatikapaṭṭhānapāḷi
16A7.1-1132 Sattakanipātapāḷi 39P4.[Sn].[Dn] Tikadukapaṭṭhānapāḷi
39P3-6 468
17A8.1-626 Aṭṭhakanipātapāḷi 39P5.[Sn].[Dn] Tikatikapaṭṭhānapāḷi
17A9.1-432 Navakanipātapāḷi 39P6.[Sn].1-94 Dukadukapaṭṭhānapāḷi
17A8-11 509
17A10.1-746 Dasakanipātapāḷi Dhammapaccanīya
17A11.1- 672 Ekādasakanipātapāḷi 40P7.1-39 Tikapaṭṭhānapāḷi
Khuddakanikāya (Khu) 40P8.1-93 Dukapaṭṭhānapāḷi
18Kh.[Sn].[Dn] Khuddakapāṭhapāḷi 40P9.1-91 Dukatikapaṭṭhānapāḷi
18Dh.1-424 Dhammapadapāḷi 40P10.1-94 Tikadukapaṭṭhānapāḷi
18Kh, Dh,
18Ud.1-80 Udānapāḷi 424 40P11.1-86 Tikatikapaṭṭhānapāḷi
Ud, It, Sn
18It.1-112 Itivuttakapāḷi 40P12.1-60 Dukadukapaṭṭhānapāḷi
18Sn.1-1177 Suttanipātapāḷi Dhammānulomapaccanīya
19Vv.1-1289 Vimānavatthupāḷi 40P13.1-52 Tikapaṭṭhānapāḷi
19Vv, Pv, 19Pv.1-814 Petavatthupāḷi 40P14.1-57 Dukapaṭṭhānapāḷi
423
Th1, Th2, 19Th1.1-1288 Theragāthāpāḷi 40P15.1-105 Dukatikapaṭṭhānapāḷi
19Th2.1-524 Therīgāthāpāḷi 40P7-24 423
40P16.1-147 Tikadukapaṭṭhānapāḷi
20Ap1.[Sn].[Dn] Therāpadānapāḷi 40P17.1-50 Tikatikapaṭṭhānapāḷi
20Ap1-2 690
20Ap2.[Sn].[Dn] Therīapadānapāḷi 40P18.1-97 Dukadukapaṭṭhānapāḷi
21Bu 21Bu.[Sn].[Dn] Buddhavaṃsapāḷi Dhammapaccanīyānuloma
118
21Cp 21Cp.[Sn].[Dn] Cariyāpiṭakapāḷi 40P19.1-30 Tikapaṭṭhānapāḷi
22J 22J.[Sn].[Dn] Jātakapāḷi 357 40P20.1-60 Dukapaṭṭhānapāḷi
23J 23J.[Sn].[Dn] Jātakapāḷi 336 40P21.1-140 Dukatikapaṭṭhānapāḷi
24Mn 24Mn.1-210 Mahāniddesapāḷi 364 40P22.1-117 Tikadukapaṭṭhānapāḷi
25Cn 25Cn.[Sn].[Dn] Cūḷaniddesapāḷi 269 40P23.1-68 Tikatikapaṭṭhānapāḷi
26Ps 26Ps.[Sn].[Dn] Paṭisambhidāmaggapāḷi 378 40P24.1-92 Dukadukapaṭṭhānapāḷi
Tipiṭaka Studies References by Dhamma Society 2009
Tipiṭaka Studies References by Dhamma Society 2009

การแบ่งเล่มพระไตรปิฎกเป็น 40 เล่ม สำหรับใช้อ้างอิงในดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิฎกสากล


เช่น 29Dhs:542 หมายถึง เล่มที่ 29 ธัมมสังคณี ย่อหน้า 542
28
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] ธัมมะทั
ธัม้งมะทั
หลาย้งหลาย
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ] มโนปุพ์พังคมา ธัม์มา...
อู ū [ uː ]
เอ e [ eː ] Manopubbaṅgamā dhammā,
โอ o [ oː ] Manoseṭṭhā manomayā;
ก์ k [k ]
Manasā ce paduṭṭhena,
ข์ kh [ kʰ] Bhāsati vā karoti vā;
ค์ g [g ] Tato naṃ dukkhama‿ nveti,
ฆ์ gh [ gʱ ]
ง ṅ [ŋ ] Cakkaṃva vahato padaṃ. (1)

จ์ c [c ] ธัมมะทั้งหลายเกิดจากใจก่อน,
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ] มีใจเป็นใหญ่ สําเร็จด้วยใจ;
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ถ้าบุคคลมีใจประทุษร้าย,
์ ñ [ɲ]
กล่าวอยู่ก็ตาม ทําอยู่ก็ตาม;
ฏ์ ṭ [ʈ] ความทุกข์ย่อมตามเขาไป,
์ ṭh [ ʈʰ ]
ฑ์ ḍ [ɖ ] เสมือนล้อหมุนตามรอยเท้าผู้ลากไป ฉะนั้น. (1)
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ] Mind precedes all Dhammas,
Mind is their chief; they are mind-made;
ต์ t [ t̪ ]
If with an evil mind
ถ์ th [ t̪ʰ]
ท์ d [ d̪ ] A person speaks or acts;
ธ์ dh [ d̪ʱ] Suffering thus follows him,
น์ n [ n̪ ]
As the wheels that follow the footstep of the drawer. (1)
ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]
ดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ย๎ y [ j ] ชื่อ : DHAMMAPADA 1/423 : Cakkhupālattheravatthu
ร๎ r [ ɻ ] Story of Cakkhupāla เรื่องพระเถระ ชื่อจักขุปาละ
ล ๎ l [ l̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : dhammā → Dhamma ธัมมะ 29Dhs:542
ว๎ v [ ʋ ] dukkhamanveti → Dukkha : suffering, ทุกขะ 29Dhs:1055;
ส ๎ s [ s̪ ] Manasā → Mana : mind, มนะ 29Dhs:385
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : Cakkhupāla 19Th1:214
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : Manopubbaṅgamā dhammā... 27Ne:620; 27Pe:156
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ: cakka, wheel, ล้อ

25

29
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. 2548
ฉายพระรูปกับคณะทูตานุทูตประเทศต่างๆ ที่เคยได้รับพระราชทานพระไตรปิฎกอักษรสยาม
จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
30
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] ใจผ่องใส
ใจผ่องใส
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ] มโนปุพ์พังคมา ธัม์มา...
อู ū [ uː ]
เอ e [ eː ] Manopubbaṅgamā dhammā,
โอ o [ oː ] Manoseṭṭhā manomayā;
ก์ k [k ] Manasā ce pasannena,
ข์ kh [ kʰ] Bhāsati vā karoti vā;
ค์ g [g ]
Tato naṃ sukhama‿ nveti,
ฆ์ gh [ gʱ ]
ง ṅ [ŋ ] Chāyāva anapāyinī. (2)
จ์ c [c ] ธัมมะทั้งหลายเกิดจากใจก่อน,
ฉ์ ch [ cʰ ] มีใจเป็นใหญ่ สําเร็จด้วยใจ;
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ถ้าบุคคลมีใจผ่องใส,
์ ñ [ɲ]
กล่าวอยู่ก็ตาม ทําอยู่ก็ตาม;
ฏ์ ṭ [ʈ] ความสุขย่อมตามเขาไป,
์ ṭh [ ʈʰ ]
ฑ์ ḍ [ɖ ] เสมือนเงาที่ไม่แยกจากไป ฉะนั้น. (2)
ฒ์ ḍh [ ɖʱ] Mind precedes all Dhammas,
ณ์ ṇ [ɳ ]
Mind is their supreme; they are all mind-made;
ต์ t [ t̪ ] If with a pure mind
ถ์ th [ t̪ʰ]
ท์ d [ d̪ ] A person speaks or acts;
ธ์ dh [ d̪ʱ] Happiness thus follows him,
น์ n [ n̪ ]
Like his never-departing shadow. (2)
ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index


ร๎ r [ ɻ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 2/423 : Maṭṭhakuṇḍalīvatthu
ล ๎ l [ l̪ ]
ว๎ v [ ʋ ] Story of Maṭṭhakuṇḍalī, เรื่องพราหมณ์ ชื่อมัฏฐกุณฑลี
ส ๎ s [ s̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : Manasā→ Mana : mind, มนะ 29Dhs:385;
sukhamanveti→ Sukha : happiness, สุขะ 29Dhs:389
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : Maṭṭhakuṇḍalī 19Vv:1059; 22J:2033; 28Mi:1486
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : Manopubbaṅgamā dhammā... 27Ne:620; 27Pe:156
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : chāyā, shadow, เงา

27
31
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
เสด็จจาริกทรงอัญเชิญพระไตรปิฎกสากลชุดปฐมฤกษ์ เพื่อพระราชทานเป็นพระธัมมทานแก่ประเทศศรีลังกา
ณ กรุงโคลัมโบ วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2548
32
อะ อะa a[ a [] a ]
สาระสาระ
อา อา
ā ā[ aː [ aː
] ] สาระ
อิ อิi i[ i [] i ]
อี อีī ī[ iː [] iː ]
อุ อุu u[ u [] u ]
อู อูū ū[ uː [] uː ] สารัสารั
์จสารโต
์จ สารโต
ัตั๎วตา...๎วา...
เอ เอe e[ eː [ eː ] ]
โอ โอo o[ oː [] oː ]

ก์ ก์k k[ k [] k ] Sārañca
Sārañca
sārato
sārato
ña‿
ña
tvā,
tvā,

ข์ ข์kh kh[ kʰ [ kʰ
] ]
Asārañca
Asārañcaasārato;
asārato;
ค์ ค์g g[ g [] g ]
ฆ์ ฆ์gh gh[ gʱ [ gʱ
] ] TeTe
sāraṃ
sāraṃadhigacchanti,
adhigacchanti,
ง งṅ ṅ[ ŋ ][ ŋ ] Sammāsaṅkappagocarā.
Sammāsaṅkappagocarā. (12)
(12)
จ์ จ์c c[ c [] c ]
ฉ์ ฉ์ch ch
[ cʰ [ cʰ
] ]
ช์ ช์j j[ ɟ [] ɟ ] ชนเหล่
ชนเหล่
าใดเห็
าใดเห็ นสิน่งทีสิ่งมทีีส่มาระ
ีสาระ ว่ามีว่สามีาระ
สาระ
, ,
ฌ์ ฌ์
jh jh[ ɟʱ ][ ɟʱ ]
์ ์
ñ ñ [ ɲ ][ ɲ ] และเห็
และเห็
นสิน่งทีสิ่งไม่ทีม่ไม่ีสมาระ
ีสาระ ว่าไม่ว่ามไม่ีสมาระ;
ีสาระ;
ฏ์ ฏ์ṭ ṭ[ ʈ ][ ʈ ] ชนเหล่
ชนเหล่
านัา้นนัย่้นอย่มได้ อมได้ รับรสาระ
ับสาระ , ,
์ ์ṭh ṭh
[ ʈʰ [] ʈʰ ] มีคมีวามดํ
ความดํ
าริชาอบเป็
ริชอบเป็ นทีน่ยทีึด่ยเหนี
ึดเหนี
่ยว.่ยว.(12)(12)
ฑ์ ฑ์ḍ ḍ[ ɖ ][ ɖ ]
ฒ์ ฒ์
ḍh ḍh [ ɖʱ [ ɖʱ
] ]
ณ์ ณ์
ṇ ṇ [ ɳ ][ ɳ ]
Those
Those who
who seesee essence
essence asas essence,
essence,
ต์ ต์t t[ t̪ [] t̪ ] And
Andnon-essence
non-essence asas
non-,
non-,
ถ์ ถ์th th
[ t̪ʰ[ ] t̪ʰ ]
ท์ ท์d d[ d̪ [ d̪
] ] DoDo
arrive
arrive
atatthethe
essence,
essence,
ธ์ ธ์dh dh
[ d̪ʱ[ d̪
] ʱ ] The
The
right
right
thoughts
thoughts are
are
their
their
restraint.
restraint.
(12)
(12)
น์ น์n n[ n̪ [ n̪
] ]
ด้วยอำนาจสั
ด้วยอำนาจสั
จจวาจา
จจวาจาและอานิ
และอานิ
สงส์กสารอ่
งส์กาารอ่
นสังาวันสั
ธยายพระไตรปิ
งวัธยายพระไตรปิ ฎก ฎก
ป์ ป์p p[ p [] p ] ถวายเป็
ถวายเป็
นพระราชกุ
นพระราชกุ
ศลแด่ศลแด่
สถาบัสถาบั
นพระมหากษั
นพระมหากษัตริย์พตริุทยธมามกะ
์พุทธมามกะ
ผ์ ผ์ph ph
[ pʰ [ pʰ
] ] ขอให้ขอให้
ข้าพเจ้
ข้าาพเจ้
และประเทศชาติ
าและประเทศชาติ
ปราศจากภยั
ปราศจากภยั
นตรายนตราย
และเจริ
และเจริญรุ่งญ
เรือรุ่งงทุเรืกอเมื
งทุ่อกเมื
เทอญ.
่อ เทอญ.
พ์ พ์b b[ b [] b ]
ภ์ ภ์bh bh
[ bʱ [ bʱ
] ]
ม์ ม์m m[ m[] m] ดัชนีดัตช่านีงๆ
ต่างๆ
ในการแปลพระไตรปิ
ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล
ฎกสากล : World
: WorldTipiṭaka
Tipiṭaka
Translation
Translation Index
Index
ชื่อ ชื: ่อ : DHAMMAPADA
DHAMMAPADA 12/423
12/423: Sāriputtattheravatthu
: Sāriputtattheravatthu
ย ๎ ยy ๎ y[ j [] j ] Story Story
of Sāriputta, เรื่องพระเถระ
of Sāriputta, เรื่องพระเถระ
(อัค(รสาวก
อัครสาวก
)ชื่อ)สาริ
ชื่อสาริ
ปุตตะ
ปุตตะ
ร ๎ รr ๎ r[ ɻ ][ ɻ ] ศัพท์ศัธพัมท์มสั
ธัมงมสั
คณีงคณี: Sammāsaṅkappagocarā→
: Sammāsaṅkappagocarā→ Sammāsaṅkappa
Sammāsaṅkappa : right
: right
thoughts
thoughts
ล ๎ ลl ๎ l[ l ̪ [] l ̪ ] สัมมาสั
สัมมาสั
งกัปงปะ
กัปปะ
29Dhs:400
29Dhs:400
ว ๎ วv๎ v[ ʋ ][ ʋ ] ปิฎกอ้
ปิฎากอ้งอิางงอิ: ง : Sāriputtatthera
Sāriputtatthera18Ud:291;
18Ud:291; 19Pv;
19Pv;
19Th1;
19Th1;
20Ap1;20Ap1; 28Mi28Mi
ส ๎ สs ๎ s[ s̪ [] s̪ ] คลังคลั
ข้องมูข้ลอปาฬิ
มูลปาฬิ: ...:Sammāsaṅkappa...
...Sammāsaṅkappa... 3V:70;
3V:70;3V;3V;
6D;6D; 7D;7D;
8D;8D; 9M;9M; 10M;10M;
11M;
11M;
ห ๎ หh ๎ h[ ɦ ][ ɦ ] 12S2;
12S2;
13S4;
13S4;
14S5;
14S5;
15A3;
15A3;
15A4;
15A4;
16A6;
16A6;
16A7;
16A7;
17A8;
17A8;
17A10;
17A10;
ฬ ๎ ฬḷ ๎ ḷ[ ɭ ][ ɭ ] 24Mn;
24Mn;25Cn;
25Cn;26Ps;
26Ps;
27Ne;
27Ne;
27Pe;
27Pe;
29Dhs;
29Dhs;
30Vbh;
30Vbh;
32Kv32Kv
อํ aṃ อํ aṃ [ ã [] ã ] คำสำคั
คำสำคั
ญ :ญ : sāra,
sāra,
essence, สาระสาระ
essence,

313331
พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประดิษฐาน ณ ศาลรัฐธรรมนูญ กรุงเทพมหานคร วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2548
34
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] ความเป็ความเป็
นผู้สงบนผู้สงบ
อิ i [i]
อี ī [ iː ] อัป์ปัม์ปิ เจ สํหิต ภาสมาโน...
อุ u [u ]
อู ū [ uː ]
Appampi ce saṃhita bhāsamāno,
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ] Dhammassa hoti anudhammacārī;
Rāgañca dosañca pahāya mohaṃ,
ก์ k [k ]
ข์ kh [ kʰ] Sammappajāno suvimuttacitto;
ค์ g [g ] Anupādiyāno idha vā huraṃ vā,
ฆ์ gh [ gʱ ]
Sa bhāgavā sāmaññassa hoti. (20)
ง ṅ [ŋ ]

จ์ c [c ] หากผู้ใดกล่าวพุทธพจน์อันมีคุณ แม้กล่าวน้อย,
ฉ์ ch [ cʰ ] แต่ประพฤติตามธัมมะ สมควรแก่ธัมมะ;
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ละราคะ โทสะ โมหะแล้ว,
์ ñ [ɲ]
รู้ทั่วโดยชอบ มีจิตต์หลุดพ้นด้วยดี;
ฏ์ ṭ [ʈ] ไม่ยึดมั่นในโลกนี้หรือโลกหน้า,
์ ṭh [ ʈʰ ]
ฑ์ ḍ [ɖ ] เขาย่อมมีส่วนแห่งคุณความเป็นผู้สงบ. (20)
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ] Little though he recites the Sacred Words,
But puts the Dhamma into Dhamma practice;
ต์ t [ t̪ ]
ถ์ th [ t̪ʰ] Forsaking lust, anger, and delusion,
ท์ d [ d̪ ] With true wisdom and emancipated mind;
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] Clinging to nothing of this or other worlds,
He has his share in a life of the holy one. (20)
ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]
ดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ย๎ y [ j ] ชื่อ : DHAMMAPADA 20/423 : Dvesahāyakabhikkhuvatthu
ร๎ r [ ɻ ] Story of the Two Bhikkhus, เรือ
่ งภิกษุสองสหาย
ล๎ l [ l ̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : rāgañca→ Raga→ Lobha : greed, โลภะ 29Dhs:1732
ว๎ v [ ʋ ] dosañca→ Dosa : anger, โทสะ 29Dhs:1733;
ส ๎ s [ s̪ ] mohaṃ→ Moha : delusion, โมหะ 9Dhs:1734
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : -
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...Rāgañca dosañca pahāya mohaṃ... 18Sn:77, 18Sn:577
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : sāmañña, holy one, ความเป็นผู้สงบ

35
31
The World Tipiṭaka Council
1956-1957

The World Tipiṭaka Edition 1957


Roman Script 2005
พระไตรปิฎกสากล (World Tipiṭaka Edition)
จากต้นฉบับภาษาปาฬิของการประชุมสังคายนานานาชาติ พ.ศ. 2500
จัดพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์อักษรโรมัน
โดยกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ พ.ศ. 2548

36
อะ อะ
a a[ a [] a ]
อา อา
ā ā[ aː [] aː ] ทางแห่ งอมตะ
ทางแห่
ทางแห่
งอมตะ
งอมตะ
อิ อิi i[ i [] i ]
อี อีī ī[ iː [] iː ]
อุ อุu u[ u [] u ]
อู อูū ū[ uː [] uː ] อัปอั์ปปมาโท
์ปมาโท
อมตปทํ
อมตปทํ
... ...
เอ เอ
e e[ eː [] eː ]
โอ โอ
o o[ oː [] oː ]

ก์ ก์k k[ k [] k ] Appamādo
Appamādoamatapadaṃ,
amatapadaṃ,
ข์ ข์kh kh
[ kʰ[] kʰ]
Pamādo
Pamādomaccuno
maccuno padaṃ;
padaṃ;
ค์ ค์g g[ g [] g ]
ฆ์ ฆ์gh gh
[ gʱ [] gʱ ] Appamattā
Appamattānana
mīyanti,
mīyanti,
ง งṅ ṅ[ ŋ [] ŋ ] YeYe
pamattā
pamattā
yathā
yathā
matā.
matā.
(21)
(21)
จ์ จ์c c[ c [] c ]
ฉ์ ฉ์ch ch
[ cʰ [] cʰ ]
ช์ ช์j j[ ɟ [] ɟ ] ความไม่
ความไม่ ประมาทเป็
ประมาทเป็ นทางแห่
นทางแห่งอมตะ
งอมตะ , ,
ฌ์ ฌ์
jh jh[ ɟʱ [] ɟʱ ]
์ ์
ñ ñ [ ɲ [] ɲ ] ความประมาทเป็
ความประมาทเป็ นทางแห่
นทางแห่
งความตาย;
งความตาย;
ฏ์ ฏ์ṭ ṭ[ ʈ [] ʈ ] ผู้ไม่ผูป้ไม่ระมาทย่ อมไม่
ประมาทย่ อมไม่ ตายต,าย,
์ ์ṭh ṭh
[ ʈʰ[] ʈʰ ] คนเหล่
คนเหล่ าใดเป็
าใดเป็
นผูนป้ ผูระมาท
ป้ ระมาทคนเหล่
คนเหล่
านัน้านัเหมื
น้ เหมื
อนคนตายแล้
อนคนตายแล้
ว. ว(21)
. (21)
ฑ์ ฑ์ḍ ḍ[ ɖ [] ɖ ]
ฒ์ ฒ์
ḍh ḍh[ ɖʱ[] ɖʱ]
ณ์ ณ์
ṇ ṇ [ ɳ [] ɳ ]
Heedfulness
Heedfulness is is
thethe path
path toto Deathlessness,
Deathlessness,
ต์ ต์t t[ t̪ [] t̪ ] Heedlessness
Heedlessnessis is
the
the
path
pathtotodeath;
death;
ถ์ ถ์th th
[ t̪ʰ[] t̪ʰ]
ท์ ท์d d[ d̪ [] d̪ ] The
Theheedful
heedful
dodo not
not
die,
die,
ธ์ ธ์dh dh
[ d̪ʱ[] d̪ʱ] Those
Thosewho
who
areare
heedless,
heedless,
areare
as as
if dead
if dead
already.
already.
(21)
(21)
น์ น์n n[ n̪ [] n̪ ]
ป์ ป์p p[ p [] p ]
ผ์ ผ์ph ph
[ pʰ[] pʰ] ด้วยอำนาจสั
ด้วยอำนาจสั จจวาจา
จจวาจา
และอานิ
และอานิ
สงส์กสารอ่
งส์กาารอ่
นสังาวันสั
ธยายพระไตรปิ
งวัธยายพระไตรปิ ฎก ฎก
พ์ พ์b b[ b [] b ] ขอถวายเป็
ขอถวายเป็
นพระราชกุ
นพระราชกุ
ศลแด่ศลแด่
สถาบัสถาบั
นพระมหากษั
นพระมหากษั ตริย์พตริุทยธมามกะ
์พุทธมามกะ
และขอให้
และขอให้
ข้าพเจ้
ข้าาพเจ้
และประเทศชาติ
า และประเทศชาติ
ปราศจากภยั
ปราศจากภยั
นตรายนตราย เจริญเจริ
รุ่งญ
เรือรุ่งงทุเรืกอเมื
งทุ่อกเมื
เทอญ.
่อ เทอญ.
ภ์ ภ์bh bh
[ bʱ[] bʱ]
ม์ ม์m m[ m[] m]

ย ๎ ยy๎ [y j [] j ]
ร ๎ รr ๎ [r ɻ [] ɻ ] ดัชนีดัใชนการแปลพระไตรปิ
นีในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล
ฎกสากล
: World
: World Tipiṭaka
Tipiṭaka Translation
Translation
Index
Index
ล ๎ ลl ๎ [l l̪ [] l̪ ] ชื่อ ชื: ่อ : DHAMMAPADA
DHAMMAPADA 21/423
21/423: Sāmāvatīvatthu
: Sāmāvatīvatthu
ว ๎ วv๎ [v ʋ [] ʋ ] StoryStory
of Sāmāvatī, เรื่องพระมเหสี
of Sāmāvatī, เรื่องพระมเหสีชื่อสามาวดี
ชื่อสามาวดี
ส ๎ สs ๎ [s s̪ [] s̪ ] ศัพท์ศัธพัมท์มสั
ธัมงมสั
คณีงคณี: appamādo→
: appamādo→ appamāda→
appamāda→ Kusala
Kusala : wholesome,
: wholesome,
กุสละ
กุสละ
29Dhs:368
29Dhs:368
ห ๎ หh ๎ [hɦ [] ɦ ] ปิฎกอ้
ปิฎากอ้งอิางงอิ: ง : Sāmāvatī
Sāmāvatī15A1:350,
15A1:350,
17A8,17A8,18Ud,
18Ud, 26Ps 26Ps
ฬ ๎ ฬḷ ๎ [ḷ ɭ [] ɭ ] คลังคลั
ข้องมูข้ลอปาฬิ
มูลปาฬิ: ...:Appamādo
...Appamādoamatapadaṃ...
amatapadaṃ... 27Ne:201
27Ne:201
อํ aṃ
อํ aṃ [ ã [] ã ] คำสำคั
คำสำคัญ : ญ : Appamāda, Appamāda, heedfulness,
heedfulness, ความไม่
ความไม่
ประมาท ประมาท

33 33
37
พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน พระธัมมทานในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง
นราธิวาสราชนครินทร์ ประดิษฐาน ณ สมาคมมหาโพธิแห่งประเทศอินเดีย พุทธคยา พ.ศ. 2550
38
อะ aอะ[aa ][ a ]
อา āอา [ aː
ā ][ aː ] ทำลายล้ างไม่
ทำลายล้
ทำลายล้ ได้าไงไม่
างไม่ ด้ ได้
อิ iอิ [i i ][ i ]
อี īอี [ī iː ][ iː ]
อุ uอุ [uu ][ u ]
อู ūอู [ūuː ][ uː ] อุฏฺอุาเนนั ป์ปมาเทน...
ฏฺาเนนั ป์ปมาเทน...
เอ eเอ [ eː
e ][ eː ]
โอ oโอ [ooː ][ oː ]
ก์ kก์ [kk ][ k ] Uṭṭhānenappamādena,
Uṭṭhānenappamādena,
ข์ khข์ [ kʰ
kh][ kʰ ] Saṃyamena damena ca; ca;
ค์ gค์ [gg ][ g ] Saṃyamena damena
ฆ์ ghฆ์ [ gʱ
gh][ gʱ ] Dīpaṃ kayirātha
Dīpaṃ medhāvī,
kayirātha medhāvī,
ง ṅง [ ŋ ]
ṅ [ ŋ ] Yaṃ ogho nābhikīrati. (25)(25)
Yaṃ ogho nābhikīrati.
จ์ cจ์ [cc ][ c ]
ฉ์ ch
ฉ์ [ cʰ
ch][ cʰ ]
ช์ jช์ [jɟ ][ ɟ ]
ฌ์ jh [jh
ɟʱ ][ ɟʱ ]
ด้วยความเพี
ด้วยความเพี ยรและความไม่
ยรและความไม่ ประมาท , ,
ประมาท
ฌ์
์ ñ์ [ñɲ ][ ɲ ] ด้วยความสำรวมและความข่
ด้วยความสำรวมและความข่ มใจ; มใจ;
ฏ์ ṭฏ์ [ṭʈ ][ ʈ ] ผู้มีปผูัญ้มญาย่ อมสร้อามสร้
ีปัญญาย่ งที่พางที
ึ่งได้่พเหมื
ึ่งได้อเนทวี
หมือปนทวี
, ป,
์ ṭh [ ʈʰ ] ที่ห้วทีงน้่ห้วำทำลายล้ างไม่าไงไม่
งน้ำทำลายล้ ด้. (25)ได้. (25)
ฑ์ ḍ์ฑ์ [ ɖ ]
ṭh [ ʈʰ ]
ḍ [ ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ ]
ณ์ ṇฒ์ [ ɳ ]
ḍh [ ɖʱ ]
ณ์ ṇ [ ɳ ] Through diligence, heedfulness,
Through diligence, heedfulness,
ต์ t [ t̪ ] Restraint and self-mastery;
ถ์ th ต์ [tt̪ʰ ][ t̪ ] Restraint and self-mastery;
ท์ dถ์ [ d̪ th ][ t̪ʰ ] The wise make his refuge as a continent,
ท์ [ d̪d ʱ ][ d̪ ] The wise make his refuge as a continent,
ธ์ dh Where water cannot flood. (25)
น์ nธ์ [ n̪ dh ][ d̪ʱ ] Where water cannot flood. (25)
น์ n [ n̪ ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
ป์ p [ p ] ถวายเป็ด้วนยอำนาจสั
พระราชกุจศจวาจา และอานิ
ลแด่ สถาบั สงส์การอ่ตารินสั
นพระมหากษั ย์พงุทวัธมามกะ
ธยายพระไตรปิฎก
ผ์ ph ป์ [ pʰ
p ][ p ] ถวายเป็นพระราชกุ
ขอให้ข้าพเจ้าและประเทศชาติ ศลแด่ นสถาบั
ปราศจากภยั ตรายนพระมหากษั
และเจริญรุ่งเรืตริอยงทุ์พุทกเมื
ธมามกะ
่อ เทอญ.
พ์ bผ์ [ph b ][ pʰ ] ขอให้ข้าพเจ้าและประเทศชาติ ปราศจากภยันตราย และเจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh พ์ [ bʱ
b ][ b ]
ม์ mภ์ [bh m][ bʱ ] ดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ม์ m [ m] ชื่อ : ดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
DHAMMAPADA 25/423 : Cūḷapanthakavatthu
ย๎ y [ j ] ชื่อ : StoryDHAMMAPADA เรื่องภิกษุ: Cūḷapanthakavatthu
of Cūḷapanthaka, 25/423 ชื่อจูฬปันถกะ
ร ๎ rย ๎ [yɻ ][ j ] ศัพท์ธมั มสังคณี : uṭṭhānenappamādena→
Story of Cūḷapanthaka, เรื่องภิกษุKusala
appamāda→ ชื่อจูฬปั: นwholesome,
ถกะ
ล ๎ lร ๎ [rl̪ ][ ɻ ] ศัพท์ธมั มสังคณีกุสละ: uṭṭhānenappamādena→
29Dhs:368 appamāda→ Kusala : wholesome,
ว ๎ vล ๎ [l ʋ ][ l ̪ ] ปิฎกอ้างอิง : Cūḷapanthaka กุสละ 29Dhs:368
2V:517; 5V; 18Dh; 18Ud; 19Th1; 20Ap1; 28Mi
ส ๎ sว ๎ [vs̪ ][ ʋ ] คลังข้ปิอฎมูกอ้
ลปาฬิ
างอิง: ...: Saṃyamena damena
Cūḷapanthaka ca... 10M:1464;
2V:517; 5V; 18Dh;18Sn:782;
18Ud; 19Th1;19Vv:721;
20Ap1; 28Mi
ห ๎ hส ๎ [ ɦ ]s [ s̪ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...Saṃyamena
19Th1:949; 22J:2771; 23J:1758;
damena ca... 10M:1464; 18Sn:782; 19Vv:721;
ฬ ๎ ḷห ๎ [hɭ ][ ɦ ] คำสำคัญ : uṭṭhāna, ความขยัน;23J:1758;
diligence,22J:2771;
19Th1:949; appamāda, heedfulness, ความไม่ประมาท;
อํ aṃฬ ๎ [ḷã ][ ɭ ] คำสำคัญ : saṃyama, Restraint,
uṭṭhāna, ความสำรวม;
diligence, ความขยัน;Dama,appamāda, self-mastery, ความข่ความไม่
heedfulness, มใจ ประมาท;
อํ aṃ [ ã ] saṃyama, Restraint, ความสำรวม; Dama, self-mastery, ความข่มใจ
37
37
39
พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่นอรเวย์ พ.ศ. 2438

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณวดี ทรงพระกรุณาโปรดให้ผู้แทนพระองค์


อัญเชิญพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน ซึ่งทรงพระศรัทธาพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์
แก่โครงการพระไตรปิฎกสากลให้จัดสร้างขึ้นเพื่อพระราชทานแก่ มหาวิทยาลัยแห่งกรุงออสโล
ประเทศนอร์เวย์ วันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522
40
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] ท่อนไม้ท่อทนไม้
ี่ไร้ประโยชน์
ที่ไร้ประโยชน์
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] อจิรํ วตยํ กาโย...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Aciraṃ vatayaṃ kāyo,


ข์ kh [ kʰ]
Pathaviṃ adhisessati;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Chuddho apetaviññāṇo,
ง ṅ [ŋ ] Niratthaṃva kaliṅgaraṃ. (41)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
อีกไม่นานร่างกายนี,้
ฌ์ jh [ ɟʱ ]
์ ñ [ɲ] จักนอนทับแผ่นดิน;
ฏ์ ṭ [ʈ]
ถูกทอดทิ้ง ปราศจากวิญญาณ,
์ ṭh [ ʈʰ ] เหมือนท่อนไม้ที่ไร้ประโยชน์. (41)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]
Before long, this body,
ต์ t [ t̪ ] Will lie upon the ground;
ถ์ th [ t̪ʰ]
ท์ d [ d̪ ] Left unheeded, without consciousness,
ธ์ dh [ d̪ʱ] Like a useless log. (41)
น์ n [ n̪ ]

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ]
ร๎ r [ ɻ ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ล๎ l [ l ̪ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 41/423 : Pūtigattatissattheravatthu
ว๎ v [ ʋ ] Story of Pūtigattatissa , เรื่องพระเถระผู้มีกายเน่าเปื่อย ชื่อติสสะ
ส ๎ s [ s̪ ] ศัพท์ธัมมสังคณี : apetaviññāṇo→ Viññāṇa : consciousness, วิญญาณะ 29Dhs:385
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : tissatthera 19Th1:88
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : -
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : kāya, body, กาย; pathavī, earth, แผ่นดิน

37
41
ประธานศาลรัฐธรรมนูญมอบพระไตรปิฎกสากลเป็นพระธัมมทาน แก่ 10 สถาบันระดับนานาชาติ ใน 10 ประเทศ
ถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ
ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. 2551
42
อะ aอะ [aa ][ a ]
อา āอา [āaː ][ aː ] การเลื อกบทธั
การเลื
การเลื มมมะมะมมะ
อกบทธั
อกบทธั
อิ iอิ [i i ][ i ]
อี īอี [ī iː ][ iː ]
อุ uอุ [uu ][ u ]
อู ūอู [ūuː ][ uː ] โก โก
อิมอิํ ปวึ
มํ ปวึ
วิเจส์
วิเสจส์ติส...ติ...
เอ eเอ [eeː ][ eː ]
โอ oโอ [ooː ][ oː ]
ก์ kก์ [kk ][ k ] KoKo
imaṃ
imaṃpathaviṃ
pathaviṃ
vicessati,
vicessati,
ข์ ข์ [kh
kh kʰ][ kʰ]
Yamalokañca
Yamalokañcaimaṃ
imaṃsadevakaṃ;
sadevakaṃ;
ค์ gค์ [gg ][ g ]
ฆ์ ฆ์ [ghgʱ ][ gʱ ]
gh KoKo
dhammapadaṃ
dhammapadaṃ sudesitaṃ,
sudesitaṃ,
ง ṅง [ṅŋ ][ ŋ ] Kusalo
Kusalo
pupphamiva
pupphamivapacessati.
pacessati.
(44)
(44)
จ์ cจ์ [cc ][ c ]
ฉ์ ฉ์ [chcʰ ][ cʰ ]
ch
ช์ jช์ [j ɟ ][ ɟ ]
ใครเล่
ใครเล่าจักาเลื
จักอเลืกเฟ้
อกเฟ้
นแผ่นแผ่
นดินดินีน,้ นี,้
ฌ์ ฌ์ [jhɟʱ ][ ɟʱ ]
jh
์ ñ์ [ñɲ ][ ɲ ] และยมโลก
และยมโลก โลกนี โลกนี
้ พร้้ พร้
อมเทวโลก;
อมเทวโลก;
ฏ์ ṭฏ์ [ṭ ʈ ][ ʈ ] ใครเล่
ใครเล่าจักาเลื
จักอเลืกเฟ้
อกเฟ้
นบทธันบทธั
มมะที
มมะที ่แสดงไว้
่แสดงไว้
ดีแดล้ีแว,ล้ว,
์ ์ [ṭhʈʰ][ ʈʰ]
ṭh ดุจดุช่จางดอกไม้
ช่างดอกไม้ผู้ฉผลาดเลื
ู้ฉลาดเลื
อกเฟ้
อกเฟ้ นดอกไม้
นดอกไม้
ฉะนัฉะนั
้น. ้น(44)
. (44)
ฑ์ ḍฑ์ [ḍɖ ][ ɖ ]
ฒ์ ฒ์ [ḍh
ḍh ɖʱ][ ɖʱ]
ณ์ ṇณ์ [ṇɳ ][ ɳ ]
Who
Who will
will ferret
ferret out,
out,
ต์ tต์ [t t̪ ][ t̪ ]
ถ์ ถ์ [tht̪ʰ][ t̪ʰ]
th The
The
underworld,
underworld, thethe
earth
earth
and
and
thethe
realm
realm
of of
gods?
gods?
ท์ dท์ [dd̪ ][ d̪ ] Who
Whowill
will
select
select
thethe
well-taught
well-taught
Dhammaverses,
Dhammaverses,
ธ์ ธ์ [dh
dh d̪ʱ][ d̪ʱ]
น์ nน์ [nn̪ ][ n̪ ] AsAs
the
thewise
wisegarland-maker,
garland-maker, the
the
flowers?
flowers?(44)
(44)

ป์ ป์ [pp ][ p ]
p
ผ์ ผ์ [ph
ph pʰ][ pʰ] ด้วยอำนาจสั
ด้วยอำนาจสั จจวาจา
จจวาจา และอานิ
และอานิ สงส์กสารอ่
งส์กาารอ่
นสังาวันสั งวัธยายพระไตรปิ
ธยายพระไตรปิ ฎก ฎก
พ์ พ์ [bb ][ b ]
b
ขอถวายเป็
ขอถวายเป็ นพระราชกุ
นพระราชกุ ศลแด่ศลแด่
สถาบัสถาบั นพระมหากษั
นพระมหากษั ตริย์พตุทริยธมามกะ
์พุทธมามกะ
และขอให้
และขอให้ ข้าาพเจ้
ข้าพเจ้ า และประเทศชาติ
และประเทศชาติ ปราศจากภยั
ปราศจากภยั นตรายนตรายเจริญเจริ
รุ่งเรืญอรุงทุ
่งเรืกอเมื
งทุ่อกเมื ่อ เทอญ.
เทอญ.
ภ์ ภ์ [bh
bh bʱ][ bʱ]
ม์ ม์ [mm][ m]
m

ย ๎ yย ๎ [y j ][ j ]
ร ๎ rร ๎ [r ɻ ][ ɻ ] ดัชนีดัใชนการแปลพระไตรปิ
นีในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล
ฎกสากล
: World
: World Tipiṭaka
Tipiṭaka Translation
Translation IndexIndex
ล ๎ lล ๎ [l l̪ ][ l̪ ] ชื่อ :ชื่อ : DHAMMAPADA
DHAMMAPADA 44/423
44/423: Pathavikathāpasutapañcasatabhikkhuvatthu
: Pathavikathāpasutapañcasatabhikkhuvatthu
ว ๎ vว ๎ [vʋ ][ ʋ ] StoryStory
of Teaching
of Teaching
the the
500 500Bhikkhus,
Bhikkhus,เรือ่ งเทศนาเกี
เรือ่ งเทศนาเกี
ย่ วกัยบ่ วกั
แผ่บนแผ่
ดินนแก่ดินภแก่
กิ ษุภ500
กิ ษุ 500
รูป รูป
ส ๎ sส ๎ [s s̪ ][ s̪ ] ศัพท์ศัธพัมท์มสั
ธัมงมสั
คณีงคณี : Dhammapadaṃ→
: Dhammapadaṃ→ Dhamma,
Dhamma, ธัมมะ
ธัม29Dhs:3
มะ 29Dhs:3
ห ๎ hห ๎ [hɦ ][ ɦ ] ปิฎกอ้ปิฎากอ้
งอิางงอิ: ง : Pathavi
Pathavi12S2:617
12S2:617
ฬ ๎ ḷฬ ๎ [ḷ ɭ ][ ɭ ] คลังคลั
ข้องมูข้ลอปาฬิ
มูลปาฬิ
: ...sudesitaṃ...
: ...sudesitaṃ...
5V:1150;
5V:1150; 12S1;
12S1;
16A7;
16A7; 18Dh; 18Dh;
18It;18It; 19Vv;19Vv; 19Th1 19Th1
อํ aṃอํ aṃ
[ ã ][ ã ] คำสำคัคำสำคั
ญ : ญ : pathavī, pathavī,earth, แผ่นแผ่
earth, ดินน;ดิdhammapada,
น; dhammapada, Dhammaverses,
Dhammaverses, บทธับทธัมมะมมะ

39 39

43
พิธีอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎกสากลถวายเป็นพระราชกุศลสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
จัดโดย มูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ร่วมกับกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ
ในพระสังฆราชูปถัมภ์
44
อะอะaa [ a[ a] ]
อาอาāā [ aː[ aː] ] มุนี มุมุนนี ี
อิอิ i i [ [i i] ]
อีอี ī ī [ [iːiː] ]
อุอุ uu [ u[ u] ]
อูอู ūū [ uː
[ uː] ] ยถาปิ
ยถาปิภมโร
ภมโรปุปุปป์ผ์ผํ...ํ...
เอเอe e [ eː[ eː] ]
โอโอoo [ oː[ oː] ]
ก์ก์ kk [ k[ k] ] Yathāpi
Yathāpibhamaro
bhamaropupphaṃ,
pupphaṃ,
ข์ข์ khkh[ kʰ
[ kʰ] ]
Vaṇṇagandhamaheṭhayaṃ;
Vaṇṇagandhamaheṭhayaṃ;
ค์ค์ gg [ g[ g] ]
ฆ์ฆ์ ghgh[ gʱ
[ gʱ] ] Paleti
Paletirasamādāya,
rasamādāya,
ง ง ṅṅ [ ŋ[ ŋ] ] Evaṃ
Evaṃgāme
gāmemunī
munīcare.
care.(49)
(49)
จ์จ์ c c [ c[ c] ]
ฉ์ฉ์ chch[ cʰ[ cʰ] ]
ช์ช์ j j [ [ɟ ɟ] ]
ฌ์ฌ์ jhjh[ [ɟʱɟʱ] ] ภมรไม่
ภมรไม่ยยังังบุบุปปผาผา, ,
์์ ññ [ [ɲɲ] ] ให้ให้สสีแีและกลิ
ละกลิ่น่นชอกช้
ชอกช้ำำฉัฉันนใด;ใด;
ฏ์ฏ์ ṭ ṭ [ [ʈ ʈ] ] เอาแต่รรสแล้
เอาแต่ สแล้ววบิบินนไปไป, ,
์ ์ ṭhṭh[ [ʈʰʈʰ] ] มุมุนนีพีพึงึงจาริ
จาริกกไปในหมู
ไปในหมู่บ่บ้า้านนฉัฉันนนันั้น้น. .(49)
(49)
ฑ์ฑ์ ḍḍ [ ɖ[ ɖ] ]
ฒ์ฒ์ ḍhḍh[ ɖʱ
[ ɖʱ
]]
ณ์ณ์ṇṇ [ ɳ[ ɳ] ]
As
Asaabee,
bee,visiting
visitingflowers,
flowers,
ต์ต์ t t [ [t̪ t̪] ]
ถ์ถ์ thth[ [t̪ʰt̪]ʰ] Without
Withoutdamaging
damagingits itscolour
colourand
andscent;
scent;
ท์ท์ dd [ d̪[ d̪] ] Takes
Takesthe
thetaste
tasteand
andflies
fliesaway,
away,
ธ์ ธ์ dhdh[ d̪[ d̪ʱ]ʱ] So
Soshould
shouldthe
thesage,
sage,through
throughaavillage,
village,go.
go.(49)
(49)
น์น์ nn [ n̪[ n̪] ]
ป์ป์ pp [ p[ p] ]
ผ์ผ์ phph[ pʰ
[ pʰ
]] ด้วด้ยอำนาจสั
วยอำนาจสัจจวาจา
จจวาจาและอานิ
และอานิสงส์
สงส์การอ่
การอ่านสั
านสังวังธวัยายพระไตรปิ
ธยายพระไตรปิฎกฎก
พ์พ์ bb [ b[ b] ] ขอถวายเป็นพระราชกุ
ขอถวายเป็ นพระราชกุศลแด่
ศลแด่สถาบั
สถาบันพระมหากษั
นพระมหากษัตริตยริ์พยุท์พธมามกะ ุทธมามกะ
และขอให้ข้าขพเจ้
และขอให้ ้าพเจ้า าและประเทศชาติ
และประเทศชาติปราศจากภยั
ปราศจากภยันตรายนตรายเจริเจริญญรุ่งรุเรื่งเรืองทุ
องทุกเมื
กเมื่อ ่อเทอญ.
เทอญ.
ภ์ภ์ bhbh[ bʱ
[ bʱ
]]
ม์ม์ mm[ m [m ]]

ยย๎ ๎ yy [ [j j] ] ดัดัชชนีนีในการแปลพระไตรปิ
ในการแปลพระไตรปิฎฎกสากล กสากล: :World
WorldTipiṭaka
TipiṭakaTranslation
TranslationIndex Index
ร ๎ร ๎ r r [ [ɻ ɻ] ] ชื่อชื่อ: : DHAMMAPADA
DHAMMAPADA49/423 49/423: Macchariyakosiyaseṭṭhivatthu
: Macchariyakosiyaseṭṭhivatthu
ลล๎ ๎ l l [ [l̪ l̪] ] Story
StoryofofKosiya,
Kosiya,the
theRich Miser,เรืเรื
RichMiser, ่อ่องเศรษฐี
งเศรษฐีผผู้ตู้ตระหนี
ระหนี่ ชื่ ่อชื่อโกสิ
โกสิยะยะ
ว ว๎ ๎ vv [ [ʋʋ] ] ศัศัพพท์ท์ธัมธัมมสัมสังคณี
งคณี: rasamādāya→
: rasamādāya→Rasa Rasa: taste,
: taste,รสะรสะ, ,29Dhs:1250
29Dhs:1250
สส๎ ๎ s s [ [s̪ s̪] ] agandhakaṃ→
agandhakaṃ→Gandha Gandha: fragrance,
: fragrance,คัคันนธะธะ29Dhs:1246
29Dhs:1246
หห๎ ๎ hh [ ɦ[ ɦ] ] ปิปิฎฎกอ้กอ้างอิางอิง ง: : kosiyakosiya19Th1:633
19Th1:633
ฬฬ๎ ๎ ḷ ḷ [ [ɭ ɭ] ] คลัคลังข้งอข้อมูมูลลปาฬิ
ปาฬิ: :......paleti
paletirasamādāya...
rasamādāya...27Ne.1096
27Ne.1096
อํอํaṃ aṃ[ ã[ ã] ]
คำสำคั
คำสำคัญญ: : puppha, flowers,ดอกไม้
puppha,flowers, ดอกไม้; vaṇṇa,
; vaṇṇa,colour,
colour,สีสี
; munī,
; munī,sage, sage,มุมุ นนี ี

41
41
45
พิธีสมโภชและพระราชทานพระไตรปิฎกสากลเพื่อประดิษฐาน ณ ศาลฎีกาแห่งราชอาณาจักรไทย
เป็นพระธัมมทานในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ องค์อุปถัมภ์พระไตรปิฎกสากล พ.ศ. 2550
46
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] วาจาสุวาจาสุ
ภาสิต ภาสิต
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] ยถาปิ รุจิรํ ปุป์ผํ...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Yathāpi ruciraṃ pupphaṃ,


ข์ kh [ kʰ]
Vaṇṇavantaṃ agandhakaṃ;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Evaṃ subhāsitā vācā,
ง ṅ [ŋ ] Aphalā hoti akubbato. (51)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] อุปมาเหมือนบุปผางาม,
์ ñ [ɲ] หลากสีแต่ไร้กลิ่น;
ฏ์ ṭ [ʈ] อุปไมยวาจาสุภาสิต,
์ ṭh [ ʈʰ ] ย่อมไม่มีผลแก่ผู้ไม่กระทำ. (51)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]

ต์ t [ t̪ ] Just like a lovely blossom,


ถ์ th [ t̪ʰ] Countless colours but scentless;
ท์ d [ d̪ ]
So the well-spoken word
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] Is fruitless when not carried out. (51)
ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ]
ร๎ r [ ɻ ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ล๎ l [ l ̪ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 51/423 : Chattapāṇiupāsakavatthu
ว๎ v [ ʋ ] Story of Chattapāṇi, เรื่องอุบาสกผู้ถือร่ม ชื่อฉัตตปาณิ
ส ๎ s [ s̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : agandhakaṃ→ Gandha : ragrance, คันธะ 29Dhs:1246
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : Chattapāṇi 5V:1138
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...evaṃ subhāsitā vācā... 19Th1:576
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : vaṇṇa, colour, สี; subhāsita, well-spoken สุภาสิต

47
43
ประธานศาลรัฐธรรมนูญมอบพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน และปทานุกรมพระไตรปิฎกศึกษาอ้างอิง ชุด 80 เล่ม
เป็นพระธัมมทานในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์แก่ประธานศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
ณ กรุงเฮก เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในนานาประเทศ
วันเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 80 พรรษา พ.ศ. 2550
48
อะอะaa [ [aa] ]
อาอาāā [ [aːaː] ] ทุกทิศทุทุกกทิทิศศ
อิอิ i i [ [i i] ]
อีอี ī ī [ [iːiː] ]
อุอุ uu [ [uu] ]
อูอู ūū [ [uːuː] ] นนปุปุปป์ผ์ผคัคันน์โ์โธธปฏิ
ปฏิววาตเมติ
าตเมติ......
เอเอ ee [ [eːeː] ]
โอโอ oo [ [oːoː] ]
ก์ก์ kk [ [kk] ] Na
Na pupphagandho
pupphagandho paṭivātameti,
paṭivātameti,
ข์ข์ kh
kh[ [kʰkʰ] ]
Na
Na candanaṃ
candanaṃ tagaramallikā
tagaramallikā vā;
vā;
ค์ค์ gg [ [gg] ]
ฆ์ฆ์ gh
gh[ [gʱgʱ] ] Satañca
Satañca gandho
gandho paṭivātameti,
paṭivātameti,
งง ṅṅ [ [ŋŋ] ] Sabbā
Sabbā disā
disā sappuriso
sappuriso pavāyati.
pavāyati. (54)
(54)
จ์จ์ cc [ [cc] ]
ฉ์ฉ์ chch[ [cʰcʰ] ]
ช์ช์ j j [ [ɟ ɟ ] ]
ฌ์ฌ์ jhjh[ [ɟʱɟʱ] ] กลิ
กลิ่น่นบุบุปปผาทวนลมไม่
ผาทวนลมไม่ไได้ด้,,
์์ ññ [ [ɲɲ] ] จัจันนทร์
ทร์หรื หรืออกฤษณา
กฤษณากระลำพั กระลำพักกก็ก็ททวนลมไม่
วนลมไม่ไได้ด้; ;
ฏ์ฏ์ ṭṭ [ [ʈʈ] ] แต่
แต่คคนดี
นดีททั้งั้งหลายย่
หลายย่ออมหอมทวนลมได้
มหอมทวนลมได้,,
์์ ṭhṭh[ [ʈʰʈʰ] ] คนดี
คนดียย่อ่อมฟุมฟุ้ง้งไปทั
ไปทั่ว่วทุทุกกทิทิศศ. .(54)
(54)
ฑ์ฑ์ ḍḍ [ [ɖɖ] ]
ฒ์ฒ์ ḍh
ḍh[ [ɖʱɖʱ] ]
ณ์ณ์ ṇṇ [ [ɳɳ] ]
ต์ต์ tt [ [t̪t̪] ] No
No fragrance
fragrance ofof flowers
flowers waft
waft against
against the
the wind,
wind,
ถ์ถ์ thth[ [t̪t̪ʰ]ʰ] Neither
Neither sandalwood,
sandalwood, nor nor jasmine,
jasmine, tagara;
tagara;
ท์ท์ dd [ [d̪d̪] ] But
But the
the fragrance
fragrance of of the
the virtuous
virtuous does,
does,
ธ์ธ์ dh
dh[ [d̪d̪ʱ]ʱ]
น์น์ nn [ [n̪n̪] ] Wafting
Waftingin inevery
everyway
wayisisthe
thevirtuous
virtuousman.
man.(54)
(54)

ป์ป์ pp [ [pp] ]
ผ์ผ์ ph
ph[ [pʰpʰ] ] ด้ด้วยอำนาจสั
วยอำนาจสัจจจวาจา
จวาจาและอานิ
และอานิสสงส์งส์กการอ่
ารอ่านสั
านสังวังธวัยายพระไตรปิ
ธยายพระไตรปิฎฎกก
พ์พ์ bb [ [bb] ] ขอถวายเป็
ขอถวายเป็นนพระราชกุ
พระราชกุศศลแด่
ลแด่สถาบั
สถาบันนพระมหากษั
พระมหากษัตตริยริย์พ์พุทุทธมามกะ ธมามกะ
และขอให้
และขอให้ขข้าพเจ้
้าพเจ้าาและประเทศชาติ
และประเทศชาติปปราศจากภยั
ราศจากภยันนตราย ตรายเจริ เจริญญรุ่งรุเรื่งเรือองทุงทุกกเมืเมื่อ่อเทอญ.
เทอญ.
ภ์ภ์ bh
bh[ [bʱbʱ] ]
ม์ม์ mm [ [mm] ]
ยย๎ ๎ yy [ [j j] ]
รร๎ ๎ rr [ [ɻɻ] ] ดัดัชชนีนีในการแปลพระไตรปิ
ในการแปลพระไตรปิฎฎกสากล กสากล: :World
WorldTipiṭaka
TipiṭakaTranslation
TranslationIndexIndex
ลล๎ ๎ l l [ [l l̪ ]̪ ] ชืชื่อ่อ: : DHAMMAPADA
DHAMMAPADA54/423 54/423: :Ānandattherapañhavatthu
Ānandattherapañhavatthu
วว๎ ๎ vv [ [ʋʋ] ] Story
StoryofofĀnanda,
Ānanda,the Bhikkhu,เรืเรื่อ่องพระเถระ
theBhikkhu, งพระเถระชืชื่อ่ออานั
อานันนทะ
ทะ
สส๎ ๎ ss [ [s̪s̪] ] ศัศัพพท์ท์ธธมั มั มสัมสังงคณี
คณี: :pupphagandho→
pupphagandho→Gandha Gandha: :ragrance,
ragrance,คัคันนธะ ธะ29Dhs:1246
29Dhs:1246
หห๎ ๎ hh [ [ɦɦ] ] ปิปิฎฎกอ้กอ้าางอิงอิงง: : Ānandatthera
Ānandatthera14S5:1837,
14S5:1837,19Th1,
19Th1,20Ap1 20Ap1
ฬฬ๎ ๎ ḷ ḷ [ [ɭ ɭ] ] คลัคลังงข้ข้ออมูมูลลปาฬิ ปาฬิ: : ......Sabbā
Sabbādisā
disāsappuriso
sappurisopavāyati...
pavāyati...28Mi:1391
28Mi:1391
อํอํaṃaṃ[ [ãã] ] คำสำคั
คำสำคัญญ: : sappuriso,
sappuriso,virtuous man,คนดี
virtuousman, คนดี; ;disa,
disa,way, way,ทิทิศศ

45
45
49
Frankfurt Book Fair 2007

The World Tipiṭaka Edition 40 Vols.


Tipiṭaka Studies Reference 40 Vols.

พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ชุด 40 เล่ม และปทานุกรมพระไตรปิฎกศึกษาอ้างอิง อักษรโรมัน ชุด 40 เล่ม


ได้จัดแสดงเป็นนิทรรศการพิเศษในงานมหกรรมหนังสือ แฟรงค์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี ในคูหาประเทศไทย
ในฐานะผลงาน “ภูมิปัญญาไทยสากล” โดยกรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2550
50
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] พระสัพระสั
ทธัมม์ทธัมม์
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] ทีฆา ชาครโต รัต์ติ...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Dīghā jāgarato ratti,


ข์ kh [ kʰ]
Dīghaṃ santassa yojanaṃ;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Dīgho bālāna saṃsāro,
ง ṅ [ŋ ] Saddhammaṃ avijānataṃ. (60)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ราตรียาวนานสำหรับผู้ตื่นอยู,่
ฌ์ jh [ ɟʱ ]
์ ñ [ɲ] โยชน์หนึ่งยาวไกลสำหรับผู้เมื่อยล้า;
ฏ์ ṭ [ʈ]
สังสารวัฏยาวนานไม่รู้จบสำหรับคนโง่
์ ṭh [ ʈʰ ] ผู้ไม่รู้แจ้งพระสัทธัมม์. (60)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]
The night is long for the wakeful,
ต์ t [ t̪ ]
ถ์ th [ t̪ʰ] A league is long for the weary,
ท์ d [ d̪ ] Saṃsāra is long for the fool
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] Who knows not the Dhamma of the virtuous. (60)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index


ร๎ r [ ɻ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 60/423 : Aññatarapurisavatthu
ล๎ l [ l ̪ ] Story of a Man, เรื่องบุรุษผู้มีภริยางาม
ว๎ v [ ʋ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : bālāna→ bāla : fool, พาละ 29Dhs:2009
ส ๎ s [ s̪ ] ปิฎกอ้างอิง : -
ห๎ h [ ɦ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...Saddhammaṃ... 4V:1849; 5V:327
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คำสำคัญ : saṃsāra, saṃsāra, สังสารวัฏ;
อํ aṃ [ ã ] saddhamma, Dhamma of the virtuous, พระสัทธัมม์

47
51
สมาคมพระพุทธศาสนาเถรวาทแห่งญี่ปุ่นเป็นสถาบันแรกที่ได้รับพระราชทานพระไตรปิฎกสากล
ปาฐกถาพระไตรปิฎกจัดขึ้นเพื่อเผยแผ่การศึกษาพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน ณ กรุงโตเกียว พ.ศ. 2550
52
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] ความเป็ นสหายนสหาย
ความเป็
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] จรั์เจ นาธิคัจ์เฉย์ย...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Carañce nādhigaccheyya,
ข์ kh [ kʰ]
Seyyaṃ sadisamattano;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Ekacariyaṃ da‿ḷhaṃ kayirā,
ง ṅ [ŋ ] Natthi bāle sahāyatā. (61)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] หากเมื่อเที่ยวไปก็ยังไม่พบ,
์ ñ [ɲ] สหายที่ดีกว่าหรือเท่ากับตน;
ฏ์ ṭ [ʈ] พึงทำการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง,
์ ṭh [ ʈʰ ] ความเป็นสหายไม่มีในคนโง่. (61)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]

ต์ t [ t̪ ]
If in your pursuit, you find no companion,
ถ์ th [ t̪ʰ] Who is your equal, your better;
ท์ d [ d̪ ] Make your solitary pursuit firmly,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] There is no fellowship with the fools. (61)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]
ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ย๎ y [ j ] ชื่อ : DHAMMAPADA 61/423 : Mahākassapasaddhivihārikavatthu
ร๎ r [ ɻ ] Story of Bhikkhu having Mahākassapa as an ordinator
ล๎ l [ l ̪ ] เรื่องพระลูกศิษย์ที่มีพระมหากัสสปะเป็นอุปัชฌาย์
ว๎ v [ ʋ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : bāle→ bāla : fool, พาละ 29Dhs:2009
ส ๎ s [ s̪ ] ปิฎกอ้างอิง : Mahākassapa 1V:1418; 3V; 4V; 7D; 9M; 12S1; 12S2; 14S5;
ห๎ h [ ɦ ] 17A10; 18Dh; 18Ud; 19Th1; 20Ap1; 20Ap2; 28Mi
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...Natthi bāle sahāyatā... 3V:1990; 11M:647; 22J:1800
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : sahāyatā, fellowship, ความเป็นสหาย

53
49
งานสมโภชพระไตรปิฎกสากล ชุด 40 เล่ม พระธัมมทานในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ซึ่งได้พระราชทานแก่สมาคมพุทธศาสนาเถรวาทแห่งญี่ปุ่น ณ กรุงโอซากา ประเทศญี่ปุ่น พ.ศ. 2550
54
อะอะa a[ a[ ]a ]
อาอาā ā[ aː[ ]aː ] ทัพพีทัไพม่ทัรพีพู้รไพีสแกง
ม่ไรมู่้รรสแกง
ู้รสแกง
อิ อิi i [ i[ ]i ]
อี อีī ī [ iː[ ]iː ]
อุ อุu u[ u[ u] ]
อู อูū ū[ uː[ uː
] ] ยาวชี
ยาวชีวัมว์ปัมิ ์ปเจิ เจพาโล...
พาโล...
เอ เอe e[ eː[ ]eː ]
โอ โอo o[ oː[ oː
] ]

ก์ ก์k k[ k[ ]k ] Yāvajīvampi
Yāvajīvampicecebālo,
bālo,
ข์ ข์khkh
[ kʰ[ ]kʰ]
Paṇḍitaṃ
Paṇḍitaṃpayirupāsati;
payirupāsati;
ค์ ค์g g[ g[ ]g ]
ฆ์ ฆ์ghgh
[ gʱ[ ]gʱ ] Na
Nasosodhammaṃ
dhammaṃvijānāti,
vijānāti,
ง งṅ ṅ[ ŋ[ ]ŋ ] Dabbī
Dabbīsūparasaṃ
sūparasaṃyathā.
yathā.(64)
(64)
จ์ จ์c c[ c[ ]c ]
ฉ์ ฉ์chch[ cʰ[ ]cʰ ]
ช์ ช์j j [ ɟ [ ]ɟ ]
ฌ์ ฌ์jhjh[ ɟʱ[ ]ɟʱ ] แม้แม้
ตลอดชี
ตลอดชี วิตวิตคนโง่ คนโง่, ,
์ ์ñ ñ[ ɲ[ ]ɲ ] จะได้
จะได้เข้เาข้ไปนั
าไปนั ่งใกล้่งใกล้บัณบัณ
ฑิตฑิ;ต;
ฏ์ ฏ์ṭ ṭ[ ʈ[ ]ʈ ] เขาย่
เขาย่
อมไม่
อมไม่ รู้แรจู้้แงจ้พระธั
งพระธั มม์ม,ม์,
์ ์ṭhṭh[ ʈʰ[ ]ʈʰ] เหมื
เหมื
อนทั
อนทั พพีพไพีม่ไรมู่้รรสแกง
ู้รสแกงฉะนั ฉะนั
้น ้น(64)
(64)
ฑ์ ฑ์ḍ ḍ[ ɖ[ ]ɖ ]
ฒ์ ฒ์ḍhḍh
[ ɖʱ[ ]ɖʱ]
ณ์ ณ์ṇ ṇ[ ɳ[ ]ɳ ]
ต์ ต์t t[ t̪[ ]t̪ ] Though
Thoughallalllifetime
lifetimeofofa afool
fool
ถ์ ถ์thth[ t̪[ʰ]t̪ʰ] Who
Whosits
sitsnear
nearthethewise;
wise;
ท์ ท์d d[ d̪[ ]d̪ ] He
Heunderstands
understandsnothing
nothingofofthetheDhamma,
Dhamma,
ธ์ ธ์dhdh
[ d̪[ʱ]d̪ʱ]
น์ น์n n[ n̪[ ]n̪ ] As
Asthe
theladle,
ladle,thethetaste
tasteofofthe
thesoup.
soup.(64)
(64)

ป์ ป์p p[ p[ ]p ]
ผ์ ผ์phph
[ pʰ[ ]pʰ] ด้วยอำนาจสั
ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิ
จจวาจา สงส์สกงส์ารอ่
และอานิ านสัานสั
การอ่ งวัธงยายพระไตรปิ
วัธยายพระไตรปิ ฎกฎก
พ์ พ์b b[ b[ ]b ] ขอถวายเป็
ขอถวายเป็นพระราชกุ ศลแด่
นพระราชกุ สถาบั
ศลแด่ นพระมหากษั
สถาบั นพระมหากษั ตริยต์พริยุท์พธมามกะ
ุทธมามกะ
และขอให้ ข้าพเจ้
และขอให้ า และประเทศชาติ
ข้าพเจ้ ปราศจากภยั
า และประเทศชาติ ปราศจากภยั นตราย
นตราย เจริเจริ
ญรุญ่งเรืรุอ่งเรืงทุอกงทุเมืก่อเมืเทอญ.
่อ เทอญ.
ภ์ ภ์bhbh
[ bʱ[ ]bʱ]
ม์ ม์m m[ m[ ]m]
ย ๎ ยy๎ y[ j[ ]j ] ดัชดันีชในีนการแปลพระไตรปิ
ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล
ฎกสากล: World : WorldTipiṭaka
Tipiṭaka Translation
TranslationIndex
Index
ร ๎ รr๎ r[ ɻ[ ]ɻ ] ชื่อชื:่อ : DHAMMAPADA
DHAMMAPADA 64/423
64/423 : Udāyittheravatthu
: Udāyittheravatthu
ล ๎ ลl๎ l [ l̪[ ]l̪ ] Story
Storyof of
Udāyī,
Udāyī, เรื่อเรืงพระเถระเขลา
่องพระเถระเขลาชื่อชือุ่อทอุายีทายี
ว ๎ วv๎ v[ ʋ[ ]ʋ ] ศัพศัท์พธท์ัมธมสั
ัมมสั
งคณี
งคณี: bālo→
: bālo→bāla : fool,
bāla : fool,พาละ พาละ29Dhs:2009
29Dhs:2009
ส ๎ สs๎ s[ s̪[ ]s̪ ] Paṇḍitaṃ→
Paṇḍitaṃ→ Paṇḍita
Paṇḍita : wise,
: wise,ปัณปัฑิณตฑิะต29Dhs:2010
ะ 29Dhs:2010
ห ๎ หh๎ h[ ɦ[ ]ɦ ] ปิฎปิกอ้ฎกอ้
างอิางอิ
ง :ง : Udāyitthera
Udāyitthera 19Th1:1021-1036
19Th1:1021-1036
ฬ ๎ ฬḷ๎ ḷ [ ɭ[ ]ɭ ] คลัคลั
งข้งอข้มูอลมูปาฬิ
ลปาฬิ: ...: dhammaṃ
...dhammaṃvijānāti...
vijānāti... 7D:1115
7D:1115
อํ aṃ
อํ aṃ[ ã[ ]ã ] คำสำคั
คำสำคั ญ ญ: : dabbī, dabbī,ladle, ทัพทัพีพ; พีsūpa,
ladle, ; sūpa,soup,
soup,แกง; แกง;dhamma,
dhamma, Dhamma,
Dhamma,พระธั
พระธั
มม์มม์

5151
55
ประธานศาลรัฐธรรมนูญมอบพระไตรปิฎกสากลเป็นพระธัมมทานในสมเด็จกรมหลวง
นราธิวาสราชนครินทร์ แก่สภาพระไตรปิฎกสากลแห่งญี่ปุ่น เนื่องในงานพระเมรุ พ.ศ. 2551
56
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] ความรูความรู
้กับคนโง่
้กับคนโง่
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] ยาวเทว อนัต์ถาย...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Yāvadeva anatthāya,
ข์ kh [ kʰ]
Ñattaṃ bālassa jāyati;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Hanti bālassa sukkaṃsaṃ,
ง ṅ [ŋ ] Muddhamassa vipātayaṃ. (72)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ความรู้ที่เกิดแก่คนโง่
์ ñ [ɲ] เพียงเพื่อการทำลายอย่างเดียว
ฏ์ ṭ [ʈ] ย่อมทำลายส่วนความดีของคนโง่
์ ṭh [ ʈʰ ] ทำลายสติปัญญาของเขาให้ตกต่ำไป (72)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]

ต์ t [ t̪ ]
A fool gains knowledge,
ถ์ th [ t̪ʰ] Only for his ruin;
ท์ d [ d̪ ] It kills the fool’s goodness,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] And destroys his brain. (72)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]
ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ย๎ y [ j ] ชื่อ : DHAMMAPADA 72/423 : Saṭṭhikūṭapetavatthu
ร๎ r [ ɻ ] Story of a Hungry-Ghost Whose Head Was Hit with Sixty Hammers
ล๎ l [ l ̪ ] เรื่องเปรตถูกฆ้อน 60 อันทุบศีรษะ
ว๎ v [ ʋ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : bālassa→ bāla : fool, พาละ 29Dhs:2009
ส ๎ s [ s̪ ] sukkaṃsaṃ→ Sukka : good actions, สุกะ 29Dhs:2012
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : Saṭṭhikūṭapeta 19Pv:869
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : -
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : Ñatta, knowledge, ความรู้

53
57
ประธานศาลรัฐธรรมนูญมอบพระไตรปิฎกสากลแก่ศรีลังกาเป็นพระธัมมทานในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ณ ศาลรัฐธรรมนูญ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 และประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสัังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา
ได้จัดพิธีประดิษฐานพระไตรปิฎกชุดนี้ ณ สถาบันพระพุทธศาสนา วิหารพระเขี้ยวแก้ว กรุงแคนดี้ พ.ศ. 2552
58
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] ความไม่ความไม่
มี มี
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] อสัน์ตํ ภาวนมิจ์เฉย์ย...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Asantaṃ bhāvanamiccheyya,
ข์ kh [ kʰ]
Purekkhārañca bhikkhusu;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Āvāsesu ca issariyaṃ,
ง ṅ [ŋ ] Pūjaṃ parakulesu ca. (73)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] คนโง่พึงปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่ม,ี
์ ñ [ɲ] การมีภิกขุทั้งหลายเป็นบริวาร
ฏ์ ṭ [ʈ] ความเป็นใหญ่ในอาวาส,
์ ṭh [ ʈʰ ] และการบูชาในตระกูลชาวบ้าน. (73)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]
A fool would desire undeserved fame,
ต์ t [ t̪ ]
ถ์ th [ t̪ʰ] Preeminence among fellow monks;
ท์ d [ d̪ ] Authority in monastery,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] Offerings from householder families. (73)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ]
ร๎ r [ ɻ ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ล๎ l [ l ̪ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 73/423 : Cittagahapativatthu
ว๎ v [ ʋ ] Story of Citta, the Rich Householder, เรื่องนายคหบดี ชื่อจิตตะ
ส ๎ s [ s̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : -
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : Cittagahapati 27Pe:269
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ..issariya... 1V:1253; 12S1:351; 17A8:443
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : pūjā, homage, การบูชา; kula, families, ตระกูล

5955
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประธานกิตติมศักดิ์
พระราชทานพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน ชุดปฐมฤกษ์ 40 เล่ม แก่คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
ประดิษฐาน ณ ศาลรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ถนนจักรเพ็ชร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2548
60
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] บัณฑิตบัณฑิต
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] อุทกั ๎หิ นยัน์ติ เนต์ติกา...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Udaka‿ñhi nayanti nettikā,


ข์ kh [ kʰ]
Usukārā namayanti tejanaṃ;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Dāruṃ namayanti tacchakā,
ง ṅ [ŋ ] Attānaṃ damayanti paṇḍitā. (80)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ช่างส่งน้ำย่อมส่งน้ำไป,
์ ñ [ɲ] ช่างศรย่อมดัดลูกศร;
ฏ์ ṭ [ʈ] ช่างไม้ย่อมถากไม้,
์ ṭh [ ʈʰ ] บัณฑิตทั้งหลายย่อมฝึกตน. (80)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]
Irrigators supply water,
ต์ t [ t̪ ]
ถ์ th [ t̪ʰ] Fletchers shape the arrow shaft;
ท์ d [ d̪ ] Carpenters chip the wood,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] The wise tame themselves. (80)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ]
ร๎ r [ ɻ ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ล๎ l [ l ̪ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 80/423 : Paṇḍitasāmaṇeravatthu
ว๎ v [ ʋ ] Story of Paṇḍita, the Novicer, เรื่องสามเณร ชื่อปัณฑิตะ
ส ๎ s [ s̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : paṇḍitā→ Paṇḍita : wise, ปัณฑิตะ 29Dhs:2010
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : Paṇḍita 15A3:282
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...Attānaṃ damayanti paṇḍitā... 10M:1024; 19Th1:1220
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : udaka, water, น้ำ; tejana, shaft, ลูกศร; Dāru, wood, ไม้

61
57
พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงเป็นประธานในพิธีพระราชทานพระไตรปิฎกสากล
6 มีนาคม พ.ศ. 2550 แก่สถาบันต่างๆ ในประเทศญี่ปุ่น อินเดีย และสวีเดน
เป็นพระธัมมทานในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
62
อะอะa a[ a []a ]
อา อา
ā ā[ aː[]aː ] ธัมมะบทเดี ยวยวยว
ธัมธัมะบทเดี
มมะบทเดี
อิ อิi i[ i [] i ]
อี อีī ī[ iː[] iː ]
อุ อุu u[ u []u ]
อู อูū ū[ uː[]uː ] โยโยจ จคาถา
คาถาสตํสตํภาเส...
ภาเส...
เอ เอe e[ eː[]eː ]
โอ โอo o[ oː[]oː ]
ก์ ก์k k[ k[]k ] Yo
Yocacagāthā
gāthāsataṃ
sataṃbhāse,
bhāse,
ข์ ข์khkh
[ kʰ[]kʰ]
Anatthapadasaṃhitā;
Anatthapadasaṃhitā;
ค์ ค์g g[ g []g ]
ฆ์ ฆ์ghgh
[ gʱ[]gʱ ] Ekaṃ
Ekaṃdhammapadaṃ
dhammapadaṃseyyo,
seyyo,
ง งṅ ṅ[ ŋ[]ŋ ] Yaṃ
Yaṃsusutvā
‿ tvāupasammati.
‿ upasammati.(102)
(102)
จ์ จ์c c[ c []c ]
ฉ์ ฉ์chch[ cʰ[]cʰ ]
ช์ ช์j j[ ɟ []ɟ ]
ฌ์ ฌ์jh jh[ ɟʱ[]ɟʱ ] บุคบุคลใดกล่
คคลใดกล่ าวคาถาได้
าวคาถาได้ นับนร้ับอร้ยอ,ย,
์ ์ñ ñ[ ɲ[]ɲ ] แต่แต่
ประกอบด้
ประกอบด้ วยบทที
วยบทที่ไม่่ไเม่ป็เนป็ประโยชน์
นประโยชน์ ; ;
ฏ์ ฏ์ṭ ṭ[ ʈ [] ʈ ] บทธับทธั มมะบทเดี
มมะบทเดี ยวย,ว,
์ ์ṭh ṭh
[ ʈʰ[] ʈʰ ] ที่ฟทีัง่ฟแล้
ังแล้
วใจสงบได้
วใจสงบได้ประเสริ
ประเสริ ฐกว่
ฐกว่
า. า(102)
. (102)
ฑ์ ฑ์ḍ ḍ[ ɖ[]ɖ ]
ฒ์ ฒ์ḍhḍh[ ɖʱ[]ɖʱ]
ณ์ ณ์ṇ ṇ[ ɳ[]ɳ ]
Should
Shouldoneonerecite
recitea ahundred
hundredverses,
verses,
ต์ ต์t t[ t̪[] t̪ ]
ถ์ ถ์th th
[ t̪[ʰ] t̪ʰ] Containing
Containingverses
versesthat
thatare
areuseless;
useless;
ท์ ท์d d[ d̪[]d̪ ] AAsingle
singleDhammaverse,
Dhammaverse,
ธ์ ธ์dhdh[ d̪ʱ[]d̪ʱ]
That
Thatupon
uponhearing
hearingbrings
bringspeace,
peace,is isbetter.
better.(102)
(102)
น์ น์n n[ n̪[]n̪ ]
ป์ ป์p p[ p[]p ]
ผ์ ผ์phph
[ pʰ[]pʰ] ด้วยอำนาจสั
ด้วยอำนาจสั จจวาจา
จจวาจา และอานิ
และอานิ สงส์สกงส์ การอ่
ารอ่ านสัางนสั
วัธงยายพระไตรปิ
วัธยายพระไตรปิ ฎก ฎก
พ์ พ์b b[ b[]b ] ขอถวายเป็
ขอถวายเป็ นพระราชกุ
นพระราชกุ ศลแด่
ศลแด่ สถาบั
สถาบั นพระมหากษั
นพระมหากษั ตริยต์พริุทยธมามกะ
์พุทธมามกะ
และขอให้
และขอให้ ข้าพเจ้
ข้าพเจ้ า และประเทศชาติ
า และประเทศชาติ ปราศจากภยั
ปราศจากภยั นตราย
นตราย เจริญเจริรุ่งญเรืรุอ่งงทุ
เรือกงทุ
เมืก่อเมืเทอญ.
่อ เทอญ.
ภ์ ภ์bhbh
[ bʱ[]bʱ]
ม์ ม์m m[ m[]m]
ย ๎ ยy๎ y[ j[] j ]
ร ๎ รr๎ r[ ɻ[] ɻ ] ดัชดันีชในการแปลพระไตรปิ
นีในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล
ฎกสากล: World
: WorldTipiṭaka Tipiṭaka Translation
Translation
Index
Index
ล ๎ ลl ๎ l[ l ̪[] l ̪ ] ชื่อชื:่อ : DHAMMAPADA
DHAMMAPADA 102/423
102/423 : Kuṇḍalakesitherīvatthu
: Kuṇḍalakesitherīvatthu
ว ๎ วv๎ v[ ʋ[] ʋ ] Story Story
of of
Kuṇḍalakesī, เรื่อเรืงพระเถรี
Kuṇḍalakesī, ่องพระเถรี ชื่อชืกุ่อณกุฑลเกสี
ณฑลเกสี
ส ๎ สs๎ s[ s̪[] s̪ ] ศัพศัท์พธมัท์มสั
ธมั งมสัคณีงคณี
: dhammapadaṃ→
: dhammapadaṃ→ Dhamma,
Dhamma, ธัมมะ
ธัมมะ
29Dhs:3
29Dhs:3
ห ๎ หh๎ h[ ɦ[]ɦ ] ปิฎปิกอ้ฎกอ้
างอิางงอิ: ง : Kuṇḍalakesi
Kuṇḍalakesi20Ap2:1202
20Ap2:1202
ฬ ๎ ฬḷ ๎ ḷ[ ɭ [] ɭ ] คลัคลั
งข้องข้มูอลมูปาฬิ
ลปาฬิ : ...: Yaṃ
...Yaṃ
sutvā
sutvā
upasammati...
upasammati... 20Ap1:7174
20Ap1:7174
อํ aṃ
อํ aṃ[ ã []ã ] คำสำคั
คำสำคั ญ :ญ : Dhammapadaṃ, Dhammapadaṃ, Dhammaverse,
Dhammaverse, พระธั
พระธั มม์มบม์ทบท

5959

63
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญร่วมกับผู้อุปถัมภ์พระไตรปิฎกชาวไทยและชาวสวีเดนจัดแสดงพระไตรปิฎกสากล
ณ กรุงสต๊อกโฮม ราชอาณาจักรสวีเดน ก่อนมอบเป็นพระธัมมทานแก่มหาวิทยาลัยอุปซาลา พ.ศ. 2548
64
อะ aอะ [aa ][ a ]
อา āอา [ aː
ā ][ aː ] ผู้ชผูนะตน
้ชผูนะตน
้ชนะตน
อิ iอิ [i i ][ i ]
อี īอี [ī iː ][ iː ]
อุ uอุ [uu ][ u ]
อู ūอู [ūuː ][ uː ] โย โย
สหัสหั
ส์สสํ สหั ส์เสน...
์สํ สหั ส์เสน...
เอ eเอ [ eː e ][ eː ]
โอ oโอ [ooː ][ oː ]
ก์ kก์ [kk ][ k ] YoYo
sahassaṃ
sahassaṃsahassena,
sahassena,
ข์ khข์ [ kʰ
kh ][ kʰ ]
Saṅgāme
Saṅgāme mānuse jine;
mānuse jine;
ค์ gค์ [gg ][ g ]
ฆ์ ghฆ์ [ gʱ
gh ][ gʱ ] Ekañca
Ekañcajeyyamattānaṃ,
jeyyamattānaṃ,
ง ṅง [ ŋ ]
ṅ [ ŋ ] SaSa
veve
saṅgāmajuttamo.
saṅgāmajuttamo. (103)
(103)
จ์ cจ์ [cc ][ c ]
ฉ์ ฉ์
ch [ cʰ
ch ][ cʰ ]
ช์ jช์ [j ɟ ][ ɟ ]
จำนวนนั
จำนวนนั บล้บานที ่บุค่บคลใด
ล้านที ุคคลใด , ,
ฌ์ ฌ์
jh [jhɟʱ ][ ɟʱ ]
์ ñ์ [ñɲ ][ ɲ ] มีชมีัยชชนะมนุ
ัยชนะมนุ สส์สทส์ั้งหลายในสงคราม;
ทั้งหลายในสงคราม;
ฏ์ ṭฏ์ [ṭ ʈ ][ ʈ ] และยั
และยั งชนะตนอี
งชนะตนอี กคนหนึ
กคนหนึ ่งด้ว่งยด้,วย,
์ ṭh
์ [ṭhʈʰ ][ ʈʰ ] ผู้นผูั้น้นแลั้นแล
ชื่อชืว่า่อชนะสู
ว่าชนะสู งสุดงสุในสงคราม.
ดในสงคราม.(103)
(103)
ฑ์ ḍฑ์ [ ɖ ]
ḍ [ ɖ ]
ฒ์ ḍh
ฒ์ [ ɖʱ
ḍh ][ ɖʱ ]
ณ์ ṇณ์ [ ɳ ]
ṇ [ ɳ ]

ต์ Millions
Millions of of
people,
people,
tต์ [t t̪ ][ t̪ ]
ถ์ ถ์ [tht̪ʰ ][ t̪ʰ ]
th Whom
Whom youyouhave
havedefeated
defeatedin in
a battle;
a battle;
ท์ dท์ [ d̪
d ][ d̪ ] And
Andovercome
overcome even one
even more
one more --that
--that
is is
yourself,
yourself,
ธ์ ธ์ [ d̪
dh dhʱ ][ d̪ʱ ]
น์ nน์ [ n̪
n ][ n̪ ] You
Youareare
thethe
greatest victor
greatest in in
victor thethe
battle.
battle.(103)
(103)

ป์ ป์ [pp ][ p ]
p ด้วยอำนาจสั จจวาจา
ด้วยอำนาจสั และอานิ
จจวาจา สงส์กสารอ่
และอานิ งส์กาารอ่
นสังาวันสั
ธยายพระไตรปิ
งวัธยายพระไตรปิ ฎก ฎก
ผ์ ผ์ [ pʰ
ph ph ][ pʰ ] ถวายเป็ นพระราชกุ
ถวายเป็ ศลแด่ศลแด่
นพระราชกุ สถาบัสถาบั
นพระมหากษั
นพระมหากษัตริย์พตุทริยธมามกะ
์พุทธมามกะ
พ์ พ์ [bb ][ b ]
b ขอให้ขอให้
ข้าพเจ้
ข้าาพเจ้
และประเทศชาติ ปราศจากภยั
าและประเทศชาติ นตราย
ปราศจากภยั และเจริ
นตราย ญรุ่งเรืญอรุงทุ
และเจริ ่งเรืกอเมื
งทุ่อกเมื
เทอญ.
่อ เทอญ.
ภ์ ภ์ [ bʱ
bh bh ][ bʱ ]
ม์ ม์ [mm][ m]
m

ย ๎ yย ๎ [y j ][ j ]
ร ๎ rร ๎ [r ɻ ][ ɻ ] ดัชนีดัตช่านีงๆต่าในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล
งๆ ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล : World
: World Tipiṭaka
Tipiṭaka Translation
TranslationIndex
Index
ล ๎ lล ๎ [l l̪ ][ l̪ ] ชื่อ :ชื่อ : DHAMMAPADA
DHAMMAPADA 103/423
103/423 : Kuṇḍalakesitherīvatthu
: Kuṇḍalakesitherīvatthu
ว ๎ vว ๎ [v ʋ ][ ʋ ] Story of Kuṇḍalakesī,
Story of Kuṇḍalakesī,เรื่องพระเถรี ชื่อกุชืณ่อฑลเกสี
เรื่องพระเถรี กุณฑลเกสี
ส ๎ sส ๎ [s s̪ ][ s̪ ] ศัพท์ศัธพมั ท์มสัธมั งมสั
คณีงคณี
:-:-
ห ๎ hห ๎ [ ɦ ]h [ ɦ ] ปิฎกอ้ปิฎากอ้
งอิางงอิ: ง : Kuṇḍalakesi 20Ap2:1202
Kuṇḍalakesi 20Ap2:1202
ฬ ๎ ḷฬ ๎ [ḷ ɭ ][ ɭ ] คลังคลั
ข้องมูข้ลอปาฬิ :-:-
มูลปาฬิ
อํ aṃ อํ aṃ [ ã ][ ã ] คำสำคัคำสำคัญ : ญ : jeyyamatta, victor
jeyyamatta, of oneself,
victor of oneself, ชนะตน;
ชนะตน; saṅgāma, battle,
saṅgāma, สงคราม
battle, สงคราม

63 63
65
พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงนำอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎกสากล
เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล ร่วมกับคณะทูตานุทูตต่างประเทศ, ข้าราชการกรุงเทพมหานครและประชาชน
ในงานพระเมรุสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
66
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] มีชีวิตมีวัชนีวเดีิตยวัวนเดียว
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] โย จ วัส์สสตํ ชีเว...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Yo ca vassasataṃ jīve,
ข์ kh [ kʰ]
Apassaṃ dhammamuttamaṃ;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Ekāhaṃ jīvitaṃ seyyo,
ง ṅ [ŋ ] Passato dhammamuttamaṃ.
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ผู้ใดมีชีวิตอยู่ร้อยปี,
์ ñ [ɲ] ยังไม่เห็นแจ้งธัมมะอันสูงสุด;
ฏ์ ṭ [ʈ] ผู้มีชีวิตอยู่วันเดียวยังดีกว่า,
์ ṭh [ ʈʰ ] หากเห็นธัมมะอันสูงสุด. (115)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]

ต์ t [ t̪ ]
Whoever lives a hundred years,
ถ์ th [ t̪ʰ] But knows not the Truth supreme;
ท์ d [ d̪ ] One who lives a single day,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] Who sees the supreme Truth, is better. (115)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ]
ร๎ r [ ɻ ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ล ๎ l [ l̪ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 115/423 : Bahuputtikattherīvatthu
ว๎ v [ ʋ ] Story of Bahuputtika - เรื่องพระเถรี ชื่อพหุปุตติกา
ส ๎ s [ s̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : dhammapadaṃ→ Dhamma : Truth, ธัมมะ 29Dhs:3
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : -
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...Ekāhaṃ jīvitaṃ seyyo... 20Ap2:776
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : jīvita, lives, ชีวิต

63
67
พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่สวีเดน พ.ศ. 2438

ประธานศาลรัฐธรรมนูญมอบพระไตรปิฎกเป็นพระธัมมทานถวายเป็นพระราชกุศลในงานพระเมรุ
สมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่ออัญเชิญไปประดิษฐาน ณ หอสมุดแห่งชาติ กรุงสต๊อกโฮม
68
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] บาปกับาปกั
มม์ มม์
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] น อัน์ตลิก์เข น สมุท์ทมัช์เฌ...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Na antalikkhe na samuddamajjhe,
ข์ kh [ kʰ]
Na pabbatānaṃ vivaraṃ pavissa;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Na vijjatī so jagatippadeso,
ง ṅ [ŋ ] Yatthaṭṭhito mucceyya pāpakammā. (127)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ไม่ว่าในพื้นนภากาศ ไม่ว่าท่ามกลางมหาสมุทร,
์ ñ [ɲ] ไม่ว่าในหุบเขาทั้งหลาย;
ฏ์ ṭ [ʈ] ไม่มีแผ่นดินใดของสัตว์โลก ที่คนทำชั่วนั้น,
์ ṭh [ ʈʰ ] อยู่แล้ว จักพ้นจากบาปกัมม์ได้. (127)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]

ต์ t [ t̪ ]
Not up in the air, nor in the middle of the sea,
ถ์ th [ t̪ʰ] Not in the mountain’s clefts;
ท์ d [ d̪ ] There is no space for any being,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] Who could stay and escape his evil deeds. (127)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ]
ร๎ r [ ɻ ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ล๎ l [ l ̪ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 127/423 : Tayojanavatthu
ว๎ v [ ʋ ] Story of Three Kinds of People, เรื่องคนสามจำพวก
ส ๎ s [ s̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : pāpakammā→ Kamma : deeds, กัมมะ29Dhs:1700
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : -
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...Na antalikkhe na samuddamajjhe... 28Mi:705
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : pāpakamma, evil deeds, บาปกัมม์

65
69
พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ญี่ปุ่น พ.ศ. 2438

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จจาริกไปกรุงโอซากา


เพื่อพระราชทานพระไตรปิฎกสากลแก่สถาบันสำคัญทั่วประเทศญี่ปุ่น
ซึ่งขอพระราชทานพระไตรปิฎกสากลจากสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. 2551
70
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] สังสารวั
สังฏสารวัฏ
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] อเนกชาติสํสารํ...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Anekajātisaṃsāraṃ,
ข์ kh [ kʰ]
Sandhāvissaṃ anibbisaṃ;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Gahakāraṃ gavesanto,
ง ṅ [ŋ ] Dukkhā jāti punappunaṃ. (153)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] สังสารวัฏที่นับชาติไม่ถ้วน,
์ ñ [ɲ] ที่เราได้ท่องเที่ยวมาแล้ว ก็ยังไม่พบ;
ฏ์ ṭ [ʈ] แสวงหาแต่ผู้สร้างเรือนคือตัณหา
์ ṭh [ ʈʰ ]
การเกิดแล้วเกิดอีกเป็นทุกข์ร่ำไป. (153)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]

ต์ t [ t̪ ]
Through many a birth in Saṃsāra,
ถ์ th [ t̪ʰ] I wandered but have not found --
ท์ d [ d̪ ] Seeking the house-builder,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] Suffering is the birth, again and again. (153)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]
ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ย๎ y [ j ] ชื่อ : DHAMMAPADA 153/423 : Udānavatthu
ร๎ r [ ɻ ] Story of the Buddha’s Utterance, เรื่องทรงเปล่งพระอุทาน
ล ๎ l [ l̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : Dukkhā→ Dukkha : suffering, ทุกขะ 29Dh:1055;
ว๎ v [ ʋ ] ปิฎกอ้างอิง : Udāna 1V:26; 2V; 3V; 4V; 6D; 7D; 8D; 9M; 10M; 12S1;
ส ๎ s [ s̪ ] 13S3; 14S5; 15A2; 15A4; 16A5; 16A6; 16A7; 17A8; 18Dh;
ห๎ h [ ɦ ] 18Ud; 20Ap1; 24Mn; 25Cn; 26Ps; 27Pe; 28Mi; 30Vbh; 31Pu
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ..Dukkhā jāti punappunaṃ.. 19Th1:373; 19Th1:482
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : jāti, birth, การเกิด

67
71
ประธานศาลรัฐธรรมนูญมอบพระไตรปิฎกสากลเป็นพระธัมมทานเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลในงานพระเมรุ
สมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. 2551 และบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน)
ร่วมกับผู้อุปถัมภ์พระไตรปิฎก ได้อัญเชิญไปประดิษฐาน ณ สหพันธ์พุทธศาสนาแห่งนอรเวย์
กรุงออสโล ราชอาณาจักรนอรเวย์ พ.ศ. 2552
72
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] ที่พึ่งของตน
ที่พึ่งของตน
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] อัต์ตา หิ อัต์ตโน นาโถ...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Attā hi attano nātho,


ข์ kh [ kʰ]
Ko hi nātho paro siyā;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Attanā hi sudantena,
ง ṅ [ŋ ] Nāthaṃ labhati dullabhaṃ. (160)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ตนแลเป็นที่พึ่งของตน,
์ ñ [ɲ] คนอื่นใครเล่าจะพึงเป็นที่พึ่งได้;
ฏ์ ṭ [ʈ] เพราะบุคคลที่ฝึกตนไว้ดีแล้ว,
์ ṭh [ ʈʰ ] ย่อมได้ที่พึ่งที่หาได้ยากยิ่ง. (160)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]
Your own self is your refuge,
ต์ t [ t̪ ]
ถ์ th [ t̪ʰ] For who else could other refuge be?
ท์ d [ d̪ ] Because you yourself well-trained,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ]
One gains a refuge very hard to attain. (160)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index


ร๎ r [ ɻ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 160/423 : Kumārakassapa
ล ๎ l [ l̪ ] Story of Mother of Kumārakassapa,
ว๎ v [ ʋ ] เรื่องภิกขุณีมารดาของพระกุมารกัสสปเถระ
ส ๎ s [ s̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : -
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : Kumārakassapa 19Th1:402, 20Ap1, 24Mn, 28Mi
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : Attā hi attano nātho 18Dh:407
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : atta, self, ตน; nātha, refuge, ที่พึ่ง

69
73
ประธานศาลรัฐธรรมนูญผู้ดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา และประธานกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ
ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ได้น้อมเกล้าฯ ถวายปทานุกรมพระไตรปิฎกศึกษาอ้างอิง ซึ่งจัดพิมพ์โนโครงการ
พระไตรปิฎกสากล แด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
องค์อุปถัมภ์พระไตรปิฎกสากล ในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมมายุ 84 พรรษา วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2550
74
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] พระพุทพระพุ
ธเจ้าทัท้งธเจ้
หลายาทั้งหลาย
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] สัพ์พปาปัส์ส อกรณํ...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Sabbapāpassa akaraṇaṃ,
ข์ kh [ kʰ]
Kusalassa upasampadā;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Sacittapariyodapanaṃ,
ง ṅ [ŋ ] Etaṃ buddhāna sāsanaṃ. (183)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ไม่ทำบาปทั้งปวง,
์ ñ [ɲ] บำเพ็ญแต่กุศล;
ฏ์ ṭ [ʈ] ชำระจิตของตนให้ผ่องแผ้ว,
์ ṭh [ ʈʰ ] นี้เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย. (183)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]

ต์ Abstain from doing any evil,


t [ t̪ ]
ถ์ th [ t̪ʰ] Cultivate only wholesomeness;
ท์ d [ d̪ ] Purify one’s own mind,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] This is the teaching of the Buddhas. (183)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]
ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ย๎ y [ j ] ชื่อ : DHAMMAPADA 183/243 : Ānandattherapañhavatthu
ร๎ r [ ɻ ] Story of Venerable Ānanda’s Question,
ล๎ l [ l ̪ ] เรื่องปัญหาของพระอานันทเถระ
ว๎ v [ ʋ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : Sacittapariyodapanaṃ→ Citta : Mind, จิตตะ 29Dhs:385
ส ๎ s [ s̪ ] Kusalassa→ Kusala : wholesomeness, กุสละ 29Dhs:368
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : Ānandatthera 14S5:1873, 18Dh, 19Th1, 20Ap1
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...Sabbapāpassa akaraṇaṃ... 7D:179; 27Ne:246; 27Ne:249
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : pāpa, evil, ปาป; sāsana, teaching, คำสอน;
buddhā, The Buddhas, พระพุทธเจ้าทั้งหลาย

75
71
“ไมล์สร้างบุญ 2552” โดยบริษัท การบินไทย จำกัด มหาชน สนับสนุนการเดินทางไปมอบพระไตรปิฎกสากลเป็น
พระธัมมทานในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประดิษฐาน ณ สถาบันสำคัญทางภูมิปัญญาต่างๆ ทั่วโลก
76
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] นิพพานเป็ นบรมสุ
นิพพานเป็ ข ข
นบรมสุ
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] อาโรค๎ยปรมา ลาภา...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Āro‿gyaparamā lābhā,
ข์ kh [ kʰ]
Santuṭṭhiparamaṃ dhanaṃ;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Vissāsaparamā ñāti,
ง ṅ [ŋ ] Nibbānaṃ paramaṃ sukhaṃ. (204)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ลาภทั้งหลาย มีความไม่มีโรคประเสริฐสุด,
์ ñ [ɲ] ทรัพย์ มีความสันโดษประเสริฐสุด;
ฏ์ ṭ [ʈ] ญาติ มีความคุ้นเคยประเสริฐสุด,
์ ṭh [ ʈʰ ] นิพพานเป็นบรมสุข. (204)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]

ต์ t [ t̪ ]
Free from illness is the foremost fortune,
ถ์ th [ t̪ʰ] Contentment is the foremost wealth;
ท์ d [ d̪ ] Trust is the foremost kinship,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] Nibbāna is the foremost bliss. (204)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]
ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ย๎ y [ j ] ชื่อ : DHAMMAPADA 204/423 : Pasenadikosalavatthu
ร๎ r [ ɻ ] Story of Pasenadi, the King of Kosala, เรือ
่ งพระราชาแคว้นโกศล ชือ่ ปเสนทิ
ล ๎ l [ l̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : Nibbānaṃ→ Nibbāna, นิพพาน 29Dhs:2166
ว๎ v [ ʋ ] ปิฎกอ้างอิง : Pasenadi 2V:981; 3V; 4V; 6D; 7D; 8D; 9M; 10M; 12S1; 13S4;
ส ๎ s [ s̪ ] 14S5; 16A5; 16A6; 17A10: 18Dh; 18Ud; 27Ne; 27Pe
ห๎ h [ ɦ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...Nibbānaṃ paramaṃ sukhaṃ... 10M:618; 10M:622;
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คำสำคัญ : lābhā, fortune, ลาภ; dhana, wealth, ทรัพย์; ñāti, kinsship, ญาติ;
อํ aṃ [ ã ] santuṭṭhi, Contentment, ความสันโดษ; vissāsa, Trust, ความคุ้นเคย

73
77
มูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าเพื่อเยาวชนฯ ร่วมกับกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ และผู้ที่เคยศึกษาในนครเมลเบิร์น
ร่วมจัดพิธีมอบพระไตรปิฎกสากลเป็นพระธัมมบทแก่มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งเป็นสถาบันหนึ่ง
ที่เคยได้รับพระราชทานพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
78
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] พึงชนะพึงชนะ
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] อัก์โกเธน ชิเน โกธํ...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Akkodhena jine kodhaṃ,


ข์ kh [ kʰ]
Asādhuṃ sādhunā jine;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Jine kadariyaṃ dānena,
ง ṅ [ŋ ] Saccenālikavādinaṃ. (223)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
พึงชนะคนที่โกรธด้วยความไม่โกรธ,
ฌ์ jh [ ɟʱ ]
์ ñ [ɲ] พึงชนะคนชั่วด้วยความดี;
ฏ์ ṭ [ʈ]
พึงชนะคนตระหนี่ด้วยการให้,
์ ṭh [ ʈʰ ] พึงชนะคนพูดเหลวไหลด้วยคำสัจจ์. (223)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]
Overcome anger with non-anger,
ต์ t [ t̪ ]
ถ์ th [ t̪ʰ] Overcome badness with goodness;
ท์ d [ d̪ ] Overcome stinginess with generosity,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] Overcome a liar with truth. (223)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index


ร๎ r [ ɻ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 223/423 : Uttarāupāsikavatthu
ล๎ l [ l ̪ ] Story of Uttarā, a Female Disciple, เรื่องอุบาสิกา ชื่ออุตตรา
ว๎ v [ ʋ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : Saccenālikavādinaṃ→ Sacca : truth, สัจจะ 29Dhs:818
ส ๎ s [ s̪ ] ปิฎกอ้างอิง : Uttarā 19Th2:30
ห๎ h [ ɦ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...Akkodhena jine kodhaṃ... 22J:341
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คำสำคัญ : akkodha, Non-anger, ความไม่โกรธ; dāna, generosity, การให้;
อํ aṃ [ ã ] sādhu, goodness, ความดี

7975
ในวโรกาสที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จไปพระราชทาน
พระไตรปิฎกสากลแก่สถาบันต่างๆ ทั่วประเทศญี่ปุ่น กองทัพอากาศ และผู้บัญชาการทหารอากาศ
เป็นผู้ดำเนินงานอัญเชิญพระไตรปิฎกสากล
80
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] อนิจจาอนิจจา
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] สัพ์เพ สังขารา อนิจ์จาติ...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] “Sabbe saṅkhārā aniccā”ti,


ข์ kh [ kʰ]
Yadā paññāya passati;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Atha nibbindati dukkhe,
ง ṅ [ŋ ] Esa maggo visuddhiyā. (277)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง” ดังนี,้
์ ñ [ɲ] เมื่อใดที่บุคคลเห็นแจ้งด้วยปัญญา,
ฏ์ ṭ [ʈ] เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์,
์ ṭh [ ʈʰ ]
นี้เป็นทางแห่งความบริสุทธิ์. (277)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]

ต์ t [ t̪ ]
“All compounded things are impermanent”,
ถ์ th [ t̪ʰ] When one sees this with wisdom;
ท์ d [ d̪ ] One becomes disenchanted with Dukkha,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] This is the path to purity. (277)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index


ร๎ r [ ɻ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 227/423 : Aniccalakkhaṇavatthu
ล๎ l [ l ̪ ] Story of Meditation on Anicca; เรื่องสภาพที่ไม่เที่ยง อนิจจัง
ว๎ v [ ʋ ] ศัพท์ธัมมสังคณี : saṅkhārā→ Saṅkhāra : compounded things, สังขาร 29Dh:443
ส ๎ s [ s̪ ] ปิฎกอ้างอิง : Anicca 13S3:852
ห๎ h [ ɦ ] คลังข้อมูลปาฬิ : Sabbe saṅkhārā aniccā... 13S3:194; 13S3:564; 15A3:1024;
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] 19Th1:1007; 24Mn:324; 25Cn:221; 26Ps:87; 27Ne:75;
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : anicca, impermanence, ไม่เที่ยง; visuddhi, purity, บริสุทธิ์

81
77
ประธานสภาพระไตรปิฎกสากลแห่งประเทศไทยได้อัญเชิญพระไตรปิฎกสากล ไปประดิษฐาน ณ มหาวิทยาลัยดอง
กุก สถาบันการศึกษาเก่าแก่ ณ สาธารณรัฐเกาหลี พ.ศ. 2552

82
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] อนัตตาอนัตตา
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] สัพ์เพ ธัม์มา อนัต์ตาติ...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] “Sabbe dhammā anattā”ti,


ข์ kh [ kʰ]
Yadā paññāya passati;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Atha nibbindati dukkhe,
ง ṅ [ŋ ] Esa maggo visuddhiyā. (279)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ]
“ธัมมะทั้งปวงเป็นอนัตตา” ดังนี,้
์ ñ [ɲ] เมื่อใดที่บุคคลเห็นแจ้งด้วยปัญญา,
ฏ์ ṭ [ʈ] เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์,
์ ṭh [ ʈʰ ] นี้เป็นทางแห่งความบริสุทธิ์. (279)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]

ต์ t [ t̪ ] “All Dhamma are non-self ”,


ถ์ th [ t̪ʰ] When one sees this with wisdom;
ท์ d [ d̪ ] One becomes disenchanted with Dukkha,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] This is the path to purity. (279)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index


ร๎ r [ ɻ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 279/423 : Anattalakkhaṇavatthu
ล ๎ l [ l̪ ] Story of Meditation on Anatta, เรื่องสภาพที่ไม่ใช่ตัวตน (อนัตตา)
ว๎ v [ ʋ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : paññāya→ Paññā : wisdom, ปัญญา 29Dh:395
ส ๎ s [ s̪ ] ปิฎกอ้างอิง : Anatta 13S3:860
ห๎ h [ ɦ ] คลังข้อมูลปาฬิ : Sabbe dhammā anattā... 9M:1201; 13S3:560; 19Th1:1009;
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] 24Mn:324; 25Cn:236; 26Ps:89; 27Ne:77; 32Kv:367
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : Anattā : non-self, อนัตตา; visuddhi, purity, บริสุทธิ์

79
83
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จจาริกไปพระราชทาน
พระไตรปิฎกสากล ชุดปฐมฤกษ์ 40 เล่ม เป็นพระธัมมทานแก่ ฯพณฯ จันทริกา บันดาราไนยเก กุมารตุงคะ
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ณ กรุงโคลัมโบ วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2548
84
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] ศรัทธาศรัทธา
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] สัท์โธ สีเลน สัม์ปัน์โน...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Saddho sīlena sampanno,


ข์ kh [ kʰ]
Yasobhogasamappito;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Yaṃ yaṃ padesaṃ bhajati,
ง ṅ [ŋ ] Tattha tattheva pūjito. (303)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ผู้มีศรัทธา ถึงพร้อมด้วยศีล,
์ ñ [ɲ] เพียบพร้อมด้วยยศและโภคสมบัติ;
ฏ์ ṭ [ʈ]
ไปถึงถิ่นฐานใดใด,
์ ṭh [ ʈʰ ] ย่อมได้รับการบูชาในที่นั้นนั้น. (303)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]

ต์ The person with Confidence and Virtue,


t [ t̪ ]
ถ์ th [ t̪ʰ] Endowed with repute and wealth;
ท์ d [ d̪ ] Wherever he arrives,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] That person is everywhere honoured. (303)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ]
ร๎ r [ ɻ ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index
ล๎ l [ l ̪ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 303/423 : Cittagahapativatthu
ว๎ v [ ʋ ] Story of Citta, the Rich Householder, เรื่องคหบดี ชื่อจิตตะ
ส ๎ s [ s̪ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : saddho→ Saddhā : confidence, สัทธา 29Dhs:391
ห๎ h [ ɦ ] ปิฎกอ้างอิง : Cittagahapati 27Pe:269
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คลังข้อมูลปาฬิ : Saddho sīlena sampanno... 16A5:209; 17A8:578; 32Kv:1673;
อํ aṃ [ ã ] คำสำคัญ : sīla, virtue, สีละ, pūjā, honoured, การบูชา

81
85
พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ญี่ปุ่น พ.ศ. 2438

ในพิธิพระราชทานพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน พ.ศ. 2551 ณ ชิเตนโนจิ พุทธศาสนสถานที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น


สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงฉายพระรูปกับผู้แทน 16 สถาบัน ในญี่ปุ่น
ร่วมกับผู้แทนจากสถาบันสำคัญต่างๆ จากประเทศไทย อาทิ กองทัพอากาศ กระทรวงกลาโหม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
และศาลรัฐธรรมนูญ
86
อะอะa a[ a[ ]a ]
อาอาā ā[ aː[ ]aː ] ชนะที ่ล้วนเป็
ชนะที
ชนะที น้วเลิ
่ล้ว่ลนเป็
นเป็ศนเลิ
นเลิศศ
อิ อิi i [ i[ ]i ]
อี อีī ī [ iː[ ]iː ]
อุ อุu u[ u[ ]u ]
อู อูū ū[ uː[ ]uː ] สัพสั์พทานํ
์พทานํธัมธั์มมทานํ
์มทานํชินชิาติ
นาติ......
เอ เอe e[ eː[ ]eː ]
โอ โอo o[ oː[ ]oː ]
ก์ ก์k k[ k[ ]k ] Sabbadānaṃ
Sabbadānaṃdhammadānaṃ
dhammadānaṃjināti,
jināti,
ข์ ข์khkh
[ kʰ[ ]kʰ]
Sabbarasaṃ
Sabbarasaṃdhammaraso
dhammarasojināti;
jināti;
ค์ ค์g g[ g[ ]g ]
ฆ์ ฆ์ghgh
[ gʱ[ ]gʱ ] Sabbaratiṃ
Sabbaratiṃdhammarati
dhammaratijināti,
jināti,
ง งṅ ṅ[ ŋ[ ]ŋ ] Ta
Ta
‿ṇhakkhayo
ṇhakkhayosabbadukkhaṃ
‿ sabbadukkhaṃjināti.
jināti.(354)
(354)
จ์ จ์c c[ c[ ]c ]
ฉ์ ฉ์chch[ cʰ[ ]cʰ ]
ช์ ช์j j [ ɟ [ ]ɟ ]
ฌ์ ฌ์jhjh[ ɟʱ[ ]ɟʱ ] การให้
การให้
ธัมธมะเป็
ัมมะเป็
นทานชนะการให้
นทานชนะการให้ ทั้งทปวง ั้งปวง, ,
์ ์ñ ñ[ ɲ[ ]ɲ ] รสพระธั
รสพระธั มม์มชม์นะรสทั
ชนะรสทั้งปวง;
้งปวง;
ฏ์ ฏ์ṭ ṭ[ ʈ[ ]ʈ ] ความยิ
ความยิ นดีนใดีนธั
ในธั มมะชนะความยิ
มมะชนะความยิ นดีนทดีั้งทปวง;
ั้งปวง;
์ ์ṭhṭh[ ʈʰ[ ]ʈʰ] ความสิ
ความสิ ้นตั้นณตัณ หาชนะทุ
หาชนะทุ กข์กทข์ั้งทปวง.
ั้งปวง.(354)
(354)
ฑ์ ฑ์ḍ ḍ[ ɖ[ ]ɖ ]
ฒ์ ฒ์ḍhḍh
[ ɖʱ[ ]ɖʱ]
ณ์ ณ์ṇ ṇ[ ɳ[ ]ɳ ]
OfOfallallgifts,
gifts,the
thegift
giftofofDhamma
Dhammaexcels,
excels,
ต์ ต์t t[ t̪[ ]t̪ ]
ถ์ ถ์thth[ t̪[ʰ]t̪ʰ] OfOfallalltastes,
tastes,the
thetaste
tasteofofDhamma
Dhammaexcels;
excels;
ท์ ท์d d[ d̪[ ]d̪ ] OfOfallalldelights,
delights,the
thedelight
delightininDhamma
Dhammaexcels,
excels,
ธ์ ธ์dhdh
[ d̪[ʱ]d̪ʱ]
น์ น์n n[ n̪[ ]n̪ ] ToTo
end
end
allall
sufferings,
sufferings,
the
the
ending
ending
ofof
craving
craving
excels.
excels.
(354)
(354)

ป์ ป์p p[ p[ ]p ]
ผ์ ผ์phph
[ pʰ[ ]pʰ] ด้วยอำนาจสั
ด้วยอำนาจสั จจวาจา
จจวาจา และอานิ
และอานิ สงส์สกงส์ารอ่
การอ่
านสัางนสั
วัธงยายพระไตรปิ
วัธยายพระไตรปิ ฎกฎก
พ์ พ์b b[ b[ ]b ] ขอถวายเป็
ขอถวายเป็นพระราชกุ
นพระราชกุ
ศลแด่
ศลแด่
สถาบั
สถาบั
นพระมหากษั
นพระมหากษั ตริยต์พริยุท์พธมามกะ
ุทธมามกะ
และขอให้
และขอให้
ข้าพเจ้
ข้าพเจ้
า และประเทศชาติ
า และประเทศชาติ
ปราศจากภยั
ปราศจากภยั นตราย
นตราย เจริเจริ
ญรุญ่งเรืรุอ่งเรืงทุอกงทุเมืก่อเมืเทอญ.
่อ เทอญ.
ภ์ ภ์bhbh
[ bʱ[ ]bʱ]
ม์ ม์m m[ m[ ]m]
ย ๎ ยy๎ y[ j[ ]j ] ดัชดันีชในีนการแปลพระไตรปิ
ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล
ฎกสากล: World
: WorldTipiṭaka
Tipiṭaka Translation
Translation Index Index
ร ๎ รr๎ r[ ɻ[ ]ɻ ] ชื่อชื:่อ : DHAMMAPADA
DHAMMAPADA 354/423
354/423 : Sakkapañhavatthu
: Sakkapañhavatthu
ล ๎ ลl๎ l [ l[̪ ]l ̪ ] Story
Story
of of
God God
Sakka’s
Sakka’s Question,
Question, เรื่อเรืงจอมเทพชื
่องจอมเทพชื ่อ ท้่อาท้วสัาวสั
กกะกกะ
ว ๎ วv๎ v[ ʋ[ ]ʋ ] ศัพศัท์พธท์มั ธมสัมั มสั
งคณี
งคณี: sabbadukkhaṃ→
: sabbadukkhaṃ→Dukkha Dukkha : suffering,
: suffering,ทุกทุขะกขะ29Dh:1055
29Dh:1055
ส ๎ สs๎ s[ s̪[ ]s̪ ] ปิฎปิกอ้ฎกอ้
างอิางอิ ง :ง : Sakkapañha
Sakkapañha7D:823,
7D:823, 13S4,
13S4, 18Dh,
18Dh, 25Cn,25Cn, 28Mi28Mi
ห ๎ หh๎ h[ ɦ[ ]ɦ ] คลัคลั
งข้องข้มูอลมูปาฬิ ลปาฬิ: Ta: ‿Ta
ṇhakkhaya...
ṇhakkhaya...
‿ 3V:25;
3V:25;7D:139;
7D:139; 10M:352
10M:352
ฬ ๎ ฬḷ๎ ḷ [ ɭ[ ]ɭ ] คำสำคั
คำสำคั ญ ญ: : dāna, dāna,
gift, ทานะ;
gift, ทานะ;rasa,
rasa,
taste, รส;รส;rati,
taste, rati,delight,
delight, ความยิ
ความยิ นดีนดี
อํ aṃ
อํ aṃ[ ã[ ]ã ] Ta‿ Ta
ṇhakkhaya,
ṇhakkhaya,
‿ ending
ending of of
craving,
craving,ความสิ
ความสิ ้นตั้นณตัหา
ณหา

8383
87
มีนาคม พ.ศ. 2551 ประธานโครงการสมทบกองทุนเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลฯ มอบพระไตรปิฎกสากล
ฉบับสังวัธยาย เป็นพระธัมมทานในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ แก่รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงวัฒธรรม
เพือ่ มอบแก่หอสมุดแห่งชาติและสาขาทัว่ ประเทศไทย พร้อมทัง้ จัดนิทรรศการพระไตรปิฎกสากล ณ ตึกสันติไมตรี
ทำเนียบรัฐบาล เพื่อรายงานโครงการพระไตรปิฎกสากลแก่คณะรัฐบาลอย่างเป็นทางการ
88
อะอะaa [ a[ a] ]
อาอาāā [ aː[ aː] ] จงโจทฟ้ องตนด้
จงโจทฟ้
จงโจทฟ้ วงตนด้
ยตนววยตน
อองตนด้ ยตน
อิอิ i i [ [i i] ]
อีอี ī ī [ [iːiː] ]
อุอุ uu [ u[ u] ]
อูอู ūū [ uː
[ uː] ] อัอัตต์ต์ตนานาโจทยั
โจทยัตต์ต์ตานํานํ......
เอเอee [ eː[ eː] ]
โอโอoo [ oː[ oː] ]

ก์ก์ kk [ k[ k] ] Attanā
Attanācodayattānaṃ,
codayattānaṃ,
ข์ข์ khkh[ kʰ
[ kʰ] ]
Paṭimaṃsetha
Paṭimaṃsethaattanā;
attanā;
ค์ค์ gg [ g[ g] ]
ฆ์ฆ์ ghgh[ gʱ
[ gʱ] ] So
Soattagutto
attaguttosatimā,
satimā,
ง ง ṅṅ [ ŋ[ ŋ] ] Sukhaṃ
Sukhaṃbhikkhu
bhikkhuvihāhisi.
vihāhisi.(379)
(379)
จ์จ์ cc [ c[ c] ]
ฉ์ฉ์ chch[ cʰ
[ cʰ] ]
ช์ช์ j j [ [ɟ ɟ] ]
ฌ์ฌ์ jhjh[ [ɟʱɟʱ] ] จงโจทฟ้
จงโจทฟ้อองตนด้ งตนด้ววยตนเอง
ยตนเอง, ,
์์ ññ [ [ɲɲ] ] จงพิ
จงพิพพากษาตนด้
ากษาตนด้ววยตนเอง;ยตนเอง;
ฏ์ฏ์ ṭ ṭ [ [ʈ ʈ] ] ถ้ถ้าาเธอมี
เธอมีสสติติคุคุ้ม้มครองตนได้
ครองตนได้แแล้ล้วว, ,
์์ ṭhṭh[ [ʈʰʈʰ] ] ดูดูกกรภิรภิกกขุขุ! !เธอจั
เธอจักกอยูอยู่เป็่เป็นนสุสุขข. .(379)
(379)
ฑ์ฑ์ ḍḍ [ ɖ[ ɖ] ]
ฒ์ฒ์ ḍhḍh[ ɖʱ
[ ɖʱ] ]
ณ์ณ์ ṇṇ [ ɳ[ ɳ] ]
You
Youyourself
yourselfshould
shouldreprove
reproveyourself,
yourself,
ต์ต์ t t [ [t̪ t̪] ]
ถ์ถ์ thth[ [t̪ʰt̪]ʰ] You
Youyourself
yourselfshould
shouldjudge
judgeyourself;
yourself;
ท์ท์ dd [ d̪[ d̪] ] Having
Havingbeen
beenself-guarded
self-guardedand
andmindful,
mindful,
ธ์ธ์ dhdh[ d̪[ d̪ʱ]ʱ]
น์น์ nn [ n̪[ n̪] ] Bhikkhu!
Bhikkhu!You
Youlive
livein
inpeace.
peace.(379)
(379)

ป์ป์ pp [ p[ p] ]
ผ์ผ์ phph[ pʰ
[ pʰ] ] ด้วด้ยอำนาจสั
วยอำนาจสัจจวาจา
จจวาจาและอานิ
และอานิสงส์
สงส์การอ่
การอ่านสั
านสังวังธวัยายพระไตรปิ
ธยายพระไตรปิฎกฎก
พ์พ์ bb [ b[ b] ] ขอถวายเป็นพระราชกุ
ขอถวายเป็ นพระราชกุศลแด่
ศลแด่สถาบั
สถาบันพระมหากษั
นพระมหากษัตริตยริ์พย์พุทุทธมามกะ ธมามกะ
และขอให้ข้าขพเจ้
และขอให้ ้าพเจ้า าและประเทศชาติ
และประเทศชาติปราศจากภยั
ปราศจากภยันตรายนตรายเจริเจริญญรุ่งรุเรื่งเรืองทุ
องทุกเมื
กเมื่อ ่อเทอญ.
เทอญ.
ภ์ภ์ bhbh[ bʱ
[ bʱ] ]
ม์ม์ mm[ m [ m] ]

ยย๎ ๎ yy [ [j j] ]
ร ร๎ ๎ r r [ [ɻ ɻ] ] ดัดัชชนีนีในการแปลพระไตรปิ
ในการแปลพระไตรปิฎฎกสากล กสากล: :World
WorldTipiṭaka
TipiṭakaTranslation
TranslationIndexIndex
ลล๎ ๎ l l [ [l̪ l̪] ] ชืชื่อ่อ: : DHAMMAPADA
DHAMMAPADA379/423 379/423: :Naṅgalakulattheravatthu
Naṅgalakulattheravatthu
วว๎ ๎ vv [ [ʋʋ] ] Story
StoryofofNaṅgala,
Naṅgala,the
theVenerable Bhikkhu,เรืเรื
VenerableBhikkhu, อ่ องพระเถระ
่ งพระเถระชือ่ชือนั่ นังคลกู
งคลกูฏฏะะ
สส๎ ๎ s s [ [s̪ s̪] ] ศัศัพพท์ท์ธมั ธมัมสัมสังคณี
งคณี: :sukhamanveti→
sukhamanveti→Sati Sati: :mindful,
mindful,สติ
สติ29Dhs:413
29Dhs:413
หห๎ ๎ hh [ ɦ[ ɦ] ] ปิปิฎฎกอ้กอ้างอิ างอิง ง: : - -
ฬฬ๎ ๎ ḷ ḷ [ [ɭ ɭ] ] คลัคลังข้งข้ออมูมูลลปาฬิปาฬิ: :......Attanā
Attanācodayattānaṃ...
codayattānaṃ...19Th1:959
19Th1:959
อํอํaṃ aṃ[ ã[ ã] ] คำสำคั
คำสำคัญญ: : atta, self,ตน;
atta,self, ตน;sukha, Sukha,ความสุ
sukha,Sukha, ความสุขข

85
85
89
ในพิธีเปิดงานสังวัธยายพระไตรปิฎกประจำปี ณ ลานพระศรีมหาโพธิ พุทธคยา สมาคมมหาโพธิ
แห่งอินเดีย ได้ถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ องค์อุปถัมภ์พระไตรปิฎกสากล
90
อะ a [a ]
อา ā [ aː ] ความเพีความเพี
ยร ยร
อิ i [i]
อี ī [ iː ]
อุ u [u ]
อู ū [ uː ] โย หเว ทหโร ภิก์ขุ...
เอ e [ eː ]
โอ o [ oː ]

ก์ k [k ] Yo have daharo bhikkhu,


ข์ kh [ kʰ]
Yuñjati buddhasāsane;
ค์ g [g ]
ฆ์ gh [ gʱ ] Somaṃ lokaṃ pabhāseti,
ง ṅ [ŋ ] Abbhā muttova candimā. (382)
จ์ c [c ]
ฉ์ ch [ cʰ ]
ช์ j [ɟ ]
ฌ์ jh [ ɟʱ ] ภิกขุเยาว์วัยรูปใดแล,
์ ñ [ɲ] พากเพียรในพระพุทธศาสนา;
ฏ์ ṭ [ʈ] เขาย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว,
์ ṭh [ ʈʰ ]
เสมือนดวงจันทร์ที่พ้นเมฆหมอก ฉะนั้น. (382)
ฑ์ ḍ [ɖ ]
ฒ์ ḍh [ ɖʱ]
ณ์ ṇ [ɳ ]
A young bhikkhu who strives,
ต์ t [ t̪ ]
ถ์ th [ t̪ʰ] In the teaching of the Buddha;
ท์ d [ d̪ ] He makes the world shines brightly,
ธ์ dh [ d̪ʱ]
น์ n [ n̪ ] Like the moon being free from clouds. (382)

ป์ p [p ]
ผ์ ph [ pʰ] ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
พ์ b [b ]
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ข้าพเจ้า และประเทศชาติปราศจากภยันตราย เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ภ์ bh [ bʱ]
ม์ m [ m]

ย๎ y [ j ] ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index


ร๎ r [ ɻ ] ชื่อ : DHAMMAPADA 382/423 : Sumanasāmaṇeravatthu
ล๎ l [ l ̪ ] Story of Sumana, the Novice, เรื่องสามเณร ชื่อสุมนะ
ว๎ v [ ʋ ] ศัพท์ธมั มสังคณี : -
ส ๎ s [ s̪ ] ปิฎกอ้างอิง : Sumana 19Th1:706
ห๎ h [ ɦ ] คลังข้อมูลปาฬิ : ...Somaṃ lokaṃ pabhāseti... 10M:1018; 19Th1:1214;
ฬ๎ ḷ [ ɭ ] คำสำคัญ : buddhasāsana, buddhasāsana, พระพุทธศาสนา;
อํ aṃ [ ã ] candimā, moon, พระจันทร์

87
91
พระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน ได้จัดมอบเป็นพระธัมมทานแก่คณะสงฆ์นานาชาติในงานสังวัธยาย
พระไตรปิฎกประจำปี จัดโดยสมาคมมหาโพธิแห่งอินเดีย พุทธคยา รัฐพิหาร สาธารณรัฐอินเดีย พ.ศ. 2551
92
อะอะ a a[ a []a ]
อา อาā ā[ aː
[ aː
] ] พระพุพระพุ
ทพระพุ
ธเจ้ทาธเจ้
ทธเจ้าา
อิ อิi i[ i [] i ]
อี อีī ī[ iː [] iː ]
อุ อุu u[ u []u ] ทิวทิาวตปติ
า ตปติอาทิ
อาทิ
จ์โจจ...
์โจ...
อู อูū ū[ uː []uː ]
เอ เอe e[ eː [ eː
] ] Divā
Divātapati
tapatiādicco,
ādicco,
โอ โอo o[ oː []oː ] Rattimābhāti
Rattimābhāticandimā;
candimā;
ก์ ก์k k[ k[]k ] Sannaddho
Sannaddhokhattiyo
khattiyotapati,
tapati,
ข์ ข์khkh
[ kʰ
[ kʰ
] ] Jhāyī
Jhāyītapati
tapatibrā
brā
‿hmaṇo;
‿hmaṇo;
ค์ ค์g g[ g []g ]
ฆ์ ฆ์ghgh
[ gʱ
[ gʱ
] ] Atha
Athasabbamahorattiṃ,
sabbamahorattiṃ,
ง งṅ ṅ[ ŋ ][ ŋ ] Buddho
Buddhotapati
tapatitejasā.
tejasā.(387)
(387)
จ์ จ์c c[ c []c ]
ฉ์ ฉ์chch[ cʰ [ cʰ
] ] พระอาทิ
พระอาทิ ตย์ตสย์ว่สาว่งในกลางวั
างในกลางวั น,น,
ช์ ช์j j[ ɟ []ɟ ]
ฌ์ ฌ์jh jh[ ɟʱ ][ ɟʱ ] พระจั
พระจั นทร์ นทร์ทอแสงในกลางคื
ทอแสงในกลางคื น;น;
์ ์ñ ñ[ ɲ ][ ɲ ] กษักษั
ตริตยริ์ทยรงเกราะงามสง่
์ทรงเกราะงามสง่ า, า,
ฏ์ ฏ์ṭ ṭ[ ʈ ][ ʈ ] พราหมณ์
พราหมณ์ เจริเจริ
ญฌานสง่
ญฌานสง่ างาม;
างาม;
์ ์ṭh ṭh [] ʈʰ ]
[ ʈʰ แต่แต่
ตลอดกาลทั
ตลอดกาลทั ้งกลางวั้งกลางวันและกลางคื
นและกลางคื
น,น,
ฑ์ ฑ์ḍ ḍ[ ɖ ][ ɖ ]
ฒ์ ฒ์ḍh ḍh
[ ɖʱ ] ]
[ ɖʱ พระพุ
พระพุ ทธเจ้ทธเจ้ารุา่งรุเรื่งอเรืงด้
องด้
วยพระเดช.
วยพระเดช.(387)
(387)
ณ์ ณ์ṇ ṇ[ ɳ ][ ɳ ]
ByBydaydayshines
shinesthe
thesun;
sun;
ต์ ต์t t[ t̪ [] t̪ ]
ถ์ ถ์th th
[ t̪ʰ[ ]t̪ʰ ] ByBynight
nightshines
shinesthe
themoon;
moon;
ท์ ท์d d[ d̪ [ d̪
] ] InInarmor
armorshines
shinesthe
thewarrior;
warrior;
ธ์ ธ์dhdh[ d̪ʱ[ d̪
] ʱ ]
InInJhāna
Jhānashines
shinesthe
thebrahmin.
brahmin.
น์ น์n n[ n̪ [ n̪
] ]
But
Butdaydayand
andnight,
night,every
everyday
dayand
andevery
everynight,
night,
ป์ ป์p p[ p[]p ] The
TheBuddha
Buddhashines
shinesininsplendor.
splendor.(387)
(387)
ผ์ ผ์phph
[ pʰ
[ pʰ
] ]
พ์ พ์b b[ b[]b ] ด้วยอำนาจสั
ด้วยอำนาจสั
จจวาจา
จจวาจา
และอานิ
และอานิ
สงส์สกงส์
ารอ่
การอ่
านสัางนสั
วัธงยายพระไตรปิ
วัธยายพระไตรปิ ฎก ฎก
ภ์ ภ์bhbh
[ bʱ
[ bʱ
] ] ถวายเป็
ถวายเป็
นพระราชกุ
นพระราชกุ
ศลแด่
ศลแด่
สถาบั
สถาบั
นพระมหากษั
นพระมหากษั ตริยต์พริุทยธมามกะ
์พุทธมามกะ
ม์ ม์m m[ m[]m] ขอให้
ขอให้
ข้าพเจ้
ข้าพเจ้
าและประเทศชาติ
าและประเทศชาติปราศจากภยั
ปราศจากภยั
นตราย
นตรายและเจริ
และเจริ
ญรุ่งญเรืรุอ่งงทุ
เรือกงทุ
เมืก่อเมืเทอญ.
่อ เทอญ.

ย ๎ ยy๎ y[ j[] j ] ดัชดันีชตนี่างๆ


ต่างๆ ในการแปลพระไตรปิ
ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล
ฎกสากล : World
: WorldTipiṭaka Tipiṭaka Translation
Translation Index
Index
ร ๎ รr๎ r[ ɻ ][ ɻ ] ชื่อชื:่อ : DHAMMAPADA
DHAMMAPADA 387/423
387/423 : Sambahulabhikkhuvatthu
: Sambahulabhikkhuvatthu
ล ๎ ลl ๎ l[ l ̪[ ] l ̪ ] Story
Story
of of
Many
ManyBhikkhus,
Bhikkhus, เรื่อเรืงภิ่อกงภิษุกหษุลายรู
หลายรู
ปป
ว ๎ วv๎ v[ ʋ ][ ʋ ] ศัพศัท์พธมัท์มสั
ธมั งมสัคณีงคณี
: Jhāyī→
: Jhāyī→ Jhāna, ฌานะ
Jhāna, ฌานะ 29Dhs:469
29Dhs:469
ส ๎ สs๎ s[ s̪ [] s̪ ] ปิฎปิกอ้ฎกอ้
างอิางงอิ: ง : Sambahulabhikkhu
Sambahulabhikkhu 13S4:341
13S4:341
ห ๎ หh๎ h[ ɦ ][ ɦ ] คลัคลั
งข้องข้มูอลมูปาฬิ
ลปาฬิ : Divā
: Divā
tapati
tapati
ādicco...
ādicco...
12S1:113
12S1:113
ฬ ๎ ฬḷ ๎ ḷ[ ɭ ][ ɭ ] คำสำคั
คำสำคั ญ :ญ : ādicca, ādicca,
sun, พระอาทิ
sun, พระอาทิ
ตย์ต; khattiya,
ย์; khattiya, warrior, กษักษั
warrior, ตริยต์;ริย์;
อํ aṃอํ aṃ[ ã []ã ] brāhmaṇa,
brāhmaṇa, brahmin,
brahmin,พราหมณ์
พราหมณ์ ; Buddha,
; Buddha, Buddha,
Buddha, พระพุพระพุ
ทธเจ้
ทธเจ้
า า

9193
91
ภาษาปาฬิ ภาษาพระธัมม์

1. ปาฬิ คือ พระธัมม์ พระไตรปิฎก และพระบรมศาสดา


คำว่า Pāḷi – ปาฬิ (มักออกเสียงตามแบบไทยว่า บาฬี) ปาฬิมคี วามหมายเท่า
กับพระธัมม์ พระธัมม์นี้ได้รับการสืบทอดต่อมาเรียกว่า พระไตรปิฎก พระปาฬิจึงมีความ
หมายถึง พระไตรปิฎกด้วย และก่อนเสด็จดับขันธปรินพิ พานพระพุทธองค์ได้ตรัสว่า พระธัมม์
และพระวินยั คือพระบรมศาสดา ดังนัน้ พระปาฬิ ซึง่ มีความหมาย ถึงพระธัมม์ คือ พระไตรปิฎก
จึงมีความหมายถึง พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระไตรปิฎกปาฬิ ได้เผยแพร่ไปยังเครือข่ายพระไตรปิฎกปาฬิทวั่ โลก ในปี พ.ศ. 2437
พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ โ ปรดให้ ส มเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ
กรมพระยาเทวะวงศ์ ว โรปการ เสนาบดีกระทรวงต่างประเทศ ทรงเป็ น ผู้ ด ำเนิ น การ
พระราชทานพระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับพิมพ์ครัง้ แรกของโลกเป็นพระธัมมทานแก่สถาบันต่างๆ
ทั่วโลกกว่า 260 แห่ง
2. ที่มาแห่งอักษรโรมันในพระไตรปิฎกภาษาปาฬิ
ภาษาปาฬิ มีลักษณะพิเศษ คือ ไม่มีอักษรเฉพาะของภาษาปาฬิ แต่ใช้อักษร
ของชาติตา่ งๆ เขียนภาษาปาฬิ เช่น ภาษาปาฬิ อักษรไทย, ภาษาปาฬิ อักษรสิงหล, ภาษาปาฬิ
อักษรพม่า เป็นต้น ความพิเศษของภาษาปาฬิ ที่ใช้เขียนด้วยอักษรของชาติต่างๆ นี้ ทำให้
พระไตรปิฎกปาฬิ แพร่หลายไปในนานาประเทศ เพราะตัวอักษร เป็นสื่อที่ทำให้สามารถ
อ่านออกเสียงภาษาปาฬิได้ แต่กม็ ปี ญ
ั หาว่า การใช้อกั ษรของชาติตา่ งๆ ทำให้แต่ละชาติออก
เสียงภาษาปาฬิ ตามสำเนียงในภาษาของตน ซึ่งอาจไม่ถูกต้องตามหลักการออกเสียงใน
ไวยากรณ์ปาฬิ แต่อักษรโรมันเป็นอักษรสากลที่ช่วยให้อ่านภาษาปาฬิได้ถูกต้อง
3. อักษรโรมันคืออะไร สากลอย่างไร ?
อักษรโรมัน (Roman alphabet) คืออักษรที่สร้างและพัฒนาขึ้นเมื่อประมาณ
ศตวรรษที่ 6-7 ก่อนคริสตศักราช เพื่อใช้เขียนภาษาละติน ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของ
อาณาจักรโรมัน ต่อมา อักษรโรมันได้ใช้เป็นอักษรเขียนภาษาต่างๆ ในยุโรป เช่น ภาษา
อังกฤษ เมื่อภาษาอังกฤษ ได้แพร่หลายไปทั่วโลก อักษรโรมัน จึงเป็นอักษรที่คนทั่วโลก
รู้จักและอ่านออกเสียงได้
94
ในประเทศไทยพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที ่ 6 เมื่ อ
พระราชทานนามสกุลแก่ประชาชนชาวไทย ก็ได้พระราชทานวิธกี ารเขียนนามสกุลภาษาไทย
ด้วยอักษรไทย ควบคู่กับการเขียนด้วยอักษรโรมัน เพื่อให้ชาวโลกออกเสียงนามสกุลใน
ภาษาไทยได้ถูกต้อง
การที่ภาษาปาฬิไม่มีอักษรใช้โดยเฉพาะ ผู้ที่นับถือพุทธศาสนาจะใช้อักษรในระบบ
การเขียนภาษาของตนบันทึกเนื้อหาสาระหรือข้อความที่เป็นภาษาปาฬิ รวมทั้งคัมภีร์
พระไตรปิฎกปาฬิดว้ ย เราจึงมีพระพุทธวจนะหรือคำทรงสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ
เจ้า และคัมภีร์พระไตรปิฎกภาษาปาฬิ ซึ่งบันทึกด้วยอักษรในระบบการเขียนของภาษา
ต่างๆ เช่น อักษรไทยในภาษาไทย อักษรมอญในภาษาพม่า อักษรลาวในภาษาลาว อักษร
เขมรในภาษาเขมร ด้วยเหตุนี้เมื่อพุทธศาสนาเผยแผ่เข้าไปในยุโรปก็ได้ใช้อักษรโรมันบันทึก
ภาษาปาฬิด้วย จะเห็นได้ว่าเสียงพูดในภาษา (language) กับตัวอักษรในระบบการเขียน
(alphabet, script) เป็นคนละเรื่องกันแต่เกี่ยวข้องกัน ในระบบการเขียนส่วนใหญ่เราใช้
อักษรแทนเสียงพูด
ข้อควรสังเกตคือ มักมีความเข้าใจผิดและความสับสนว่า “อักษร” กับ “ภาษา”
เป็นสิง่ เดียวกัน ทีถ่ กู ต้อง “อักษร” คือสัญลักษณ์ทใี่ ช้แทนเสียงใน “ภาษา” เท่านัน้ ดังเช่น
ในคำว่า “พระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน” ปาฬิคือภาษา โรมันคืออักษร พระไตรปิฎกปาฬิ
อักษรโรมัน คือพระไตรปิฎกที่บันทึกภาษาปาฬิด้วยอักษรโรมัน
4. อักษรโรมันในการบันทึกภาษาปาฬิ
การใช้อักษรโรมันแทนเสียงในภาษาปาฬินั้น นอกจากจะเป็นประโยชน์ใน
ฐานะที่อักษรโรมันเป็นอักษรสากลที่คนทั่วโลกรู้จักแล้ว ยังมีประโยชน์อย่างยิ่งในเรื่องการ
ออกเสียงได้ถกู ต้องตรงกับเสียงภาษาปาฬิตามทีร่ ะบุไว้ในไวยากรณ์ปาฬิแต่โบราณ เช่น คัมภีร ์
กัจจายนไวยากรณ์ คัมภีร์สัททนีต ิ เป็นต้น ยิ่งกว่านั้น ในปัจจุบันชาวตะวันตกมีความสนใจ
ศึกษาพระพุทธศาสนามากขึ้น การพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ
ด้วยอักษรโรมัน โดยกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ จักช่วยให้ชาวตะวันตกที่สนใจศึกษา
พระพุทธศาสนา สามารถศึกษาและอ่านออกเสียงพระพุทธวจนะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ได้โดยตรง ซึง่ นับว่าเป็นสิง่ ที่มีค่าประมาณมิได้

95
5. การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
การบำเพ็ญกุศลด้วยการออกเสียงพระพุทธพจน์ เรียกเป็นศัพท์ว่า “การอ่าน
สังวัธยายพระไตรปิฎก” บุคคลสามารถอ่านสังวัธยายเป็นภาษาปาฬิและภาคแปลภาษาต่างๆ
คำว่า “สังวัธยาย” แปลว่า “เปล่งเสียงอ่านดังๆ ร่วมกัน” โดยเน้นการออกเสียงสระและ
พยัญชนะให้ชัดเจน การอ่านสังวัธยายจึงต่างจากการสวดเป็นทำนองต่างๆ
การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎกและภาคแปลภาษาต่างๆ เป็นธัมมทาน เป็นการ
บำเพ็ญบารมีด้านปัญญา เพราะต้องประกอบด้วยศรัทธาและความเข้าใจในเนื้อหาที่อ่าน
สังวัธยาย จึงนำให้เกิดกุศลประโยชน์อันล้ำเลิศ แก่บุคคล สังคม และสากลโลก ทั้งปัจจุบัน
และอนาคต
การอ่านสังวัธยาย ผู้อ่านจะใช้คู่มืออ่านสังวัธยาย ซึ่งมีบทที่คัดเลือกมาจากพระไตร
ปิฎกสากล เป็นพระพุทธพจน์ภาษาปาฬิ ที่พิมพ์ด้วยอักษรโรมัน ซึ่งประชาชนนานาชาติ
ทั่วโลกสามารถอ่านได้ ในการพิมพ์ครั้งนี้ ได้มีคำแปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วย
พิธีอ่านสังวัธยายจะมีผู้อ่านนำเป็นภาษาปาฬิทีละบรรทัด ซึ่งผู้ร่วมพิธีจะอ่านออก
เสียงสังวัธยายตามจนจบบท เมื่อจบการอ่านสังวัธยายแต่ละบทแล้ว ก็สามารถอ่านบทนั้น
พร้อมกันอีกครั้งหนึ่งได้
หลังจบการอ่านสังวัธยายในแต่ละบท ผู้อ่านนำจะประกาศสัตยาธิษฐานถวายเป็น
พระราชกุศล ซึ่งผู้ร่วมพิธีจะได้กล่าวตามดังนี้

ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก
ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ
และขอให้ขา้ พเจ้า และประเทศชาติ ปราศจากภยันตราย เจริญรุง่ เรือ่ งทุกเมือ่ เทอญ

96
สงวนลิขสิทธิ์สำหรับการเผยแผในทางพาณิชย
ผูประสงคจัดพิมพหนังสืออนุสรณ “ธัมมบท 100 บท จากพระไตรปฎก”
เปนธัมมทาน
กรุณาติดตอ มูลนิธิรวมจิตตนอมเกลาฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรมราชินูปถัมภ
ตึกมหิดล ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 02-3547393 โทรสาร 02-3547391-2 ตอ 101, 115
www.endowment.worldtipitaka.info

พระไตรปฎกฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2500


จัดพิมพโดย
กองทุนสนทนาธัมมนำสุข
ทานผูหญิง ม.ล. มณีรัตน บุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภสมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
www.society.worldtipitaka.info
email: worldtipitaka@dhammasociety.org

ผูประสงคจะสนับสนุนโครงการพระไตรปฎกสากล
กรุณาติดตอ
โครงการสมทบกองทุนเผยแผพระไตรปฎกสากล
ในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร
ดำเนินการโดย
มูลนิธิรวมจิตตนอมเกลาฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรมราชินูปถัมภ
ตึกมหิดล ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 02-3547393 โทรสาร 02-3547391-2 ตอ 101, 115
www.worldtipitaka.org
www.endowment.worldtipitaka.info

You might also like