You are on page 1of 10

วารสารวิชาการสาธารณสุข Journal of Health Science

ปี ที� �� ฉบับที� � กรกฎาคม - สิงหาคม ���� Vol. 24 No. 4, July - August 2015

นิพนธ์ตน้ ฉบับ Original Article

ภาระงานและผลิตภาพของพยาบาล
ในโรงพยาบาลของรัฐ �� แห่ง
ในพื� นทีเ� ครือข่ายบริการสุขภาพที� �
กฤษดา แสวงดี วท.บ., วท.ม., Ph.D.*
วิไลลักษณ์ เรืองรัตนตรัย วท.บ., วท.ม.**
ปิ ยะ หาญวรวงศ์ชยั พ.บ., M.Sc., D.Sc***
อํานวย กาจี นะ พ.บ., วท.ม.****
* สถาบันพระบรมราชชนก สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
** สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
*** ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม และศูนย์วิจยั ระบบบริการสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
**** สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

บทคัดย่อ การศึกษานี�มวี ตั ถุประสงค์ เพื�อศึกษาภาระงาน กระจายภาระงานและคาดประมาณ ความต้องการจํานวนอัตรากําลัง


ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั�วไป และโรงพยาบาลชุมชน �� แห่ ง ในเขตพื�นที�เครือข่าย
บริการสุขภาพที� � เป็ นการศึกษาเชิงพรรณนาภาคตัดขวาง โดยการใช้ แบบสํารวจปริมาณงานของพยาบาล ใช้ ข้อมูลใน
ปี งบประมาณ ���� แหล่งข้ อมูลจากระบบข้ อมูลบุคลากรของโรงพยาบาลเป้ าหมาย ใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ excel
ในการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ ระยะเวลาดําเนินการ � เดือน (เมษายน–กันยายน ����) ผลการศึกษาพบว่า
ภาระงานพยาบาลมีค วามแตกต่ า งกันในแต่ ละระดับโรงพยาบาลและแต่ ละแผนก แต่ ก ็มีรูปแบบที� คล้ ายกันคือ
การกระจายภาระงานและอัตรากําลังของโรงพยาบาล ส่วนใหญ่อยูท่ แ�ี ผนกผู้ป่วยใน แต่เมือ� เทียบผลิตภาพกําลังคน พบว่า
พยาบาลแผนกผู้ป่วยในของโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทัว� ไป โดยเฉลี�ย มีภาระงานต่อคนสูงกว่าโรงพยาบาลชุมชน
อย่างไรก็ตาม พบว่า โรงพยาบาลชุมชนส่วนใหญ่มอี ตั รากําลังเพียงพอกับภาระงาน ดังนั�น จึงควรมีการปรับการบริหาร
จัดการเพื�อแก้ปัญหาภาระงานที�หนักของพยาบาล โดยเฉพาะ งานผู้ป่วยในของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทัว� ไป
และควรมีการศึกษาเพื� อพัฒนาวิธีการวัดภาระงาน และทบทวนการจํา แนกประเภทผู้ป่วย เวลามาตรฐานของงาน
แต่ละประเภทเป็ นระยะ อีกทั�งควรสนับสนุนให้ มี หน่วยงานที�มบี ทบาทหลักในการทําการศึกษาและวิเคราะห์ภาระงาน
ของบุคลากรทางด้ านการแพทย์และสาธารณสุข และมีการนํา ไปใช้ ในการพั ฒนาการจัดการบุคลากรอย่ างต่อเนื� อง
และทันท่วงที ข้ อเสนอแนะ ควรมีการปรับการบริหารจัดการเพื�อแก้ ปัญหาภาระงานที�หนักของพยาบาล โดยเฉพาะ
งานผู้ ป่ วยในของโรงพยาบาลศู นย์ และโรงพยาบาลทั� ว ไป และควรมี การศึ กษาเพื� อพั ฒนาวิ ธี การวั ด ภาระงาน
และทบทวนการจําแนกประเภทผู้ป่วย เวลามาตรฐานของงานแต่ละประเภทเป็ นระยะ อีกทัง� ควรสนับสนุนให้ มหี น่วยงาน
ที�มบี ทบาทหลักในการทําการศึกษา และวิเคราะห์ภาระงาน ของบุคลากรทางด้ านการแพทย์และสาธารณสุข และมีการ
นําไปใช้ ในการพัฒนาการจัดการ บุคลากรอย่างต่อเนื�องและทันท่วงที
คําสําคัญ: ภาระงาน, พยาบาลวิชาชีพ
Analyses of Workload and Productivity of 12 Public Hospital Nurses in Region 2 of Thailand

บทนํา ในการบริ หารจั ด การทั� งในมิ ติ ด้ า นปริ ม าณ และการ


กระทรวงสาธารณสุ ข มี น โยบายการปฏิ รู ป ระบบ กระจายกํา ลั งคนที� เหมาะสม ซึ� งการศึ ก ษาภาระงาน
บริการสุขภาพ โดยการกระจายอํานาจการบริหารจัดการ (workload) และการใช้ เวลาในการทํางานของบุคลากร
จากส่วนกลางไปสูก่ ารบริหารในรูปแบบเครือข่าย �� เขต (time use) เพื�อนํามาสู่การวิเคราะห์ความต้ องการกําลัง
โดยมีแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service plan) 10 คนตามภาระงานในรู ป แบบของเวลาเสมื อ นกั บ การ
สาขาเป็ นเครื�องมือในการจัดและกระจายบริการสุขภาพ ทํา งานเต็มเวลา (full time equivalent หรื อ FTE)
ทีไ� ด้ มาตรฐานไปยังพื�นทีต� า่ งๆ ทุกภูมภิ าค โดยมีเป้ าหมาย เป็ นวิธีหนึ� งที�สามารถให้ ข้อมูลเชิงประจักษ์ท�ีจะสะท้ อน
เพื� อให้ ประชาชนสามารถเข้ าถึงบริ การสุขภาพที�จาํ เป็ น ความต้ องการกํา ลั งคน และสามารถนํา มาใช้ ในการ
ได้ ง่ายทุ กที� ทุกเวลา และมีคุณภาพมาตรฐานดีทุกครั� ง บริหารจัดการการใช้ กาํ ลังคนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
ที�เข้ ารับบริการและภายใต้ ทรัพยากรที�จาํ กัด การบริหาร การวางแผนบุคลากร รวมถึงการบริหารจัดการโดย
ทรั พยากร อย่ างมี บู รณาการในระดั บเครื อข่ ายบริ การ ใช้ หลักการวิเคราะห์ภาระงาน ได้ รับการยอมรับให้ ใช้ ใน
สุขภาพให้ มปี ระสิทธิภาพสูงสุด จึงถูกกําหนดให้ เป็ นกลไก ประเทศต่ า งๆ ในหลากหลายสาขา ในแวดวงสุขภาพ
สํา คัญที�จะขับเคลื� อนแผน พั ฒนาระบบบริ การสุขภาพ ขององค์ การอนามั ยโลก(1) ได้ มี ก ารเสนอแนะวิ ธี การ
(Service plan) ไปสู่ เป้ าหมายดังกล่ าว โดยเครื อข่ าย วางแผนกําลังคนที�เรียกว่า WISN (workload indicators
บริ การแต่ ละเขต ต้ องมีการวางแผนและจั ดระบบให้ มี of staffing need) ซึ� งเป็ นการวิ เคราะห์ความต้ องการ
การบริหารกําลังคนร่วม บริหารงบประมาณร่วม บริหาร บุ ค ลากรโดยคํา นึ งถึ งปริ ม าณงานที� ต้ องการในสถาน
การลงทุนร่ วม และบริหารการจัดซื�อยาและเวชภัณฑ์ร่วม บริการหนึ�งๆ และเวลาที�บุคลากรแต่ละคนทํางาน วิธกี าร
ดังนั� นจึ งจํา เป็ นต้ องมีการศึกษา วิเคราะห์ สถานการณ์ นี�ถูกนําไปใช้ เพื�อวางแผนบุคลากรในประเทศต่างๆ(2—4)
ที� เ กี� ยวข้ องเพื� อให้ สามารถตั ด สิ นใจและวางแผนการ รวมถึงในประเทศไทยเองได้ มีแนวคิดการวิเคราะห์กาํ ลัง
ดําเนินการต่อไป คนโดยคํา นึ งถึ งภาระงานและเวลาในการทํา งาน โดย
การบริหารจัดการกําลังคนที�มีทกั ษะพร้ อมให้ บริการ เฉพาะในสาขาการพยาบาลมาตั� งแต่ ปี 2547(5) ที� ใช้
อย่างเพียงพอตลอดเวลา และกระจายอย่างเหมาะสมใน เกณฑ์ การจํา แนกประเภทผู้ ป่ วยของกองการพยาบาล
แต่ละระดับของบริการภายในเครือข่าย นับเป็ นปัจจัยที�มี สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข(6-8)
ความสํา คั ญ อย่ า งยิ� งต่ อ ความสํา เร็ จ ของแผนพั ฒ นา ภายใต้ ความต้ องการที� จะพั ฒนาระบบบริ การให้ มี
ระบบบริ การสุ ขภาพ (service plan) ที� มี ภารกิ จการ ประสิทธิภาพและมีคณ ุ ภาพด้วยการบริหารจัดการบุคลากร
ให้ บริ การที�หลากหลายครอบคลุมบริ การทั�ง �� สาขา ด้ านการพยาบาลอย่ า งเหมาะสม เขตพื� นที� เ ครื อ ข่ า ย
ในหน่วยบริการสุขภาพแต่ละระดับ โดยเฉพาะการจัดการ บริ ก ารสุ ข ภาพที� 2 ภายใต้ สํา นั ก งานปลั ด กระทรวง
กํา ลั งคนสาขาพยาบาล ซึ� งในปั จ จุ บั นในภาพรวมของ สาธารณสุ ข จึ งได้ จั ดทํา โครงการวิ จั ยและพั ฒ นาการ
ประเทศ กําลังประสบปัญหาการขาดแคลนกําลังคนสาขา บริ หารบุ คลากรพยาบาลวิ ชาชี พโรงพยาบาลศู นย์
นี�จากหลายๆ สาเหตุ นอกจากนี� ยังมีปัญหาการกระจาย โรงพยาบาลทั� วไป และโรงพยาบาลชุ ม ชนเขตพื� นที�
ที�ไม่เหมาะสมและปั ญหาการบริ หารจัดการตําแหน่ งใน เครื อข่ ายบริ การสุขภาพที� � โดยใช้ หลั กการวิ เคราะห์
การจ้ างงานอีกด้ วย ภาระงานเพื� อเป็ นข้ อมู ลประกอบการตั ด สิ นใจในการ
การบริ ห ารกํา ลั ง คนร่ ว มในเครื อ ข่ า ยฯ อาจเป็ น จั ดการบุ คลากรให้ มี ประสิทธิภาพ รวมทั� งเพื� อพั ฒนา
แนวทางหนึ� งที� มี ป ระสิ ทธิ ผล จึ ง จํา เป็ นต้ องมี ข้ อมู ล ศั ก ยภาพผู้ บริ หารทางการพยาบาล และนั ก วิ ช าการ
เพื� อการตั ด สิ น ใจในการวางแผนและกํา หนดแนวทาง ที�เกี�ยวข้ องในการวางแผนกําลังคน
742 Journal of Health Science 2015 Vol. 24 No. 4
ภาระงานและผลิตภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลของรัฐ �� แห่ งในพื�นที�เครือข่ายบริการสุขภาพที� �
การศึ กษานี� มีวั ตถุประสงค์เพื� อศึกษาภาระงานของ ของโรงพยาบาล (hospital profile) และส่วนที� � เป็ น
พยาบาลวิ ชาชีพในแต่ละแผนก และศึกษาการกระจาย ข้ อมู ล การให้ บริ ก ารพยาบาล ภาระงาน ชั� วโมงการ
ภาระงานและอั ต รากํา ลั งของพยาบาลวิ ช าชี พ ในโรง- ทํางานของพยาบาลแต่ละแผนกของโรงพยาบาล (nurs-
พยาบาลแต่ละระดับ รวมทั�งคาดประมาณความต้ องการ ing workload และ FTE) ซึ� งผู้ วิ จั ยสร้ างขึ� นตาม
จํา นวนอัตรากํา ลั งพยาบาลในโรงพยาบาลในเขตพื� นที� กรอบแนวคิดการศึกษาความต้ องการอัตรากําลังทางการ
เครือข่ายบริการสุขภาพที� 2 พยาบาล ภายใต้ การมีสว่ นร่วมของผู้เกี�ยวข้ อง ประกอบ
ด้ วย หัวหน้ าพยาบาล พยาบาลที�เกี�ยวข้ อง และเจ้ าหน้ าที�
วิธีการศึกษา ด้ านข้ อมูลสารสนเทศของโรงพยาบาล โดยการประชุม
การวิจัยครั�งนี�เป็ นการศึกษาเชิงพรรณนาภาคตัดขวาง ระดมสมองเพื� อหาข้ อสรุป เกี� ยวกับผลผลิตของบริ การ
และเป็ นการศึ ก ษานํา ร่ อ ง โดยการศึ ก ษาเชิ งปริ ม าณ หน่วยนับปริมาณงาน และเวลามาตรฐานการพยาบาลต่อ
ใช้ แบบสํารวจปริมาณงานของพยาบาลจากระบบรายงาน หน่วย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรม Microsoft Excel
ผลการบริการของโรงพยาบาล และระบบข้ อมูลบุคลากร ทั� งนี� เวลามาตรฐานการพยาบาลต่ อหน่ วยประยุ กต์ใช้
ทางการพยาบาล ของโรงพยาบาลที� เป็ นกลุ่ มตั วอย่ าง ตามแนวทางกองการพยาบาล สํานักงานปลัดกระทรวง-
ในปี งบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 - กันยายน สาธารณสุ ข (6-8) ที� กํา หนดตามเกณฑ์ ข องสภาการ-
2555) ซึ� งเป็ นข้ อมู ลระดั บหน่ วยงานไม่ เชื� อมโยงกั บ พยาบาล(9)
ข้ อมูลรายบุคคลของผู้ป่วยหรือบุคลากร
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างทีใ� ช้ในการศึกษา ดําเนินการ 6 เดือน ระหว่าง เดือนเมษายน-กันยายน
ประชากรเป็นโรงพยาบาลในพืน� ทีเ� ครือข่ายบริการสุขภาพ 2556
ที� � กลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาครั�งนี�ใช้ วิธีการเลือกแบบ 1. จั ดอบรมเชิ งปฏิบั ติการเพื� อเตรี ยมความพร้ อม
เจาะจง โดยมี เกณฑ์ สาํ คั ญ คื อเป็ นโรงพยาบาลในทุ ก นั กวิ จั ยภาคสนาม ซึ� งคั ดเลื อกจากโรงพยาบาลที� เป็ น
จั งหวั ดในพื� นที� เครื อข่ ายบริ การสุขภาพที� � ที�มีความ กลุ่มตัวอย่าง โรงพยาบาลละ � คน โดยทําความเข้ าใจ
พร้ อมด้ านระบบข้ อมู ลสารสนเทศและมี ข้ อมู ลการให้ และฝึ กปฏิบั ติในการเก็บข้ อมู ลทุ ติยภูมิ ซึ� งเป็ นข้ อมู ล
บริ ก ารที� สามารถนํา มาใช้ ในการวั ด ภาระงานได้ และ ของปี งบประมาณ ���� (ตุ ลาคม ����-กัน ยายน
สมัครใจเข้ าร่วมโครงการ ประกอบด้ วย โรงพยาบาลศูนย์ 2555) และการบันทึกข้ อมูลในโปรแกรมเก็บข้ อมูล
� แห่ง โรงพยาบาลทั�วไป � แห่ง โรงพยาบาลชุมชน � 2. เก็ บ รวบรวมข้ อมู ล จากระบบรายงานผลการ
แห่ ง จํานวนพยาบาลที�เป็ นกลุ่มตัวอย่างจํานวน 2,961 บริการของโรงพยาบาล และระบบข้อมูลบุคลากรทางการ
คน พยาบาล
3. นักวิจั ยทําการตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูล
เครือ� งมือที�ใช้ในการศึกษา ร่ วมกั บนั กวิ จั ยภาคสนามทํา การแก้ ไข และเก็บข้ อมู ล
เครื� องมือที�ใช้ ในการศึกษาครั� งนี� เป็ นแบบสํารวจที� เพิ�มเติมกรณีมีข้อมูลไม่ครบถ้ วน
เป็ นโปรแกรมอิเล็คทรอนิคส์ สร้ างจาก Excel spread sheet 4. วิ เ คราะห์ ข้ อมู ล สรุ ป ผลการศึ ก ษา และเขี ยน
แบบสํารวจข้ อมูลประกอบด้ วย � ส่วน คือ ส่วนที� � เป็ น รายงานการศึกษา
ข้ อมูลการให้ บริการ ศักยภาพ และอัตรากําลังบุคลากร

วารสารวิชาการสาธารณสุข ���� ปี ที � �� ฉบับที � � 743


Analyses of Workload and Productivity of 12 Public Hospital Nurses in Region 2 of Thailand

ผลการศึกษา ส่วนที� � การวิเคราะห์ภาระงานพยาบาล


ส่วนที� � ข้อมูลทัว� ไปของโรงพยาบาล และจํ านวน การกระจายภาระงาน ผลของการศึกษาภาระงานของ
พยาบาล พยาบาลวิชาชีพ พบว่า โรงพยาบาลทั�ง �� แห่งมีภาระ-
โรงพยาบาลในกลุ่มตัวอย่าง 12 แห่ง มีจาํ นวนเตียง- งานในแผนกผู้ ป่ วยในมากที� สุ ด คิ ด เป็ นร้ อยละ ��.�
ผู้ป่วยในรวม �,��� เตียง โดยเฉลี�ย โรงพยาบาลชุมชน ของภาระงานทั� งหมด รองลงมาเป็ นแผนกผู้ ป่ วยนอก
มี �� เตียง โรงพยาบาลทั�วไป และโรงพยาบาลศูนย์มี และแผนกอุบัตเิ หตุฉุกเฉิน ผ่าตัด และห้ องคลอด คิดเป็ น
373 เตียง และ ��� เตียง ตามลําดับ โดยรวมทั�ง �� สัดส่วนร้ อยละ �.�, 7.0, �.� และ �.� ตามลํา ดั บ
โรงพยาบาลมีอัตราการครองเตียงเฉลี� ยร้ อยละ 91.44 สําหรับการกระจายภาระงานของแผนกต่างๆ จําแนกตาม
โดยโรงพยาบาลศูนย์มีอัตราครองเตียงสูงที�สุด คิดเป็ น ระดับโรงพยาบาลพบว่ า โรงพยาบาลชุ มชนมีภาระงาน
ร้ อยละ 104.55 รองลงมาเป็ นโรงพยาบาลชุมชนร้ อยละ ผู้ป่วยในประมาณครึ�งหนึ�งเมื�อเทียบกับภาระงานบริการ
87.66 และโรงพยาบาลทั�วไปร้ อยละ 81.40 สําหรั บ ผู้ป่ วยอื�นๆ แต่โรงพยาบาลทั�วไปและโรงพยาบาลศูนย์
การให้ บริการผู้ป่วยนอก พบว่า ยังคงมีความแออัดอยู่ใน มีภาระงานผู้ป่วยในกว่า 3 ใน 4 ของภาระงานบริการอื�นๆ
โรงพยาบาลศูนย์ โดยมีผ้ ู ป่วยเฉลี� ยวันละ �,814 ราย การกระจายภาระงานในโรงพยาบาลแต่ ละระดับแสดง
รองลงไป เป็ นโรงพยาบาลทัว� ไปเฉลี�ยวันละ 714 รายและ ดังภาพที� 1
โรงพยาบาลชุมชนเฉลี�ยวันละ ��� ราย มีผ้ ปู ่ วยใช้ บริการ 2.1 ดัชนีภาระงาน
แผนกฉุ กเฉิ นของโรงพยาบาลชุ มชนถึ งร้ อยละ ��.�� ผลการคํานวณดัชนี ภาระงานจากสมการดัชนี ภาระ
ของผู้ ป่ วยนอก ในขณะที� โรงพยาบาลทั� ว ไปและโรง- งาน (workload index) = (ปริมาณงาน x เวลามาตรฐาน
พยาบาลศูนย์ มีผ้ใู ช้ บริการแผนกฉุกเฉินร้ อยละ ��.� และ ต่อหน่วย)/ปริมาณงาน ซึ�งจะนําไปใช้ ประโยชน์เป็ นเวลา
9.85 ตามลําดับ ส่วนการให้ บริการคลอดและการผ่าตัด มาตรฐานในการคํา นวณภาระงานของพยาบาลวิ ชาชี พ
ของโรงพยาบาลชุ มชนมีน้อยมาก และบางแห่งไม่ได้ ให้ ในแผนกต่างๆ ของโรงพยาบาล และนําไปคํานวณความ
บริการเลยโดยพบว่ามีการให้ บริการคลอด เฉลี�ยวันละ 3 ต้ องการอัตรากําลังพยาบาล นอกจากนี�ยังสามารถนําไป
รายต่อแห่ง และบริการผ่าตัดเฉลี�ย วันละ 3 รายต่อแห่ง ใช้ ประโยชน์ในการวางแผนปรับปรุงกระบวนการทํางาน
ดังแสดงในตารางที� 1 ต่ อไปได้ ในการศึกษาครั� งนี� พบว่ า ดัชนี ภาระงานของ

ตารางที� � จํานวนเตียง อัตราครองเตียง และปริมาณบริการหลักของพยาบาล ในโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง

ข้ อมูล ร.พ.ชุมชน ร.พ.ทั�วไป ร.พ.ศูนย์


จํานวนแห่ง 5 5 2
จํานวนเตียงรวม (เตียง) 330 1,866 1,524
จํานวนเตียงเฉลี�ยต่อแห่ง (เตียง) 66.0 373.2 762.0
อัตราการครองเตียง(ร้ อยละ) 87.7 81.4 104.6
ผู้ป่วยนอกเฉลี�ยต่อแห่ง/วัน(ราย) 302.6 714.4 1841.5
ผู้ป่วยใช้ บริการฉุกเฉิน เฉลี�ยต่อแห่ง/วัน(ราย) 107.9 178.6 181.8
ผู้ป่วยในเฉลี�ยต่อแห่ง/วัน (คน) 57.9 303.8 796.7
ผู้คลอดเฉลี�ยต่อแห่ง/วัน (ราย) 3.3 5.8 11.8
ผู้ป่วยผ่าตัดเฉลี�ยต่อแห่ง/วัน (ราย) 3.1 62.6 139.8

744 Journal of Health Science 2015 Vol. 24 No. 4


ภาระงานและผลิตภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลของรัฐ �� แห่ งในพื�นที�เครือข่ายบริการสุขภาพที� �

ภาพที� 1 การกระจายภาระงานในโรงพยาบาลแต่ละระดับ

100.0

80.0
ห้ องคลอด
60.0 ผ่าตัด
ฉุกเฉิน
40.0 ผู้ป่วยนอก
ผู้ป่วยใน
20.0

0.0
รพ. ชุมชน รพ. ทั�วไป รพ. ศูนย์

ผู้ ป่วยในโรงพยาบาลแต่ละระดับแตกต่างกันตามความ พบว่าแผนกผู้ป่วยในมีอตั รากําลังตํ�ากว่าภาระงาน สัดส่วน


หนั กเบาของผู้ ป่ วย โดยพบว่ าดั ชนี ภาระงานผู้ ป่ วยใน FTE เฉลี�ยร้ อยละ ��.� สัดส่วนภาระงานร้ อยละ ��.�
รวมผู้ป่วยหนักของโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั�วไป ส่วนแผนกอื�นๆ มีการกระจายอัตรากําลังค่อนข้ างสอด-
และโรงพยาบาลศู นย์เท่ากับ �.��, �.�� และ �.�� คล้ องกั บ การกระจายภาระงาน โดยกลุ่ มผู้ ป่ วยนอก
ชั� วโมงต่ อวั น นอน ตามลํา ดั บ สํา หรั บ ดั ช นี ภาระงาน มีสัดส่วน FTE เฉลี� ยร้ อยละ ��.� สัดส่วนภาระงาน
ผู้ ป่วยนอกรวมผู้ ป่วยฉุกเฉิน เท่ากับ �.�� และ �.�� ร้ อยละ �.� ห้ องคลอด สัดส่วน FTE เฉลี�ยร้ อยละ �.�
ชั�วโมงต่อราย ตามลําดับ สัดส่วน ภาระงานร้ อยละ �.� ห้ องผ่าตัด สัดส่วน FTE
�.� อัตรากําลังพยาบาลวิชาชีพ เฉลี� ยร้ อยละ ��.� สั ด ส่ ว นภาระงานร้ อยละ �.�
โรงพยาบาลกลุ่ ม ตั ว อย่ า งทั� ง �� แห่ ง มี จาํ นวน ห้ องฉุกเฉิน สัดส่วน FTE เฉลี�ยร้ อยละ �.� เท่ากันกับ
พยาบาลวิ ชาชี พตามตํา แหน่ งรวม �,��� คน แต่ มี สัดส่วนภาระงาน
ผู้ปฏิบตั งิ าน �,��� คน คิดเป็ นร้ อยละ ��.� โดยอีก ���
คนเป็ นผู้ท�ีลาศึกษาต่อไปช่วยราชการหรือไปปฏิบัติงาน ส่วนที� � ผลิตภาพของพยาบาล (productivity)
ทีอ� �นื ทัง� นี�เป็ นผู้ปฏิบตั งิ านในโรงพยาบาล ชุมชน ��� คน ในโรงพยาบาลแต่ละระดับและรายแผนก
โรงพยาบาลทั� วไป �,��� คน และโรงพยาบาลศู นย์ เมื�อคํานวณผลิตภาพซึ�งหมายถึงภาระงานต่อ � FTE
�,��� คน เมื�อคํานวณเวลาทํางานเทียบเท่าพนักงานเต็ม ของพยาบาล ในแต่ละแผนกหากมีค่ามากกว่า � หมายถึง
เวลา (FTE) ซึ�งกําหนดให้ � FTE มีเวลาทํางาน �� ชั�วโมง พยาบาล � คนทํางานมากกว่า �� ชั�วโมงต่อสัปดาห์หรือมี
ต่อสัปดาห์ พบว่า มีอัตรากําลังพยาบาลที�ให้ บริการรวม ความขาดแคลนพยาบาล เมื�อเทียบกับภาระงาน ซึ�งผล
ทั�งสิ�น �,���.�� FTE ซึ�งแสดงว่า พยาบาล � คนมีเวลา การศึกษาพบว่า ในภาพรวมผลิตภาพเฉลี�ยของพยาบาล
ทํา งานเฉลี� ยเท่ ากั บ �.�� FTE หรื อประมาณ ��.� ในโรงพยาบาลชุมชนตํ�ากว่าโรงพยาบาลทั�วไปหรือโรง-
ชั� วโมงต่ อสัปดาห์ โดยมี สั ดส่ว นเวลาทํา การนอกเวลา พยาบาลศูนย์ แต่กม็ โี รงพยาบาลชุมชนบางแห่งทีม� ภี าระ-
เฉลี�ยร้ อยละ ��.�-��.� ต่อคน ดังแสดงในตารางที� � งานต่อ FTE ของพยาบาลเท่ากับหรือสูงกว่าโรงพยาบาล-
การกระจายอัตรากํา ลังพยาบาลวิชาชี พในภาพรวม ทัว� ไปหรือโรงพยาบาลศูนย์ โดยห้ องผ่าตัดและห้ องคลอด
วารสารวิชาการสาธารณสุข ���� ปี ที � �� ฉบับที � � 745
Analyses of Workload and Productivity of 12 Public Hospital Nurses in Region 2 of Thailand
เป็ นหน่ ว ยงานที� มี ผ ลิ ต ภาพของพยาบาลตํ�า ที� สุ ด ใน โดยในบางหน่วยบริการก็แสดงให้ เห็นถึงการขาดแคลน
โรงพยาบาลทุ ก ประเภท ในขณะที� แผนกผู้ ป่ วยใน มี อย่างมาก เช่น ในกรณีของหอผู้ป่วยในที�มีตาํ แหน่งน้ อย
ผลิตภาพสูงที�สดุ ในโรงพยาบาลทุกประเภท (ภาพที� 2) กว่า ภาระงานมาก แม้ จะให้ พยาบาลที�มีอยู่ข� ึนเวรนอก
เวลาก็ไม่น่าจะเพียงพอ จึงต้ องมีการเพิ�มอัตรากําลังโดย
ส่ ว นที� � การคาดการณ์ค วามต้อ งการจํ า นวน ปั จจุ บันมีการจ้ างงานเป็ นลูกจ้ างชั� วคราวในโรงพยาบาล
พยาบาล หลายแห่ ง ในขณะเดียวกันในส่วนของห้ องผ่ าตัด และ
จากการศึ กษาภาระงานครั� งนี� เมื� อทํา การประมาณ ห้ องคลอดก็มีพยาบาลมากกว่ าที�ควรจะมีตามภาระงาน
ค่ า จํา นวนพยาบาลที� ควรจะมี ต ามภาระงานดั ง กล่ า ว (ตารางที� 3)
โดยกําหนดให้ พยาบาล 1 คน ทํางานมีเวลาทํางาน 2,080 ในภาพรวมแล้ ว จํานวนพยาบาลตามตําแหน่งที�มีอยู่
ชั� วโมงต่ อปี พบว่ า จํา นวนพยาบาลเมื� อคิ ดตาม FTE กับความต้ องการพยาบาลตามภาระงานมีความสอดคล้อง
ที� ควรมี จะมี ความแตกต่ างจากจํา นวนตํา แหน่ งที�มีอยู่ กันพอสมควร แต่กย็ งั มีหน่วยบริการในโรงพยาบาลหลาย

ตารางที� � จํานวนพยาบาลตามตําแหน่งและจํ านวน FTE จํ าแนกตามประเภทโรงพยาบาล

ประเภทโรงพยาบาล จํานวนพยาบาล จํานวนพยาบาล จํานวน FTE ของ FTE ต่อ พยาบาล สัดส่วนเวลาทํา-
ตามตําแหน่ง ผู้ปฏิบัติงาน พยาบาลทั�งหมด ที�ปฏิบัติงานจริง การนอกเวลา
(ไม่รวมบริหารหรือ � คน เฉลี�ยต่อพยาบาล
(เฉลี�ยคนต่อแห่ง) (เฉลี�ยคนต่อแห่ง) งานนอกโรงพยาบาลอื�นๆ) หนึ�งคน (%)
โรงพยาบาลชุมชน (� แห่ง) 342 (68) 313 (63) 387.0 1.23 27.9
โรงพยาบาลทั�วไป (� แห่ง) 1,476 (295) 1,334 (267) 1,709.1 1.28 26.3
โรงพยาบาลศูนย์ (�แห่ง) 1,361 (681) 1,314 (657) 1,622.9 1.23 23.8
หมายเหตุ FTE ย่อมาจาก Full time equivalent หรือเวลาทํางานเทียบเท่าพนักงานเต็มเวลา ตามมาตรฐานกําหนดให้ พนักงานเต็มเวลาทํางาน
� ชั�วโมงต่อวัน � วัน ใน � สัปดาห์ และ �� สัปดาห์ต่อปี หรือ ��� วันต่อปี รวมเป็ น ���� ชั�วโมงต่อปี

ภาพที� 2 ระดับภาระงานต่อ FTE ของพยาบาล (Productivity) รายแผนก เปรียบเทียบระหว่างประเภทของโรงพยาบาล


1.8
1.6 1.58 1.53
1.46
1.4
1.28
1.2 1.17 1.21
1.04 1.10
1.0 0.93
0.81 0.87
0.8
0.63 0.68 0.66
0.6
0.4 0.29
0.2
0.0
ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก ห้ องคลอด ห้ องผ่าตัด ห้ องฉุกเฉิน
รพ.ชุมชน รพ.ทั�วไป รพ.ศูนย์

746 Journal of Health Science 2015 Vol. 24 No. 4


ภาระงานและผลิตภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลของรัฐ �� แห่ งในพื�นที�เครือข่ายบริการสุขภาพที� �

แห่งทีม� ปี ริมาณพยาบาลกับภาระงานไม่สอดคล้องกัน มีทง�ั วิจารณ์


ที�มากกว่ าและน้ อยกว่า โดยหากพิ จารณาปริ มาณภาระ การศึกษาภาระงานและการใช้เวลาทํางานของพยาบาล
งานต่ อบุ คลากรแยกตามแผนกโดยเฉลี� ยของทุ กโรง- ในโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทัว� ไป และโรงพยาบาล
พยาบาลแล้ วจะพบว่าหอผู้ป่วยในโดยรวมมีสดั ส่วนภาระ- ศูนย์ ในเครือข่ายบริการสุขภาพที� 2 จํานวน 12 แห่ง
งานต่อ FTE พยาบาลสูงกว่า ในขณะทีห� ้ องผ่าตัดมีสดั ส่วน พบว่ า แม้ จะมี ความแตกต่ า งกั น ในแต่ ล ะระดั บ โรง-
ภาระงานต่อ FTE พยาบาลค่อนข้ างตํ�า (ภาพที� 3) พยาบาลและแต่ ละแผนก แต่ ก ็มี รู ปแบบสํา คั ญที� พบ

ตารางที� � ค่าเฉลีย� ความต้องการพยาบาลที�ควรมีตามภาระงานกับค่าเฉลีย� จํ านวนพยาบาลที�มอี ยู่จําแนกตามแผนกและ


ประเภทโรงพยาบาล
หน่วยบริการ จํานวนพยาบาล (FTE) ประเภทโรงพยาบาล
โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั�วไป โรงพยาบาลศูนย์
ผู้ป่วยใน FTEเฉลี�ยที�ควรจะมี 39 312 924
ตําแหน่งพยาบาลเฉลี�ยที�มอี ยู่ 28 176 491
ผู้ป่วยนอก FTE เฉลี�ยที�ควรจะมี 10 32 83
ตําแหน่งพยาบาลเฉลี�ยที�มอี ยู่ 15 36 64
ห้ องฉุกเฉิน FTE เฉลี�ยที�ควรจะมี 17 40 40
ตําแหน่งพยาบาลเฉลี�ยที�มอี ยู่ 14 34 26.5
ห้ องผ่าตัด FTE เฉลี�ยที�ควรจะมี 1.6 32 76
ตําแหน่งพยาบาลเฉลี�ยที�มอี ยู่ 4.2 36 84
ห้ องคลอด FTE เฉลี�ยที�ควรจะมี 5 14 21
ตําแหน่งพยาบาลเฉลี�ยที�มอี ยู่ 7 13 14
ภาพที� 3 ค่ามัธยฐานและการกระจายของสัดส่วนภาระงานต่อ FTE ของพยาบาล (productivity) เฉลีย� แต่ละแผนกของ
ทุกโรงพยาบาล

2.5

2.0

1.5

1.0

0.5

0.0
ห้ องฉุกเฉิน ผู้ป่วยใน ห้ องคลอด ผู้ป่วยนอก ห้ องผ่าตัด

วารสารวิชาการสาธารณสุข ���� ปี ที � �� ฉบับที � � 747


Analyses of Workload and Productivity of 12 Public Hospital Nurses in Region 2 of Thailand
ความคล้ ายคลึงกันคือ การกระจายภาระงานและอัตรา คุ ณ ภาพและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยอาจมี การพิ จ ารณา
กําลังของโรงพยาบาลส่วนใหญ่อยู่ท�ีแผนกผู้ป่วยใน แต่ การบริ หารจั ดการเพื� อปรั บเกลี� ยอั ตรากํา ลั งทั� งในและ
เมื�อเทียบผลิตภาพกําลังคนพบว่า พยาบาลแผนกผู้ป่วย- นอกเวลา และการทํางานร่วมกันระหว่างแผนกและอีกทั�ง
ในของโรงพยาบาลศู นย์ โรงพยาบาลทั� วไป โดยเฉลี� ย อาจมีการพิจารณาบริหารจัดการระบบส่งต่อผู้ป่วยหรือ
มีภาระงานต่อคนสูงกว่าโรงพยาบาลชุมชน อย่างไรก็ตาม การจัดรูปแบบบริการระบบเครือข่ายเพื� อกระจายภาระ
พบว่า โรงพยาบาลชุมชนส่วนใหญ่มีอตั รากําลังเพียงพอ งานให้ เหมาะสม
กั บภาระงาน และยั งมี โ อกาสพั ฒนาระบบบริ หาร ทั�งนี� ข้ อมูลและการวิเคราะห์ภาระงานและ FTE ของ
อั ตรากํา ลั งให้ สอดคล้ องกับภาระงาน รวมทั� งหากการ บุ ค ลากรยั ง มี ข้ อจํา กั ด อยู่ หลายประการ ทั� งในเรื� อง
บริหารจัดการในเขตบริการสุขภาพทีม� ุ่งบริหารทรัพยากร คุ ณภาพของข้ อมู ลที� มี อยู่ การกํา หนดเวลามาตรฐาน
ร่ ว ม ผลการศึ กษาครั� งนี� แสดงให้ เห็ นว่ า อั ต รากํา ลั ง ที�ต้องใช้ ในงานแต่ละชนิด และข้ อจํากัดในการประเมิน
พยาบาลในโรงพยาบาลชุ มชนในพื� นที� เครื อข่ายบริ การ ภาระงานของกิจกรรมบางประการที�ไม่สามารถวัดได้ ง่าย
สุขภาพที� 2 ยังสามารถรองรับภาระงานที�เพิ�มขึ�นได้ จึงมี เช่น การวั ดภาระงานด้ านบริหาร และบริ การในชุ มชน
โอกาสพัฒนาโดยการจัดบริการร่ วม และบริหารอัตรา- หรือท้องถิน� ซึ�งยังไม่ได้มกี ารรวบรวมในการศึกษานี� ดังนั�น
กําลังพยาบาลร่วมกัน ทั�งในระดับเขต และระดับจังหวัด จึ งควรมี ก ารศึ ก ษาเพื� อพั ฒ นาวิ ธี ก ารวั ด ภาระงานให้
เช่น ยังมีพยาบาลห้ องผ่าตัดที�สามารถรองรับการผ่าตัด สามารถประเมิ นความซั บ ซ้ อนของงานเพื� อมาคํา นวณ
ที�จะเพิ�มขึ�นได้ ซึ�งอาจเคลื�อนย้ ายแพทย์มาช่วยทําผ่าตัด ภาระงานได้ อย่ า งครบถ้ วน โดยเฉพาะประเด็ น เชิ ง
ในบางช่ วงเวลา ก็ จ ะทํา ให้ มี ก ารใช้ ทรั พยากรของ คุณภาพของผลลัพธ์การบริการที�พึงประสงค์
โรงพยาบาลอย่ างคุ้ มค่ า โดยควรมี การสร้ างแรงจู งใจ แต่ อย่ างไรก็ตาม ควรมีการศึกษาและทบทวนการ
ที�จะทําให้ กาํ ลั งคนมีความพร้ อมที�จะรั บภาระงานที�อาจ จํา แนกประเภทผู้ ป่ วย เวลามาตรฐานของงานแต่ ละ
เพิ�มขึ�น ในทํานองเดียวกัน โรงพยาบาลศูนย์ท�มี ีภาระงาน ประเภทเป็ นระยะ อาจทุก 2-4 ปี เพื�อให้ มีความถูกต้ อง
สูงกว่าอัตรากําลังรองรับที�มี ก็อาจต้ องวิเคราะห์ปรับปรุง และเหมาะสมต่ อ การปฏิ บั ติ งานจริ งตามองค์ ความรู้
กระบวนการทํางาน เพื�อลดความซํา� ซ้ อนของงาน รวมทั�ง และเทคโนโลยี ในการรั กษาพยาบาล และสภาวะโรคที�
การพั ฒนาระบบส่ ง กลั บ ผู้ ป่ วยไปยั ง โรงพยาบาล- เปลี�ยนไป อีกทั�งควรสนับสนุนให้ มีสถาบันหรือหน่วยงาน
ชุ มชนหรื อชุ มชน และในแต่ ละโรงพยาบาลควรมี การ ที�มีบทบาทหลักในการทําการศึกษาและวิเคราะห์ภาระ-
วิเคราะห์ภาระงานเพื�อบริหารให้ มกี ารกระจายอัตรากําลัง งานของบุคลากรทางด้ านการแพทย์และสาธารณสุขที�มี
ได้ สอดคล้ องกับภาระงานในแต่ละแผนก กลไกการจั ดการที�เป็ นที�ยอมรับ โดยอาจจั ดตั� งให้ เป็ น
การศึ ก ษาครั� งนี� มี ป ระโยชน์ ในการสร้ างความ หน่วยงานกลาง ดูแลทุกวิชาชีพในภาพรวมของประเทศ
ตระหนั กของผู้ บริ หารในการใช้ ข้ อมู ลเพื� อการบริ หาร ในการพั ฒนาและรักษามาตรฐานการจัดการบุคลากร-
จัดการกระจายกําลังคนให้ สมดุลกับภาระงาน การติดตาม สุขภาพ โดยในระยะเริ� มแรกอาจอยู่ กับหน่ วยงานด้ าน
และประเมินการทํางานของบุคลากร ประโยชน์และความ แผนหรือยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข แต่อนาคต
สํา คั ญ ของการมี ข้ อมู ลเชิ งประจั กษ์ เพื� อประกอบการ ควรเป็ นหน่ ว ยงานที� แ ยกออกจากหน่ ว ยวางแผนของ
ตัดสินใจเชิงนโยบายระดับต่างๆ ตัง� แต่ภายในโรงพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข เพื� อให้ มีอิสระในการดําเนิ นการ
จนถึ งระดั บ จั งหวั ด และระดั บ เครื อ ข่ า ย และยั งช่ ว ย ทางวิชาการไม่มีผลประโยชน์ทบั ซ้ อน (conflict of inter-
ประกอบการวางแผนการจัดการกําลังคนและระบบบริการ est) และได้ รับการยอมรับจากทุกฝ่ าย
รวมถึงระบบส่งต่อให้ เหมาะสม เพื�อช่วยให้ เกิดระบบที�มี

748 Journal of Health Science 2015 Vol. 24 No. 4


ภาระงานและผลิตภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลของรัฐ �� แห่ งในพื�นที�เครือข่ายบริการสุขภาพที� �

กิตติกรรมประกาศ 3. Pamela AM, Riitta-Liisa KA, Norbert F. Applying the


ขอขอบคุ ณ ผู ้ บ ริ หารและผู ้ อ นุ ญาตให้ ใ ช้ข ้อ มู ล workload indicators of staffing need (WISN) method in
Namibia: challenges and implications for human resources
ผูป้ ระสานงาน ผูเ้ ก็บข้อมูล เขตพื� นที เ� ครือข่ายบริการ- for health policy. Human Resources for Health 2013;
สุขภาพที � � โดยเฉพาะอย่างยิ� งนายแพทย์สาธารณสุข 11:64.
จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก (นายแพทย์ บุ ญ เติ ม ตั น สุ รั ต น์ ) 4. Rafeh N, Mansour S, El-Khoury M. May 2011. User’s
ดร.ภรณ์วรัญธ์ จุนทการบัณฑิต นางสุธีรป์ ระภา ถนอม- Manual for Developing a Workload-based Staffing Model
วัฒนันต์ และผูบ้ ริหารกลุม่ การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ in Egypt. Bethesda, MD: Health Systems 20/20 project,
โรงพยาบาลทัว� ไป และโรงพยาบาลชุมชนเป้ าหมาย ทัง� �� Abt Associates Inc; 2011.
แห่ ง โดยพื� นที �เครื อข่ายบริ การสุขภาพที � � สนับสนุ น 5. กฤษดา แสวงดี . แนวทางการบริ หารจั ดการอั ตรากํา ลั ง
ทางการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: องค์การทหารผ่านศึก;
งบประมาณในการจัดประชุมและเก็บข้อมูล นอกจากนี�
2547.
การศึ กษานี� ได้รับ การสนั บ สนุ นจากคุณอรรถเศรษฐ์ 6. กองการพยาบาล สํา นั ก งานปลั ด กระทรวงสาธารณสุ ข .
จริยธรรมานุ กูล ผูช้ ่วยนักวิจยั และคุณกนกรัตน์ ถมทอง หลักการบริหารงานการบริการ พยาบาลผู้ป่วยใน. กรุงเทพ-
ผูป้ ระสานงาน และศูนย์วจิ ยั เพือ� การพัฒนาระบบบริการ- มหานคร: กองการพยาบาล สํา นั ก งานปลั ด กระทรวง
สุขภาพ และภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะ- สาธารณสุข; ����.
แพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7. กองการพยาบาล. บทบาทหน้ าที�ความรับผิดชอบของเจ้ า-
หน้ าที�ทางการพยาบาลที�ปฏิบตั กิ ารพยาบาลในโรงพยาบาล.
กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; ����.
เอกสารอ้างอิง 8. กองการพยาบาล สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. คู่มอื
1. World Health Organization. WISN Workload indicators
การจัดการบริการพยาบาล หลักการปฏิบตั ิ. กรุงเทพมหา-
of staffing need: User’s manual. Geneva: World Health
นคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; ����.
Organization; 2010.
9. สภาการพยาบาล. ประกาศสภาการพยาบาลเรื�อง มาตรฐาน
2. Amy H, Manmath KM, Abhijit D, Peter JH. Applying
การบริ การพยาบาลและการผดุ งครรภ์ระดับทุ ติ ยภูมิและ
WHO’s ‘workforce indicators of staffing need’ (WISN)
ระดับตติยภูมิ. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที� ���, ตอนที� �� ง
method to calculate the health worker requirements for
(ลงวันที� � พฤศจิกายน ����).
India’s maternal and child health service guarantees in
Orissa State. Health policy and Planning 2012;27:11-
8.

วารสารวิชาการสาธารณสุข ���� ปี ที � �� ฉบับที � � 749


Analyses of Workload and Productivity of 12 Public Hospital Nurses in Region 2 of Thailand

Abstract: Analyses of Workload and Productivity of 12 Public Hospital Nurses in Region 2 of Thailand
Krisada Sawaengdee, R.N., Ph.D.*; Wilailuk Ruangrattanatrai, R.N., M.Sc.**; Piya Hanvoravongchai,
M.D., M.Sc., D.Sc.***; Amnuay Gajeena, M.D., M.Sc.****
* Praborommarajchanok Institute for Health Workforce Development, Ministry of Public Health, Thailand;
** Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Public Health, Thailand; *** Department of Preventive
Medicine and Thailand Research Center for Health Service System Faculty of Medicine, Chulalongkorn
University; **** Office of Permanent Secretary, Ministry of Public Health, Thailand
Journal of Health Science 2015;24:741-50.
One method for health workforce planning frequently used in many countries is the workforce
demand analysis based on staff workload and time use. This method relies on the analyses of required work
time and staff availability in full-time equivalent unit. Empirical findings from the analysis can assist in the
planning and workforce management that will lead to appropriate distribution and efficiency in the system.
The objective of this research was to study workloads, workload distribution, and staff allocations of nurse
professionals in 12 regional, general and district hospitals in Thailand. The hospitals were all is in the
Health Service Region 2 under the stewardship of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public
Health. This study was conducted as a cross-sectional study between April to September 2013, aiming at
data for the fiscal year 2012. Data were collected by an electronic questionnaire survey form comprising
of 2 components: (1) hospital profile (services provision, capacity and number of staff, and (2) nursing
services, work load, and working hours of nurses in each section of the hospitals. It was found that nurses’
workload varied significantly across hospital types and hospital departments. Workloads in inpatient units
of most hospitals were higher than the workloads in other departments. When comparing work productivity
as a ratio of workloads and staff availability, inpatient nurses in regional and general hospitals had higher
productivity than those in district hospitals. On average there were adequate number of nurses in district
hospitals comparing to the workload demand. It was recommended that policy makers and stakeholders
actively manage nursing workforce effectively to address the problems of overburdened nursing staff
especially in the inpatient units of regional and general hospitals. More studies were needed to improve the
methods and tools for workload measurements and patient classification. Analyses of workload and staff
availability should be conducted regularly with the aim to continuously improve health workforce manage-
ment and development.
Key words: workload, professional nurses

750 Journal of Health Science 2015 Vol. 24 No. 4

You might also like